SlideShare a Scribd company logo
1 of 63
Download to read offline
แผนยุทธศาสตร์ การพัฒนา
   ประจําปี พ.ศ. 2554 – 2558




องค์ การบริหารส่ วนตําบลตะนาวศรี
  อําเภอสวนผึง จังหวัดราชบุรี
              ้
คําปรารภ
                        โดย นายกองค์ การบริหารส่ วนตําบลตะนาวศรี

                แผนยุทธศาสตร์การพัฒนาองค์การบริ หารส่ วนตําบลตะนาวศรี (พ.ศ.2554 – 2558) เป็ น
แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมขององค์การบริ หารส่ วนตําบล และแนวทางการพัฒนาขององค์การบริ หาร
ส่ วนตําบล ซึ่งแสดงวิสยทัศน์ พันธกิจ(ภารกิจหลัก) และจุดมุ่งหมาย เพื่อการพัฒนาในอนาคต โดย
                      ั
สอดคล้องกับแผนพัฒนาเศรษฐกิจ และสังคมแห่งชาติ ยุทธศาสตร์การพัฒนาจังหวัดราชบุรี ยุทธศาสตร์การ
พัฒนาอําเภอสวนผึ้ง

                 ในการจัดทําแผนยุทธศาสตร์ การพัฒนาองค์การบริ หารส่ วนตําบลตะนาวศรี ได้จดทําโดย
                                                                                       ั
                        ํ
ถือปฏิบติตามขั้นตอนที่กาหนดไว้ในระเบียบกระทรวงมหาดไทย ว่าด้วยการจัดทําแผนพัฒนาขององค์กร
          ั
ปกครองส่ วนท้องถิ่น พ.ศ.2548 ดังนั้น แผนยุทธศาสตร์การพัฒนาองค์การบริ หารส่ วนตําบลตะนาวศรี จึง
เป็ นยุทธศาสตร์การพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมขององค์การบริ หารส่ วนตําบล ซึ่งแสดงวิสยทัศน์ พันธกิจ
                                                                                ั
(ภารกิจหลัก) และจุดมุ่งหมาย เพื่อการพัฒนาที่สามารถนําไปจัดทําแผนพัฒนาสามปี และเชื่อมโยงกับการ
จัดทํางบประมาณรายจ่ายประจําปี โดยคณะกรรมการพัฒนาองค์การบริ หารส่ วนตําบลตะนาวศรี ได้ให้ความ
เห็นชอบเมื่อวันที่ เดือน พฤษภาคม พ.ศ.2553 และสภาองค์การบริ หารส่ วนตําบลตะนาวศรี ให้ความ
เห็นชอบแล้วเมื่อวันที่ เดือน มิถุนายน พ.ศ.2553 เพื่อให้องค์การบริ หารส่ วนตําบลตะนาวศรี มีแผน
ยุทธศาสตร์การพัฒนาองค์การบริ หารส่ วนตําบล เป็ นเครื่ องมือในการจัดทําแผนพัฒนา 3 ปี และเป็ น
เครื่ องมือในการบริ หารงบประมาณ ระยะเวลา บุคลากร ทรัพยากรให้สามารถแก้ไขปั ญหาความต้องการ
ของประชาชนให้เกิดประสิ ทธิภาพอย่างแท้จริ ง จึงเห็นชอบและอนุมติเอกสารฉบับนี้ เป็ นแผนยุทธศาสตร์
                                                               ั
การพัฒนาองค์การบริ หารส่ วนตําบลตะนาวศรี (พ.ศ.2554 – 2558) ต่อไป



                                                           (ลงชื่อ)
                                                                  (นายนิคม ศรี คา)
                                                                                 ํ
                                                        นายกองค์การบริ หารส่ วนตําบลตะนาวศรี
คํานํา

                 แผนยุทธศาสตร์การพัฒนา องค์การบริ หารส่ วนตําบลตะนาวศรี (พ.ศ.2554 – 2558) เป็ น
ยุทธศาสตร์ที่เกิดจากภายใต้ระเบียบกระทรวงมหาดไทยว่าด้วยการจัดทําแผนพัฒนาขององค์กรปกครองส่ วน
ท้องถิ่น พ.ศ.2548 โดยมีส่วนร่ วมของทุกภาคส่ วนที่ได้ระดมความคิด กําหนดวิสยทัศน์ร่วมกัน โดยกรอบ
                                                                         ั
แนวความคิดของยุทธศาสตร์การพัฒนาด้านต่าง ๆ ต้องสอดคล้องกับแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ
ฉบับที่ 10 (พ.ศ.2550 - 2554) นโยบายของรัฐบาล ยุทธศาสตร์พฒนาจังหวัดราชบุรี ยุทธศาสตร์พฒนา
                                                           ั                            ั
อําเภอสวนผึ้ง

               แผนยุทธศาสตร์การพัฒนาองค์การบริ หารส่ วนตําบลตะนาวศรี จึงเป็ นแผนพัฒนาเศรษฐกิจ
และสังคมขององค์การบริ หารส่ วนตําบล ที่เป็ นเครื่ องมือในการนําทิศทางการพัฒนาภายใต้การมีวสยทัศน์
                                                                                           ิ ั
ร่ วมของประชาคมตําบล มีการพิจารณาจุดแข็ง จุดอ่อน โอกาส ปั ญหาอุปสรรค และแนวทางแก้ไขร่ วมกัน
ซึ่งผลของยุทธศาสตร์ที่เกิดจากการมีส่วนร่ วมจะเป็ นกุญแจสําคัญที่จะทําให้นโยบายของผูบริ หารมีทิศทางที่
                                                                                   ้
ชัดเจนสามารถแก้ไขปั ญหาในพื้นที่ได้ตรงจุด และถูกทิศทางอันจะนําไปสู่ การเปลี่ยนแปลงในรู ปของ
โครงการ กิจกรรม และสามารถนําไปปฏิบติให้เกิดรู ปธรรมอย่างจริ งจัง และยังยืนต่อไป
                                          ั                                ่

                                               คณะกรรมการสนับสนุนการจัดทําแผนพัฒนา
                                               องค์การบริ หารส่ วนตําบลตะนาวศรี
                                                            พ.ศ.2553
สารบัญ

เรื่อง                                                          หน้ า

บทที่ 1 บทนํา                                                   1–2

บทที่ 2 สภาพทัวไป และข้อมูลพื้นฐานขององค์การบริ หารส่ วนตําบล
              ่                                                 3 – 22

บทที่ 3 การวิเคราะห์ศกยภาพการพัฒนาองค์การบริ หารส่ วนตําบล
                     ั                                          23 – 42

บทที่ 4 วิสยทัศน์ พันธกิจ และจุดมุ่งหมายเพื่อการพัฒนา
           ั                                                    43 – 48

บทที่ 5 ยุทธศาสตร์การพัฒนาองค์การบริ หารส่ วนตําบล              49 – 54

บทที่ 6 การนําแผนยุทธศาสตร์การพัฒนาไปสู่ การปฏิบติ
                                                ั               55 – 63
        และการติดตามประเมินผล
1

                                              บทที่ 1
                                              บทนํา
1.1 ความเป็ นมาและความสํ าคัญในการจัดทําแผนยุทธศาสตร์ การพัฒนาขององค์ การบริหารส่ วน
    ตําบลตะนาวศรี (พ.ศ.2554 – 2558)

                   นับแต่ได้มีการประกาศใช้รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2540 เป็ นต้นมา
บทบาทอํานาจหน้าที่ และความรับผิดชอบขององค์กรปกครองส่ วนท้องถิ่น ได้เปลี่ยนแปลงไปจากเดิมอย่าง
มากโดยให้ความสําคัญกับการกระจายอํานาจให้แก่องค์กรปกครองส่ วนท้องถิ่น โดยกําหนดกรอบความเป็ น
อิสระในการปกครองตนเองตามเจตนารมณ์ของประชาชน และความอิสระในการกําหนดนโยบายการปกครอง
การบริ หาร การบริ หารงานบุคคล การเงิน และการคลัง และมีอานาจหน้าที่ของตนเองโดยเฉพาะ
                                                                ํ
                                            ํ
                   นอกจากนี้พระราชบัญญัติกาหนดแผนและขั้นตอนการกระจายอํานาจให้แก่องค์กรปกครอง
                                ํ
ส่ วนท้องถิ่น พ.ศ.2542 ได้กาหนดหน้าที่ขององค์กรปกครองส่ วนท้องถิ่น ในการให้การบริ การสาธารณะที่
จําเป็ นแก่ทองถิ่น ตลอดจนรายได้ของท้องถิ่นที่เพิ่มขึ้น จึงมีความจําเป็ นในการใช้ทรัพยากรรายได้ ทั้งที่ทองถิ่น
              ้                                                                                        ้
จัดเก็บเอง และรายได้ที่รัฐบาลจัดสรรให้ เกิดประโยชน์สูงสุ ด และมีความโปร่ งใสมากที่สุด
                   ประกอบกับระเบียบกระทรวงมหาดไทย ว่าด้วยการจัดทําแผนพัฒนาขององค์กรปกครอง
                              ํ
ส่ วนท้องถิ่น พ.ศ.2548 ได้กาหนดประเภทแผนพัฒนาขององค์กรปกครองส่ วนท้องถิ่น 2 ประเภทคือ แผน
ยุทธศาสตร์การพัฒนา และแผนพัฒนา 3 ปี
                   แผนยุทธศาสตร์การพัฒนาขององค์กรปกครองส่ วนท้องถิ่น เป็ นแผนพัฒนาเศรษฐกิจและ
                                        ํ
สังคมขององค์กรปกครองส่ วนท้องถิ่นที่กาหนดยุทธศาสตร์และแนวทางการพัฒนาขององค์กรปกครองส่ วน
ท้องถิ่น ซึ่งแสดงวิสยทัศน์ พันธกิจ และจุดมุ่งหมาย เพื่อการพัฒนาในอนาคตโดยสอดคล้องกับแผนพัฒนา
                      ั
เศรษฐกิจและสังคมแห่ งชาติ ยุทธศาสตร์การพัฒนาจังหวัด ยุทธศาสตร์การพัฒนาอําเภอ และนโยบายในการ
พัฒนาท้องถิ่น
                   การวางแผนยุทธศาสตร์การพัฒนาขององค์กรปกครองส่ วนท้องถิ่น จึงเป็ นกระบวนการ
กําหนดทิศทางในอนาคตขององค์กรปกครองส่ วนท้องถิ่น โดยกําหนดสภาพการณ์ที่ตองการบรรจุ และ้
แนวทางในการบรรจุบนพื้นฐานของการรวบรวม และวิเคราะห์ขอมูลอย่างรอบด้าน และเป็ นระบบ ทั้งนี้
                                                                  ้
จะต้องสอดคล้องกับศักยภาพของท้องถิ่น และปัญหา/ความต้องการของประชาชนในท้องถิ่นด้วย
                   การวางแผนยุทธศาสตร์การพัฒนามีความสําคัญต่อองค์กรปกครองส่ วนท้องถิ่นเป็ นอย่างยิง      ่
ทั้งนี้เนื่องจากแผนยุทธศาสตร์การพัฒนาเป็ นแผนพัฒนาที่มุ่งไปสู่ สภาพการณ์ที่ตองการให้เกิดขึ้นในอนาคตเป็ น
                                                                               ้
กรอบในการกําหนดทิศทางการพัฒนาขององค์กรปกครองส่ วนท้องถิ่นให้มุ่งไปสู่สภาพการณ์อนพึงประสงค์ได้
                                                                                           ั
                                                                    ่
อย่างเท่าทันกับการเปลี่ยนแปลงโดยสามารถจัดสรรทรัพยากรที่มีอยูอย่างมีประสิ ทธิภาพ การจัดทําแผน
ยุทธศาสตร์การพัฒนา จึงเป็ นการกําหนดทิศทางการพัฒนาขององค์กรปกครองส่ วนท้องถิ่น ที่ตองกําหนด  ้
สภาพการณ์ที่ตองการจะบรรลุ และแนวทางในการที่จะทําให้บรรลุถึงสภาพการณ์ นั้น
                 ้
2

        องค์การบริ หารส่ วนตําบลตะนาวศรี จึงได้ทาแผนยุทธศาสตร์การพัฒนาองค์การบริ หารส่ วน
                                                 ํ
ตําบลตะนาวศรี เป็ นแผนยุทธศาสตร์การพัฒนาที่สอดคล้องกับยุทธศาสตร์การพัฒนาอําเภอ แบบบูรณาการ
ยุทธศาสตร์จงหวัดแบบบูรณาการ นโยบายกระทรวง กรม นโยบายรัฐบาล แผนพัฒนาไปสู่การจัดทํา
            ั
แผนพัฒนาองค์การบริ หารส่ วนตําบล 3 ปี เพื่อเป็ นโครงการกิจกรรมไปสู่การปฏิบติในพื้นที่ให้สอดคล้อง
                                                                          ั
กับศักยภาพของพื้นที่ และปั ญหาความต้องการของประชาชน และเป็ นแผนชี้นาการพัฒนาองค์การบริ หารส่ วน
                                                                        ํ
                                                                    ่ ั
ตําบล ในภาพรวมระยะยาว แต่ได้ยดมันว่าจะต้องใช้ระยะเวลาเท่าใดขึ้นอยูกบปั ญหา และความต้องการของ
                                 ึ ่
ประชาชนในขณะนี้ จึงสามารถปรับเปลี่ยนได้ตามความเหมาะสม รวมทั้งการปรับเปลี่ยนเมื่อมีการ
เปลี่ยนแปลงนโยบายของรัฐบาล ยุทธศาสตร์พฒนาจังหวัด ยุทธศาสตร์พฒนาอําเภอ
                                           ั                     ั

1.2 วัตถุประสงค์ ของการจัดทําแผนยุทธศาสตร์ การพัฒนา
         1. เพื่อกําหนดทิศทางการพัฒนาขององค์กรปกครองส่ วนท้องถิ่น
         2. เพื่อเป็ นการเตรี ยมการสําหรับการพัฒนาในอนาคต
         3. เพื่อให้สามารถนําไปสู่ การแก้ไขปั ญหาและตอบสนองความต้องการของประชาชนในท้องถิ่น
ได้อย่างแท้จริ ง
                                                 ่
         4. เพื่อให้สามารถจัดสรรทรัพยากรที่มีอยูอย่างจํากัดได้อย่างมีประสิ ทธิภาพ
         5. เพื่อแสดงความสัมพันธ์เชื่อมโยงกับการจัดทําแผนพัฒนาสามปี

1.3 ขั้นตอนการจัดทําแผนยุทธศาสตร์ การพัฒนา
         1. การเตรี ยมการจัดทําแผนยุทธ์การพัฒนา
         2. การรวบรวมข้อมูลและปัญหาสําคัญ
         3. การวิเคราะห์ศกยภาพเพื่อประเมินสถานภาพการพัฒนาของท้องถิ่นในปั จจุบน
                          ั                                                  ั
         4. การกําหนดวิสยทัศน์และภารกิจหลักการพัฒนาท้องถิ่น
                            ั
         5. การกําหนดจุดมุ่งหมายเพือการพัฒนาที่ยงยืน
                                   ่            ั่
         6. การกําหนดวัตถุประสงค์การพัฒนาท้องถิ่น
         7. การกําหนดยุทธศาสตร์การพัฒนา และแนวทางการพัฒนา
         8. การกําหนดเป้ าหมายการพัฒนาท้องถิ่น
         9. การอนุมติและประกาศใช้แผนยุทธศาสตร์การพัฒนา
                     ั

1.4 ประโยชน์ ของการจัดทําแผนยุทธศาสตร์ การพัฒนา
       1. มีกรอบ นโยบาย และทิศทางในการพัฒนาท้องถิ่นในอนาคตได้อย่างชัดเจน
                                   ่
       2. สามารถใช้งบประมาณที่มีอยูอย่างจํากัดในการพัฒนาอย่างมีประสิ ทธิภาพและเป็ นระบบ
       3. สามารถแก้ไขปัญหาความเดือดร้อนของประชาชนได้อย่างแท้จริ ง
                                                      ํ
       4. สามารถวัดผลสําเร็ จของการพัฒนาภายในเวลาที่กาหนด
3

