SlideShare a Scribd company logo
1 of 10
Download to read offline
การคิดและกระบวนการคิด

           1. ทฤษฏี หลักการ และแนวคิดเกี่ยวกับการคิด
                 ทิศนา แขมมณี (2540) ได้กล่าวว่า มีนกคิดนักจิตวิทยา และนักวิชาการจานวนมากที่
                                                              ั
ได้ศึกษาเกี่ยวกับการคิด ทฤษฎี หลักการ และแนวคิดที่สาคัญ ๆ ดังมีรายะเอียดต่อไปนี้
                     เลวิน (Lewin) นักทฤษฎีกลุ่มเกสต์ตลท์ (Gestalt) เชื่อว่า ความคิดของบุคคลเกิด
                                                                ั
จากการรับรู ้สิ่งเร้า ซึ่ งบุคคลมักรับรู ้ในลักษณะภาพรวมหรื อส่ วนรวมมากกว่าส่ วนย่อย
                     ทอแรนซ์ (Torrance, 1962) ได้เสนอแนวคิดเกี่ยวกับองค์ประกอบของความคิด
สร้างสรรค์ ว่าประกอบไปด้วย ความคล่องแคล่วในการคิด (Fluency) ความยืดหยุนในการคิด            ่
(Flexibility) และความคิดริ เริ่ มในการคิด (Originality)
                     บลูม (Bloom, 1961) ได้จาแนกการรู้ (Cognition) ออกเป็ น 5 ขั้น ได้แก่ การรู ้ข้ น ั
ความรู ้ การรู ้ข้ นเข้าใจ การรู ้ข้ นวิเคราะห์ การรู ้ข้ นสังเคราะห์ และการรู ้ข้ นประเมิน
                   ั                 ั                    ั                        ั
                     ออซูเบล (Ausubel, 1963) อธิ บายว่า การเรี ยนรู ้อย่างมีความหมาย (Meaningful
Verbal Learning) จะเกิดขึ้นได้หากการเรี ยนรู ้น้ นสามารถเชื่อมโยงกับสิ่ งใดสิ่ งหนึ่งที่มีมาก่อน
                                                        ั
ดังนั้น การให้กรอบความคิดแก่ผเู ้ รี ยนก่อนการสอนเนื้อหาสาระใด ๆ จะช่วยเป็ นสะพานหรื อ
โครงสร้างที่ผเู้ รี ยนสามารถนาเนื้อหา/สิ่ งที่เรี ยนใหม่ไปเชื่ อมโยง ยึดเกาะได้ ทาให้การเรี ยนรู ้เป็ นไป
อย่างมีความหมาย
                     เพียเจต์ (Piaget, 1964) ได้อธิ บายพัฒนาการทางสติปัญญาว่า เป็ นผลเนื่ องมาจาก
การปะทะสัมพันธ์ระหว่างบุคคลกับสิ่ งแวดล้อม โดยบุคคลพยายามปรับตัวโดยใช้กระบวนการ
ดูดซึ ม (Assimi-lation) และกระบวนการปรับให้เหมาะ (Accommodation)
                     บรุ นเนอร์ (Bruner, 1965) กล่าวว่า เด็กเริ่ มต้นเรี ยนจากการกระทา ต่อไปจึงจะ
สามารถจินตนาการ สร้างภาพในใจหรื อในความคิดขึ้นได้ แล้วจึงถึงขั้นการคิดและ เข้าใจในสิ่ งที่
เป็ นนามธรรม
                     กานเย (Gagne, 1965) ได้อธิ บายว่าผลการเรี ยนของมนุษย์มี 5 ประเภท ได้แก่
                          1. ทักษะทางปัญญา (Intellectual Skills) ซึ่ งประกอบด้วยทักษะย่อย 4 ระดับ
คือ การจาแนกแยกแยะ การสร้างความคิดรวบยอด การสร้างกฎ การสร้างกระบวนการหรื อกฎขั้น
สู ง
                          2. กลวิธีในการเรี ยน (Cognitive Strategies) ซึ่งประกอบด้วยกลวิธีการใส่ ใจ
การรับและทาความเข้าใจข้อมูล การดึงความรู้จากความทรงจา การแก้ปัญหา และกลวิธีการคิด
                          3. ภาษา (Verbal Information)
4. ทักษะการเคลื่อนไหว (Motor Skills)
                      5. เจตคติ (Attitudes)
                   กิลฟอร์ ด (Guilford, 1967) ได้อธิ บายว่า ความสามารถทางสมองของมนุษย์
ประกอบด้วยมิติ 3 มิติ คือ
                      1. ด้านเนื้ อหา (Contents) หมายถึง วัตถุ/ข้อมูลที่ใช้เป็ นสื่ อก่อให้เกิดความคิด
ซึ่ งมีหลายรู ปแบบ เช่น อาจเป็ นภาพ เสี ยง สัญลักษณ์ภาษาและพฤติกรรม
                      2. มิติดานปฏิบติการ (Operations) หมายถึง กระบวนการต่าง ๆ ที่บุคคลใช้ใน
                              ้        ั
การคิด ซึ่ งได้แก่ การรับและเข้าใจ (Cognition) การจา การคิดแบบเอนกนัย การคิดแบบเอกนัย และ
การประเมินค่า
                      3. มิติดานผลผลิต (Products) หมายถึง ผลของการคิด ซึ่งอาจมีลกษณะ เป็ น
                                ้                                                           ั
หน่วย (Unit) เป็ นกลุ่มหรื อพวกของสิ่ งต่าง ๆ (Classes) เป็ นความสัมพันธ์ (Relation) เป็ นระบบ
(System) เป็ นการแปลงรู ป (Transformation) และการประยุกต์ (Implication)
                   ความสามารถทางการคิดของบุคคล เป็ นผลจากการผสมผสานมิติดานเนื้อหา และ     ้
ด้านปฎิบติการเข้าด้วยกัน
             ั
                   ลิปแมน และคณะ (Lipman, 1981) ได้นาเสนอแนวคิดในการสอนคิดผ่านทางการ
สอนปรัชญา (Teaching Philosophy) โดยมีความเชื่อว่า ความคิดเชิงปรัชญาเป็ นสิ่ งที่ขาดแคลนมาก
ในปั จจุบน เราจาเป็ นต้องสร้างชุมชนแห่งการเรี ยนรู ้ (Community of Inquiry) ที่ผคนสามารถร่ วม
           ั                                                                           ู้
สนทนาเพื่อแสวงหาความรู ้ความเข้าใจทางการคิด ปรัชญาเป็ นวิชาที่ช่วยเตรี ยมให้เด็กฝึ กฝนการคิด
                   คลอสไมเออร์ (Klausmier, 1985) ได้อธิบายกระบวนการคิดโดยใช้ทฤษฎีการ
ประมวลผลข้อมูล (Information Processing) ว่า การคิดมีลกษณะเหมือนการทางานของ
                                                             ั
คอมพิวเตอร์ คือ มีการนาข้อมูลเข้าไป (Input) ผ่านตัวปฏิบติการ (Processer) แล้วจึงส่ งผลออกมา
                                                               ั
(Output) กระบวนการคิดของมนุษย์มีการรับข้อมูล มีการจัดกระทาและแปลงข้อมูลที่รับมา มีการ
เก็บรักษาข้อมูล และมีการนาข้อมูลออกมาใช้อย่างเหมาะสมกับสถานการณ์ กระบวนการเกิดขึ้นใน
สมองไม่สามารถสังเกตได้โดยตรง แต่สามารถศึกษาได้จากการอ้างอิง หรื อการคาดคะเน
กระบวนการนั้น
                   สเติร์นเบอร์ก (Sternberg, 1985) ได้เสนอทฤษฎีสามศร (Triarchich Theory) ซึ่ง
                       ่                     ่
ประกอบด้วยทฤษฎียอย 3 ส่ วน คือ ทฤษฎียอยด้านบริ บทสังคม (Contexual Subtheory)ซึ่ งอธิบายถึง
ความสามารถทางสติปัญญาที่เกี่ยวข้องกับบริ บททางสังคมและวัฒนธรรมของบุคคล และทฤษฎียอย                    ่
ด้านประสบการณ์ (Experiential Subtheory) ซึ่ งอธิ บายถึงผลของประสบการณ์ที่มีต่อความสามารถ
่
ทางปั ญญา รวมทั้งทฤษฎียอยด้านกระบวนการคิด (Componential Subtheory) ซึ่งเป็ นความสามารถ
ทางสติปัญญาที่เกี่ยวข้องกับกระบวนการคิด
                  ปรัชญาการสร้างความรู้ (Constructivism) อธิ บายว่า การเรี ยนรู ้ เป็ นกระบวนการที่
เกิดขึ้นภายในบุคคล บุคคลเป็ นผูสร้าง (Construct) ความรู ้จากการสัมพันธ์สิ่งที่พบเห็นกับความรู ้
                                    ้
ความเข้าใจที่มีอยูเ่ ดิม เกิดเป็ นโครงสร้างทางปั ญญา (Cognitive Structure)
                  การ์ดเนอร์ (Gardner, 1983) เป็ นผูบุกเบิกแนวคิดใหม่เกี่ยวกับสติปัญญาของมนุษย์
                                                    ้
คือทฤษฎีพหุปัญญา (Multiple Intelligences)ซึ่ งแต่เดิมทฤษฎีทางสติปัญญามักกล่าวถึงความสามารถ
เพียงหนึ่งหรื อสองด้าน แต่การ์ ดเนอร์ เสนอไว้ถึง 8 ด้าน ได้แก่ ด้านดนตรี ด้านการเคลื่อนไหว
ร่ างกายและกล้ามเนื้อ ด้านการใช้เหตุผลเชิงตรรกะและคณิ ตศาสตร์ ด้านภาษา ด้านมิติสัมพันธ์ ด้าน
การ
           ั ้
สัมพันธ์กบผูอื่น ด้านการเข้าใจตนเอง และด้านความเข้าใจในธรรมชาติ
                  พระธรรมปิ ฎก (2539) ได้นาเสนอแนวคิดในการจัดการศึกษาและการสอนตาม
หลักพุทธธรรม ซึ่งครอบคลุมในเรื่ องการพัฒนาปัญญาและการคิดไว้จานวนมาก และได้มีนกการ           ั
ศึกษาไทยนาแนวคิดเหล่านี้มาประยุกต์ใช้เป็ นรู ปแบบ กระบวนการ และ เทคนิคในการสอน ทาให้
ประเทศไทยมีการศึกษาวิจยในเรื่ องนี้มากขึ้น
                                ั
            2. กรอบความคิดของการคิด
               ทิศนา แขมมณี และคณะ (2540) ได้กล่าวว่า ลักษณะการคิดของมนุ ษย์มีอยูหลาย     ่
ลักษณะด้วยกัน ดังนี้
                  1. ทักษะการคิดหรื อการคิดในระดับพืนฐาน ทักษะการคิดเป็ นความสามารถของ