                                                 บทที่ 2
              สภาพทัวไป และข้ อมูลพืนฐานขององค์ การบริหารส่ วนตําบลตะนาวศรี
                    ่               ้
1. ข้ อมูลเกียวกับทีต้ัง อาณาเขต เขตการปกครอง ประชากร การศึกษา สาธารณสุ ขความปลอดภัย
             ่         ่
   ในชีวต และทรัพย์ สิน และทรัพยากรธรรมชาติ
          ิ
   1.1 สภาพทัวไป  ่
        1.1.1 ที่ต้ ง
                    ั
               องค์การบริ หารส่ วนตําบลตะนาวศรี ตั้งอยู่ หมู่ที่ 1 บ.สวนผึ้ง ต.ตะนาวศรี อ.สวนผึ้ง จ.ราชบุรี
                             ่
               ห่ างจากที่วาการอําเภอสวนผึ้ง ประมาณ 3 กิโลเมตร
                      ทิศเหนือ          ติดต่อกับเทศบาลตําบลสวนผึ้ง - อําเภอสวนผึ้ง
                      ทิศใต้            ติดต่อกับตําบลบ้านคา อําเภอบ้านคา
                      ทิศตะวันออก       ติดต่อกับตําบลท่าเคย
                      ทิศตะวันตก        ติดต่อกับเทือกเขาตะนาวศรี และสาธารณรัฐสังคมนิยมแห่ งสหภาพพม่า
        1.1.2 เนื้อที่ 202.153 ตารางกิโลเมตร หรื อ 126,343.75 ไร่
        1.1.3 ลักษณะภูมิประเทศ
               เป็ นที่ราบลุ่มสลับกับภูเขามีแม่น้ าภาชีไหลผ่านเหมาะสําหรับการฟื้ นฟูเป็ นสถานที่พกผ่อนและ
                                                  ํ                                              ั
        แหล่งท่องเที่ยวตลอดจนประกอบอาชีพเกษตรกรรม และเลี้ยงสัตว์
           1.1.4 จํานวนหมู่บาน 7 หมู่บาน
                               ้           ้
                จํานวนหมู่บานในเขตองค์การบริ หารส่ วนตําบลตะนาวศรี เต็มทั้ง 7 หมู่บาน ได้แก่
                             ้                                                     ้
              - หมู่ที่ 1 บ้านสวนผึ้ง         เนื้อที่ประมาณ 23.08 ตารางกิโลเมตร หรื อ 14,425 ไร่
              - หมู่ที่ 2 บ้านท่ามะขาม        เนื้อที่ประมาณ 15.16 ตารางกิโลเมตร หรื อ 9,475 ไร่
              - หมู่ที่ 3 บ้านห้วยม่วง        เนื้อที่ประมาณ 42.06 ตารางกิโลเมตร หรื อ 26,287.5ไร่
              - หมู่ที่ 4 บ้านบ่อหวี          เนื้อที่ประมาณ 62.90 ตารางกิโลเมตร หรื อ 39,312.5ไร่
              - หมู่ที่ 5 บ้านห้วยแห้ง        เนื้อที่ประมาณ 7.61 ตารางกิโลเมตร หรื อ 4,756.25ไร่
              - หมู่ที่ 6 บ้านห้วยนํ้าหนัก    เนื้อที่ประมาณ 35.05 ตารางกิโลเมตร หรื อ21,906.25ไร่
              - หมู่ที่ 7 บ้านบ่อเก่าบน       เนื้อที่ประมาณ 16.29 ตารางกิโลเมตร หรื อ10,181.25ไร่
           1.1.5 ท้องถิ่นอื่นในตําบล
              - จํานวนเทศบาล         -          แห่ ง
              - จํานวนสุ ขาภิบาล     -          แห่ ง
4
แผนทีแสดงอาณาเขต
     ่
5
      1.1.6 ประชากร
                 ประชากรทั้งสิ้ น 8,741 คน แยกเป็ นชาย 4,643 คน หญิง 4,098 คนมีความหนาแน่น
           เฉลี่ย 43.24 คน/ตารางกิโลเมตร จํานวนครัวเรื อน 3,140 ครัวเรื อน (ข้อมูล ณ เดือน กันยายน 2552)
                                              จํานวน                                จํานวนประชากร
 หมู่ที่           ชื่อหมู่บาน
                             ้
                                             ครัวเรื อน              ชาย                  หญิง             รวม
   1 บ้านสวนผึ้ง                                        609                886                      802          1,688
   2 บ้านท่ามะขาม                                       379                533                      450            983
   3 บ้านห้วยม่วง                                       597                764                      729          1,493
   4 บ้านบ่อหวี                                         602                721                      645          1,366
   5 บ้านห้วยแห้ง                                       453                743                      581          1,324
   6 บ้านห้วยนํ้าหนัก                                   449                890                      786          1,676
   7 บ้านบ่อเก่าบน                                       51                106                      105            211
                  รวม                                 3,140              4,643                  4,098            8,741
1.2 สภาพทางเศรษฐกิจ
         1.2.1 อาชีพ
                 ประชากรส่ วนใหญ่ประกอบ ดังนี้
                 - อาชีพเกษตรกรรม ได้แก่ การปลูกอ้อย การปลูกมันสําปะหลัง การทํานา การทําสวนผลไม้
และผัก
                 - อาชีพเลี้ยงสัตว์ ได้แก่ การเลี้ยงโค การเลี้ยงสุ กร การเลี้ยงเป็ ด ไก่ การเลี้ยงแพะและการเลี้ยงปลา
                 - อาชีพอุตสาหกรรมในครัวเรื อน ได้แก่ การจัดสานเข่ง
                 - อาชีพค้าขาย ได้แก่ ค้าขายผัก ขายของชํา
                 - อาชีพรับจ้าง ได้แก่ รับจ้างทํางานในโรงงานอุตสาหกรรม และรับจ้างทัวไป            ่
         1.2.2 หน่วยธุรกิจในเขตองค์การบริ หารส่ วนตําบล
                - ธนาคาร                                                  - แห่ ง
                - โรงแรม                                                  - แห่ ง
                - สถานที่พกแรม
                             ั                                            10 แห่ง           ได้แก่
                   » พิพิธภัณฑ์ภโวทัย ตั้งอยูที่ หมู่ที่ 1
                                                    ่                             » ลําภาชี เลคฮิลล์     ตั้งอยูที่ หมู่ที่ 2
                                                                                                                ่
                  » บ่อหวีรีสอร์ท            ตั้งอยูที่ หมู่ที่ 4
                                                      ่                           » ที่พกรู ปแบบโฮมสเตย์ ได้แก่
                                                                                          ั
                            ริ มฝั่งนํ้าโฮมสเตย์ ตั้งอยูที่       ่               หมู่ที่ 2
                            ไร่ ภูเคียงธาร              ตั้งอยูที่    ่           หมู่ที่ 3
                            ทัศนาคายัค                          ่
                                                        ตั้งอยูที่                หมู่ที่ 3
                            ไร่ รับลมชมดาว              ตั้งอยูที่      ่         หมู่ที่ 3
                            ไร่ ศิริวรรณโฮมสเตย์ ตั้งอยูที่         ่             หมู่ที่ 3
6

                                                             ่
                                บ้านเชิงเขาโฮมสเตย์ ตั้งอยูที่                  หมู่ที่ 3
                                บ้านสวนภูหลา               ่
                                                    ตั้งอยูที่                  หมู่ที่ 6
                -   ปั๊มนํ้ามันและก๊าซ                           - แห่ ง
                -   โรงงานอุตสาหกรรมขนาดเล็ก                     - แห่ง
                -   โรงสี                                        - แห่ง
                -   เหมืองแร่                                    1 แห่ง
                    »เหมืองแร่ เฟลสปาร์และควอรตซ์                ตั้งอยูที่ ่                  หมู่ที่ 1
                -   สิ นค้า OTOP                                 2 ราย                         ได้แก่
                    » กลุ่มปั้ นกระดาษสานิรันพร                         ่
                                                                 ตั้งอยูที่                    หมู่ที่ 1
                    » กลุ่มไผ่ไล่กวาง                                     ่
                                                                 ตั้งอยูที่                    หมู่ที่ 5
1.3 สภาพสังคม
          1.3.1 การศึกษา
          องค์การบริ หารส่ วนตําบลตะนาวศรี มีสถานศึกษาในเขตพื้นที่ 8 แห่ง แบ่งเป็ น
          โรงเรี ยน 4 แห่ ง ศูนย์พฒนาเด็กเล็ก 4 แห่ ง ดังนี้
                                  ั

 ลําดับ
                         โรงเรี ยน                         สังกัด                                     ่
                                                                                               ตั้งอยูที่               เปิ ดสอนระดับ
    ที่
   1.      โรงเรี ยนบ้านสวนผึ้ง                            สปช.                                หมู่ที่ 1            อนุบาล – ป.6
   2.      โรงเรี ยนบ้านท่ามะขาม                           สปช.                                หมู่ที่ 2            อนุบาล – ป.6
   3.      โรงเรี ยนรุ จิรพัฒน์                            สปช.                                หมู่ที่ 3            อนุบาล – ม.3
   4.      โรงเรี ยนบ้านบ่อหวี                             สปช.                                หมู่ที่ 4            อนุบาล – ป.6
   5.      ศูนย์พฒนาเด็กเล็ก อบต.ตะนาวศรี
                   ั                                       อบต.                                หมู่ที่ 1            เด็กก่อนวัยเรี ยน
   6.      ศูนย์พฒนาเด็กเล็กบ้านห้วยนํ้าหนัก
                     ั                                     อบต.                                หมู่ที่ 6            เด็กก่อนวัยเรี ยน
   7.      ศูนย์พฒนาเด็กเล็กบ้านห้วยผาก
                       ั                                   อบต.                                หมู่ที่ 6            เด็กก่อนวัยเรี ยน
   8.      ศูนย์การเรี ยนชุมชนชาวไทยภูเขาแม่
                                                              กศน.                             หมู่ที่ 6            เด็กก่อนวัยเรี ยน
           ฟ้ าหลวงบ้านหนองตาดั้ง และพุระกํา

          1.3.2 สถาบันและองค์กรทางศาสนา
                   - วัด จํานวน 3 แห่ ง ได้แก่
                      (1) วัดสวนผึ้ง                                                   ่
                                                                                ตั้งอยูที่                  หมู่ที่ 1
                      (2) วัดห้วยม่วง                                           ตั้งอยูที่ ่                หมู่ที่ 3
                      (3) วัดบ่อหวี                                                      ่
                                                                                ตั้งอยูที่                  หมู่ที่ 4
7

                - สํานักสงฆ์ จํานวน 4 แห่ง ได้แก่
                     (1) สํานักสงฆ์ท่ามะขาม                      ตั้งอยูที่           ่                     หมู่ที่ 2
                     (2) สํานักสงฆ์ตะนาวศรี คีรีธรรม             ตั้งอยูที่   ่                             หมู่ที่ 4
                     (3) สํานักสงฆ์หวยนํ้าหนัก
                                      ้                          ตั้งอยูที่         ่                       หมู่ที่ 6
                     (4) สํานักสงฆ์บ่อเก่าบน                     ตั้งอยูที่               ่                 หมู่ที่ 7
             - โบสถ์คริ สต์ จํานวน 2 แห่ ง
                     (1)โบสถ์คริ สตจักรนาวา                               ่
                                                                 ตั้งอยูที่                                 หมู่ที่ 5
                     (2) โบสถ์คริ สตจักรบ้านห้วยนํ้าหนัก                ่
                                                                 ตั้งอยูที่                                 หมู่ที่ 6
             - สถานประกาศคริ สต์เตียน จํานวน 6 แห่ง
                   (1) สถานประกาศคริ สต์เตียนเขาลูกช้าง          ตั้งอยูที่                               ่ หมู่ที่ 1
                  (2) สถานประกาศคริ สต์เตียนท่ามะขาม             ตั้งอยูที่       ่                         หมู่ที่ 2
                  (3) สถานประกาศคริ สต์เตียนท่ากุลา              ตั้งอยูที่                         ่       หมู่ที่ 2
                  (4) สถานประกาศคริ สต์เตียนโป่ งแห้ง            ตั้งอยูที่                 ่               หมู่ที่ 3
                  (5) สถานประกาศคริ สต์เตียนห้วยกะวาล            ตั้งอยูที่ ่                               หมู่ที่ 6
                 (6) สถานประกาศคริ สต์เตียนพุระกํา               ตั้งอยูที่                   ่             หมู่ที่ 6
    1.3.3 สาธารณสุ ข
             - สถานีอนามัยประจําตําบล/หมู่บาน จํานวน 2 แห่ง
                                                 ้
                 (1) สถานีอนามัยตําบลตะนาวศรี                    ตั้งอยูที่     ่                           หมู่ที่ 3
                 (2) สถานีอนามัยบ้านบ่อหวี                       ตั้งอยูที่                     ่           หมู่ที่ 4
             - ศูนย์ศึกษาวิจยโรคเขตเมืองร้อน จํานวน 1 แห่ง ตั้งอยูที่
                               ั                                                        ่                   หมู่ที่ 6
             - อาสาสมัครสาธารณสุ ขมูลฐาน (อสม.) ในตําบล จํานวน 71 คน
             - อัตราการมีและใช้สวมราดนํ้า
                                    ้                      100 %
    1.3.4 ความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สิน
           - หน่วยเฉพาะกิจทัพพระยาเสื อ จํานวน 1 แห่ง ตั้งอยูที่                                  ่         หมู่ที่ 1
           - สถานีควบคุมไฟป่ า                     จํานวน 1 แห่ง ตั้งอยูที่                           ่     หมู่ที่ 3
           - ป้ อม/จุดตรวจ(ตํารวจ)                 จํานวน 1 แห่ง ตั้งอยูที่                             ่   หมู่ที่ 3
1.4 การบริหารพืนฐาน้
    1.4.1 การคมนาคม มีถนนสายหลัก 4 สาย
           - สายบ้านบ่อ - ห้วยม่วง การคมนาคมสะดวก ผิวจราจรลาดยาง (ทางหลวงชนบท รบ.4007)
           - สายบ้านบ่อ - บ้านท่ามะขาม การคมนาคมสะดวก ผิวจราจรลาดยาง
           - สายบ้านบ่อหวี - บ้านห้วยผาก การคมนาคมสะดวก ผิวจราจรลาดยาง
           - สายบ้านสวนผึ้ง - บ้านบึง การคมนาคมสะดวก ผิวจราจรลาดยาง
8
         ระยะทางจากที่วาการอําเภอถึงหมู่บาน ทั้ง 7 หมู่บาน
                             ่                     ้                ้
        - หมู่ที่ 1 บ้านสวนผึ้ง                      ประมาณ 3 กม.
        - หมู่ที่ 2 บ้านท่ามะขาม                     ประมาณ 6 กม.
        - หมู่ที่ 3 บ้านห้วยม่วง                     ประมาณ 28 กม.
        - หมู่ที่ 4 บ้านบ่อหวี                       ประมาณ 15 กม.
        - หมู่ที่ 5 บ้านห้วยแห้ง                     ประมาณ 4 กม.
        - หมู่ที่ 6 บ้านห้วยนํ้าหนัก                 ประมาณ 30 กม.
        - หมู่ที่ 7 บ้านบ่อเก่าบน                    ประมาณ 9 กม.
1.4.2   การโทรคมนาคม
        - ที่ทาการไปรษณี ยโทรเลข
                   ํ               ์                 จํานวน - แห่ ง
        - สถานีโทรคมนาคมอื่นๆ                        จํานวน - แห่ง
        - โทรศัพท์สาธารณะ                            จํานวน 12 แห่ง
1.4.3   การไฟฟ้ า
        - ไฟฟ้ าเข้าถึง 7 หมู่บาน คือ หมู่ที่ 1 – 7 จํานวนครัวเรื อนที่มีไฟฟ้ าใช้ ประมาณ 3,047 ครัวเรื อน
                                     ้
        - ผูใช้เซลล์พลังงานแสงอาทิตย์ จํานวน 353 เครื่ อง
             ้
1.4.4   แหล่งนํ้าธรรมชาติ
        - แม่น้ า ได้แก่ แม่น้ าลําภาชี
                 ํ               ํ
        - ลําห้วย ได้แก่ ลําห้วยท่าเคย, ลําห้วยบ่อคลึง, ลําห้วยคอกหมู, ลําห้วยอะนะ, และลําห้วยยาง
        - ห้วย ได้แก่
          ห้วย รบ 2, ห้วยบ่อหวี, ห้วยดีบุก, ห้วยบ้านห้วยผาก, ห้วยกะวาน, ห้วยวังโค และห้วยพุระกํา
        - บึง,หนอง ได้แก่ หนองนํ้าโรงเรี ยนรุ จิรพัฒน์
1.4.5   แหล่งนํ้าที่สร้างขึ้น
        - อ่างเก็บนํ้า จํานวน 8 แห่ง ได้แก่
               » อ่างเก็บนํ้าบ้านสวนผึ้ง หมู่ที่ 1          » อ่างเก็บนํ้าบ้านพุหิน หมู่ที่ 1
               » อ่างเก็บนํ้าผาชนแดน หมู่ที่ 3              » อ่างเก็บนํ้าห้วยจันมาก หมู่ที่ 3
             » อ่างเก็บนํ้าบ้านตะเคียนทอง หมู่ที่ 3 » อ่างเก็บนํ้าบ้านโป่ งแห้ง หมู่ที่ 3
             » อ่างเก็บนํ้าห้วยคอกหมู หมู่ที่ 4             » อ่างเก็บนํ้าห้วยอะนะ หมู่ที่ 6
        - ฝาย จํานวน 4 แห่ง ได้แก่
            » ฝายนํ้าล้นบ้านท่ามะขาม หมู่ที่ 2              » ฝายทดนํ้าบ้านห้วยม่วง หมู่ที่ 3
            » ฝายนํ้าล้น(มข.27) หมู่ที่ 4                   » ฝายนํ้าล้น(มข.27) หมู่ที่ 6
        - บ่อบาดาล จํานวน 4 แห่ง ได้แก่
               » บ่อบาดาล ร.ร.บ้านท่ามะขาม หมู่ที่ 2 » บ่อบาดาลบ้านห้วยม่วง หมู่ที่ 3
             » บ่อบาดาล ร.ร.จิรพัฒน์ หมู่ที่ 3              » บ่อบาดาลบ้านนายประเสริ ฐ หมู่ที่ 5
9

           - สระนํ้าสาธารณะ จํานวน 9 แห่ง ได้แก่
                » สระนํ้าสาธารณะกลุ่มบ้านเขาลูกช้าง หมู่ที่ 1 » สระนํ้า อบต.ตะนาวศรี หมู่ที่ 1
               » สระนํ้าสาธารณะบ้านห้วยม่วง หมู่ที่ 3             » สระนํ้า ร.ร.รุ จิรพัฒน์ หมู่ที่ 3
               » สระนํ้า ร.ร.บ้านบ่อหวี หมู่ที่ 4                 » สระนํ้าฟาร์มตัวอย่างบ้านบ่อหวี หมู่ที่ 4
               » สระนํ้าสาธารณะบ้านห้วยแห้ง หมู่ที่ 5             » สระนํ้าวนเกษตร หมู่ที่ 6
               » สระนํ้าสาธารณะบ้านหนองตาดั้ง หมู่ที่ 6
           - ถังเก็บนํ้าไฟเบอร์ จํานวน 10 ใบ
           - ถังปูนแบบ ฝ 33 จํานวน 2 แห่ง ได้แก่ บ้านบ่อเก่ากลาง หมู่ที่ 1 และบ้านหนองตาดั้ง หมู่ที่ 6
           - ถังปูนแบบ ฝ 99 จํานวน 6 แห่ง ได้แก่
                » บ้านเขาลูกช้าง หมู่ที่ 1        » บ้านท่ากุลา หมู่ที่ 2 » บ้านท่ามะขาม หมู่ที่ 2
               » บ้านไทรงาม หมู่ที่ 3             » บ้านห้วยแห้ง หมู่ที่ 5 » บ้านบ่อเก่าบน หมู่ที่ 7
           - ระบบประปาหมู่บาน     ้
                » บ้านสวนผึ้ง หมู่ที่ 1 จํานวน 2 แห่ง             » บ้านท่ามะขาม หมู่ที่ 2 จํานวน 2 แห่ง
                » บ้านห้วยม่วง หมู่ที่ 3 จํานวน 3 แห่ง            » บ้านบ่อหวี หมู่ที่ 4 จํานวน 2 แห่ง
               » บ้านห้วยแห้ง หมู่ที่ 5 จํานวน 1 แห่ง             » บ้านห้วยนํ้าหนัก หมู่ที่ 6 จํานวน 3 แห่ง
               » บ้านบ่อเก่าบน หมู่ที่ 7 จํานวน 1 แห่ ง
1.5 ข้ อมูลอืนๆ
             ่
    1.5.1 ทรัพยากรธรรมชาติในพื้นที่ ส่ วนใหญ่จะเป็ นทรัพยากรไม้ หิ นและแร่ บางชนิด
    1.5.2 มวลชนจัดตั้ง
           - ลูกเสื อชาวบ้าน จํานวน 3 รุ่ น รวมทั้งสิ้ น จํานวนสมาชิก 500 คน
           - สมาชิก อปพร. จํานวน 1 รุ่ น จํานวนสมาชิก 49 คน
           - มีหมู่บานป้ องกันตนเองตามชายแดน(ปชด.) จํานวน 2 หมู่บาน ได้แก่ หมู่ที่ 3, 4
                       ้                                                   ้
           - มีหมู่บานอาสาพัฒนาและป้ องกันตนเอง (อพป.) จํานวน 7 หมู่บาน ได้แก่ หมู่ที่ 1 – 7
                     ้                                                        ้
           - กลุ่มป่ าชุมชน จํานวน 1 หมู่บาน ได้แก่ หมู่ที่ 1
                                              ้
           - สภาองค์ชุมชนตําบลตะนาวศรี
           - กลุ่มกองทุนสวัสดิการชุมชนคนไม่ทิ้งกัน ต.ตะนาวศรี จํานวน 1 กลุ่ม จํานวนสมาชิก 801 คน
           - กลุ่มวิสาหกิจชุมชนโฮมสเตย์ จํานวน 1 กลุ่ม จํานวนสมาชิก 32 คน
           - กลุ่มออมทรัพย์บานมันคง ต.ตะนาวศรี จํานวน 1 กลุ่ม จํานวนสมาชิก 283 คน
                               ้ ่
           - ชมรมผูสูงอายุ จํานวน 1 กลุ่ม จํานวนสมาชิก 500 คน
                         ้
           - กลุ่มแปรรู ปหน่อไม้ จํานวน 1 กลุ่ม จํานวนสมาชิก 22 คน
10

          1.5.3 แหล่งท่องเที่ยว
                - พิพิธภัณฑ์ภโวทัย           ที่ต้ งอยู่ หมู่ที่ 1 - ส่ วนป่ าสิ ริกิต์ ิ (แก่งส้มแมว) ที่ต้ งอยู่ หมู่ที่ 3
                                                   ั                                                                         ั
                - นํ้าตกผาชลแดน              ที่ต้ งอยู่ หมู่ที่ 3 - นํ้าตกบ่อหวี
                                                       ั                                                               ที่ต้ งอยู่ หมู่ที่ 4
                                                                                                                               ั
                - จุดชมวิวห้วยคอกหมู ที่ต้ งอยู่ หมู่ที่ 4 - ล่องแก่งบ้านไทรงาม
                                                     ั                                                                 ที่ต้ งอยู่ หมู่ที่ 4
                                                                                                                                 ั
                - ฟาร์มตัวอย่างตามพระราชดําริ                     ที่ต้ งอยู่ หมู่ที่ 4
                                                                        ั
                - แหล่งผลิตอาหารชุมชน(Food Bank) ที่ต้ งอยู่ หมู่ที่ 6    ั
          1.5.4 ศูนย์ขอมูลท้องถิ่นตําบลตะนาวศรี องค์การบริ หารส่ วนตําบลตะนาวศรี จํานวน 1 แห่ง
                               ้
          1.5.5 ศาลาอ่านหนังสื อพิมพ์ประจําหมู่บาน หมู่ที่ 1 – 7 จํานวน 7 แห่ง
                                                         ้
          1.5.6 สถานีวิทยุทองถิ่นคนสวนผึ้ง จํานวน 1 แห่ ง
                                  ้                                                     ่
                                                                               ตั้งอยูที่                    หมู่ที่ 1
          1.5.7 หน่วยงานของรัฐ
                องค์การบริ หารส่ วนตําบลตะนาวศรี มีหน่วยงานของรัฐในพื้นที่ จํานวน 15 แห่ ง
ลําดับที่                        หน่ วยงานของรัฐ                                             สั งกัด                               ตั้งอยู่ที่
   1.        สถานีอนามัยตําบลตะนาวศรี                                              สาธารณสุ ข อ.สวนผึ้ง                            หมู่ที่ 3
   2.        สถานีอนามัยบ้านบ่อหวี                                                 สาธารณสุ ข อ.สวนผึ้ง                            หมู่ที่ 4
   3.        สถานีควบคุมไฟป่ า                                                       ป่ าไม้จงหวัดราชบุรี  ั                       หมู่ที่ 3
   4.        หน่วยเฉพาะกิจทัพพระยาเสื อ                                               กรมทหารราบที่ 9                              หมู่ที่ 1
   5.        ศูนย์โรคเมืองร้อนนานาชาติราชนคริ นทร์                                คณะเวชศาสตร์เขตร้อน                              หมู่ที่ 3
   6.        สถานีพฒนาและส่ งเสริ มอนุรักษ์สตว์ป่าราชบุรี
                     ั                           ั                                   ป่ าไม้จงหวัดราชบุรี
                                                                                             ั                                     หมู่ที่ 6
   7.        หน่วยพิทกษ์ป่าสวนผึ้ง
                       ั                                                             ป่ าไม้จงหวัดราชบุรี
                                                                                               ั                                   หมู่ที่ 1
   8.        หน่วยพิทกษ์ป่าหนองยาว
                         ั                                                           ป่ าไม้จงหวัดราชบุรี
                                                                                                 ั                                 หมู่ที่ 3
   9.        หน่วยพิทกษ์ป่าหนองตาดั้ง
                           ั                                                         ป่ าไม้จงหวัดราชบุรี
                                                                                                   ั                               หมู่ที่ 6
   10. หน่วยพิทกษ์ป่าห้วยม่วงั                                                       ป่ าไม้จงหวัดราชบุรี
                                                                                                     ั                             หมู่ที่ 3
   11. หน่วยป้ องกันรักษา ที่ รบ. 2                                                  ป่ าไม้จงหวัดราชบุรี
                                                                                                       ั                           หมู่ที่ 4
   12. ศูนย์ศึกษาพรรณไม้ป่าสมเด็จพระนางเจ้าสิ ริกิต์ ิ                               ป่ าไม้จงหวัดราชบุรีั                         หมู่ที่ 3
   13. โครงการฟาร์มตัวอย่างตามพระราชดําริ บานบ่อหวี        ้                           สํานักพระราชวัง                             หมู่ที่ 4
   14. เขตพัฒนาสังคมบ้านห้วยนํ้าหนัก                                        ศูนย์พฒนาสังคมหน่วยที่ 49 จ.ราชบุรี หมู่ที่ 6
                                                                                   ั
   15. โครงการแหล่งผลิตอาหารชุมชน(Food Bank)                                         สํานักราชเลขาธิการ                            หมู่ที่ 6
11

     1.6 ศักยภาพภายในตําบล
        ศักยภาพขององค์การบริ หารส่ วนตําบล
        1.6.1 จํานวนบุคลากร จํานวน             28         คน
                 - ตําแหน่งในสํานักปลัดองค์การบริ หารส่ วนตําบล            จํานวน           10     คน
                 - ตําแหน่งในส่ วนการคลัง                                  จํานวน            6     คน
                 - ตําแหน่งในส่ วนโยธา                                     จํานวน            4     คน
                 - ตําแหน่งในส่ วนการศึกษา                                 จํานวน            8     คน
        1.6.2 ระดับการศึกษาของบุคลากร
                 - ประถมศึกษา                                              จํานวน           -      คน
                 - มัธยมศึกษาตอนต้น                                        จํานวน           1      คน
                 - มัธยมศึกษาตอนปลาย                                       จํานวน           4      คน
                 - ประกาศนียบัตรวิชาชีพ (ปวช.)                             จํานวน           -      คน
                 - ประกาศนียบัตรวิชาชีพ (ปวส.)                             จํานวน           1      คน
                 - อนุปริ ญญาตรี 2 ปี                                      จํานวน           -      คน
                 - ปริ ญญาตรี                                              จํานวน          21      คน
                 - ปริ ญญาโท                                               จํานวน           1      คน
        1.6.3 อัตรากําลังพนักงานส่ วนตําบลและลูกจ้าง
                 - พนักงานส่ วนตําบล                                       จํานวน          13      คน
                 - พนักงานจ้างตามภารกิจ                                    จํานวน          13      คน
                 - พนักงานจ้างทัวไป
                                 ่                                         จํานวน           2      คน

    สถานการณ์ คลังของ อบต
                                                                   ่
       รายรับ - รายจ่ายขององค์การบริ หารส่ วนตําบลในปี งบประมาณที่ผานมา เปรี ยบเทียบย้อนหลัง 3 - 5 ปี
     รายการ            พ.ศ. 2548       พ.ศ. 2549         พ.ศ. 2550       พ.ศ. 2551        พ.ศ. 2552
ประมาณการรายรับ          3,959,500.-       6,010,500.-       7,840,500.-         10,213,000.-        9,311,000.-
รายรับจริง           11,476,708.32.-   13,823,253.91.-   16,070,315.80.-       11,568,152.26.-   11,137,764.14.-
ประมาณการรายจ่ าย     7,606,880.75.-    9,368,574.62.-      16,319,284.-         21,222,085.-      16,847,286.-
รายจ่ ายจริง          5,407,337.83.-    7,953,230.90.-   10,979,294.52.-       17,662,330.11.-    8,569,237.55.-

2. โครงสร้ างขององค์ การบริหารส่ วนตําบล
     โครงสร้างขององค์การบริ หารส่ วนตําบลตะนาวศรี แบ่งเป็ น 2 ฝ่ ายใหญ่ๆ คือ
     (1) สภาองค์การบริ หารส่ วนตําบล
     (2) นายกองค์การบริ หารส่ วนตําบล
12
                  สภาองค์ การบริหารส่ วนตําบล
          สภาองค์การบริ หารส่ วนตําบล ประกอบด้วยสมาชิกองค์การบริ หารส่ วนตําบลที่มาจากการเลือกตั้ง
โดยตรงจากประชาชนในหมู่บานละ 2 คน โดยสมาชิกสภาองค์การบริ หารส่ วนตําบลมีวาระดํารงตําแหน่ง 4 ปี
                                  ้
          สภาองค์การบริ หารส่ วนตําบลมีอานาจหน้าที่ ดังนี้
                                            ํ
          (1) ให้ความเห็นชอบแผนพัฒนาองค์การบริ หารส่ วนตําบล เพื่อเป็ นแนวทางในการบริ หารกิจการของ
องค์การบริ หารส่ วนตําบล
          (2) พิจารณาและให้ความเห็นขอบร่ างข้อบัญญัติองค์การบริ หารส่ วนตําบล ร่ างข้อบัญญัติงบประมาณ
ร่ ายจ่ายประจําปี และร่ างข้อบัญญัติงบประมาณรายจ่ายเพิมเติม
                                                       ่
          (3) ควบคุมการปฏิบติงานของนายกองค์การบริ หารส่ วนตําบลให้เป็ นไปตามกฎหมาย นโยบาย
                                ั
แผนพัฒนาองค์การบริ หารส่ วนตําบล ข้อบัญญัติ ระเบียบ และข้อบังคับของทางราชการ
          นายกองค์ การบริหารส่ วนตําบล
          นายกองค์การบริ หารส่ วนตําบล มาจากการเลือกตั้งโดยตรงของประชาชนตามกฎหมายว่าด้วยการ
เลือกตั้งสมาชิกสภาท้องถิ่น หรื อผูบริ หารท้องถิ่น มีอานาจหน้าที่ตาม มาตรา 59 และมาตรา 60 แห่ง
                                      ้              ํ
พระราชบัญญัติสภาตําบลและองค์การบริ หารส่ วนตําบล พ.ศ.2537 แก้ไขเพิมเติมถึง (ฉบับที่ 5) พ.ศ.2546 ดังนี้
                                                                         ่
          (1) กําหนดนโยบายโดยไม่ขดต่อกฎหมาย และรับผิดชอบในการบริ หารราชการขององค์การบริ หาร
                                          ั
ส่ วนตําบล ให้เป็ นไปตามกฎหมาย นโยบาย แผนพัฒนาองค์การบริ หารส่ วนตําบล ข้อบัญญัติ ระเบียบ และ
ข้อบังคับทางราชการ
          (2) สัง อนุญาต และอนุมติเกี่ยวกับราชการขององค์การบริ หารส่ วนตําบล
                ่                   ั
          (3) แต่งตั้งและถอดถอนรองนายกองค์การบริ หารส่ วนตําบล และเลขานุการนายกองค์การบริ หาร
ส่ วนตําบล
          (4) วางระเบียบ เพื่อให้งานขององค์การบริ หารส่ วนตําบล เป็ นไปด้วยความเรี ยบร้อย
          (5) รักษาการให้เป็ นไปตามข้อบัญญัติองค์การบริ หารส่ วนตําบล
          (6) ปฏิบติหน้าที่อื่นตามที่บญญัติไว้ในพระราชบัญญัติ และกฎหมายอื่น
                    ั                   ั

        บทบาทและอํานาจหน้ าทีขององค์ การบริหารส่ วนตําบล
                                  ่
        องค์การบริ หารส่ วนตําบล มีอานาจหน้าที่ตามพระราชบัญญัติสภาตําบล และองค์การบริ หารส่ วนตําบล
                                     ํ
พ.ศ.2537 และแก้ไขเพิ่มเติมจนถึงฉบับปั จจุบน ดังนี้
                                             ั
        มาตรา 66 องค์การบริ หารส่ วนตําบล มีอานาจหน้าที่ในการพัฒนาตําบล ทั้งในด้านเศรษฐกิจ สังคม
                                                ํ
และวัฒนธรรม
        มาตรา 67 ภายใต้บงคับกฎหมาย องค์การบริ หารส่ วนตําบล มีหน้าที่ตองทําในเขตองค์การบริ หารส่ วน
                           ั                                          ้
ตําบล ดังต่อไปนี้
        (1) จัดให้มี และบํารุ งรักษาทางนํ้า และทางบก
        (2) รักษาความสะอาดของถนน ทางนํ้า ทางเดิน และที่สาธารณะรวมทั้งกําจัดมูลฝอย และสิ่ งปฏิกลู
        (3) ป้ องกันโรค และระงับโรคติดต่อ
13

          (4) ป้ องกันและบรรเทาสาธารณภัย
          (5) ส่ งเสริ มการศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม
          (6) ส่ งเสริ มการพัฒนาสตรี เด็ก เยาวชน ผูสูงอายุ ผูพิการ
                                                    ้        ้
          (7) คุมครอง ดูแล และบํารุ งรักษาทรัพยากรธรรมชาติ และสิ่ งแวดล้อม
                 ้
          (8) บํารุ งรักษาศิลปะ จารี ตประเพณี ภูมิปัญญาท้องถิ่น และวัฒนธรรมอันดีของท้องถิ่น
          (9) ปฏิบติหน้าที่อื่นตามที่ทางราชการมอบหมายโดยจัดสรรงบประมาณ หรื อบุคลากรให้ตามความ
                     ั
จําเป็ น และสมควร
          มาตรา 68 ภายใต้บงคับกฎหมาย องค์การบริ หารส่ วนตําบล อาจจัดทํากิจการในเขตองค์การบริ หาร
                                ั
ส่ วนตําบล ดังต่อไปนี้
          (1) ให้มีน้ าเพื่อการอุปโภค บริ โภค และการเกษตร
                         ํ
          (2) ให้มี และบํารุ งการไฟฟ้ า หรื อแสงสว่างโดยวิธีอื่น
          (3) จัดให้มี และบํารุ งรักษาทางระบายนํ้า
          (4) ให้มี และบํารุ งสถานที่ประชุมการกีฬา การพักผ่อนหย่อนใจ และสวนสาธารณะ
          (5) ให้มี และส่ งเสริ มกลุ่มเกษตรกร และกิจการสหกรณ์
          (6) ส่ งเสริ มให้มีอุตสาหกรรมในครอบครัว
          (7) บํารุ ง และส่ งเสริ มการประกอบอาชีพของราษฎร
          (8) การคุมครองดูแล และรักษาทรัพย์สินอันเป็ นสาธารณสมบัติของแผ่นดิน
                       ้
          (9) หาผลประโยชน์จากทรัพย์สินขององค์การบริ หารส่ วนตําบล
          (10) ให้มีตลาด ท่าเทียบเรื อ และท่าข้าม
          (11) กิจกรรมเกี่ยวกับการพาณิ ชย์
          (12) การท่องเที่ยว
          (13) การผังเมือง
                                                                      ํ
          องค์การบริ หารส่ วนตําบล มีอานาจหน้าที่ตามพระราชบัญญัติกาหนดแผนและขั้นตอนการกระจาย
                                         ํ
อํานาจให้แก่องค์กรปกครองส่ วนท้องถิ่น พ.ศ.2542 ดังนี้
          (1) การจัดทําแผนพัฒนาท้องถิ่นของตนเอง
          (2) การจัดให้มี และบํารุ งรักษาทางบก ทางนํ้า และทางระบายนํ้า
          (3) การจัดให้มี และควบคุมตลาด ท่าเทียบเรื อ ท่าข้าม และที่จอดรถ
          (4) การสาธารณูปโภค และการก่อสร้างอื่นๆ
          (5) การสาธารณูปการ
          (6) การส่ งเสริ ม การฝึ ก และประกอบอาชีพ
          (7) การพาณิ ชย์ และการส่ งเสริ มการลงทุน
          (8) การส่ งเสริ มการท่องเที่ยว
          (9) การจัดการศึกษา
14

        (10) การสังคมสงเคราะห์ และการพัฒนาคุณภาพชีวิตเด็ก สตรี คนชรา และผูดอยโอกาส้้
        (11) การบํารุ งรักษาศิลปะ จารี ตประเพณี ภูมิปัญญาท้องถิ่น และวัฒนธรรมอันดีของท้องถิ่น
        (12) การปรับปรุ งแหล่งชุมชนแออัด และการจัดการเกี่ยวกับที่อยูอาศัย
                                                                        ่
        (13) การจัดให้มี และบํารุ งรักษาสถานที่พกผ่อนหย่อนใจ
                                                 ั
        (14) การส่ งเสริ มการกีฬา
        (15) การส่ งเสริ มประชาธิปไตย ความเสมอภาค และสิ ทธิเสรี ภาพของประชาชน
        (16) การส่ งเสริ มการมีส่วนร่ วมของราษฎรในการพัฒนาท้องถิ่น
        (17) การรักษาความสะอาด และความเป็ นระเบียบเรี ยบร้อยของบ้านเมือง
        (18) การกําจัดขยะมูลฝอย สิ่ งปฏิกล และนํ้าเสี ย
                                          ู
        (19) การสาธารณสุ ข การอนามัยครอบครัว และการรักษาพยาบาล
        (20) การจัดให้มี และควบคุมสุ สาน และฌาปนสถาน
        (21) การควบคุมการเลี้ยงสัตว์
        (22) การจัดให้มี และควบคุมการฆ่าสัตว์
        (23) การรักษาความปลอดภัย ความเป็ นระเบียบเรี ยบร้อย และการอนามัยโรงมหรสพ และสถานที่อื่นๆ
        (24) การจัดการ การบํารุ งรักษา และการใช้ประโยชน์จากป่ าไม้ ที่ดิน ทรัพยากรธรรมชาติ และสิ่ งแวดล้อม
        (25) การผังเมือง
        (26) การขนส่ ง และการวิศวกรรมจราจร
        (27) การดูแลรักษาที่สาธารณะ
        (28) การควบคุมอาคาร
        (29) การป้ องกันและบรรเทาสาธารณภัย
        (30) การรักษาความสงบเรี ยบร้อย การส่ งเสริ ม และสนับสนุนการป้ องกัน และรักษาความปลอดภัย
ในชีวิต และทรัพย์สิน
        (31) กิจการอื่นใดที่เป็ นผลประโยชน์ของประชาชนในท้องถิ่นตามที่คณะกรรมการประกาศกําหนด