                                                         ้
บุคคลในการแสดงพฤติกรรมการคิดซึ่ ง ประกอบไปด้วยการกระทาย่อย ๆ ที่เป็ นไปตามลาดับ เพื่อ
ให้เกิดเป็ นพฤติกรรมการคิดนั้น ๆ การคิดในระดับทักษะมักบ่งชี้ถึงพฤติกรรมการคิดได้ค่อนข้าง
ชัดเจน ทักษะการคิดนี้มี 3 ระดับ คือ
                  1.1 ทักษะการคิดพื้นฐาน (Basic Thinking Skills)
                       1.2 ทักษะการคิดที่เป็ นแกนสาคัญ (Core Thinking Skills)
                       1.3 ทักษะการคิดขั้นสู ง (Higher-Ordered Thinking Skills) ทักษะการคิดขั้นสู ง
มักจะประกอบไปด้วยการกระทาย่อย ๆ และมีข้ นตอนของการกระทาที่มากกว่าทักษะการคิดขั้นต้น
                                                  ั
                  2. ลักษณะการคิดหรื อการคิดในระดับกลาง หมายถึง การคิดที่มีลกษณะพิเศษเป็ น
                                                                                     ั
เอกลักษณ์เฉพาะของการคิดนั้น ลักษณะดังกล่าวไม่ได้บ่งชี้ถึงพฤติกรรมหรื อการกระทาที่ชดเจน        ั
ต้องอาศัยการแปลความและตีความไปถึงพฤติกรรมต่าง ๆ ที่เมื่อประกอบกันเป็ นลาดับขั้นตอนแล้ว
จะช่วยให้เกิดเป็ นลักษณะการคิดนั้น ๆ
3. กระบวนการคิดหรื อการคิดในระดับสู ง หมายถึง กระบวนการดาเนินกิจกรรม
การคิดอย่างเป็ นลาดับขั้นตอน หรื อเป็ นกระบวนการ ซึ่ งจะช่วยให้บรรลุวตถุประสงค์ของการคิด
                                                                             ั
นั้น ๆ และในกระบวนการแต่ละขั้นตอนจะต้องอาศัยทักษะการคิดและลักษณะการคิดที่จาเป็ น
จานวนมาก อาทิ เช่น กระบวนการคิดอย่างมีวจารณญาณ กระบวนการแก้ปัญหา กระบวนการคิด
                                                     ิ
ริ เริ่ มสร้างสรรค์ เป็ นต้น กระบวนการคิดเหล่านี้มีวตถุประสงค์เฉพาะที่แตกต่างกัน และต้องอาศัย
                                                          ั
ความสามารถทางการคิดต่าง ๆ หลายประการมาช่วยให้แต่ละขั้นตอนของกระบวนการคิดประสบ
ผลสาเร็ จ
                 จากกรอบความคิดดังกล่าว ประกอบกับการศึกษาค้นคว้าองค์ความรู ้เกี่ยวกับการคิด
ทิศนา แขมมณี และคณะ (2540) ได้จดมิติของการคิดไว้ 6 ด้าน เพื่อใช้เป็ นกรอบความคิดในการ
                                                  ั
พัฒนาความสามารถทางการคิดของเด็กและเยาวชนต่อไป มีดงนี้               ั
                     1.          มิติดานข้อมูลหรื อเนื้อหาที่ใช้ในการคิด
                                              ้
                     2.          มิติดานคุณสมบัติที่เอื้ออานวยต่อการคิด
                                                ้
                     3.          มิติดานทักษะการคิด
                                      ้
                     4.          มิติดานลักษณะการคิด
                                        ้
                     5.          มิติดานกระบวนการคิด
                                          ้
                     6.          มิติดานการควบคุมและประเมินการคิดของตน
                                            ้
                                                              ่
                 จากกรอบความคิดนี้ สามารถอธิ บายได้วา ในการคิดใด ๆ หากบุคคลมีคุณสมบัติที่
เอื้ออานวยต่อการคิด ก็นบเป็ นพื้นฐานและการเริ่ มต้นที่ดี การคิดของบุคคลนั้นจะต้องอาศัยทักษะ
                               ั
การคิดจานวนมากเป็ นแกนสาคัญ และทักษะการคิดเหล่านั้นจะสามารถไปช่วยพัฒนาลักษณะการ
                                                                       ่
คิดแบบต่าง ๆ ที่จาเป็ น อาทิเช่น การคิดคล่องหลากหลาย ยืดหยุน การคิดละเอียด คิดชัดเจน การคิด
ถูกทาง คิดกว้าง คิดไกล คิดลึกซึ้ ง คิดอย่างมีเหตุผล และ คิดแหวกแนว ซึ่ งทักษะและลักษณะการ
คิดดังกล่าว จะไปช่วยพัฒนากระบวนการคิดต่าง ๆ ซึ่ งมีวตถุประสงค์ในการนาไปใช้ใน
                                                                  ั
ชีวตประจาวันในสถานการณ์ต่าง ๆ เช่น กระบวนการคิดอย่างมีวจารณญาณ กระบวนการแก้ปัญหา
        ิ                                                                ิ
กระบวนการตัดสิ นใจ กระบวนการคิดริ เริ่ มสร้างสรรค์ กระบวนการวิจย เป็ นต้น  ั
              3. การสอนเพื่อพัฒนาการคิด
                 เชิดศักดิ์ โฆวาสิ นธุ์ (2530) ได้ให้ความเห็นว่า การพัฒนาการคิดเป็ นสิ่ งสาคัญ จึงได้มี
การค้นหาวิธีการต่าง ๆ เพื่อนามาใช้ในการพัฒนาความสามารถดังกล่าว ในปี ค.ศ. 1984 ได้มีการ
ประชุมของนักการศึกษาจากประเทศต่าง ๆ ที่ The Wingspread Conference Center in Racine,
Wisconsin State เพื่อหาแนวทางในการพัฒนาทักษะการคิดของเด็ก พบว่าแนวทางที่นกการศึกษา        ั
ใช้ในการดาเนิ นการวิจยและทดลองเพื่อพัฒนาการคิดนั้น สามารถสรุ ปได้ 3 แนว คือ
                             ั
3.1 การสอนเพื่อให้คิด (Teaching for Thinking) เป็ นการสอนเนื้อหาวิชาการ โดย
มี การเสริ มหรื อปรับเปลี่ยนเพื่อเพิ่มความสามารถในด้านการคิดของเด็ก
                   3.2 การสอนการคิด (Teaching of Thinking) เป็ นการสอนที่เน้นเกี่ยวกับกระบวน
การทางสมอง ที่นามาใช้ในการคิดโดยเฉพาะ เป็ นการฝึ กทักษะการคิด ลักษณะของงานที่นามาใช้
สอน จะไม่เกี่ยวข้องกับเนื้อหาวิชาการที่เรี ยนในโรงเรี ยน แนวทางการสอนจะแตกต่างกันออกไป
ตามทฤษฎี และความเชื่อพื้นฐานของแต่ละคนที่นามาพัฒนาเป็ นโปรแกรมการสอน
                   3.3 การสอนเกี่ยวกับการคิด (Teaching about Thinking) เป็ นการสอนที่เน้นการใช้
ทักษะการคิดเป็ นเนื้อหาสาระของการสอน โดยการช่วยเหลือให้ผเู ้ รี ยนได้รู้และเข้าใจ กระบวนการ
                                                                         ่
คิดของตนเองเพื่อให้เกิดทักษะการคิดที่เรี ยกว่า "metacognition" คือ รู ้วาตนเองรู ้อะไร ต้องการรู ้
อะไร และยังไม่รู้อะไร ตลอดจนสามารถควบคุมและตรวจสอบการคิดของตนเองได้
               สาหรับโปรแกรมการสอนเพื่อพัฒนาความสามารถในการคิดที่จดสอนในโรงเรี ยน
                                                                              ั
ในปัจจุบนสามารถจาแนกออกเป็ น 2 ลักษณะใหญ่ ๆ คือ โปรแกรมที่มีลกษณะเฉพาะ (Specific
           ั                                                               ั
Program) ซึ่ งเป็ นโปรแกรมพิเศษนอกเหนือจากการเรี ยนปกติ เป็ นโปรแกรมที่สร้างขึ้นเพื่อ
เสริ มสร้างการคิดวิจารณญาณโดยเฉพาะ (Institutional Programs to Foster Critical Thinking) กับ
โปรแกรมที่มีลกษณะทัวไป (General Program) ซึ่ งเป็ นโปรแกรมที่ใช้เนื้อหาวิชาในหลักสู ตรปกติ
                 ั       ่
เป็ นสื่ อในการพัฒนาทักษะการคิด เป็ นการสอนทักษะการคิดในฐานะที่เป็ นตัวเสริ มวัตถุประสงค์
ของหลักสู ตรที่มีอยู่ โดยเชื่ อมโยงกับวัตถุประสงค์ของเนื้ อหาวิชา ซึ่ งมีแนวทางในการจัดกิจกรรม
การเรี ยนการสอน ดังต่อไปนี้
               แนวทางที่ 1 การสอนเพื่อพัฒนาการคิดโดยตรงโดยใช้โปรแกรม สื่ อสาเร็ จรู ป หรื อ
บทเรี ยน/ กิจกรรมสาเร็ จรู ป เช่น
                   1.1 The Productive Thinking Program (Covington, Crutchfield Davies & Olton,
1974) ประกอบด้วยบทเรี ยน 15 บท มีเป้ าหมายสอนทักษะการแก้ป้ญหาให้แก่นกเรี ยน ระดับ
                                                                                ั
ประถมศึกษาตอนปลาย
                   1.2 The Ideal Problem Solver (Bransford & Stein, 1984) เป็ นโปรแกรมเน้นการ
แก้ปัญหา ประกอบด้วยขั้นตอนการแก้ปัญหา 5 ขั้นตอนคือ
                      1.2.1 การระบุปัญหา (Identifying Problems)
                      1.2.2 การนิยาม (Defining Problems)
                      1.2.3 การเสนอทางเลือก (Explaning Alternatives)
                      1.2.4 การวางแผนดาเนินการ (Acting on a plan)
                      1.2.5 การศึกษาผล (Looking at the Effects)
1.3 Feuerstein's Instrumental Enrichment (FIE) (Feuersteinetal; 1980) เรี ยก
โปรแกรมนี้วา Mediated Learning Experiences (MLES) เป็ นโปรแกรมที่มีกิจกรรมสอนให้ผเู ้ รี ยน
               ่
คือ ครู พ่อแม่ และคนที่เกี่ยวข้อง ช่วยให้ผเู ้ รี ยนแก้ คิดความหมาย และรวบรวมเหตุการณ์ต่าง ๆ ที่
เกิดขึ้นในปรากฏการณ์ของตนเอง กิจกรรมพื้นฐานของ MLES คือการแก้ให้ผเู ้ รี ยนมีความคิดอย่าง
มีวจารณญาณ โดยทากิจกรรมต่าง ๆ เพื่อนาไปสู่ เป้ าหมายสู งสุ ด คือการแก้ป้ญหาได้ดวยตนเอง
      ิ                                                                                ้
                   1.4 The CoRT Thinking Materials - CoRT (Cognitive Research Trust) ซึ่งเป็ น
โปรแกรม 2 ปี เพื่อพัฒนาทักษะการคิด (Do Bono, 1973) บทเรี ยนของโปรแกรมนี้ประกอบด้วยการ
พัฒนาทักษะการคิดอย่างมีวิจารณญาณ ทักษะการแก้ป้ญหา ทักษะการคิดสร้างสรรค์ รวมทั้งทักษะ
การปฎิสัมพันธ์ระหว่างบุคคล เป็ นบทเรี ยนที่ใช้ได้ต้ งแต่นกเรี ยนระดับประถมศึกษาขึ้นไป เป็ น
                                                          ั   ั
โปรแกรมที่ประกอบด้วยหน่วยใหญ่ ๆ รวม 6 หน่วย
                 แนวทางที่ 2 การสอนเนื้อหาสาระต่าง ๆ โดยใช้รูปแบบหรื อกระบวนการสอนที่เน้น
กระบวนการคิด การสอนเพื่อพัฒนาการคิดในลักษณะนี้ เป็ นการสอนที่มุ่งสอนเนื้อหาสาระต่าง ๆ
ตามวัตถุประสงค์ของหลักสู ตร แต่เพื่อให้การสอนนั้นช่วยพัฒนาความสามารถทางการคิดของ
ผูเ้ รี ยนไปในตัว ครู สามารถนารู ปแบบการสอนต่าง ๆ ที่เน้นกระบวนการคิด ซึ่ งได้มีผคนคิด พัฒนา
                                                                                     ู้ ้
และทดสอบ พิสูจน์แล้วมาใช้เป็ นกระบวนการสอน ซึ่ งจะช่วยให้ครู สามารถพัฒนาผูเ้ รี ยนได้ท้ ง       ั
ทางด้านเนื้ อหาสาระ และการคิดไปพร้อม ๆ กัน รู ปแบบหรื อกระบวนการสอนที่เน้น/ส่ งเสริ ม
กระบวนการคิดมีหลากหลาย ทั้งจากต่างประเทศ และจากนักการศึกษาไทย อาทิ เช่น
                   รู ปแบบ/กระบวนการสอนทีเ่ น้ น/ส่ งเสริมกระบวนการคิดจากต่ างประเทศ
                   1. รู ปแบบการสอนแบบอุปนัยของจอยส์และเวลล์ (Inductive Thinking)
                   2. รู ปแบบการสอนแบบซักค้านของจอยส์และเวลล์ (Jurisprudential Inquiry
Model)
                   3. รู ปแบบการสอนแบบสื บสวนสอบสวนของจอยส์และเวลล์ (Inquiry Model)
                   4. รู ปแบบการสอนแบบให้มโนทัศน์ล่วงหน้าของจอยส์ (Advance Organizer)
                   5. รู ปแบบการสอนมโนทัศน์ของจอยส์และเวล์(Concept Attainment)
                   6. รู ปแบบการสอนเพื่อพัฒนาความคิดสร้างสรรค์ตามแนวคิดของวิลเลียมส์
                   7. การคิดอย่างมีวิจารณญาณของ Center for Critical Thinking, Sonoma State
University
                   8. รู ปแบบการสอนของกานเย (Gagne)
                   9. รู ปแบบการคิดอย่างมีวจารณญาณของเอนนิส (Ennis)
                                               ิ
                   10. รู ปแบบการคิดแก้ปัญหาอนาคตของทอแรนซ์ (Torrance)
11. กระบวนการคิดวิจารณญาณของเดรสเซล และเมย์ฮิว (Dressel and Mayhew)
                  12. การพัฒนากระบวนการคิดของเดอโบโน (Edward De Bono)
                  รู ปแบบ/กระบวนการสอนของไทยทีเ่ น้ น/ส่ งเสริมกระบวนการคิด
                  13. รู ปแบบการสอนตามขั้นทั้ง 4 ของอริ ยสัจ โดยสาโรช บัวศรี
                  14. ระบบการเรี ยนการสอนแบบสื บสวนสอบสวนตามแนวพุทธศาสตร์ โดย
วีระยุทธ วิเชียรโชติ
                  15. รู ปแบบการสอนโดยสร้างศรัทธาและโยนิโสมนสิ การ โดยสุ มน อมรวิวฒน์     ั
                  16. รู ปแบบการสอนความคิด ค่านิยม จริ ยธรรม และทักษะ โดย
โกวิท ประวาลพฤกษ์
                  17. ทักษะกระบวนการ โดย กรมวิชาการ กระทรวงศึกษาธิการ
                  18. กระบวนการวิทยาศาสตร์ โดย สสวท.
                  19. กระบวนการคิดเป็ น โดย โกวิท วรพิพฒน์ ั
                  20. กระบวนการคิดเป็ นเพื่อการดารงชีวตในสังคมไทย โดย หน่วยศึกษานิเทศก์
                                                         ิ
กรมสามัญศึกษา
                  21. กระบวนการคิดอย่างมีวจารณญาณ โดย เพ็ญพิศุทธิ์ เนคมานุรักษ์
                                              ิ
                  22. กระบวนการเกิดความสานึกและการเปลี่ยนแปลงความสานึก โดย
เมธี ปิ ลันธนานนท์
                  23. รู ปแบบการสอนคณิ ตศาสตร์ตามแนวคิดของทฤษฎีคอนสตัคติวสต์ โดย       ิ
ไพจิตร สะดวกการ
                  24. สอนให้คิด คิดให้สอน โดย ชาตรี สาราญฯลฯ
               แนวทางที่ 3 การสอนเนื้อหาสาระต่าง ๆ โดยพยายามส่ งเสริ มให้ผเู ้ รี ยนพัฒนาทักษะ
การคิด ลักษณะการคิด และกระบวนการคิด ในกิจกรรมการเรี ยนเนื้ อหาวิชาต่าง ๆ แนวทางนี้น่าจะ
                                                                                     ่
เป็ นแนวทางที่ครู สามารถทาได้มากและสะดวกที่สุด เนื่องจากครู สอนเนื้ อหาสาระอยูแล้ว และมี
กิจกรรมการสอนอยูแล้ว เมื่อครู มีความเข้าใจเกี่ยวกับการคิดตามกรอบความคิดที่ได้เสนอมาข้างต้น
                      ่
                                                                        ่
ครู จะสามารถนาความเข้าใจนั้นมาใช้ในการปรับกิจกรรมการสอนที่มีอยูแล้วให้มีลกษณะที่ให้ั
โอกาสผูเ้ รี ยนได้พฒนาทักษะการคิด ลักษณะการคิด และกระบวนการคิดที่หลากหลาย
                   ั
            จากกรอบความคิดเกี่ยวกับ "การคิด" ที่ได้เสนอไว้ขางต้น ผูวจยเลือกวิธีที่ 3 การสอน
                                                               ้    ้ิั
เนื้อหาสาระต่าง ๆ โดยพยายามส่ งเสริ มให้ผเู ้ รี ยนพัฒนาทักษะการคิด ลักษณะการคิด และกระบวน
การคิดในกิจกรรมการเรี ยนเนื้อหาวิชาต่าง ๆ ซึ่ งเป็ นแนวที่มีขอจากัดน้อยที่สุดและครู สามารถทาได้
                                                             ้
มากที่สุดและสะดวกที่สุด เนื่องจากสามารถบูรณาการเข้าไปในการสอนเนื้อหาสาระต่าง ๆ ได้ตาม
ปกติ หากครู มีความเข้าใจอย่างแท้จริ งในองค์ประกอบทั้ง 6 ด้านของการคิด พยายามปลุกกระตุน     ้
สมองของผูเ้ รี ยนให้มีการเคลื่อนไหว มีการใช้ความคิดในลักษณะต่าง ๆ ให้มาก และใช้เทคนิควิธี
                  ่
การต่าง ๆ ที่มีอยูอย่างหลากหลายในการพัฒนาผูเ้ รี ยนอย่างต่อเนื่อง จะสามารถช่วยให้เด็กและ
เยาวชนของชาติเป็ นคนที่ มองกว้าง คิดไกล และใฝ่ รู ้ รวมทั้งเป็ นผูมีเหตุผล มีความคิดวิจารณญาณ
                                                                  ้
ในการดาเนินชีวิตและแก้ปัญหาต่าง ๆ ในชีวตได้ตามความคาดหวังหรื อวัตถุประสงค์ของการศึกษา
                                          ิ
         1. กระบวนการคิดสร้างสรรค์
              4.1 ความหมายของการคิดสร้างสรรค์
                 ความหมายของการคิดสร้างสรรค์ ได้มีผให้ความหมายไว้ ดังต่อไปนี้
                                                          ู้
                   ขวัญตา ทุนเทพย์ (2545: 10) ได้ให้ความหมายของความคิดสร้างสรรค์ไว้วา   ่
หมายถึง ความสามารถทางสมองของบุคคลในการคิดหาคาตอบหลาย ๆ คาตอบเพื่อสนองต่อสิ่ งเร้า
ทาให้เกิดการคิดที่หลากหลาย สามารถเชื่อมโยงสิ่ งต่าง ๆ ผสมผสานให้เกิดสิ่ งใหม่และแตกต่าง
                                                                              ่
แปลกไปจากคนอื่น ซึ่ งประกอบด้วยความคิดคล่อง ความคิดริ เริ่ ม ความคิดยืดหยุน และความคิด
                                                        ่
ละเอียดลออ ความคิดสร้างสรรค์เป็ นความสามารถที่มีอยูในตัวบุคคลแต่ละคนในระดับที่แตกต่าง
กัน และสามารถส่ งเสริ มพัฒนาขึ้นได้