             โครงสร้ างการจัดแบ่ งส่ วนราชการและการบริหารบุคคลขององค์ การบริหารส่ วนตําบล
การจัดโครงสร้างส่ วนราชการขององค์การบริ หารส่ วนตําบลตะนาวศรี ประกอบด้วย
         (1) ปลัดองค์ การบริหารส่ วนตําบล
         ให้มีปลัดองค์การบริ หารส่ วนตําบล เป็ นผูบงคับบัญชา และรับผิดชอบในการปฏิบติราชการของสํานัก
                                                  ้ ั                                ั
ปลัดองค์การบริ หารส่ วนตําบล มีหน้าที่รับผิดชอบเกี่ยวกับงานวางแผนอัตรากําลัง งานกําหนดตําแหน่ ง และ
อัตราเงินเดือน งานบรรจุ แต่งตั้งการเลื่อนระดับ งานโอน ย้าย งานทะเบียนประวัติและบัตร งานฝึ กอบรม และ
พัฒนาบุคลากร งานประเมินผลการปฏิบติงาน และพิจารณาความดี ความชอบงานดําเนิ นการทางวินัย งาน
                                          ั
เกี่ยวกับการออกจากราชการ งานเสนอขอเครื่ องราชอิสริ ยาภรณ์ และประกาศเกียรติคุณ งานธุรการ งานสารบรรณ
กลางงานรัฐพิธี พิธีการต่างๆ งานประชาสัมพันธ์หน่วยงาน งานรับรอง งานรักษาความสะอาด และความ
15

ปลอดภัยสถานที่ราชการ งานด้านนิ ติการ และดําเนิ นคดี งานเกี่ยวกับตราข้อบัญญัติ ระเบียบของหน่ วยงาน
งานเกี่ยวกับข้อมูลข่าวสารงานเกี่ยวกับเรื่ องราวร้องทุกข์ งานเกี่ยวกับตราถ่ายโอนภารกิจตาม พ.ร.บ. กําหนด
แผนและขั้นตอนการกระจ่ายอํานาจให้แก่องค์กรปกครองส่ วนท้องถิ่น พ.ศ.2542 งานสาธารณสุ ข งานเกี่ยวกับ
การประชุมสภาองค์การบริ หารส่ วนตําบล งานเกี่ยวกับการประชุมกรรมการต่างๆ งานสิ ทธิ สวัสดิการ ทะเบียน
ประวัติ การพัฒนาอบรมสมาชิกสภาองค์การบริ หารส่ วนตําบล งานส่ งเสริ มการมีส่วนร่ วมของประชาชน งาน
ส่ งเสริ มประชาธิ ปไตย งานเลือกตั้งนายกองค์การบริ หารส่ วนตําบล และสมาชิกสภาองค์การบริ หารส่ วนตําบล
งานจัดทําระบบข้อมูล (ศูนย์ขอมูล) งานจัดทําข้อบัญญัติงบประมาณรายจ่ายประจําปี /รายจ่ายเพิ่มเติม งาน
                                ้
เกี่ ยวกับโครงการเงิ นอุดหนุ นต่างๆ งานโครงการตามพระราชดําริ งานการจัดการสิ่ งแวดล้อม งานประสาน
หน่ ว ยงานต่ า งๆ ราชการที่ มิ ไ ด้ก า หนดให้เ ป็ นหน้าที่ ข องส่ ว นราชการใดงานอื่ น ๆ ที่ เ กี่ ย วข้อง และได้รั บ
                                     ํ
มอบหมาย
          (2) ส่ วนการคลัง
          ให้มีหวหน้าส่ วนการคลังองค์การบริ หารส่ วนตําบล เป็ นผูบงคับบัญชา (ปลัด อบต. รักษาราชการแทน
                  ั                                                    ้ ั
ในตําแหน่ งหัวหน้าส่ วนการคลัง) และรับผิดชอบในการปฏิบติราชการของส่ วนการคลังองค์การบริ หารส่ วน
                                                                    ั
ตําบล มีหน้าที่รับผิดชอบเกี่ยวกับงานการเบิกจ่าย รับ นําส่ ง เก็บรักษาเงิน และเอกสารทางการเงิน งานเกี่ยวกับ
การตรวจสอบเอกสารการเบิกจ่าย และอนุมติฎีกางานเกี่ยวกับเงินเดือน ค่าจ้าง ค่าตอบแทน และเงินอื่นๆ งานคํา
                                            ั
ขอเบิกเงิน สวัสดิการต่างๆ งานจัดทําบัญชีงานทะเบียนคุมรายได้ รายจ่ายทุกประเภท และจัดทําทะเบียนคุมเงิน
งานจัดทํางบทดลอง งบแสดงฐานะทางการเงิน งบทรัพย์สิน งบหนี้ สิน – เจ้าหนี้ และเงินสะสมประจําเดือน
ประจําปี งานจัดทําข้อมูลสถิติการคลังงานควบคุมการเบิกจ่ายเงิ นงบประมาณ งานเกี่ ยวกับการจัดซื้ อจัดจ้าง
จัดหาพัสดุ งานตรวจสอบการรั บจ่ ายพัสดุ ประจําปี งานเกี่ ยวข้องกับทรั พย์สิน งานจัดเก็บภาษี งานอื่ นๆ ที่
เกี่ยวข้อง และได้รับมอบหมาย
          (3) ส่ วนโยธา
          ให้มีหัวหน้าส่ วนโยธาองค์การบริ หารส่ วนตําบล เป็ นผูบงคับบัญชา และรั บผิดชอบในการปฏิบติ
                                                                      ้ ั                                          ั
ราชการของส่ วนโยธาองค์การบริ หารส่ วนตําบล มีหน้าที่รับผิดชอบเกี่ ยวกับงานสํารวจ และจัดทําโครงการ
งานออกแบบ และเขียนแบบ งานตรวจสอบการก่อสร้าง งานรวบรวมจัดเก็บประวัติโครงการต่างๆ งานควบคุม
อาคาร งานจัดทําแผนที่ และแผนผังต่างๆ งานประมาณราคาโครงการต่างๆ งานเกี่ ยวกับการประชาสัมพันธ์
ผลงานของส่ วนโยธา งานกําหนดราคากลางของวัสดุ และงานต่างๆ ของท้องถิ่น งานวางแผนการปฏิบติงาน                    ั
การก่อสร้าง และซ่ อมบํารุ ง งานควบคุมการก่อสร้าง งานคุมการซ่อมแซม และบํารุ งรักษาพัสดุ และทรัพย์สิน
งานเกี่ยวกับการสาธารณู ปโภค งานเกี่ยวกับการป้ องกันและบรรเทาสาธารณภัย งานระบายนํ้า งานสนามกีฬา
องค์การบริ หารส่ วนตําบล งานอื่นๆ ที่เกี่ยวข้อง และได้รับมอบหมาย
          (4) ส่ วนการศึกษา
          ไม่มีหัวหน้าส่ วนการศึกษา (ตําแหน่ งว่าง) ในงานส่ วนนี้ รับผิดชอบเกี่ ยวกับงานส่ งเสริ มการกี ฬา
วัฒนธรรมจารี ตประเพณี และภูมิปัญญาท้องถิ่น งานส่ งเสริ มการศึกษา งานสังเคราะห์ งานห้องสมุดประชาชน
งานอื่นๆ ที่เกี่ยวข้อง และได้รับมอบหมาย
23

                                               บทที่ 3
                        การวิเคราะห์ ศักยภาพการพัฒนาองค์ การบริหารส่ วนตําบล

3.1 หลักและแนวคิดในการวางแผนพัฒนาองค์ การบริหารส่ วนตําบล
                   การวิเคราะห์ศกยภาพ เพื่อประเมินสถานภาพการพัฒนาองค์การบริ หารส่ วนตําบล ในปั จจุบน
                                  ั                                                                ั
องค์การบริ หารส่ วนตําบลตะนาวศรี ได้ต้งประเด็นการพัฒนาองค์การบริ หารส่ วนตําบลไว้ ดังนี้
                                             ั
        3.1.1 การพัฒนาตามนโยบายของรัฐบาล (คําแถลงนโยบายของรัฐบาล)
        1. นโยบายเร่ งด่ วนทีต้องดําเนินการในปี แรก
                                ่
           1.1 การสร้างความเชื่อมันและกระตุนเศรษฐกิจในภาพรวมเพื่อให้เกิดความเชื่อมันแก่ภาคประชาชน
                                     ่           ้                                  ่
และเอกชนในการลงทุนและการบริ โภค
          1.2 การรักษาและเพิ่มรายได้ของประชาชน
          1.3 การลดภาระค่าครองชีพของประชาชน
          1.4 จัดตั้งคณะกรรมการรัฐมนตรี เศรษฐกิจและคณะกรรมการร่ วมภาครัฐและเอกชนเพื่อแก้ไขปัญหา
ทางเศรษฐกิจ (กรอ.)
        นโยบายทีจะดําเนินการภายในระยะเวลา 3 ปี
                    ่
        2. นโยบายความมั่นคงของรัฐ
           2.1 ปกป้ องและเทิดทูนสถาบันพระมหากษัตริ ย ์
           2.2 เสริ มสร้างและพัฒนาศักยภาพการป้ องกันประเทศให้มีความพร้อม
           2.3 เสริ มสร้างสันติภาพของการอยูร่วมกันกับประเทศเพื่อนบ้าน
                                               ่
           2.4 แก้ไขปัญหาคนหลบหนีเข้าเมือง
           2.5 เสริ มสร้างศักยภาพในการจัดการปัญหาภัยคุกคามข้ามชาติ
        3. นโยบายสังคมและคุณภาพชีวต      ิ
           3.1 นโยบายการศึกษา
            - จัดให้ทุกคนได้รับการศึกษาฟรี 15 ปี ตั้งแต่อนุบาล จนถึงมัธยมศึกษาตอนปลาย
                                                         ู้ ื ่
             - ปรับปรุ งระบบการบริ หารจัดการกองทุนให้กยมเพือการศึกษา ให้มีการประนีประนอมไกล่เกลี่ยหนี้
             - ส่ งเสริ มให้เด็กและเยาวชนและประชาชนได้ใช้ประโยชน์จากเทคโนโลยีและสารทนเทศ
        3.2 นโยบายแรงงาน
             - ปฏิรูประบบประกันสังคมให้มีความเข้มแข็งมันคง   ่
             - พัฒนาและฝึ กอบรมแรงงานทุกระดับให้มีความรู ้และทักษะฝี มือที่มีมาตรฐาน
             - ส่ งเสริ มการมีงานทําของผูสูงอายุและคนพิการ
                                           ้
แผนยุทธศาสตร์
แผนยุทธศาสตร์
แผนยุทธศาสตร์
แผนยุทธศาสตร์
แผนยุทธศาสตร์
แผนยุทธศาสตร์
แผนยุทธศาสตร์
แผนยุทธศาสตร์
แผนยุทธศาสตร์
แผนยุทธศาสตร์
แผนยุทธศาสตร์
แผนยุทธศาสตร์
แผนยุทธศาสตร์
แผนยุทธศาสตร์
แผนยุทธศาสตร์
แผนยุทธศาสตร์
แผนยุทธศาสตร์
แผนยุทธศาสตร์
แผนยุทธศาสตร์
แผนยุทธศาสตร์
แผนยุทธศาสตร์
แผนยุทธศาสตร์
แผนยุทธศาสตร์
แผนยุทธศาสตร์
แผนยุทธศาสตร์
แผนยุทธศาสตร์
แผนยุทธศาสตร์
แผนยุทธศาสตร์
แผนยุทธศาสตร์
แผนยุทธศาสตร์
แผนยุทธศาสตร์
แผนยุทธศาสตร์
แผนยุทธศาสตร์
แผนยุทธศาสตร์
แผนยุทธศาสตร์
แผนยุทธศาสตร์
แผนยุทธศาสตร์
แผนยุทธศาสตร์
แผนยุทธศาสตร์
แผนยุทธศาสตร์
แผนยุทธศาสตร์
แผนยุทธศาสตร์
แผนยุทธศาสตร์

More Related Content

What's hot

บรรยายการจัดทำแผน และ งบประมาณ
บรรยายการจัดทำแผน และ งบประมาณบรรยายการจัดทำแผน และ งบประมาณ
บรรยายการจัดทำแผน และ งบประมาณปิยนันท์ ราชธานี
 
แผนพัฒนาท้องถิ่นสี่ปี (พ.ศ.2561 - 2564) ของเทศบาลตำบลท่าเสา
แผนพัฒนาท้องถิ่นสี่ปี (พ.ศ.2561 - 2564) ของเทศบาลตำบลท่าเสาแผนพัฒนาท้องถิ่นสี่ปี (พ.ศ.2561 - 2564) ของเทศบาลตำบลท่าเสา
แผนพัฒนาท้องถิ่นสี่ปี (พ.ศ.2561 - 2564) ของเทศบาลตำบลท่าเสาKanjana thong
 
๑.๖ แผนปฏิบัติราชการ ๔ ปี ศธ.จักราวุธ คำทวี
๑.๖ แผนปฏิบัติราชการ ๔ ปี ศธ.จักราวุธ คำทวี๑.๖ แผนปฏิบัติราชการ ๔ ปี ศธ.จักราวุธ คำทวี
๑.๖ แผนปฏิบัติราชการ ๔ ปี ศธ.จักราวุธ คำทวีนายจักราวุธ คำทวี
 
แผนพัฒนาสามปี (พ.ศ.2559 - 2561) การเพิ่มเติม ฉบับที่ 1
แผนพัฒนาสามปี (พ.ศ.2559 - 2561) การเพิ่มเติม  ฉบับที่ 1แผนพัฒนาสามปี (พ.ศ.2559 - 2561) การเพิ่มเติม  ฉบับที่ 1
แผนพัฒนาสามปี (พ.ศ.2559 - 2561) การเพิ่มเติม ฉบับที่ 1Kanjana thong
 
ทีมเลขานุการมือใหม่
ทีมเลขานุการมือใหม่ทีมเลขานุการมือใหม่
ทีมเลขานุการมือใหม่jab bph
 
ภารหน้าที่
ภารหน้าที่ภารหน้าที่
ภารหน้าที่marena06008
 
แผนปฏิบัติราชการ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2559 กระทรวงศึกษาธิการ
แผนปฏิบัติราชการ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2559 กระทรวงศึกษาธิการแผนปฏิบัติราชการ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2559 กระทรวงศึกษาธิการ
แผนปฏิบัติราชการ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2559 กระทรวงศึกษาธิการสอบครูดอทคอม เว็บเตรียมสอบ
 

What's hot (17)

บัญชีสรุปโครงการ
บัญชีสรุปโครงการบัญชีสรุปโครงการ
บัญชีสรุปโครงการ
 
บทนำ แผนพัฒนา 3 ปี
บทนำ แผนพัฒนา 3 ปีบทนำ แผนพัฒนา 3 ปี
บทนำ แผนพัฒนา 3 ปี
 
บรรยายการจัดทำแผน และ งบประมาณ
บรรยายการจัดทำแผน และ งบประมาณบรรยายการจัดทำแผน และ งบประมาณ
บรรยายการจัดทำแผน และ งบประมาณ
 
แผนพัฒนาสามปี 2559 - 2561
แผนพัฒนาสามปี 2559 - 2561แผนพัฒนาสามปี 2559 - 2561
แผนพัฒนาสามปี 2559 - 2561
 
ซักซ้อมแผนสี่ปี
ซักซ้อมแผนสี่ปีซักซ้อมแผนสี่ปี
ซักซ้อมแผนสี่ปี
 
แผนพัฒนาท้องถิ่นสี่ปี (พ.ศ.2561 - 2564) ของเทศบาลตำบลท่าเสา
แผนพัฒนาท้องถิ่นสี่ปี (พ.ศ.2561 - 2564) ของเทศบาลตำบลท่าเสาแผนพัฒนาท้องถิ่นสี่ปี (พ.ศ.2561 - 2564) ของเทศบาลตำบลท่าเสา
แผนพัฒนาท้องถิ่นสี่ปี (พ.ศ.2561 - 2564) ของเทศบาลตำบลท่าเสา
 
๑.๖ แผนปฏิบัติราชการ ๔ ปี ศธ.จักราวุธ คำทวี
๑.๖ แผนปฏิบัติราชการ ๔ ปี ศธ.จักราวุธ คำทวี๑.๖ แผนปฏิบัติราชการ ๔ ปี ศธ.จักราวุธ คำทวี
๑.๖ แผนปฏิบัติราชการ ๔ ปี ศธ.จักราวุธ คำทวี
 
แผนพัฒนาสามปี (พ.ศ.2559 - 2561) การเพิ่มเติม ฉบับที่ 1
แผนพัฒนาสามปี (พ.ศ.2559 - 2561) การเพิ่มเติม  ฉบับที่ 1แผนพัฒนาสามปี (พ.ศ.2559 - 2561) การเพิ่มเติม  ฉบับที่ 1
แผนพัฒนาสามปี (พ.ศ.2559 - 2561) การเพิ่มเติม ฉบับที่ 1
 
ทีมเลขานุการมือใหม่
ทีมเลขานุการมือใหม่ทีมเลขานุการมือใหม่
ทีมเลขานุการมือใหม่
 
คําบรรยายลักษณะงานเชิงกลยุทธ์ระดับอำเภอของพัฒนาชุมชน
คําบรรยายลักษณะงานเชิงกลยุทธ์ระดับอำเภอของพัฒนาชุมชนคําบรรยายลักษณะงานเชิงกลยุทธ์ระดับอำเภอของพัฒนาชุมชน
คําบรรยายลักษณะงานเชิงกลยุทธ์ระดับอำเภอของพัฒนาชุมชน
 
รายงาน หนุ่ม 702
รายงาน หนุ่ม 702รายงาน หนุ่ม 702
รายงาน หนุ่ม 702
 
ภารหน้าที่
ภารหน้าที่ภารหน้าที่
ภารหน้าที่
 
แผนยุทศาสตร์ อปท57
แผนยุทศาสตร์ อปท57แผนยุทศาสตร์ อปท57
แผนยุทศาสตร์ อปท57
 
Thai Research Policy # 8
Thai Research Policy # 8Thai Research Policy # 8
Thai Research Policy # 8
 