                   ประสาร มาลากุล ณ อยุธยา (2545: 16) ให้ความหมายของ ความคิดสร้างสรรค์
ว่าหมายถึง ความคิดที่มุ่งแก้ปัญหา หรื อประดิษฐ์คิดค้นในแนวทางใหม่ท่ีแปลกแตกต่างจากเดิม
และมีคุณประโยชน์
                                                                                   ่
                   อารี พันธ์มณี (2547: 45) ได้ให้ความหมายของความคิดสร้างสรรค์วา หมายถึง
ความคิด จินตนาการ การประยุกต์ที่สามารถนาไปสู่ สิ่งประดิษฐ์คิดค้นพบสิ่ งใหม่ ๆ ทางเทคโนโลยี
เป็ นความคิดในลักษณะที่คนอื่นคาดคิดไม่ถึงหรื อมองข้าม เป็ นความคิดหลากหลาย คิดได้กว้างไกล
มีท้ งปริ มาณและคุณภาพ อาจเกิดจากความคิดผสมผสานเชื่ อมโยงระหว่างความคิดใหม่ ๆ กับ
     ั
ประสบการณ์เดิม ให้เกิดสิ่ งใหม่ที่แก้ปัญหาและเอื้ออานวยประโยชน์ต่อตนเองและสังคม
                                                      ่
                   สุ วทย์ มูลคา (2547: 9) อธิ บายไว้วา ความคิดสร้างสรรค์เป็ นกระบวนการทาง
                       ิ
ความคิดที่มีความสาคัญต่อเด็ก ทาให้เด็กสามารถสร้างความคิด สร้างจินตนาการ ไม่จนต่อ
สถานการณ์หรื อสภาพแวดล้อมที่กาหนดไว้ ความคิดสร้างสรรค์คือพลังทางความคิดที่เด็ก ๆ ทุกคน
มีมาแต่กาเนิ ด หากได้รับการกระตุน การพัฒนา พลังแห่งการสร้างสรรค์จะทาให้เด็กเป็ นคนมีอิสระ
                                  ้
ทางความคิด มีความคิดที่ฉีกกรอบ สามารถหาหนทางในการที่จะสร้างสรรค์สิ่งใหม่ ๆ ได้เสมอ
                   กุลยา ตันติผลาชีวะ (2547: 33) กล่าวว่า การคิดสร้างสรรค์ หรื อการออกแบบ
สร้างสรรค์ เป็ นกระบวนการทางสมองที่คิดในลักษณะอเนกนัย ที่ทาให้เกิดการค้นพบสิ่ งแปลกใหม่
ด้วยการดัดแปลง ปรับปรุ งผสมผสาน รวมถึงการประดิษฐ์และค้นพบสิ่ งต่าง ๆ เป็ นการคิดทั้ง
เหตุผล และจินตนาการจนเกิดผลงาน สามารถพัฒนาได้ดวยการทากิจกรรมอิสระในการคิด การ
                                                            ้
สังเกต
                 จากแนวคิดที่กล่าวมาข้างต้นพอจะสรุ ปความหมายของความคิดสร้างสรรค์ได้วา           ่
หมายถึง การที่เด็กได้คิดมาจากสมองและจากจิตใจในหลาย ๆ อย่างแบบอเนกนัย ซึ่ งเป็ นผลมาจาก
พื้นฐานและประสบการณ์เดิม สภาพแวดล้อมที่เด็กได้รับแล้วแสดงออกมาในรู ปแบบของคาพูด
หรื อผลงานต่าง ๆ อันไม่ซ้ าแบบใคร ทั้งแบบเดียวหรื อหลาย ๆ แบบ และมีคุณค่าต่อตนเอง ผูอื่น     ้
และสังคมส่ วนรวม ความคิดริ เริ่ มสร้างสรรค์ เป็ นกระบวนการคิดที่อาศัยความรู ้พ้ืนฐานจินตนาการ
และวิจารณญาณ ในการพัฒนาหรื อคิดค้นองค์ความรู ้หรื อสิ่ งประดิษฐ์ใหม่ ๆ ที่มีคุณค่าและเป็ น
ประโยชน์ต่อตนเองและสังคม
              4.2 องค์ประกอบของความคิดสร้างสรรค์
                 วิลสั น (นิพาดา เทวกุล, มล. 2552: ออนไลน์ ; อ้ างอิงจาก Wilson. 1958: 114-115)
กล่าวว่ า ความคิดสร้ างสรรค์ ประกอบด้ วยความคล่องในการคิด (Fluency) และความยืดหยุ่นใน
การคิด (Flexibility) โดยแบ่ งเป็ นชนิดย่ อยๆได้ อีกประเภทละ 2 ชนิด
                 ความคล่องในการคิด แบ่งเป็ น
                 1. ความคล่องในด้านการเชื่ อมโยง (Associative Fluency) คือ ความ สามารถใน
การคิดคานึงถึงคาหรื อข้อความที่เขียนแล้วให้ความหมายชัดเจน ถูกต้อง รวดเร็ ว ดังต้องการ
ความสามารถนี้มีความสาคัญต่อการอธิ บายความคิดของตนได้เป็ นอย่างดี
                 2. ความคล่องในด้านความคิด (Ideational Fluency) เน้นถึงอัตราความเร็ วในการ
คิดของแต่ละคน
                 ความยืดหยุ่นในการคิด แบ่งเป็ น 2 ชนิด คือ
                                ่
                 1. ความยืดหยุนในการปรับความคิด (Adaptive Flexibility) คือ ความ สามารถใน
การเปลี่ยนทิศทางของความคิดเมื่อมีปัญหาเกิดขึ้นใหม่ เพื่อจะได้คนพบสิ่ งใหม่
                                                                    ้
                                  ่
                 2. ความยืดหยุนในการคิดหลายแนวทาง (Spontaneous Flexibility) คือ
ความสามารถในการคิดที่จะตอบสนองปั ญหาอย่างเดียวกันนั้นได้หลาย ๆ แบบโดยคิดถึงปั ญหานั้น
ในหลาย ๆ ด้าน
                 กิลฟอร์ ด (กานดา ทิววัฒน์ปกรณ์. 2543: 8-9; อ้างอิงจาก กิลฟอร์ ด Guilford. 1967:
145-151) ได้เสนอรายละเอียดขององค์ประกอบของความคิดสร้างสรรค์ ไว้ดงนี้          ั
                     1. ความคิดริ เริ่ ม (Originality) หมายถึง ลักษณะการคิดที่แปลกใหม่ไม่ซ้ ากันกับ
                                                                                          ่
ความคิดของคนอื่น ๆ แตกต่างจากความคิดธรรมดา ความคิดริ เริ่ มอาจเกิดจากของเดิมที่มีอยูแล้ว ให้
แปลกแตกต่างจากที่เคยเห็น หรื อสามารถพลิกแพลงให้กลายเป็ นสิ่ งที่ไม่เคยคาดคิด ความคิดริ เริ่ ม
                                                                                  ่
อาจเป็ นการนาเอาความคิดเก่ามาปรุ งแต่งผสมผสานจนเกิดเป็ นของใหม่ ซึ่ งมีอยูหลายระดับ อาจ
เป็ นความคิดครั้งแรกที่เกิดขึ้นโดยไม่มีใครสอน แม้ความคิดนั้นจะมีผอื่นคิดไว้ก่อนแล้วก็ตาม
                                                                      ู้
                      2. ความคิดคล่องแคล่ว (Fluency) หมายถึง ความสามารถในการคิดได้อย่าง
รวดเร็ ว มีปริ มาณมากและไม่ซ้ ากันในเรื่ องเดียวกัน ความคิดคล่องตัวนี้มีความสาคัญต่อการ
แก้ปัญหาเฉพาะหน้า เพราะในการแก้ปัญหาเฉพาะหน้านั้นต้องการความรวดเร็ วและคิดหาวิธีแก้ไข
ได้หลายวิธี โดยแบ่งออกเป็ น 4 ประเภท
                          2.1 ความคล่องแคล่วทางด้านถ้อยคา (Word Fluency) เป็ นความสามรถ
ในการใช้ถอยคาอย่างคล่องแคล่ว
              ้
                          2.2 ความคล่องแคล่วทางด้านการโยงสัมพันธ์ (Associational Fluency) เป็ น
ความสามารถที่จะคิดหาถ้อยคาที่เหมือนกันหรื อคล้ายกันได้มากที่สุดเท่าที่จะมากได้ภายในเวลาที่
กาหนด
                          2.3 ความคล่องแคล่วทางด้านการแสดงออก (Express Fluency) เป็ น
ความสามารถในการใช้วลีหรื อประโยค กล่าวคือ ความสามารถที่จะนาคามาเรี ยงกันอย่างรวดเร็ ว
เพื่อให้ได้ประโยคที่ตองการ
                       ้
                          2.4 ความคล่องแคล่วในการคิด (Ideational Fluency) เป็ นความสามารถที่จะ
ค้นคิดสิ่ งที่ ต้องการภายในเวลาที่กาหนด
                                       ่
                      3. ความคิดยืดหยุน (Flexibility) หมายถึง ประเภทหรื อแบบของความคิด แบ่ง
ออกเป็ น
                                           ่
                          3.1 ความคิดยืดหยุนที่เกิดขึ้นทันที (Spontaneous Flexibility) เป็ นความ
                                                                                    ่
สามารถที่จะพยายามคิดได้หลายทางอย่างอิสระ ตัวอย่างของคนที่มีความคิดยืดหยุนในด้านนี้จะคิด
ได้วาประโยชน์ของหนังสื อพิมพ์มีอะไรบ้าง ผูที่มีความคิดยืดหยุนจะสามารถจัดกลุ่มได้หลายทิศ
     ่                                          ้                ่
หลายทางหรื อหลายด้าน เช่น เพื่อรู ้ข่าวสาร เพื่อโฆษณาสิ นค้า เพื่อธุ รกิจ เป็ นต้น ใน ขณะที่คนที่ไม่
มีความคิดสร้างสรรค์จะคิดได้เพียงทิศทางเดียว คือ เพื่อรู ้ข่าวสารเท่านั้น
                                             ่
                          3.2 ความคิดยืดหยุนทางด้านการดัดแปลง (Adaptive Flexibility) เป็ น
ความสามารถในการดัดแปลงความรู ้หรื อประสบการณ์ให้เกิดประโยชน์หลาย ๆ ด้าน ซึ่ งมี
ประโยชน์ต่อการแก้ไขปั ญหา ผูที่มีความยืดหยุนจะคิดดัดแปลงได้ไม่ซ้ ากัน
                                 ้                ่
                      4. ความคิดละเอียดลออ (Elaboration) หมายถึง ความคิดในรายละเอียด เป็ น
ขั้นตอน สามารถอธิ บายให้เห็นภาพชัดเจน หรื อเป็ นแผนงานที่สมบูรณ์ข้ ึน ความคิดละเอียดลออ
จัดเป็ นรายละเอียดที่นามาตกแต่งขยายความคิดครั้งแรกให้สมบูรณ์ข้ ึน