แผนปฏิบัติราชการกระทรวงศึกษาธิการปีงบประมาณ 2560
แผนปฏิบัติราชการกระทรวงศึกษาธิการปีงบประมาณ 2560แผนปฏิบัติราชการกระทรวงศึกษาธิการปีงบประมาณ 2560
แผนปฏิบัติราชการกระทรวงศึกษาธิการปีงบประมาณ 2560
 
ต่าย
ต่ายต่าย
ต่าย
 
แผนปฏิบัติราชการ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2559 กระทรวงศึกษาธิการ
แผนปฏิบัติราชการ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2559 กระทรวงศึกษาธิการแผนปฏิบัติราชการ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2559 กระทรวงศึกษาธิการ
แผนปฏิบัติราชการ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2559 กระทรวงศึกษาธิการ
 

Similar to แผนยุทธศาสตร์

แนวทางและหลักเกณฑ์การจัดทำและประสานแผนพัฒนาท้องถิ่นขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่...
แนวทางและหลักเกณฑ์การจัดทำและประสานแผนพัฒนาท้องถิ่นขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่...แนวทางและหลักเกณฑ์การจัดทำและประสานแผนพัฒนาท้องถิ่นขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่...
แนวทางและหลักเกณฑ์การจัดทำและประสานแผนพัฒนาท้องถิ่นขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่...Somyoch Comesite
 
Transformation to hi value and sustainable thailand
Transformation to hi value and sustainable thailandTransformation to hi value and sustainable thailand
Transformation to hi value and sustainable thailandPattie Pattie
 
กรอบแนวทางกรขับเคลื่อนการดำเนินงานตาม (ร่าง)นโยบายและจุดเน้นการดำเนินงาน สำนั...
กรอบแนวทางกรขับเคลื่อนการดำเนินงานตาม (ร่าง)นโยบายและจุดเน้นการดำเนินงาน สำนั...กรอบแนวทางกรขับเคลื่อนการดำเนินงานตาม (ร่าง)นโยบายและจุดเน้นการดำเนินงาน สำนั...
กรอบแนวทางกรขับเคลื่อนการดำเนินงานตาม (ร่าง)นโยบายและจุดเน้นการดำเนินงาน สำนั...Kosin Jind
 
แผนแม่บทพัฒนาธุรกิจ Long stay ปี พ.ศ.2560-2564 (กลุ่มจังหวัดภาคเหนือตอนบน 1)
แผนแม่บทพัฒนาธุรกิจ Long stay ปี พ.ศ.2560-2564 (กลุ่มจังหวัดภาคเหนือตอนบน 1)แผนแม่บทพัฒนาธุรกิจ Long stay ปี พ.ศ.2560-2564 (กลุ่มจังหวัดภาคเหนือตอนบน 1)
แผนแม่บทพัฒนาธุรกิจ Long stay ปี พ.ศ.2560-2564 (กลุ่มจังหวัดภาคเหนือตอนบน 1)Korawan Sangkakorn
 
Policy brief แนวทางการพัฒนาภาคประชาสังคม ในพื้นที่ 5 จังหวัดภาคเหนือ (เชียงใ...
Policy brief แนวทางการพัฒนาภาคประชาสังคม ในพื้นที่ 5 จังหวัดภาคเหนือ  (เชียงใ...Policy brief แนวทางการพัฒนาภาคประชาสังคม ในพื้นที่ 5 จังหวัดภาคเหนือ  (เชียงใ...
Policy brief แนวทางการพัฒนาภาคประชาสังคม ในพื้นที่ 5 จังหวัดภาคเหนือ (เชียงใ...FURD_RSU
 
แผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์สำเร็จรูป
แผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์สำเร็จรูปแผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์สำเร็จรูป
แผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์สำเร็จรูปสปสช นครสวรรค์
 
การจัดทำแผนพัฒนาองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
การจัดทำแผนพัฒนาองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นการจัดทำแผนพัฒนาองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
การจัดทำแผนพัฒนาองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นSurasak Tumthong
 
แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติฉบับที่ 12 (พ.ศ. 2560-2564)
แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติฉบับที่ 12 (พ.ศ. 2560-2564)แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติฉบับที่ 12 (พ.ศ. 2560-2564)
แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติฉบับที่ 12 (พ.ศ. 2560-2564)National Science and Technology Development Agency (NSTDA) - Thailand
 
ประกาศ อบตผลการดำเนินงานตามรัฐธรรมนูญ54
ประกาศ อบตผลการดำเนินงานตามรัฐธรรมนูญ54ประกาศ อบตผลการดำเนินงานตามรัฐธรรมนูญ54
ประกาศ อบตผลการดำเนินงานตามรัฐธรรมนูญ54auy48
 
แผนการดำเนินงาน ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2560
แผนการดำเนินงาน ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2560แผนการดำเนินงาน ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2560
แผนการดำเนินงาน ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2560Kanjana thong
 
เอกสารประกอบการเสวนาปีงบประมาณ 2560 เรื่อง แนวทางการตรวจสอบ อปท. อย่างเป็นรูป...
เอกสารประกอบการเสวนาปีงบประมาณ 2560 เรื่อง แนวทางการตรวจสอบ อปท. อย่างเป็นรูป...เอกสารประกอบการเสวนาปีงบประมาณ 2560 เรื่อง แนวทางการตรวจสอบ อปท. อย่างเป็นรูป...
เอกสารประกอบการเสวนาปีงบประมาณ 2560 เรื่อง แนวทางการตรวจสอบ อปท. อย่างเป็นรูป...ประพันธ์ เวารัมย์
 

Similar to แผนยุทธศาสตร์ (20)

แนวทางและหลักเกณฑ์การจัดทำและประสานแผนพัฒนาท้องถิ่นขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่...
แนวทางและหลักเกณฑ์การจัดทำและประสานแผนพัฒนาท้องถิ่นขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่...แนวทางและหลักเกณฑ์การจัดทำและประสานแผนพัฒนาท้องถิ่นขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่...
แนวทางและหลักเกณฑ์การจัดทำและประสานแผนพัฒนาท้องถิ่นขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่...
 
แผนพัฒนาสามปี องค์การบริหารส่วนตำบลห้วยยาง พ.ศ.2558-2560
แผนพัฒนาสามปี องค์การบริหารส่วนตำบลห้วยยาง พ.ศ.2558-2560แผนพัฒนาสามปี องค์การบริหารส่วนตำบลห้วยยาง พ.ศ.2558-2560
แผนพัฒนาสามปี องค์การบริหารส่วนตำบลห้วยยาง พ.ศ.2558-2560
 
Transformation to hi value and sustainable thailand
Transformation to hi value and sustainable thailandTransformation to hi value and sustainable thailand
Transformation to hi value and sustainable thailand
 
กรอบแนวทางกรขับเคลื่อนการดำเนินงานตาม (ร่าง)นโยบายและจุดเน้นการดำเนินงาน สำนั...
กรอบแนวทางกรขับเคลื่อนการดำเนินงานตาม (ร่าง)นโยบายและจุดเน้นการดำเนินงาน สำนั...กรอบแนวทางกรขับเคลื่อนการดำเนินงานตาม (ร่าง)นโยบายและจุดเน้นการดำเนินงาน สำนั...
กรอบแนวทางกรขับเคลื่อนการดำเนินงานตาม (ร่าง)นโยบายและจุดเน้นการดำเนินงาน สำนั...
 
งานสำคัญ
งานสำคัญงานสำคัญ
งานสำคัญ
 
แผนแม่บทพัฒนาธุรกิจ Long stay ปี พ.ศ.2560-2564 (กลุ่มจังหวัดภาคเหนือตอนบน 1)
แผนแม่บทพัฒนาธุรกิจ Long stay ปี พ.ศ.2560-2564 (กลุ่มจังหวัดภาคเหนือตอนบน 1)แผนแม่บทพัฒนาธุรกิจ Long stay ปี พ.ศ.2560-2564 (กลุ่มจังหวัดภาคเหนือตอนบน 1)
แผนแม่บทพัฒนาธุรกิจ Long stay ปี พ.ศ.2560-2564 (กลุ่มจังหวัดภาคเหนือตอนบน 1)
 
ส่วนที่ 6 แผนสามปี
ส่วนที่ 6 แผนสามปีส่วนที่ 6 แผนสามปี
ส่วนที่ 6 แผนสามปี
 
เล่มแผนCg ปี54
เล่มแผนCg ปี54เล่มแผนCg ปี54
เล่มแผนCg ปี54
 
Policy brief แนวทางการพัฒนาภาคประชาสังคม ในพื้นที่ 5 จังหวัดภาคเหนือ (เชียงใ...
Policy brief แนวทางการพัฒนาภาคประชาสังคม ในพื้นที่ 5 จังหวัดภาคเหนือ  (เชียงใ...Policy brief แนวทางการพัฒนาภาคประชาสังคม ในพื้นที่ 5 จังหวัดภาคเหนือ  (เชียงใ...
Policy brief แนวทางการพัฒนาภาคประชาสังคม ในพื้นที่ 5 จังหวัดภาคเหนือ (เชียงใ...
 
แผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์สำเร็จรูป
แผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์สำเร็จรูปแผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์สำเร็จรูป
แผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์สำเร็จรูป
 
การจัดทำแผนพัฒนาองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
การจัดทำแผนพัฒนาองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นการจัดทำแผนพัฒนาองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
การจัดทำแผนพัฒนาองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
 
แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติฉบับที่ 12 (พ.ศ. 2560-2564)
แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติฉบับที่ 12 (พ.ศ. 2560-2564)แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติฉบับที่ 12 (พ.ศ. 2560-2564)
แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติฉบับที่ 12 (พ.ศ. 2560-2564)
 
รบ มท แผน ฉ2 2559
รบ มท แผน ฉ2 2559รบ มท แผน ฉ2 2559
รบ มท แผน ฉ2 2559
 
Plan 21072011181254
Plan 21072011181254Plan 21072011181254
Plan 21072011181254
 
ประกาศ อบตผลการดำเนินงานตามรัฐธรรมนูญ54
ประกาศ อบตผลการดำเนินงานตามรัฐธรรมนูญ54ประกาศ อบตผลการดำเนินงานตามรัฐธรรมนูญ54
ประกาศ อบตผลการดำเนินงานตามรัฐธรรมนูญ54
 
การติดตามและประเมินผลแผนพัฒนาสามปี
การติดตามและประเมินผลแผนพัฒนาสามปีการติดตามและประเมินผลแผนพัฒนาสามปี
การติดตามและประเมินผลแผนพัฒนาสามปี
 
แผนการดำเนินงาน ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2560
แผนการดำเนินงาน ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2560แผนการดำเนินงาน ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2560
แผนการดำเนินงาน ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2560
 
Operation plan
Operation planOperation plan
Operation plan
 
เอกสารประกอบการเสวนาปีงบประมาณ 2560 เรื่อง แนวทางการตรวจสอบ อปท. อย่างเป็นรูป...
เอกสารประกอบการเสวนาปีงบประมาณ 2560 เรื่อง แนวทางการตรวจสอบ อปท. อย่างเป็นรูป...เอกสารประกอบการเสวนาปีงบประมาณ 2560 เรื่อง แนวทางการตรวจสอบ อปท. อย่างเป็นรูป...
เอกสารประกอบการเสวนาปีงบประมาณ 2560 เรื่อง แนวทางการตรวจสอบ อปท. อย่างเป็นรูป...
 
0 afcap
0 afcap0 afcap
0 afcap
 

แผนยุทธศาสตร์

  • 1. แผนยุทธศาสตร์ การพัฒนา ประจําปี พ.ศ. 2554 – 2558 องค์ การบริหารส่ วนตําบลตะนาวศรี อําเภอสวนผึง จังหวัดราชบุรี ้
  • 2. คําปรารภ โดย นายกองค์ การบริหารส่ วนตําบลตะนาวศรี แผนยุทธศาสตร์การพัฒนาองค์การบริ หารส่ วนตําบลตะนาวศรี (พ.ศ.2554 – 2558) เป็ น แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมขององค์การบริ หารส่ วนตําบล และแนวทางการพัฒนาขององค์การบริ หาร ส่ วนตําบล ซึ่งแสดงวิสยทัศน์ พันธกิจ(ภารกิจหลัก) และจุดมุ่งหมาย เพื่อการพัฒนาในอนาคต โดย ั สอดคล้องกับแผนพัฒนาเศรษฐกิจ และสังคมแห่งชาติ ยุทธศาสตร์การพัฒนาจังหวัดราชบุรี ยุทธศาสตร์การ พัฒนาอําเภอสวนผึ้ง ในการจัดทําแผนยุทธศาสตร์ การพัฒนาองค์การบริ หารส่ วนตําบลตะนาวศรี ได้จดทําโดย ั ํ ถือปฏิบติตามขั้นตอนที่กาหนดไว้ในระเบียบกระทรวงมหาดไทย ว่าด้วยการจัดทําแผนพัฒนาขององค์กร ั ปกครองส่ วนท้องถิ่น พ.ศ.2548 ดังนั้น แผนยุทธศาสตร์การพัฒนาองค์การบริ หารส่ วนตําบลตะนาวศรี จึง เป็ นยุทธศาสตร์การพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมขององค์การบริ หารส่ วนตําบล ซึ่งแสดงวิสยทัศน์ พันธกิจ ั (ภารกิจหลัก) และจุดมุ่งหมาย เพื่อการพัฒนาที่สามารถนําไปจัดทําแผนพัฒนาสามปี และเชื่อมโยงกับการ จัดทํางบประมาณรายจ่ายประจําปี โดยคณะกรรมการพัฒนาองค์การบริ หารส่ วนตําบลตะนาวศรี ได้ให้ความ เห็นชอบเมื่อวันที่ เดือน พฤษภาคม พ.ศ.2553 และสภาองค์การบริ หารส่ วนตําบลตะนาวศรี ให้ความ เห็นชอบแล้วเมื่อวันที่ เดือน มิถุนายน พ.ศ.2553 เพื่อให้องค์การบริ หารส่ วนตําบลตะนาวศรี มีแผน ยุทธศาสตร์การพัฒนาองค์การบริ หารส่ วนตําบล เป็ นเครื่ องมือในการจัดทําแผนพัฒนา 3 ปี และเป็ น เครื่ องมือในการบริ หารงบประมาณ ระยะเวลา บุคลากร ทรัพยากรให้สามารถแก้ไขปั ญหาความต้องการ ของประชาชนให้เกิดประสิ ทธิภาพอย่างแท้จริ ง จึงเห็นชอบและอนุมติเอกสารฉบับนี้ เป็ นแผนยุทธศาสตร์ ั การพัฒนาองค์การบริ หารส่ วนตําบลตะนาวศรี (พ.ศ.2554 – 2558) ต่อไป (ลงชื่อ) (นายนิคม ศรี คา) ํ นายกองค์การบริ หารส่ วนตําบลตะนาวศรี
  • 3. คํานํา แผนยุทธศาสตร์การพัฒนา องค์การบริ หารส่ วนตําบลตะนาวศรี (พ.ศ.2554 – 2558) เป็ น ยุทธศาสตร์ที่เกิดจากภายใต้ระเบียบกระทรวงมหาดไทยว่าด้วยการจัดทําแผนพัฒนาขององค์กรปกครองส่ วน ท้องถิ่น พ.ศ.2548 โดยมีส่วนร่ วมของทุกภาคส่ วนที่ได้ระดมความคิด กําหนดวิสยทัศน์ร่วมกัน โดยกรอบ ั แนวความคิดของยุทธศาสตร์การพัฒนาด้านต่าง ๆ ต้องสอดคล้องกับแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 10 (พ.ศ.2550 - 2554) นโยบายของรัฐบาล ยุทธศาสตร์พฒนาจังหวัดราชบุรี ยุทธศาสตร์พฒนา ั ั อําเภอสวนผึ้ง แผนยุทธศาสตร์การพัฒนาองค์การบริ หารส่ วนตําบลตะนาวศรี จึงเป็ นแผนพัฒนาเศรษฐกิจ และสังคมขององค์การบริ หารส่ วนตําบล ที่เป็ นเครื่ องมือในการนําทิศทางการพัฒนาภายใต้การมีวสยทัศน์ ิ ั ร่ วมของประชาคมตําบล มีการพิจารณาจุดแข็ง จุดอ่อน โอกาส ปั ญหาอุปสรรค และแนวทางแก้ไขร่ วมกัน ซึ่งผลของยุทธศาสตร์ที่เกิดจากการมีส่วนร่ วมจะเป็ นกุญแจสําคัญที่จะทําให้นโยบายของผูบริ หารมีทิศทางที่ ้ ชัดเจนสามารถแก้ไขปั ญหาในพื้นที่ได้ตรงจุด และถูกทิศทางอันจะนําไปสู่ การเปลี่ยนแปลงในรู ปของ โครงการ กิจกรรม และสามารถนําไปปฏิบติให้เกิดรู ปธรรมอย่างจริ งจัง และยังยืนต่อไป ั ่ คณะกรรมการสนับสนุนการจัดทําแผนพัฒนา องค์การบริ หารส่ วนตําบลตะนาวศรี พ.ศ.2553
  • 4. สารบัญ เรื่อง หน้ า บทที่ 1 บทนํา 1–2 บทที่ 2 สภาพทัวไป และข้อมูลพื้นฐานขององค์การบริ หารส่ วนตําบล ่ 3 – 22 บทที่ 3 การวิเคราะห์ศกยภาพการพัฒนาองค์การบริ หารส่ วนตําบล ั 23 – 42 บทที่ 4 วิสยทัศน์ พันธกิจ และจุดมุ่งหมายเพื่อการพัฒนา ั 43 – 48 บทที่ 5 ยุทธศาสตร์การพัฒนาองค์การบริ หารส่ วนตําบล 49 – 54 บทที่ 6 การนําแผนยุทธศาสตร์การพัฒนาไปสู่ การปฏิบติ ั 55 – 63 และการติดตามประเมินผล
  • 5. 1 บทที่ 1 บทนํา 1.1 ความเป็ นมาและความสํ าคัญในการจัดทําแผนยุทธศาสตร์ การพัฒนาขององค์ การบริหารส่ วน ตําบลตะนาวศรี (พ.ศ.2554 – 2558) นับแต่ได้มีการประกาศใช้รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2540 เป็ นต้นมา บทบาทอํานาจหน้าที่ และความรับผิดชอบขององค์กรปกครองส่ วนท้องถิ่น ได้เปลี่ยนแปลงไปจากเดิมอย่าง มากโดยให้ความสําคัญกับการกระจายอํานาจให้แก่องค์กรปกครองส่ วนท้องถิ่น โดยกําหนดกรอบความเป็ น อิสระในการปกครองตนเองตามเจตนารมณ์ของประชาชน และความอิสระในการกําหนดนโยบายการปกครอง การบริ หาร การบริ หารงานบุคคล การเงิน และการคลัง และมีอานาจหน้าที่ของตนเองโดยเฉพาะ ํ ํ นอกจากนี้พระราชบัญญัติกาหนดแผนและขั้นตอนการกระจายอํานาจให้แก่องค์กรปกครอง ํ ส่ วนท้องถิ่น พ.ศ.2542 ได้กาหนดหน้าที่ขององค์กรปกครองส่ วนท้องถิ่น ในการให้การบริ การสาธารณะที่ จําเป็ นแก่ทองถิ่น ตลอดจนรายได้ของท้องถิ่นที่เพิ่มขึ้น จึงมีความจําเป็ นในการใช้ทรัพยากรรายได้ ทั้งที่ทองถิ่น ้ ้ จัดเก็บเอง และรายได้ที่รัฐบาลจัดสรรให้ เกิดประโยชน์สูงสุ ด และมีความโปร่ งใสมากที่สุด ประกอบกับระเบียบกระทรวงมหาดไทย ว่าด้วยการจัดทําแผนพัฒนาขององค์กรปกครอง ํ ส่ วนท้องถิ่น พ.ศ.2548 ได้กาหนดประเภทแผนพัฒนาขององค์กรปกครองส่ วนท้องถิ่น 2 ประเภทคือ แผน ยุทธศาสตร์การพัฒนา และแผนพัฒนา 3 ปี แผนยุทธศาสตร์การพัฒนาขององค์กรปกครองส่ วนท้องถิ่น เป็ นแผนพัฒนาเศรษฐกิจและ ํ สังคมขององค์กรปกครองส่ วนท้องถิ่นที่กาหนดยุทธศาสตร์และแนวทางการพัฒนาขององค์กรปกครองส่ วน ท้องถิ่น ซึ่งแสดงวิสยทัศน์ พันธกิจ และจุดมุ่งหมาย เพื่อการพัฒนาในอนาคตโดยสอดคล้องกับแผนพัฒนา ั เศรษฐกิจและสังคมแห่ งชาติ ยุทธศาสตร์การพัฒนาจังหวัด ยุทธศาสตร์การพัฒนาอําเภอ และนโยบายในการ พัฒนาท้องถิ่น การวางแผนยุทธศาสตร์การพัฒนาขององค์กรปกครองส่ วนท้องถิ่น จึงเป็ นกระบวนการ กําหนดทิศทางในอนาคตขององค์กรปกครองส่ วนท้องถิ่น โดยกําหนดสภาพการณ์ที่ตองการบรรจุ และ้ แนวทางในการบรรจุบนพื้นฐานของการรวบรวม และวิเคราะห์ขอมูลอย่างรอบด้าน และเป็ นระบบ ทั้งนี้ ้ จะต้องสอดคล้องกับศักยภาพของท้องถิ่น และปัญหา/ความต้องการของประชาชนในท้องถิ่นด้วย การวางแผนยุทธศาสตร์การพัฒนามีความสําคัญต่อองค์กรปกครองส่ วนท้องถิ่นเป็ นอย่างยิง ่ ทั้งนี้เนื่องจากแผนยุทธศาสตร์การพัฒนาเป็ นแผนพัฒนาที่มุ่งไปสู่ สภาพการณ์ที่ตองการให้เกิดขึ้นในอนาคตเป็ น ้ กรอบในการกําหนดทิศทางการพัฒนาขององค์กรปกครองส่ วนท้องถิ่นให้มุ่งไปสู่สภาพการณ์อนพึงประสงค์ได้ ั ่ อย่างเท่าทันกับการเปลี่ยนแปลงโดยสามารถจัดสรรทรัพยากรที่มีอยูอย่างมีประสิ ทธิภาพ การจัดทําแผน ยุทธศาสตร์การพัฒนา จึงเป็ นการกําหนดทิศทางการพัฒนาขององค์กรปกครองส่ วนท้องถิ่น ที่ตองกําหนด ้ สภาพการณ์ที่ตองการจะบรรลุ และแนวทางในการที่จะทําให้บรรลุถึงสภาพการณ์ นั้น ้
  • 6. 2 องค์การบริ หารส่ วนตําบลตะนาวศรี จึงได้ทาแผนยุทธศาสตร์การพัฒนาองค์การบริ หารส่ วน ํ ตําบลตะนาวศรี เป็ นแผนยุทธศาสตร์การพัฒนาที่สอดคล้องกับยุทธศาสตร์การพัฒนาอําเภอ แบบบูรณาการ ยุทธศาสตร์จงหวัดแบบบูรณาการ นโยบายกระทรวง กรม นโยบายรัฐบาล แผนพัฒนาไปสู่การจัดทํา ั แผนพัฒนาองค์การบริ หารส่ วนตําบล 3 ปี เพื่อเป็ นโครงการกิจกรรมไปสู่การปฏิบติในพื้นที่ให้สอดคล้อง ั กับศักยภาพของพื้นที่ และปั ญหาความต้องการของประชาชน และเป็ นแผนชี้นาการพัฒนาองค์การบริ หารส่ วน ํ ่ ั ตําบล ในภาพรวมระยะยาว แต่ได้ยดมันว่าจะต้องใช้ระยะเวลาเท่าใดขึ้นอยูกบปั ญหา และความต้องการของ ึ ่ ประชาชนในขณะนี้ จึงสามารถปรับเปลี่ยนได้ตามความเหมาะสม รวมทั้งการปรับเปลี่ยนเมื่อมีการ เปลี่ยนแปลงนโยบายของรัฐบาล ยุทธศาสตร์พฒนาจังหวัด ยุทธศาสตร์พฒนาอําเภอ ั ั 1.2 วัตถุประสงค์ ของการจัดทําแผนยุทธศาสตร์ การพัฒนา 1. เพื่อกําหนดทิศทางการพัฒนาขององค์กรปกครองส่ วนท้องถิ่น 2. เพื่อเป็ นการเตรี ยมการสําหรับการพัฒนาในอนาคต 3. เพื่อให้สามารถนําไปสู่ การแก้ไขปั ญหาและตอบสนองความต้องการของประชาชนในท้องถิ่น ได้อย่างแท้จริ ง ่ 4. เพื่อให้สามารถจัดสรรทรัพยากรที่มีอยูอย่างจํากัดได้อย่างมีประสิ ทธิภาพ 5. เพื่อแสดงความสัมพันธ์เชื่อมโยงกับการจัดทําแผนพัฒนาสามปี 1.3 ขั้นตอนการจัดทําแผนยุทธศาสตร์ การพัฒนา 1. การเตรี ยมการจัดทําแผนยุทธ์การพัฒนา 2. การรวบรวมข้อมูลและปัญหาสําคัญ 3. การวิเคราะห์ศกยภาพเพื่อประเมินสถานภาพการพัฒนาของท้องถิ่นในปั จจุบน ั ั 4. การกําหนดวิสยทัศน์และภารกิจหลักการพัฒนาท้องถิ่น ั 5. การกําหนดจุดมุ่งหมายเพือการพัฒนาที่ยงยืน ่ ั่ 6. การกําหนดวัตถุประสงค์การพัฒนาท้องถิ่น 7. การกําหนดยุทธศาสตร์การพัฒนา และแนวทางการพัฒนา 8. การกําหนดเป้ าหมายการพัฒนาท้องถิ่น 9. การอนุมติและประกาศใช้แผนยุทธศาสตร์การพัฒนา ั 1.4 ประโยชน์ ของการจัดทําแผนยุทธศาสตร์ การพัฒนา 1. มีกรอบ นโยบาย และทิศทางในการพัฒนาท้องถิ่นในอนาคตได้อย่างชัดเจน ่ 2. สามารถใช้งบประมาณที่มีอยูอย่างจํากัดในการพัฒนาอย่างมีประสิ ทธิภาพและเป็ นระบบ 3. สามารถแก้ไขปัญหาความเดือดร้อนของประชาชนได้อย่างแท้จริ ง ํ 4. สามารถวัดผลสําเร็ จของการพัฒนาภายในเวลาที่กาหนด
  • 7. 3 บทที่ 2 สภาพทัวไป และข้ อมูลพืนฐานขององค์ การบริหารส่ วนตําบลตะนาวศรี ่ ้ 1. ข้ อมูลเกียวกับทีต้ัง อาณาเขต เขตการปกครอง ประชากร การศึกษา สาธารณสุ ขความปลอดภัย ่ ่ ในชีวต และทรัพย์ สิน และทรัพยากรธรรมชาติ ิ 1.1 สภาพทัวไป ่ 1.1.1 ที่ต้ ง ั องค์การบริ หารส่ วนตําบลตะนาวศรี ตั้งอยู่ หมู่ที่ 1 บ.สวนผึ้ง ต.ตะนาวศรี อ.สวนผึ้ง จ.ราชบุรี ่ ห่ างจากที่วาการอําเภอสวนผึ้ง ประมาณ 3 กิโลเมตร ทิศเหนือ ติดต่อกับเทศบาลตําบลสวนผึ้ง - อําเภอสวนผึ้ง ทิศใต้ ติดต่อกับตําบลบ้านคา อําเภอบ้านคา ทิศตะวันออก ติดต่อกับตําบลท่าเคย ทิศตะวันตก ติดต่อกับเทือกเขาตะนาวศรี และสาธารณรัฐสังคมนิยมแห่ งสหภาพพม่า 1.1.2 เนื้อที่ 202.153 ตารางกิโลเมตร หรื อ 126,343.75 ไร่ 1.1.3 ลักษณะภูมิประเทศ เป็ นที่ราบลุ่มสลับกับภูเขามีแม่น้ าภาชีไหลผ่านเหมาะสําหรับการฟื้ นฟูเป็ นสถานที่พกผ่อนและ ํ ั แหล่งท่องเที่ยวตลอดจนประกอบอาชีพเกษตรกรรม และเลี้ยงสัตว์ 1.1.4 จํานวนหมู่บาน 7 หมู่บาน ้ ้ จํานวนหมู่บานในเขตองค์การบริ หารส่ วนตําบลตะนาวศรี เต็มทั้ง 7 หมู่บาน ได้แก่ ้ ้ - หมู่ที่ 1 บ้านสวนผึ้ง เนื้อที่ประมาณ 23.08 ตารางกิโลเมตร หรื อ 14,425 ไร่ - หมู่ที่ 2 บ้านท่ามะขาม เนื้อที่ประมาณ 15.16 ตารางกิโลเมตร หรื อ 9,475 ไร่ - หมู่ที่ 3 บ้านห้วยม่วง เนื้อที่ประมาณ 42.06 ตารางกิโลเมตร หรื อ 26,287.5ไร่ - หมู่ที่ 4 บ้านบ่อหวี เนื้อที่ประมาณ 62.90 ตารางกิโลเมตร หรื อ 39,312.5ไร่ - หมู่ที่ 5 บ้านห้วยแห้ง เนื้อที่ประมาณ 7.61 ตารางกิโลเมตร หรื อ 4,756.25ไร่ - หมู่ที่ 6 บ้านห้วยนํ้าหนัก เนื้อที่ประมาณ 35.05 ตารางกิโลเมตร หรื อ21,906.25ไร่ - หมู่ที่ 7 บ้านบ่อเก่าบน เนื้อที่ประมาณ 16.29 ตารางกิโลเมตร หรื อ10,181.25ไร่ 1.1.5 ท้องถิ่นอื่นในตําบล - จํานวนเทศบาล - แห่ ง - จํานวนสุ ขาภิบาล - แห่ ง
  • 9. 5 1.1.6 ประชากร ประชากรทั้งสิ้ น 8,741 คน แยกเป็ นชาย 4,643 คน หญิง 4,098 คนมีความหนาแน่น เฉลี่ย 43.24 คน/ตารางกิโลเมตร จํานวนครัวเรื อน 3,140 ครัวเรื อน (ข้อมูล ณ เดือน กันยายน 2552) จํานวน จํานวนประชากร หมู่ที่ ชื่อหมู่บาน ้ ครัวเรื อน ชาย หญิง รวม 1 บ้านสวนผึ้ง 609 886 802 1,688 2 บ้านท่ามะขาม 379 533 450 983 3 บ้านห้วยม่วง 597 764 729 1,493 4 บ้านบ่อหวี 602 721 645 1,366 5 บ้านห้วยแห้ง 453 743 581 1,324 6 บ้านห้วยนํ้าหนัก 449 890 786 1,676 7 บ้านบ่อเก่าบน 51 106 105 211 รวม 3,140 4,643 4,098 8,741 1.2 สภาพทางเศรษฐกิจ 1.2.1 อาชีพ ประชากรส่ วนใหญ่ประกอบ ดังนี้ - อาชีพเกษตรกรรม ได้แก่ การปลูกอ้อย การปลูกมันสําปะหลัง การทํานา การทําสวนผลไม้ และผัก - อาชีพเลี้ยงสัตว์ ได้แก่ การเลี้ยงโค การเลี้ยงสุ กร การเลี้ยงเป็ ด ไก่ การเลี้ยงแพะและการเลี้ยงปลา - อาชีพอุตสาหกรรมในครัวเรื อน ได้แก่ การจัดสานเข่ง - อาชีพค้าขาย ได้แก่ ค้าขายผัก ขายของชํา - อาชีพรับจ้าง ได้แก่ รับจ้างทํางานในโรงงานอุตสาหกรรม และรับจ้างทัวไป ่ 1.2.2 หน่วยธุรกิจในเขตองค์การบริ หารส่ วนตําบล - ธนาคาร - แห่ ง - โรงแรม - แห่ ง - สถานที่พกแรม ั 10 แห่ง ได้แก่ » พิพิธภัณฑ์ภโวทัย ตั้งอยูที่ หมู่ที่ 1 ่ » ลําภาชี เลคฮิลล์ ตั้งอยูที่ หมู่ที่ 2 ่ » บ่อหวีรีสอร์ท ตั้งอยูที่ หมู่ที่ 4 ่ » ที่พกรู ปแบบโฮมสเตย์ ได้แก่ ั ริ มฝั่งนํ้าโฮมสเตย์ ตั้งอยูที่ ่ หมู่ที่ 2 ไร่ ภูเคียงธาร ตั้งอยูที่ ่ หมู่ที่ 3 ทัศนาคายัค ่ ตั้งอยูที่ หมู่ที่ 3 ไร่ รับลมชมดาว ตั้งอยูที่ ่ หมู่ที่ 3 ไร่ ศิริวรรณโฮมสเตย์ ตั้งอยูที่ ่ หมู่ที่ 3