More Related Content

What's hot

ทฤษฎีการเรียนรู้กลุ่มพุทธินิยม
ทฤษฎีการเรียนรู้กลุ่มพุทธินิยมทฤษฎีการเรียนรู้กลุ่มพุทธินิยม
ทฤษฎีการเรียนรู้กลุ่มพุทธินิยม
Naracha Nong
 
David p. ausubel
David p. ausubelDavid p. ausubel
David p. ausubel
ya035
 
ทฤษฎีการเรียนรู้ของกลุ่มปัญญานิยม
ทฤษฎีการเรียนรู้ของกลุ่มปัญญานิยมทฤษฎีการเรียนรู้ของกลุ่มปัญญานิยม
Jerome bruner
Jerome  brunerJerome  bruner
Jerome bruner
sofia-m15
 
ความหมาย ทฤษฎีด้านนวัตกรรมเพื่อการศึกษา
ความหมาย ทฤษฎีด้านนวัตกรรมเพื่อการศึกษาความหมาย ทฤษฎีด้านนวัตกรรมเพื่อการศึกษา
ความหมาย ทฤษฎีด้านนวัตกรรมเพื่อการศึกษา
itedu355
 
ทฤษฎีของเฟียเจท์ 1
ทฤษฎีของเฟียเจท์ 1ทฤษฎีของเฟียเจท์ 1
ทฤษฎีของเฟียเจท์ 1
NusaiMath
 
ทฤษฎ ของธอร นไดค_
ทฤษฎ ของธอร นไดค_ทฤษฎ ของธอร นไดค_
ทฤษฎ ของธอร นไดค_
ya035
 
เฟียเจท์ 1
เฟียเจท์ 1เฟียเจท์ 1
เฟียเจท์ 1
rorsed
 
บทความทางวิชาการ
บทความทางวิชาการบทความทางวิชาการ
บทความทางวิชาการ
ขวัญ ฤทัย
 
งานออกแบบสื่อ
งานออกแบบสื่องานออกแบบสื่อ
งานออกแบบสื่อ
MicKy Mesprasart
 

What's hot (17)

ทฤษฎีการเรียนรู้กลุ่มพุทธินิยม
ทฤษฎีการเรียนรู้กลุ่มพุทธินิยมทฤษฎีการเรียนรู้กลุ่มพุทธินิยม
ทฤษฎีการเรียนรู้กลุ่มพุทธินิยม
 
David p. ausubel
David p. ausubelDavid p. ausubel
David p. ausubel
 
ทฤษฎีการเรียนรู้ของกลุ่มปัญญานิยม
ทฤษฎีการเรียนรู้ของกลุ่มปัญญานิยมทฤษฎีการเรียนรู้ของกลุ่มปัญญานิยม
ทฤษฎีการเรียนรู้ของกลุ่มปัญญานิยม
 
บรู
บรูบรู
บรู
 
อบรม "ห้องเรียนสร้างสรรค์" วันที่ 1
อบรม "ห้องเรียนสร้างสรรค์" วันที่ 1อบรม "ห้องเรียนสร้างสรรค์" วันที่ 1
อบรม "ห้องเรียนสร้างสรรค์" วันที่ 1
 
Jerome bruner
Jerome  brunerJerome  bruner
Jerome bruner
 
Jerome bruner
Jerome  brunerJerome  bruner
Jerome bruner
 
Cognitivism
CognitivismCognitivism
Cognitivism
 
ความหมาย ทฤษฎีด้านนวัตกรรมเพื่อการศึกษา
ความหมาย ทฤษฎีด้านนวัตกรรมเพื่อการศึกษาความหมาย ทฤษฎีด้านนวัตกรรมเพื่อการศึกษา
ความหมาย ทฤษฎีด้านนวัตกรรมเพื่อการศึกษา
 
ทฤษฎีของเฟียเจท์ 1
ทฤษฎีของเฟียเจท์ 1ทฤษฎีของเฟียเจท์ 1
ทฤษฎีของเฟียเจท์ 1
 
ทฤษฎ ของธอร นไดค_
ทฤษฎ ของธอร นไดค_ทฤษฎ ของธอร นไดค_
ทฤษฎ ของธอร นไดค_
 
Cognitivism
CognitivismCognitivism
Cognitivism
 
กลุ่มพุทธิปัญญานิยม
กลุ่มพุทธิปัญญานิยมกลุ่มพุทธิปัญญานิยม
กลุ่มพุทธิปัญญานิยม
 
เฟียเจท์ 1
เฟียเจท์ 1เฟียเจท์ 1
เฟียเจท์ 1
 
บทความทางวิชาการ
บทความทางวิชาการบทความทางวิชาการ
บทความทางวิชาการ
 
งานออกแบบสื่อ
งานออกแบบสื่องานออกแบบสื่อ
งานออกแบบสื่อ
 
วิธีการเขียนวิจัยในชั้นเรียน
วิธีการเขียนวิจัยในชั้นเรียนวิธีการเขียนวิจัยในชั้นเรียน
วิธีการเขียนวิจัยในชั้นเรียน
 

Similar to บทความวิชาการ

ภารกิจครูมือใหม่
ภารกิจครูมือใหม่ภารกิจครูมือใหม่
ภารกิจครูมือใหม่
Phornpen Fuangfoo
 
Presentation 5
Presentation 5Presentation 5
Presentation 5
moohmed
 
เอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้องกับการสอนแบบ 4 mat
เอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้องกับการสอนแบบ 4 matเอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้องกับการสอนแบบ 4 mat
เอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้องกับการสอนแบบ 4 mat
Siriphan Kristiansen
 
การจัดการการเรียนรู้
การจัดการการเรียนรู้การจัดการการเรียนรู้
การจัดการการเรียนรู้
uncasanova
 
วิธีคิดกระบวนระบบ
วิธีคิดกระบวนระบบวิธีคิดกระบวนระบบ
วิธีคิดกระบวนระบบ
sivapong klongpanich
 
Jerome bruner
Jerome  brunerJerome  bruner
Jerome bruner
soh26
 
Original b.
Original b.Original b.
Original b.
ya035
 

Similar to บทความวิชาการ (20)

Thinking
 Thinking Thinking
Thinking
 
Thinking
 Thinking Thinking
Thinking
 
งานนำเสนอ Thinking
งานนำเสนอ Thinkingงานนำเสนอ Thinking
งานนำเสนอ Thinking
 
Thinking
ThinkingThinking
Thinking
 
ภารกิจครูมือใหม่
ภารกิจครูมือใหม่ภารกิจครูมือใหม่
ภารกิจครูมือใหม่
 
Presentation 5
Presentation 5Presentation 5
Presentation 5
 
เอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้องกับการสอนแบบ 4 mat
เอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้องกับการสอนแบบ 4 matเอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้องกับการสอนแบบ 4 mat
เอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้องกับการสอนแบบ 4 mat
 
การจัดการการเรียนรู้
การจัดการการเรียนรู้การจัดการการเรียนรู้
การจัดการการเรียนรู้
 
วิธีคิดกระบวนระบบ
วิธีคิดกระบวนระบบวิธีคิดกระบวนระบบ
วิธีคิดกระบวนระบบ
 
Innovation
InnovationInnovation
Innovation
 
58210401110 งาน1 ss
58210401110 งาน1 ss58210401110 งาน1 ss
58210401110 งาน1 ss
 
Expand
ExpandExpand
Expand
 
Jerome bruner
Jerome  brunerJerome  bruner
Jerome bruner
 
Original b.
Original b.Original b.
Original b.
 
Original b.
Original b.Original b.
Original b.
 
Original b.
Original b.Original b.
Original b.
 
Original b.
Original b.Original b.
Original b.
 