  • 10. 6 ่ บ้านเชิงเขาโฮมสเตย์ ตั้งอยูที่ หมู่ที่ 3 บ้านสวนภูหลา ่ ตั้งอยูที่ หมู่ที่ 6 - ปั๊มนํ้ามันและก๊าซ - แห่ ง - โรงงานอุตสาหกรรมขนาดเล็ก - แห่ง - โรงสี - แห่ง - เหมืองแร่ 1 แห่ง »เหมืองแร่ เฟลสปาร์และควอรตซ์ ตั้งอยูที่ ่ หมู่ที่ 1 - สิ นค้า OTOP 2 ราย ได้แก่ » กลุ่มปั้ นกระดาษสานิรันพร ่ ตั้งอยูที่ หมู่ที่ 1 » กลุ่มไผ่ไล่กวาง ่ ตั้งอยูที่ หมู่ที่ 5 1.3 สภาพสังคม 1.3.1 การศึกษา องค์การบริ หารส่ วนตําบลตะนาวศรี มีสถานศึกษาในเขตพื้นที่ 8 แห่ง แบ่งเป็ น โรงเรี ยน 4 แห่ ง ศูนย์พฒนาเด็กเล็ก 4 แห่ ง ดังนี้ ั ลําดับ โรงเรี ยน สังกัด ่ ตั้งอยูที่ เปิ ดสอนระดับ ที่ 1. โรงเรี ยนบ้านสวนผึ้ง สปช. หมู่ที่ 1 อนุบาล – ป.6 2. โรงเรี ยนบ้านท่ามะขาม สปช. หมู่ที่ 2 อนุบาล – ป.6 3. โรงเรี ยนรุ จิรพัฒน์ สปช. หมู่ที่ 3 อนุบาล – ม.3 4. โรงเรี ยนบ้านบ่อหวี สปช. หมู่ที่ 4 อนุบาล – ป.6 5. ศูนย์พฒนาเด็กเล็ก อบต.ตะนาวศรี ั อบต. หมู่ที่ 1 เด็กก่อนวัยเรี ยน 6. ศูนย์พฒนาเด็กเล็กบ้านห้วยนํ้าหนัก ั อบต. หมู่ที่ 6 เด็กก่อนวัยเรี ยน 7. ศูนย์พฒนาเด็กเล็กบ้านห้วยผาก ั อบต. หมู่ที่ 6 เด็กก่อนวัยเรี ยน 8. ศูนย์การเรี ยนชุมชนชาวไทยภูเขาแม่ กศน. หมู่ที่ 6 เด็กก่อนวัยเรี ยน ฟ้ าหลวงบ้านหนองตาดั้ง และพุระกํา 1.3.2 สถาบันและองค์กรทางศาสนา - วัด จํานวน 3 แห่ ง ได้แก่ (1) วัดสวนผึ้ง ่ ตั้งอยูที่ หมู่ที่ 1 (2) วัดห้วยม่วง ตั้งอยูที่ ่ หมู่ที่ 3 (3) วัดบ่อหวี ่ ตั้งอยูที่ หมู่ที่ 4
  • 11. 7 - สํานักสงฆ์ จํานวน 4 แห่ง ได้แก่ (1) สํานักสงฆ์ท่ามะขาม ตั้งอยูที่ ่ หมู่ที่ 2 (2) สํานักสงฆ์ตะนาวศรี คีรีธรรม ตั้งอยูที่ ่ หมู่ที่ 4 (3) สํานักสงฆ์หวยนํ้าหนัก ้ ตั้งอยูที่ ่ หมู่ที่ 6 (4) สํานักสงฆ์บ่อเก่าบน ตั้งอยูที่ ่ หมู่ที่ 7 - โบสถ์คริ สต์ จํานวน 2 แห่ ง (1)โบสถ์คริ สตจักรนาวา ่ ตั้งอยูที่ หมู่ที่ 5 (2) โบสถ์คริ สตจักรบ้านห้วยนํ้าหนัก ่ ตั้งอยูที่ หมู่ที่ 6 - สถานประกาศคริ สต์เตียน จํานวน 6 แห่ง (1) สถานประกาศคริ สต์เตียนเขาลูกช้าง ตั้งอยูที่ ่ หมู่ที่ 1 (2) สถานประกาศคริ สต์เตียนท่ามะขาม ตั้งอยูที่ ่ หมู่ที่ 2 (3) สถานประกาศคริ สต์เตียนท่ากุลา ตั้งอยูที่ ่ หมู่ที่ 2 (4) สถานประกาศคริ สต์เตียนโป่ งแห้ง ตั้งอยูที่ ่ หมู่ที่ 3 (5) สถานประกาศคริ สต์เตียนห้วยกะวาล ตั้งอยูที่ ่ หมู่ที่ 6 (6) สถานประกาศคริ สต์เตียนพุระกํา ตั้งอยูที่ ่ หมู่ที่ 6 1.3.3 สาธารณสุ ข - สถานีอนามัยประจําตําบล/หมู่บาน จํานวน 2 แห่ง ้ (1) สถานีอนามัยตําบลตะนาวศรี ตั้งอยูที่ ่ หมู่ที่ 3 (2) สถานีอนามัยบ้านบ่อหวี ตั้งอยูที่ ่ หมู่ที่ 4 - ศูนย์ศึกษาวิจยโรคเขตเมืองร้อน จํานวน 1 แห่ง ตั้งอยูที่ ั ่ หมู่ที่ 6 - อาสาสมัครสาธารณสุ ขมูลฐาน (อสม.) ในตําบล จํานวน 71 คน - อัตราการมีและใช้สวมราดนํ้า ้ 100 % 1.3.4 ความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สิน - หน่วยเฉพาะกิจทัพพระยาเสื อ จํานวน 1 แห่ง ตั้งอยูที่ ่ หมู่ที่ 1 - สถานีควบคุมไฟป่ า จํานวน 1 แห่ง ตั้งอยูที่ ่ หมู่ที่ 3 - ป้ อม/จุดตรวจ(ตํารวจ) จํานวน 1 แห่ง ตั้งอยูที่ ่ หมู่ที่ 3 1.4 การบริหารพืนฐาน้ 1.4.1 การคมนาคม มีถนนสายหลัก 4 สาย - สายบ้านบ่อ - ห้วยม่วง การคมนาคมสะดวก ผิวจราจรลาดยาง (ทางหลวงชนบท รบ.4007) - สายบ้านบ่อ - บ้านท่ามะขาม การคมนาคมสะดวก ผิวจราจรลาดยาง - สายบ้านบ่อหวี - บ้านห้วยผาก การคมนาคมสะดวก ผิวจราจรลาดยาง - สายบ้านสวนผึ้ง - บ้านบึง การคมนาคมสะดวก ผิวจราจรลาดยาง
  • 12. 8 ระยะทางจากที่วาการอําเภอถึงหมู่บาน ทั้ง 7 หมู่บาน ่ ้ ้ - หมู่ที่ 1 บ้านสวนผึ้ง ประมาณ 3 กม. - หมู่ที่ 2 บ้านท่ามะขาม ประมาณ 6 กม. - หมู่ที่ 3 บ้านห้วยม่วง ประมาณ 28 กม. - หมู่ที่ 4 บ้านบ่อหวี ประมาณ 15 กม. - หมู่ที่ 5 บ้านห้วยแห้ง ประมาณ 4 กม. - หมู่ที่ 6 บ้านห้วยนํ้าหนัก ประมาณ 30 กม. - หมู่ที่ 7 บ้านบ่อเก่าบน ประมาณ 9 กม. 1.4.2 การโทรคมนาคม - ที่ทาการไปรษณี ยโทรเลข ํ ์ จํานวน - แห่ ง - สถานีโทรคมนาคมอื่นๆ จํานวน - แห่ง - โทรศัพท์สาธารณะ จํานวน 12 แห่ง 1.4.3 การไฟฟ้ า - ไฟฟ้ าเข้าถึง 7 หมู่บาน คือ หมู่ที่ 1 – 7 จํานวนครัวเรื อนที่มีไฟฟ้ าใช้ ประมาณ 3,047 ครัวเรื อน ้ - ผูใช้เซลล์พลังงานแสงอาทิตย์ จํานวน 353 เครื่ อง ้ 1.4.4 แหล่งนํ้าธรรมชาติ - แม่น้ า ได้แก่ แม่น้ าลําภาชี ํ ํ - ลําห้วย ได้แก่ ลําห้วยท่าเคย, ลําห้วยบ่อคลึง, ลําห้วยคอกหมู, ลําห้วยอะนะ, และลําห้วยยาง - ห้วย ได้แก่ ห้วย รบ 2, ห้วยบ่อหวี, ห้วยดีบุก, ห้วยบ้านห้วยผาก, ห้วยกะวาน, ห้วยวังโค และห้วยพุระกํา - บึง,หนอง ได้แก่ หนองนํ้าโรงเรี ยนรุ จิรพัฒน์ 1.4.5 แหล่งนํ้าที่สร้างขึ้น - อ่างเก็บนํ้า จํานวน 8 แห่ง ได้แก่ » อ่างเก็บนํ้าบ้านสวนผึ้ง หมู่ที่ 1 » อ่างเก็บนํ้าบ้านพุหิน หมู่ที่ 1 » อ่างเก็บนํ้าผาชนแดน หมู่ที่ 3 » อ่างเก็บนํ้าห้วยจันมาก หมู่ที่ 3 » อ่างเก็บนํ้าบ้านตะเคียนทอง หมู่ที่ 3 » อ่างเก็บนํ้าบ้านโป่ งแห้ง หมู่ที่ 3 » อ่างเก็บนํ้าห้วยคอกหมู หมู่ที่ 4 » อ่างเก็บนํ้าห้วยอะนะ หมู่ที่ 6 - ฝาย จํานวน 4 แห่ง ได้แก่ » ฝายนํ้าล้นบ้านท่ามะขาม หมู่ที่ 2 » ฝายทดนํ้าบ้านห้วยม่วง หมู่ที่ 3 » ฝายนํ้าล้น(มข.27) หมู่ที่ 4 » ฝายนํ้าล้น(มข.27) หมู่ที่ 6 - บ่อบาดาล จํานวน 4 แห่ง ได้แก่ » บ่อบาดาล ร.ร.บ้านท่ามะขาม หมู่ที่ 2 » บ่อบาดาลบ้านห้วยม่วง หมู่ที่ 3 » บ่อบาดาล ร.ร.จิรพัฒน์ หมู่ที่ 3 » บ่อบาดาลบ้านนายประเสริ ฐ หมู่ที่ 5
  • 13. 9 - สระนํ้าสาธารณะ จํานวน 9 แห่ง ได้แก่ » สระนํ้าสาธารณะกลุ่มบ้านเขาลูกช้าง หมู่ที่ 1 » สระนํ้า อบต.ตะนาวศรี หมู่ที่ 1 » สระนํ้าสาธารณะบ้านห้วยม่วง หมู่ที่ 3 » สระนํ้า ร.ร.รุ จิรพัฒน์ หมู่ที่ 3 » สระนํ้า ร.ร.บ้านบ่อหวี หมู่ที่ 4 » สระนํ้าฟาร์มตัวอย่างบ้านบ่อหวี หมู่ที่ 4 » สระนํ้าสาธารณะบ้านห้วยแห้ง หมู่ที่ 5 » สระนํ้าวนเกษตร หมู่ที่ 6 » สระนํ้าสาธารณะบ้านหนองตาดั้ง หมู่ที่ 6 - ถังเก็บนํ้าไฟเบอร์ จํานวน 10 ใบ - ถังปูนแบบ ฝ 33 จํานวน 2 แห่ง ได้แก่ บ้านบ่อเก่ากลาง หมู่ที่ 1 และบ้านหนองตาดั้ง หมู่ที่ 6 - ถังปูนแบบ ฝ 99 จํานวน 6 แห่ง ได้แก่ » บ้านเขาลูกช้าง หมู่ที่ 1 » บ้านท่ากุลา หมู่ที่ 2 » บ้านท่ามะขาม หมู่ที่ 2 » บ้านไทรงาม หมู่ที่ 3 » บ้านห้วยแห้ง หมู่ที่ 5 » บ้านบ่อเก่าบน หมู่ที่ 7 - ระบบประปาหมู่บาน ้ » บ้านสวนผึ้ง หมู่ที่ 1 จํานวน 2 แห่ง » บ้านท่ามะขาม หมู่ที่ 2 จํานวน 2 แห่ง » บ้านห้วยม่วง หมู่ที่ 3 จํานวน 3 แห่ง » บ้านบ่อหวี หมู่ที่ 4 จํานวน 2 แห่ง » บ้านห้วยแห้ง หมู่ที่ 5 จํานวน 1 แห่ง » บ้านห้วยนํ้าหนัก หมู่ที่ 6 จํานวน 3 แห่ง » บ้านบ่อเก่าบน หมู่ที่ 7 จํานวน 1 แห่ ง 1.5 ข้ อมูลอืนๆ ่ 1.5.1 ทรัพยากรธรรมชาติในพื้นที่ ส่ วนใหญ่จะเป็ นทรัพยากรไม้ หิ นและแร่ บางชนิด 1.5.2 มวลชนจัดตั้ง - ลูกเสื อชาวบ้าน จํานวน 3 รุ่ น รวมทั้งสิ้ น จํานวนสมาชิก 500 คน - สมาชิก อปพร. จํานวน 1 รุ่ น จํานวนสมาชิก 49 คน - มีหมู่บานป้ องกันตนเองตามชายแดน(ปชด.) จํานวน 2 หมู่บาน ได้แก่ หมู่ที่ 3, 4 ้ ้ - มีหมู่บานอาสาพัฒนาและป้ องกันตนเอง (อพป.) จํานวน 7 หมู่บาน ได้แก่ หมู่ที่ 1 – 7 ้ ้ - กลุ่มป่ าชุมชน จํานวน 1 หมู่บาน ได้แก่ หมู่ที่ 1 ้ - สภาองค์ชุมชนตําบลตะนาวศรี - กลุ่มกองทุนสวัสดิการชุมชนคนไม่ทิ้งกัน ต.ตะนาวศรี จํานวน 1 กลุ่ม จํานวนสมาชิก 801 คน - กลุ่มวิสาหกิจชุมชนโฮมสเตย์ จํานวน 1 กลุ่ม จํานวนสมาชิก 32 คน - กลุ่มออมทรัพย์บานมันคง ต.ตะนาวศรี จํานวน 1 กลุ่ม จํานวนสมาชิก 283 คน ้ ่ - ชมรมผูสูงอายุ จํานวน 1 กลุ่ม จํานวนสมาชิก 500 คน ้ - กลุ่มแปรรู ปหน่อไม้ จํานวน 1 กลุ่ม จํานวนสมาชิก 22 คน
  • 14. 10 1.5.3 แหล่งท่องเที่ยว - พิพิธภัณฑ์ภโวทัย ที่ต้ งอยู่ หมู่ที่ 1 - ส่ วนป่ าสิ ริกิต์ ิ (แก่งส้มแมว) ที่ต้ งอยู่ หมู่ที่ 3 ั ั - นํ้าตกผาชลแดน ที่ต้ งอยู่ หมู่ที่ 3 - นํ้าตกบ่อหวี ั ที่ต้ งอยู่ หมู่ที่ 4 ั - จุดชมวิวห้วยคอกหมู ที่ต้ งอยู่ หมู่ที่ 4 - ล่องแก่งบ้านไทรงาม ั ที่ต้ งอยู่ หมู่ที่ 4 ั - ฟาร์มตัวอย่างตามพระราชดําริ ที่ต้ งอยู่ หมู่ที่ 4 ั - แหล่งผลิตอาหารชุมชน(Food Bank) ที่ต้ งอยู่ หมู่ที่ 6 ั 1.5.4 ศูนย์ขอมูลท้องถิ่นตําบลตะนาวศรี องค์การบริ หารส่ วนตําบลตะนาวศรี จํานวน 1 แห่ง ้ 1.5.5 ศาลาอ่านหนังสื อพิมพ์ประจําหมู่บาน หมู่ที่ 1 – 7 จํานวน 7 แห่ง ้ 1.5.6 สถานีวิทยุทองถิ่นคนสวนผึ้ง จํานวน 1 แห่ ง ้ ่ ตั้งอยูที่ หมู่ที่ 1 1.5.7 หน่วยงานของรัฐ องค์การบริ หารส่ วนตําบลตะนาวศรี มีหน่วยงานของรัฐในพื้นที่ จํานวน 15 แห่ ง ลําดับที่ หน่ วยงานของรัฐ สั งกัด ตั้งอยู่ที่ 1. สถานีอนามัยตําบลตะนาวศรี สาธารณสุ ข อ.สวนผึ้ง หมู่ที่ 3 2. สถานีอนามัยบ้านบ่อหวี สาธารณสุ ข อ.สวนผึ้ง หมู่ที่ 4 3. สถานีควบคุมไฟป่ า ป่ าไม้จงหวัดราชบุรี ั หมู่ที่ 3 4. หน่วยเฉพาะกิจทัพพระยาเสื อ กรมทหารราบที่ 9 หมู่ที่ 1 5. ศูนย์โรคเมืองร้อนนานาชาติราชนคริ นทร์ คณะเวชศาสตร์เขตร้อน หมู่ที่ 3 6. สถานีพฒนาและส่ งเสริ มอนุรักษ์สตว์ป่าราชบุรี ั ั ป่ าไม้จงหวัดราชบุรี ั หมู่ที่ 6 7. หน่วยพิทกษ์ป่าสวนผึ้ง ั ป่ าไม้จงหวัดราชบุรี ั หมู่ที่ 1 8. หน่วยพิทกษ์ป่าหนองยาว ั ป่ าไม้จงหวัดราชบุรี ั หมู่ที่ 3 9. หน่วยพิทกษ์ป่าหนองตาดั้ง ั ป่ าไม้จงหวัดราชบุรี ั หมู่ที่ 6 10. หน่วยพิทกษ์ป่าห้วยม่วงั ป่ าไม้จงหวัดราชบุรี ั หมู่ที่ 3 11. หน่วยป้ องกันรักษา ที่ รบ. 2 ป่ าไม้จงหวัดราชบุรี ั หมู่ที่ 4 12. ศูนย์ศึกษาพรรณไม้ป่าสมเด็จพระนางเจ้าสิ ริกิต์ ิ ป่ าไม้จงหวัดราชบุรีั หมู่ที่ 3 13. โครงการฟาร์มตัวอย่างตามพระราชดําริ บานบ่อหวี ้ สํานักพระราชวัง หมู่ที่ 4 14. เขตพัฒนาสังคมบ้านห้วยนํ้าหนัก ศูนย์พฒนาสังคมหน่วยที่ 49 จ.ราชบุรี หมู่ที่ 6 ั 15. โครงการแหล่งผลิตอาหารชุมชน(Food Bank) สํานักราชเลขาธิการ หมู่ที่ 6
  • 15. 11 1.6 ศักยภาพภายในตําบล ศักยภาพขององค์การบริ หารส่ วนตําบล 1.6.1 จํานวนบุคลากร จํานวน 28 คน - ตําแหน่งในสํานักปลัดองค์การบริ หารส่ วนตําบล จํานวน 10 คน - ตําแหน่งในส่ วนการคลัง จํานวน 6 คน - ตําแหน่งในส่ วนโยธา จํานวน 4 คน - ตําแหน่งในส่ วนการศึกษา จํานวน 8 คน 1.6.2 ระดับการศึกษาของบุคลากร - ประถมศึกษา จํานวน - คน - มัธยมศึกษาตอนต้น จํานวน 1 คน - มัธยมศึกษาตอนปลาย จํานวน 4 คน - ประกาศนียบัตรวิชาชีพ (ปวช.) จํานวน - คน - ประกาศนียบัตรวิชาชีพ (ปวส.) จํานวน 1 คน - อนุปริ ญญาตรี 2 ปี จํานวน - คน - ปริ ญญาตรี จํานวน 21 คน - ปริ ญญาโท จํานวน 1 คน 1.6.3 อัตรากําลังพนักงานส่ วนตําบลและลูกจ้าง - พนักงานส่ วนตําบล จํานวน 13 คน - พนักงานจ้างตามภารกิจ จํานวน 13 คน - พนักงานจ้างทัวไป ่ จํานวน 2 คน สถานการณ์ คลังของ อบต ่ รายรับ - รายจ่ายขององค์การบริ หารส่ วนตําบลในปี งบประมาณที่ผานมา เปรี ยบเทียบย้อนหลัง 3 - 5 ปี รายการ พ.ศ. 2548 พ.ศ. 2549 พ.ศ. 2550 พ.ศ. 2551 พ.ศ. 2552 ประมาณการรายรับ 3,959,500.- 6,010,500.- 7,840,500.- 10,213,000.- 9,311,000.- รายรับจริง 11,476,708.32.- 13,823,253.91.- 16,070,315.80.- 11,568,152.26.- 11,137,764.14.- ประมาณการรายจ่ าย 7,606,880.75.- 9,368,574.62.- 16,319,284.- 21,222,085.- 16,847,286.- รายจ่ ายจริง 5,407,337.83.- 7,953,230.90.- 10,979,294.52.- 17,662,330.11.- 8,569,237.55.- 2. โครงสร้ างขององค์ การบริหารส่ วนตําบล โครงสร้างขององค์การบริ หารส่ วนตําบลตะนาวศรี แบ่งเป็ น 2 ฝ่ ายใหญ่ๆ คือ (1) สภาองค์การบริ หารส่ วนตําบล (2) นายกองค์การบริ หารส่ วนตําบล