ครูมือใหม่
ครูมือใหม่ครูมือใหม่
ครูมือใหม่
 
การจัดการความรู้เพื่อมุ่งสู่องค์กรแห่งการเรียนรู้
การจัดการความรู้เพื่อมุ่งสู่องค์กรแห่งการเรียนรู้การจัดการความรู้เพื่อมุ่งสู่องค์กรแห่งการเรียนรู้
การจัดการความรู้เพื่อมุ่งสู่องค์กรแห่งการเรียนรู้
 
กลุ่ม ปัญญานิยม
กลุ่ม ปัญญานิยมกลุ่ม ปัญญานิยม
กลุ่ม ปัญญานิยม
 

บทความวิชาการ

  • 1. การคิดและกระบวนการคิด 1. ทฤษฏี หลักการ และแนวคิดเกี่ยวกับการคิด ทิศนา แขมมณี (2540) ได้กล่าวว่า มีนกคิดนักจิตวิทยา และนักวิชาการจานวนมากที่ ั ได้ศึกษาเกี่ยวกับการคิด ทฤษฎี หลักการ และแนวคิดที่สาคัญ ๆ ดังมีรายะเอียดต่อไปนี้ เลวิน (Lewin) นักทฤษฎีกลุ่มเกสต์ตลท์ (Gestalt) เชื่อว่า ความคิดของบุคคลเกิด ั จากการรับรู ้สิ่งเร้า ซึ่ งบุคคลมักรับรู ้ในลักษณะภาพรวมหรื อส่ วนรวมมากกว่าส่ วนย่อย ทอแรนซ์ (Torrance, 1962) ได้เสนอแนวคิดเกี่ยวกับองค์ประกอบของความคิด สร้างสรรค์ ว่าประกอบไปด้วย ความคล่องแคล่วในการคิด (Fluency) ความยืดหยุนในการคิด ่ (Flexibility) และความคิดริ เริ่ มในการคิด (Originality) บลูม (Bloom, 1961) ได้จาแนกการรู้ (Cognition) ออกเป็ น 5 ขั้น ได้แก่ การรู ้ข้ น ั ความรู ้ การรู ้ข้ นเข้าใจ การรู ้ข้ นวิเคราะห์ การรู ้ข้ นสังเคราะห์ และการรู ้ข้ นประเมิน ั ั ั ั ออซูเบล (Ausubel, 1963) อธิ บายว่า การเรี ยนรู ้อย่างมีความหมาย (Meaningful Verbal Learning) จะเกิดขึ้นได้หากการเรี ยนรู ้น้ นสามารถเชื่อมโยงกับสิ่ งใดสิ่ งหนึ่งที่มีมาก่อน ั ดังนั้น การให้กรอบความคิดแก่ผเู ้ รี ยนก่อนการสอนเนื้อหาสาระใด ๆ จะช่วยเป็ นสะพานหรื อ โครงสร้างที่ผเู้ รี ยนสามารถนาเนื้อหา/สิ่ งที่เรี ยนใหม่ไปเชื่ อมโยง ยึดเกาะได้ ทาให้การเรี ยนรู ้เป็ นไป อย่างมีความหมาย เพียเจต์ (Piaget, 1964) ได้อธิ บายพัฒนาการทางสติปัญญาว่า เป็ นผลเนื่ องมาจาก การปะทะสัมพันธ์ระหว่างบุคคลกับสิ่ งแวดล้อม โดยบุคคลพยายามปรับตัวโดยใช้กระบวนการ ดูดซึ ม (Assimi-lation) และกระบวนการปรับให้เหมาะ (Accommodation) บรุ นเนอร์ (Bruner, 1965) กล่าวว่า เด็กเริ่ มต้นเรี ยนจากการกระทา ต่อไปจึงจะ สามารถจินตนาการ สร้างภาพในใจหรื อในความคิดขึ้นได้ แล้วจึงถึงขั้นการคิดและ เข้าใจในสิ่ งที่ เป็ นนามธรรม กานเย (Gagne, 1965) ได้อธิ บายว่าผลการเรี ยนของมนุษย์มี 5 ประเภท ได้แก่ 1. ทักษะทางปัญญา (Intellectual Skills) ซึ่ งประกอบด้วยทักษะย่อย 4 ระดับ คือ การจาแนกแยกแยะ การสร้างความคิดรวบยอด การสร้างกฎ การสร้างกระบวนการหรื อกฎขั้น สู ง 2. กลวิธีในการเรี ยน (Cognitive Strategies) ซึ่งประกอบด้วยกลวิธีการใส่ ใจ การรับและทาความเข้าใจข้อมูล การดึงความรู้จากความทรงจา การแก้ปัญหา และกลวิธีการคิด 3. ภาษา (Verbal Information)
  • 2. 4. ทักษะการเคลื่อนไหว (Motor Skills) 5. เจตคติ (Attitudes) กิลฟอร์ ด (Guilford, 1967) ได้อธิ บายว่า ความสามารถทางสมองของมนุษย์ ประกอบด้วยมิติ 3 มิติ คือ 1. ด้านเนื้ อหา (Contents) หมายถึง วัตถุ/ข้อมูลที่ใช้เป็ นสื่ อก่อให้เกิดความคิด ซึ่ งมีหลายรู ปแบบ เช่น อาจเป็ นภาพ เสี ยง สัญลักษณ์ภาษาและพฤติกรรม 2. มิติดานปฏิบติการ (Operations) หมายถึง กระบวนการต่าง ๆ ที่บุคคลใช้ใน ้ ั การคิด ซึ่ งได้แก่ การรับและเข้าใจ (Cognition) การจา การคิดแบบเอนกนัย การคิดแบบเอกนัย และ การประเมินค่า 3. มิติดานผลผลิต (Products) หมายถึง ผลของการคิด ซึ่งอาจมีลกษณะ เป็ น ้ ั หน่วย (Unit) เป็ นกลุ่มหรื อพวกของสิ่ งต่าง ๆ (Classes) เป็ นความสัมพันธ์ (Relation) เป็ นระบบ (System) เป็ นการแปลงรู ป (Transformation) และการประยุกต์ (Implication) ความสามารถทางการคิดของบุคคล เป็ นผลจากการผสมผสานมิติดานเนื้อหา และ ้ ด้านปฎิบติการเข้าด้วยกัน ั ลิปแมน และคณะ (Lipman, 1981) ได้นาเสนอแนวคิดในการสอนคิดผ่านทางการ สอนปรัชญา (Teaching Philosophy) โดยมีความเชื่อว่า ความคิดเชิงปรัชญาเป็ นสิ่ งที่ขาดแคลนมาก ในปั จจุบน เราจาเป็ นต้องสร้างชุมชนแห่งการเรี ยนรู ้ (Community of Inquiry) ที่ผคนสามารถร่ วม ั ู้ สนทนาเพื่อแสวงหาความรู ้ความเข้าใจทางการคิด ปรัชญาเป็ นวิชาที่ช่วยเตรี ยมให้เด็กฝึ กฝนการคิด คลอสไมเออร์ (Klausmier, 1985) ได้อธิบายกระบวนการคิดโดยใช้ทฤษฎีการ ประมวลผลข้อมูล (Information Processing) ว่า การคิดมีลกษณะเหมือนการทางานของ ั คอมพิวเตอร์ คือ มีการนาข้อมูลเข้าไป (Input) ผ่านตัวปฏิบติการ (Processer) แล้วจึงส่ งผลออกมา ั (Output) กระบวนการคิดของมนุษย์มีการรับข้อมูล มีการจัดกระทาและแปลงข้อมูลที่รับมา มีการ เก็บรักษาข้อมูล และมีการนาข้อมูลออกมาใช้อย่างเหมาะสมกับสถานการณ์ กระบวนการเกิดขึ้นใน สมองไม่สามารถสังเกตได้โดยตรง แต่สามารถศึกษาได้จากการอ้างอิง หรื อการคาดคะเน กระบวนการนั้น สเติร์นเบอร์ก (Sternberg, 1985) ได้เสนอทฤษฎีสามศร (Triarchich Theory) ซึ่ง ่ ่ ประกอบด้วยทฤษฎียอย 3 ส่ วน คือ ทฤษฎียอยด้านบริ บทสังคม (Contexual Subtheory)ซึ่ งอธิบายถึง ความสามารถทางสติปัญญาที่เกี่ยวข้องกับบริ บททางสังคมและวัฒนธรรมของบุคคล และทฤษฎียอย ่ ด้านประสบการณ์ (Experiential Subtheory) ซึ่ งอธิ บายถึงผลของประสบการณ์ที่มีต่อความสามารถ
  • 3. ่ ทางปั ญญา รวมทั้งทฤษฎียอยด้านกระบวนการคิด (Componential Subtheory) ซึ่งเป็ นความสามารถ ทางสติปัญญาที่เกี่ยวข้องกับกระบวนการคิด ปรัชญาการสร้างความรู้ (Constructivism) อธิ บายว่า การเรี ยนรู ้ เป็ นกระบวนการที่ เกิดขึ้นภายในบุคคล บุคคลเป็ นผูสร้าง (Construct) ความรู ้จากการสัมพันธ์สิ่งที่พบเห็นกับความรู ้ ้ ความเข้าใจที่มีอยูเ่ ดิม เกิดเป็ นโครงสร้างทางปั ญญา (Cognitive Structure) การ์ดเนอร์ (Gardner, 1983) เป็ นผูบุกเบิกแนวคิดใหม่เกี่ยวกับสติปัญญาของมนุษย์ ้ คือทฤษฎีพหุปัญญา (Multiple Intelligences)ซึ่ งแต่เดิมทฤษฎีทางสติปัญญามักกล่าวถึงความสามารถ เพียงหนึ่งหรื อสองด้าน แต่การ์ ดเนอร์ เสนอไว้ถึง 8 ด้าน ได้แก่ ด้านดนตรี ด้านการเคลื่อนไหว ร่ างกายและกล้ามเนื้อ ด้านการใช้เหตุผลเชิงตรรกะและคณิ ตศาสตร์ ด้านภาษา ด้านมิติสัมพันธ์ ด้าน การ ั ้ สัมพันธ์กบผูอื่น ด้านการเข้าใจตนเอง และด้านความเข้าใจในธรรมชาติ พระธรรมปิ ฎก (2539) ได้นาเสนอแนวคิดในการจัดการศึกษาและการสอนตาม หลักพุทธธรรม ซึ่งครอบคลุมในเรื่ องการพัฒนาปัญญาและการคิดไว้จานวนมาก และได้มีนกการ ั ศึกษาไทยนาแนวคิดเหล่านี้มาประยุกต์ใช้เป็ นรู ปแบบ กระบวนการ และ เทคนิคในการสอน ทาให้ ประเทศไทยมีการศึกษาวิจยในเรื่ องนี้มากขึ้น ั 2. กรอบความคิดของการคิด ทิศนา แขมมณี และคณะ (2540) ได้กล่าวว่า ลักษณะการคิดของมนุ ษย์มีอยูหลาย ่ ลักษณะด้วยกัน ดังนี้ 1. ทักษะการคิดหรื อการคิดในระดับพืนฐาน ทักษะการคิดเป็ นความสามารถของ ้ บุคคลในการแสดงพฤติกรรมการคิดซึ่ ง ประกอบไปด้วยการกระทาย่อย ๆ ที่เป็ นไปตามลาดับ เพื่อ ให้เกิดเป็ นพฤติกรรมการคิดนั้น ๆ การคิดในระดับทักษะมักบ่งชี้ถึงพฤติกรรมการคิดได้ค่อนข้าง ชัดเจน ทักษะการคิดนี้มี 3 ระดับ คือ 1.1 ทักษะการคิดพื้นฐาน (Basic Thinking Skills) 1.2 ทักษะการคิดที่เป็ นแกนสาคัญ (Core Thinking Skills) 1.3 ทักษะการคิดขั้นสู ง (Higher-Ordered Thinking Skills) ทักษะการคิดขั้นสู ง มักจะประกอบไปด้วยการกระทาย่อย ๆ และมีข้ นตอนของการกระทาที่มากกว่าทักษะการคิดขั้นต้น ั 2. ลักษณะการคิดหรื อการคิดในระดับกลาง หมายถึง การคิดที่มีลกษณะพิเศษเป็ น ั เอกลักษณ์เฉพาะของการคิดนั้น ลักษณะดังกล่าวไม่ได้บ่งชี้ถึงพฤติกรรมหรื อการกระทาที่ชดเจน ั ต้องอาศัยการแปลความและตีความไปถึงพฤติกรรมต่าง ๆ ที่เมื่อประกอบกันเป็ นลาดับขั้นตอนแล้ว จะช่วยให้เกิดเป็ นลักษณะการคิดนั้น ๆ
  • 4. 3. กระบวนการคิดหรื อการคิดในระดับสู ง หมายถึง กระบวนการดาเนินกิจกรรม การคิดอย่างเป็ นลาดับขั้นตอน หรื อเป็ นกระบวนการ ซึ่ งจะช่วยให้บรรลุวตถุประสงค์ของการคิด ั นั้น ๆ และในกระบวนการแต่ละขั้นตอนจะต้องอาศัยทักษะการคิดและลักษณะการคิดที่จาเป็ น จานวนมาก อาทิ เช่น กระบวนการคิดอย่างมีวจารณญาณ กระบวนการแก้ปัญหา กระบวนการคิด ิ ริ เริ่ มสร้างสรรค์ เป็ นต้น กระบวนการคิดเหล่านี้มีวตถุประสงค์เฉพาะที่แตกต่างกัน และต้องอาศัย ั ความสามารถทางการคิดต่าง ๆ หลายประการมาช่วยให้แต่ละขั้นตอนของกระบวนการคิดประสบ ผลสาเร็ จ จากกรอบความคิดดังกล่าว ประกอบกับการศึกษาค้นคว้าองค์ความรู ้เกี่ยวกับการคิด ทิศนา แขมมณี และคณะ (2540) ได้จดมิติของการคิดไว้ 6 ด้าน เพื่อใช้เป็ นกรอบความคิดในการ ั พัฒนาความสามารถทางการคิดของเด็กและเยาวชนต่อไป มีดงนี้ ั 1. มิติดานข้อมูลหรื อเนื้อหาที่ใช้ในการคิด ้ 2. มิติดานคุณสมบัติที่เอื้ออานวยต่อการคิด ้ 3. มิติดานทักษะการคิด ้ 4. มิติดานลักษณะการคิด ้ 5. มิติดานกระบวนการคิด ้ 6. มิติดานการควบคุมและประเมินการคิดของตน ้ ่ จากกรอบความคิดนี้ สามารถอธิ บายได้วา ในการคิดใด ๆ หากบุคคลมีคุณสมบัติที่ เอื้ออานวยต่อการคิด ก็นบเป็ นพื้นฐานและการเริ่ มต้นที่ดี การคิดของบุคคลนั้นจะต้องอาศัยทักษะ ั การคิดจานวนมากเป็ นแกนสาคัญ และทักษะการคิดเหล่านั้นจะสามารถไปช่วยพัฒนาลักษณะการ ่ คิดแบบต่าง ๆ ที่จาเป็ น อาทิเช่น การคิดคล่องหลากหลาย ยืดหยุน การคิดละเอียด คิดชัดเจน การคิด ถูกทาง คิดกว้าง คิดไกล คิดลึกซึ้ ง คิดอย่างมีเหตุผล และ คิดแหวกแนว ซึ่ งทักษะและลักษณะการ คิดดังกล่าว จะไปช่วยพัฒนากระบวนการคิดต่าง ๆ ซึ่ งมีวตถุประสงค์ในการนาไปใช้ใน ั ชีวตประจาวันในสถานการณ์ต่าง ๆ เช่น กระบวนการคิดอย่างมีวจารณญาณ กระบวนการแก้ปัญหา ิ ิ กระบวนการตัดสิ นใจ กระบวนการคิดริ เริ่ มสร้างสรรค์ กระบวนการวิจย เป็ นต้น ั 3. การสอนเพื่อพัฒนาการคิด เชิดศักดิ์ โฆวาสิ นธุ์ (2530) ได้ให้ความเห็นว่า การพัฒนาการคิดเป็ นสิ่ งสาคัญ จึงได้มี การค้นหาวิธีการต่าง ๆ เพื่อนามาใช้ในการพัฒนาความสามารถดังกล่าว ในปี ค.ศ. 1984 ได้มีการ ประชุมของนักการศึกษาจากประเทศต่าง ๆ ที่ The Wingspread Conference Center in Racine, Wisconsin State เพื่อหาแนวทางในการพัฒนาทักษะการคิดของเด็ก พบว่าแนวทางที่นกการศึกษา ั ใช้ในการดาเนิ นการวิจยและทดลองเพื่อพัฒนาการคิดนั้น สามารถสรุ ปได้ 3 แนว คือ ั
  • 5. 3.1 การสอนเพื่อให้คิด (Teaching for Thinking) เป็ นการสอนเนื้อหาวิชาการ โดย มี การเสริ มหรื อปรับเปลี่ยนเพื่อเพิ่มความสามารถในด้านการคิดของเด็ก 3.2 การสอนการคิด (Teaching of Thinking) เป็ นการสอนที่เน้นเกี่ยวกับกระบวน การทางสมอง ที่นามาใช้ในการคิดโดยเฉพาะ เป็ นการฝึ กทักษะการคิด ลักษณะของงานที่นามาใช้ สอน จะไม่เกี่ยวข้องกับเนื้อหาวิชาการที่เรี ยนในโรงเรี ยน แนวทางการสอนจะแตกต่างกันออกไป ตามทฤษฎี และความเชื่อพื้นฐานของแต่ละคนที่นามาพัฒนาเป็ นโปรแกรมการสอน 3.3 การสอนเกี่ยวกับการคิด (Teaching about Thinking) เป็ นการสอนที่เน้นการใช้ ทักษะการคิดเป็ นเนื้อหาสาระของการสอน โดยการช่วยเหลือให้ผเู ้ รี ยนได้รู้และเข้าใจ กระบวนการ ่ คิดของตนเองเพื่อให้เกิดทักษะการคิดที่เรี ยกว่า "metacognition" คือ รู ้วาตนเองรู ้อะไร ต้องการรู ้ อะไร และยังไม่รู้อะไร ตลอดจนสามารถควบคุมและตรวจสอบการคิดของตนเองได้ สาหรับโปรแกรมการสอนเพื่อพัฒนาความสามารถในการคิดที่จดสอนในโรงเรี ยน ั ในปัจจุบนสามารถจาแนกออกเป็ น 2 ลักษณะใหญ่ ๆ คือ โปรแกรมที่มีลกษณะเฉพาะ (Specific ั ั Program) ซึ่ งเป็ นโปรแกรมพิเศษนอกเหนือจากการเรี ยนปกติ เป็ นโปรแกรมที่สร้างขึ้นเพื่อ เสริ มสร้างการคิดวิจารณญาณโดยเฉพาะ (Institutional Programs to Foster Critical Thinking) กับ โปรแกรมที่มีลกษณะทัวไป (General Program) ซึ่ งเป็ นโปรแกรมที่ใช้เนื้อหาวิชาในหลักสู ตรปกติ ั ่ เป็ นสื่ อในการพัฒนาทักษะการคิด เป็ นการสอนทักษะการคิดในฐานะที่เป็ นตัวเสริ มวัตถุประสงค์ ของหลักสู ตรที่มีอยู่ โดยเชื่ อมโยงกับวัตถุประสงค์ของเนื้ อหาวิชา ซึ่ งมีแนวทางในการจัดกิจกรรม การเรี ยนการสอน ดังต่อไปนี้ แนวทางที่ 1 การสอนเพื่อพัฒนาการคิดโดยตรงโดยใช้โปรแกรม สื่ อสาเร็ จรู ป หรื อ บทเรี ยน/ กิจกรรมสาเร็ จรู ป เช่น 1.1 The Productive Thinking Program (Covington, Crutchfield Davies & Olton, 1974) ประกอบด้วยบทเรี ยน 15 บท มีเป้ าหมายสอนทักษะการแก้ป้ญหาให้แก่นกเรี ยน ระดับ ั ประถมศึกษาตอนปลาย 1.2 The Ideal Problem Solver (Bransford & Stein, 1984) เป็ นโปรแกรมเน้นการ แก้ปัญหา ประกอบด้วยขั้นตอนการแก้ปัญหา 5 ขั้นตอนคือ 1.2.1 การระบุปัญหา (Identifying Problems) 1.2.2 การนิยาม (Defining Problems) 1.2.3 การเสนอทางเลือก (Explaning Alternatives) 1.2.4 การวางแผนดาเนินการ (Acting on a plan) 1.2.5 การศึกษาผล (Looking at the Effects)