  • 16. 12 สภาองค์ การบริหารส่ วนตําบล สภาองค์การบริ หารส่ วนตําบล ประกอบด้วยสมาชิกองค์การบริ หารส่ วนตําบลที่มาจากการเลือกตั้ง โดยตรงจากประชาชนในหมู่บานละ 2 คน โดยสมาชิกสภาองค์การบริ หารส่ วนตําบลมีวาระดํารงตําแหน่ง 4 ปี ้ สภาองค์การบริ หารส่ วนตําบลมีอานาจหน้าที่ ดังนี้ ํ (1) ให้ความเห็นชอบแผนพัฒนาองค์การบริ หารส่ วนตําบล เพื่อเป็ นแนวทางในการบริ หารกิจการของ องค์การบริ หารส่ วนตําบล (2) พิจารณาและให้ความเห็นขอบร่ างข้อบัญญัติองค์การบริ หารส่ วนตําบล ร่ างข้อบัญญัติงบประมาณ ร่ ายจ่ายประจําปี และร่ างข้อบัญญัติงบประมาณรายจ่ายเพิมเติม ่ (3) ควบคุมการปฏิบติงานของนายกองค์การบริ หารส่ วนตําบลให้เป็ นไปตามกฎหมาย นโยบาย ั แผนพัฒนาองค์การบริ หารส่ วนตําบล ข้อบัญญัติ ระเบียบ และข้อบังคับของทางราชการ นายกองค์ การบริหารส่ วนตําบล นายกองค์การบริ หารส่ วนตําบล มาจากการเลือกตั้งโดยตรงของประชาชนตามกฎหมายว่าด้วยการ เลือกตั้งสมาชิกสภาท้องถิ่น หรื อผูบริ หารท้องถิ่น มีอานาจหน้าที่ตาม มาตรา 59 และมาตรา 60 แห่ง ้ ํ พระราชบัญญัติสภาตําบลและองค์การบริ หารส่ วนตําบล พ.ศ.2537 แก้ไขเพิมเติมถึง (ฉบับที่ 5) พ.ศ.2546 ดังนี้ ่ (1) กําหนดนโยบายโดยไม่ขดต่อกฎหมาย และรับผิดชอบในการบริ หารราชการขององค์การบริ หาร ั ส่ วนตําบล ให้เป็ นไปตามกฎหมาย นโยบาย แผนพัฒนาองค์การบริ หารส่ วนตําบล ข้อบัญญัติ ระเบียบ และ ข้อบังคับทางราชการ (2) สัง อนุญาต และอนุมติเกี่ยวกับราชการขององค์การบริ หารส่ วนตําบล ่ ั (3) แต่งตั้งและถอดถอนรองนายกองค์การบริ หารส่ วนตําบล และเลขานุการนายกองค์การบริ หาร ส่ วนตําบล (4) วางระเบียบ เพื่อให้งานขององค์การบริ หารส่ วนตําบล เป็ นไปด้วยความเรี ยบร้อย (5) รักษาการให้เป็ นไปตามข้อบัญญัติองค์การบริ หารส่ วนตําบล (6) ปฏิบติหน้าที่อื่นตามที่บญญัติไว้ในพระราชบัญญัติ และกฎหมายอื่น ั ั บทบาทและอํานาจหน้ าทีขององค์ การบริหารส่ วนตําบล ่ องค์การบริ หารส่ วนตําบล มีอานาจหน้าที่ตามพระราชบัญญัติสภาตําบล และองค์การบริ หารส่ วนตําบล ํ พ.ศ.2537 และแก้ไขเพิ่มเติมจนถึงฉบับปั จจุบน ดังนี้ ั มาตรา 66 องค์การบริ หารส่ วนตําบล มีอานาจหน้าที่ในการพัฒนาตําบล ทั้งในด้านเศรษฐกิจ สังคม ํ และวัฒนธรรม มาตรา 67 ภายใต้บงคับกฎหมาย องค์การบริ หารส่ วนตําบล มีหน้าที่ตองทําในเขตองค์การบริ หารส่ วน ั ้ ตําบล ดังต่อไปนี้ (1) จัดให้มี และบํารุ งรักษาทางนํ้า และทางบก (2) รักษาความสะอาดของถนน ทางนํ้า ทางเดิน และที่สาธารณะรวมทั้งกําจัดมูลฝอย และสิ่ งปฏิกลู (3) ป้ องกันโรค และระงับโรคติดต่อ
  • 17. 13 (4) ป้ องกันและบรรเทาสาธารณภัย (5) ส่ งเสริ มการศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม (6) ส่ งเสริ มการพัฒนาสตรี เด็ก เยาวชน ผูสูงอายุ ผูพิการ ้ ้ (7) คุมครอง ดูแล และบํารุ งรักษาทรัพยากรธรรมชาติ และสิ่ งแวดล้อม ้ (8) บํารุ งรักษาศิลปะ จารี ตประเพณี ภูมิปัญญาท้องถิ่น และวัฒนธรรมอันดีของท้องถิ่น (9) ปฏิบติหน้าที่อื่นตามที่ทางราชการมอบหมายโดยจัดสรรงบประมาณ หรื อบุคลากรให้ตามความ ั จําเป็ น และสมควร มาตรา 68 ภายใต้บงคับกฎหมาย องค์การบริ หารส่ วนตําบล อาจจัดทํากิจการในเขตองค์การบริ หาร ั ส่ วนตําบล ดังต่อไปนี้ (1) ให้มีน้ าเพื่อการอุปโภค บริ โภค และการเกษตร ํ (2) ให้มี และบํารุ งการไฟฟ้ า หรื อแสงสว่างโดยวิธีอื่น (3) จัดให้มี และบํารุ งรักษาทางระบายนํ้า (4) ให้มี และบํารุ งสถานที่ประชุมการกีฬา การพักผ่อนหย่อนใจ และสวนสาธารณะ (5) ให้มี และส่ งเสริ มกลุ่มเกษตรกร และกิจการสหกรณ์ (6) ส่ งเสริ มให้มีอุตสาหกรรมในครอบครัว (7) บํารุ ง และส่ งเสริ มการประกอบอาชีพของราษฎร (8) การคุมครองดูแล และรักษาทรัพย์สินอันเป็ นสาธารณสมบัติของแผ่นดิน ้ (9) หาผลประโยชน์จากทรัพย์สินขององค์การบริ หารส่ วนตําบล (10) ให้มีตลาด ท่าเทียบเรื อ และท่าข้าม (11) กิจกรรมเกี่ยวกับการพาณิ ชย์ (12) การท่องเที่ยว (13) การผังเมือง ํ องค์การบริ หารส่ วนตําบล มีอานาจหน้าที่ตามพระราชบัญญัติกาหนดแผนและขั้นตอนการกระจาย ํ อํานาจให้แก่องค์กรปกครองส่ วนท้องถิ่น พ.ศ.2542 ดังนี้ (1) การจัดทําแผนพัฒนาท้องถิ่นของตนเอง (2) การจัดให้มี และบํารุ งรักษาทางบก ทางนํ้า และทางระบายนํ้า (3) การจัดให้มี และควบคุมตลาด ท่าเทียบเรื อ ท่าข้าม และที่จอดรถ (4) การสาธารณูปโภค และการก่อสร้างอื่นๆ (5) การสาธารณูปการ (6) การส่ งเสริ ม การฝึ ก และประกอบอาชีพ (7) การพาณิ ชย์ และการส่ งเสริ มการลงทุน (8) การส่ งเสริ มการท่องเที่ยว (9) การจัดการศึกษา
  • 18. 14 (10) การสังคมสงเคราะห์ และการพัฒนาคุณภาพชีวิตเด็ก สตรี คนชรา และผูดอยโอกาส้้ (11) การบํารุ งรักษาศิลปะ จารี ตประเพณี ภูมิปัญญาท้องถิ่น และวัฒนธรรมอันดีของท้องถิ่น (12) การปรับปรุ งแหล่งชุมชนแออัด และการจัดการเกี่ยวกับที่อยูอาศัย ่ (13) การจัดให้มี และบํารุ งรักษาสถานที่พกผ่อนหย่อนใจ ั (14) การส่ งเสริ มการกีฬา (15) การส่ งเสริ มประชาธิปไตย ความเสมอภาค และสิ ทธิเสรี ภาพของประชาชน (16) การส่ งเสริ มการมีส่วนร่ วมของราษฎรในการพัฒนาท้องถิ่น (17) การรักษาความสะอาด และความเป็ นระเบียบเรี ยบร้อยของบ้านเมือง (18) การกําจัดขยะมูลฝอย สิ่ งปฏิกล และนํ้าเสี ย ู (19) การสาธารณสุ ข การอนามัยครอบครัว และการรักษาพยาบาล (20) การจัดให้มี และควบคุมสุ สาน และฌาปนสถาน (21) การควบคุมการเลี้ยงสัตว์ (22) การจัดให้มี และควบคุมการฆ่าสัตว์ (23) การรักษาความปลอดภัย ความเป็ นระเบียบเรี ยบร้อย และการอนามัยโรงมหรสพ และสถานที่อื่นๆ (24) การจัดการ การบํารุ งรักษา และการใช้ประโยชน์จากป่ าไม้ ที่ดิน ทรัพยากรธรรมชาติ และสิ่ งแวดล้อม (25) การผังเมือง (26) การขนส่ ง และการวิศวกรรมจราจร (27) การดูแลรักษาที่สาธารณะ (28) การควบคุมอาคาร (29) การป้ องกันและบรรเทาสาธารณภัย (30) การรักษาความสงบเรี ยบร้อย การส่ งเสริ ม และสนับสนุนการป้ องกัน และรักษาความปลอดภัย ในชีวิต และทรัพย์สิน (31) กิจการอื่นใดที่เป็ นผลประโยชน์ของประชาชนในท้องถิ่นตามที่คณะกรรมการประกาศกําหนด โครงสร้ างการจัดแบ่ งส่ วนราชการและการบริหารบุคคลขององค์ การบริหารส่ วนตําบล การจัดโครงสร้างส่ วนราชการขององค์การบริ หารส่ วนตําบลตะนาวศรี ประกอบด้วย (1) ปลัดองค์ การบริหารส่ วนตําบล ให้มีปลัดองค์การบริ หารส่ วนตําบล เป็ นผูบงคับบัญชา และรับผิดชอบในการปฏิบติราชการของสํานัก ้ ั ั ปลัดองค์การบริ หารส่ วนตําบล มีหน้าที่รับผิดชอบเกี่ยวกับงานวางแผนอัตรากําลัง งานกําหนดตําแหน่ ง และ อัตราเงินเดือน งานบรรจุ แต่งตั้งการเลื่อนระดับ งานโอน ย้าย งานทะเบียนประวัติและบัตร งานฝึ กอบรม และ พัฒนาบุคลากร งานประเมินผลการปฏิบติงาน และพิจารณาความดี ความชอบงานดําเนิ นการทางวินัย งาน ั เกี่ยวกับการออกจากราชการ งานเสนอขอเครื่ องราชอิสริ ยาภรณ์ และประกาศเกียรติคุณ งานธุรการ งานสารบรรณ กลางงานรัฐพิธี พิธีการต่างๆ งานประชาสัมพันธ์หน่วยงาน งานรับรอง งานรักษาความสะอาด และความ
  • 19. 15 ปลอดภัยสถานที่ราชการ งานด้านนิ ติการ และดําเนิ นคดี งานเกี่ยวกับตราข้อบัญญัติ ระเบียบของหน่ วยงาน งานเกี่ยวกับข้อมูลข่าวสารงานเกี่ยวกับเรื่ องราวร้องทุกข์ งานเกี่ยวกับตราถ่ายโอนภารกิจตาม พ.ร.บ. กําหนด แผนและขั้นตอนการกระจ่ายอํานาจให้แก่องค์กรปกครองส่ วนท้องถิ่น พ.ศ.2542 งานสาธารณสุ ข งานเกี่ยวกับ การประชุมสภาองค์การบริ หารส่ วนตําบล งานเกี่ยวกับการประชุมกรรมการต่างๆ งานสิ ทธิ สวัสดิการ ทะเบียน ประวัติ การพัฒนาอบรมสมาชิกสภาองค์การบริ หารส่ วนตําบล งานส่ งเสริ มการมีส่วนร่ วมของประชาชน งาน ส่ งเสริ มประชาธิ ปไตย งานเลือกตั้งนายกองค์การบริ หารส่ วนตําบล และสมาชิกสภาองค์การบริ หารส่ วนตําบล งานจัดทําระบบข้อมูล (ศูนย์ขอมูล) งานจัดทําข้อบัญญัติงบประมาณรายจ่ายประจําปี /รายจ่ายเพิ่มเติม งาน ้ เกี่ ยวกับโครงการเงิ นอุดหนุ นต่างๆ งานโครงการตามพระราชดําริ งานการจัดการสิ่ งแวดล้อม งานประสาน หน่ ว ยงานต่ า งๆ ราชการที่ มิ ไ ด้ก า หนดให้เ ป็ นหน้าที่ ข องส่ ว นราชการใดงานอื่ น ๆ ที่ เ กี่ ย วข้อง และได้รั บ ํ มอบหมาย (2) ส่ วนการคลัง ให้มีหวหน้าส่ วนการคลังองค์การบริ หารส่ วนตําบล เป็ นผูบงคับบัญชา (ปลัด อบต. รักษาราชการแทน ั ้ ั ในตําแหน่ งหัวหน้าส่ วนการคลัง) และรับผิดชอบในการปฏิบติราชการของส่ วนการคลังองค์การบริ หารส่ วน ั ตําบล มีหน้าที่รับผิดชอบเกี่ยวกับงานการเบิกจ่าย รับ นําส่ ง เก็บรักษาเงิน และเอกสารทางการเงิน งานเกี่ยวกับ การตรวจสอบเอกสารการเบิกจ่าย และอนุมติฎีกางานเกี่ยวกับเงินเดือน ค่าจ้าง ค่าตอบแทน และเงินอื่นๆ งานคํา ั ขอเบิกเงิน สวัสดิการต่างๆ งานจัดทําบัญชีงานทะเบียนคุมรายได้ รายจ่ายทุกประเภท และจัดทําทะเบียนคุมเงิน งานจัดทํางบทดลอง งบแสดงฐานะทางการเงิน งบทรัพย์สิน งบหนี้ สิน – เจ้าหนี้ และเงินสะสมประจําเดือน ประจําปี งานจัดทําข้อมูลสถิติการคลังงานควบคุมการเบิกจ่ายเงิ นงบประมาณ งานเกี่ ยวกับการจัดซื้ อจัดจ้าง จัดหาพัสดุ งานตรวจสอบการรั บจ่ ายพัสดุ ประจําปี งานเกี่ ยวข้องกับทรั พย์สิน งานจัดเก็บภาษี งานอื่ นๆ ที่ เกี่ยวข้อง และได้รับมอบหมาย (3) ส่ วนโยธา ให้มีหัวหน้าส่ วนโยธาองค์การบริ หารส่ วนตําบล เป็ นผูบงคับบัญชา และรั บผิดชอบในการปฏิบติ ้ ั ั ราชการของส่ วนโยธาองค์การบริ หารส่ วนตําบล มีหน้าที่รับผิดชอบเกี่ ยวกับงานสํารวจ และจัดทําโครงการ งานออกแบบ และเขียนแบบ งานตรวจสอบการก่อสร้าง งานรวบรวมจัดเก็บประวัติโครงการต่างๆ งานควบคุม อาคาร งานจัดทําแผนที่ และแผนผังต่างๆ งานประมาณราคาโครงการต่างๆ งานเกี่ ยวกับการประชาสัมพันธ์ ผลงานของส่ วนโยธา งานกําหนดราคากลางของวัสดุ และงานต่างๆ ของท้องถิ่น งานวางแผนการปฏิบติงาน ั การก่อสร้าง และซ่ อมบํารุ ง งานควบคุมการก่อสร้าง งานคุมการซ่อมแซม และบํารุ งรักษาพัสดุ และทรัพย์สิน งานเกี่ยวกับการสาธารณู ปโภค งานเกี่ยวกับการป้ องกันและบรรเทาสาธารณภัย งานระบายนํ้า งานสนามกีฬา องค์การบริ หารส่ วนตําบล งานอื่นๆ ที่เกี่ยวข้อง และได้รับมอบหมาย (4) ส่ วนการศึกษา ไม่มีหัวหน้าส่ วนการศึกษา (ตําแหน่ งว่าง) ในงานส่ วนนี้ รับผิดชอบเกี่ ยวกับงานส่ งเสริ มการกี ฬา วัฒนธรรมจารี ตประเพณี และภูมิปัญญาท้องถิ่น งานส่ งเสริ มการศึกษา งานสังเคราะห์ งานห้องสมุดประชาชน งานอื่นๆ ที่เกี่ยวข้อง และได้รับมอบหมาย
  • 20. 23 บทที่ 3 การวิเคราะห์ ศักยภาพการพัฒนาองค์ การบริหารส่ วนตําบล 3.1 หลักและแนวคิดในการวางแผนพัฒนาองค์ การบริหารส่ วนตําบล การวิเคราะห์ศกยภาพ เพื่อประเมินสถานภาพการพัฒนาองค์การบริ หารส่ วนตําบล ในปั จจุบน ั ั องค์การบริ หารส่ วนตําบลตะนาวศรี ได้ต้งประเด็นการพัฒนาองค์การบริ หารส่ วนตําบลไว้ ดังนี้ ั 3.1.1 การพัฒนาตามนโยบายของรัฐบาล (คําแถลงนโยบายของรัฐบาล) 1. นโยบายเร่ งด่ วนทีต้องดําเนินการในปี แรก ่ 1.1 การสร้างความเชื่อมันและกระตุนเศรษฐกิจในภาพรวมเพื่อให้เกิดความเชื่อมันแก่ภาคประชาชน ่ ้ ่ และเอกชนในการลงทุนและการบริ โภค 1.2 การรักษาและเพิ่มรายได้ของประชาชน 1.3 การลดภาระค่าครองชีพของประชาชน 1.4 จัดตั้งคณะกรรมการรัฐมนตรี เศรษฐกิจและคณะกรรมการร่ วมภาครัฐและเอกชนเพื่อแก้ไขปัญหา ทางเศรษฐกิจ (กรอ.) นโยบายทีจะดําเนินการภายในระยะเวลา 3 ปี ่ 2. นโยบายความมั่นคงของรัฐ 2.1 ปกป้ องและเทิดทูนสถาบันพระมหากษัตริ ย ์ 2.2 เสริ มสร้างและพัฒนาศักยภาพการป้ องกันประเทศให้มีความพร้อม 2.3 เสริ มสร้างสันติภาพของการอยูร่วมกันกับประเทศเพื่อนบ้าน ่ 2.4 แก้ไขปัญหาคนหลบหนีเข้าเมือง 2.5 เสริ มสร้างศักยภาพในการจัดการปัญหาภัยคุกคามข้ามชาติ 3. นโยบายสังคมและคุณภาพชีวต ิ 3.1 นโยบายการศึกษา - จัดให้ทุกคนได้รับการศึกษาฟรี 15 ปี ตั้งแต่อนุบาล จนถึงมัธยมศึกษาตอนปลาย ู้ ื ่ - ปรับปรุ งระบบการบริ หารจัดการกองทุนให้กยมเพือการศึกษา ให้มีการประนีประนอมไกล่เกลี่ยหนี้ - ส่ งเสริ มให้เด็กและเยาวชนและประชาชนได้ใช้ประโยชน์จากเทคโนโลยีและสารทนเทศ 3.2 นโยบายแรงงาน - ปฏิรูประบบประกันสังคมให้มีความเข้มแข็งมันคง ่ - พัฒนาและฝึ กอบรมแรงงานทุกระดับให้มีความรู ้และทักษะฝี มือที่มีมาตรฐาน - ส่ งเสริ มการมีงานทําของผูสูงอายุและคนพิการ ้