  • 6. 1.3 Feuerstein's Instrumental Enrichment (FIE) (Feuersteinetal; 1980) เรี ยก โปรแกรมนี้วา Mediated Learning Experiences (MLES) เป็ นโปรแกรมที่มีกิจกรรมสอนให้ผเู ้ รี ยน ่ คือ ครู พ่อแม่ และคนที่เกี่ยวข้อง ช่วยให้ผเู ้ รี ยนแก้ คิดความหมาย และรวบรวมเหตุการณ์ต่าง ๆ ที่ เกิดขึ้นในปรากฏการณ์ของตนเอง กิจกรรมพื้นฐานของ MLES คือการแก้ให้ผเู ้ รี ยนมีความคิดอย่าง มีวจารณญาณ โดยทากิจกรรมต่าง ๆ เพื่อนาไปสู่ เป้ าหมายสู งสุ ด คือการแก้ป้ญหาได้ดวยตนเอง ิ ้ 1.4 The CoRT Thinking Materials - CoRT (Cognitive Research Trust) ซึ่งเป็ น โปรแกรม 2 ปี เพื่อพัฒนาทักษะการคิด (Do Bono, 1973) บทเรี ยนของโปรแกรมนี้ประกอบด้วยการ พัฒนาทักษะการคิดอย่างมีวิจารณญาณ ทักษะการแก้ป้ญหา ทักษะการคิดสร้างสรรค์ รวมทั้งทักษะ การปฎิสัมพันธ์ระหว่างบุคคล เป็ นบทเรี ยนที่ใช้ได้ต้ งแต่นกเรี ยนระดับประถมศึกษาขึ้นไป เป็ น ั ั โปรแกรมที่ประกอบด้วยหน่วยใหญ่ ๆ รวม 6 หน่วย แนวทางที่ 2 การสอนเนื้อหาสาระต่าง ๆ โดยใช้รูปแบบหรื อกระบวนการสอนที่เน้น กระบวนการคิด การสอนเพื่อพัฒนาการคิดในลักษณะนี้ เป็ นการสอนที่มุ่งสอนเนื้อหาสาระต่าง ๆ ตามวัตถุประสงค์ของหลักสู ตร แต่เพื่อให้การสอนนั้นช่วยพัฒนาความสามารถทางการคิดของ ผูเ้ รี ยนไปในตัว ครู สามารถนารู ปแบบการสอนต่าง ๆ ที่เน้นกระบวนการคิด ซึ่ งได้มีผคนคิด พัฒนา ู้ ้ และทดสอบ พิสูจน์แล้วมาใช้เป็ นกระบวนการสอน ซึ่ งจะช่วยให้ครู สามารถพัฒนาผูเ้ รี ยนได้ท้ ง ั ทางด้านเนื้ อหาสาระ และการคิดไปพร้อม ๆ กัน รู ปแบบหรื อกระบวนการสอนที่เน้น/ส่ งเสริ ม กระบวนการคิดมีหลากหลาย ทั้งจากต่างประเทศ และจากนักการศึกษาไทย อาทิ เช่น รู ปแบบ/กระบวนการสอนทีเ่ น้ น/ส่ งเสริมกระบวนการคิดจากต่ างประเทศ 1. รู ปแบบการสอนแบบอุปนัยของจอยส์และเวลล์ (Inductive Thinking) 2. รู ปแบบการสอนแบบซักค้านของจอยส์และเวลล์ (Jurisprudential Inquiry Model) 3. รู ปแบบการสอนแบบสื บสวนสอบสวนของจอยส์และเวลล์ (Inquiry Model) 4. รู ปแบบการสอนแบบให้มโนทัศน์ล่วงหน้าของจอยส์ (Advance Organizer) 5. รู ปแบบการสอนมโนทัศน์ของจอยส์และเวล์(Concept Attainment) 6. รู ปแบบการสอนเพื่อพัฒนาความคิดสร้างสรรค์ตามแนวคิดของวิลเลียมส์ 7. การคิดอย่างมีวิจารณญาณของ Center for Critical Thinking, Sonoma State University 8. รู ปแบบการสอนของกานเย (Gagne) 9. รู ปแบบการคิดอย่างมีวจารณญาณของเอนนิส (Ennis) ิ 10. รู ปแบบการคิดแก้ปัญหาอนาคตของทอแรนซ์ (Torrance)
  • 7. 11. กระบวนการคิดวิจารณญาณของเดรสเซล และเมย์ฮิว (Dressel and Mayhew) 12. การพัฒนากระบวนการคิดของเดอโบโน (Edward De Bono) รู ปแบบ/กระบวนการสอนของไทยทีเ่ น้ น/ส่ งเสริมกระบวนการคิด 13. รู ปแบบการสอนตามขั้นทั้ง 4 ของอริ ยสัจ โดยสาโรช บัวศรี 14. ระบบการเรี ยนการสอนแบบสื บสวนสอบสวนตามแนวพุทธศาสตร์ โดย วีระยุทธ วิเชียรโชติ 15. รู ปแบบการสอนโดยสร้างศรัทธาและโยนิโสมนสิ การ โดยสุ มน อมรวิวฒน์ ั 16. รู ปแบบการสอนความคิด ค่านิยม จริ ยธรรม และทักษะ โดย โกวิท ประวาลพฤกษ์ 17. ทักษะกระบวนการ โดย กรมวิชาการ กระทรวงศึกษาธิการ 18. กระบวนการวิทยาศาสตร์ โดย สสวท. 19. กระบวนการคิดเป็ น โดย โกวิท วรพิพฒน์ ั 20. กระบวนการคิดเป็ นเพื่อการดารงชีวตในสังคมไทย โดย หน่วยศึกษานิเทศก์ ิ กรมสามัญศึกษา 21. กระบวนการคิดอย่างมีวจารณญาณ โดย เพ็ญพิศุทธิ์ เนคมานุรักษ์ ิ 22. กระบวนการเกิดความสานึกและการเปลี่ยนแปลงความสานึก โดย เมธี ปิ ลันธนานนท์ 23. รู ปแบบการสอนคณิ ตศาสตร์ตามแนวคิดของทฤษฎีคอนสตัคติวสต์ โดย ิ ไพจิตร สะดวกการ 24. สอนให้คิด คิดให้สอน โดย ชาตรี สาราญฯลฯ แนวทางที่ 3 การสอนเนื้อหาสาระต่าง ๆ โดยพยายามส่ งเสริ มให้ผเู ้ รี ยนพัฒนาทักษะ การคิด ลักษณะการคิด และกระบวนการคิด ในกิจกรรมการเรี ยนเนื้ อหาวิชาต่าง ๆ แนวทางนี้น่าจะ ่ เป็ นแนวทางที่ครู สามารถทาได้มากและสะดวกที่สุด เนื่องจากครู สอนเนื้ อหาสาระอยูแล้ว และมี กิจกรรมการสอนอยูแล้ว เมื่อครู มีความเข้าใจเกี่ยวกับการคิดตามกรอบความคิดที่ได้เสนอมาข้างต้น ่ ่ ครู จะสามารถนาความเข้าใจนั้นมาใช้ในการปรับกิจกรรมการสอนที่มีอยูแล้วให้มีลกษณะที่ให้ั โอกาสผูเ้ รี ยนได้พฒนาทักษะการคิด ลักษณะการคิด และกระบวนการคิดที่หลากหลาย ั จากกรอบความคิดเกี่ยวกับ "การคิด" ที่ได้เสนอไว้ขางต้น ผูวจยเลือกวิธีที่ 3 การสอน ้ ้ิั เนื้อหาสาระต่าง ๆ โดยพยายามส่ งเสริ มให้ผเู ้ รี ยนพัฒนาทักษะการคิด ลักษณะการคิด และกระบวน การคิดในกิจกรรมการเรี ยนเนื้อหาวิชาต่าง ๆ ซึ่ งเป็ นแนวที่มีขอจากัดน้อยที่สุดและครู สามารถทาได้ ้ มากที่สุดและสะดวกที่สุด เนื่องจากสามารถบูรณาการเข้าไปในการสอนเนื้อหาสาระต่าง ๆ ได้ตาม
  • 8. ปกติ หากครู มีความเข้าใจอย่างแท้จริ งในองค์ประกอบทั้ง 6 ด้านของการคิด พยายามปลุกกระตุน ้ สมองของผูเ้ รี ยนให้มีการเคลื่อนไหว มีการใช้ความคิดในลักษณะต่าง ๆ ให้มาก และใช้เทคนิควิธี ่ การต่าง ๆ ที่มีอยูอย่างหลากหลายในการพัฒนาผูเ้ รี ยนอย่างต่อเนื่อง จะสามารถช่วยให้เด็กและ เยาวชนของชาติเป็ นคนที่ มองกว้าง คิดไกล และใฝ่ รู ้ รวมทั้งเป็ นผูมีเหตุผล มีความคิดวิจารณญาณ ้ ในการดาเนินชีวิตและแก้ปัญหาต่าง ๆ ในชีวตได้ตามความคาดหวังหรื อวัตถุประสงค์ของการศึกษา ิ 1. กระบวนการคิดสร้างสรรค์ 4.1 ความหมายของการคิดสร้างสรรค์ ความหมายของการคิดสร้างสรรค์ ได้มีผให้ความหมายไว้ ดังต่อไปนี้ ู้ ขวัญตา ทุนเทพย์ (2545: 10) ได้ให้ความหมายของความคิดสร้างสรรค์ไว้วา ่ หมายถึง ความสามารถทางสมองของบุคคลในการคิดหาคาตอบหลาย ๆ คาตอบเพื่อสนองต่อสิ่ งเร้า ทาให้เกิดการคิดที่หลากหลาย สามารถเชื่อมโยงสิ่ งต่าง ๆ ผสมผสานให้เกิดสิ่ งใหม่และแตกต่าง ่ แปลกไปจากคนอื่น ซึ่ งประกอบด้วยความคิดคล่อง ความคิดริ เริ่ ม ความคิดยืดหยุน และความคิด ่ ละเอียดลออ ความคิดสร้างสรรค์เป็ นความสามารถที่มีอยูในตัวบุคคลแต่ละคนในระดับที่แตกต่าง กัน และสามารถส่ งเสริ มพัฒนาขึ้นได้ ประสาร มาลากุล ณ อยุธยา (2545: 16) ให้ความหมายของ ความคิดสร้างสรรค์ ว่าหมายถึง ความคิดที่มุ่งแก้ปัญหา หรื อประดิษฐ์คิดค้นในแนวทางใหม่ท่ีแปลกแตกต่างจากเดิม และมีคุณประโยชน์ ่ อารี พันธ์มณี (2547: 45) ได้ให้ความหมายของความคิดสร้างสรรค์วา หมายถึง ความคิด จินตนาการ การประยุกต์ที่สามารถนาไปสู่ สิ่งประดิษฐ์คิดค้นพบสิ่ งใหม่ ๆ ทางเทคโนโลยี เป็ นความคิดในลักษณะที่คนอื่นคาดคิดไม่ถึงหรื อมองข้าม เป็ นความคิดหลากหลาย คิดได้กว้างไกล มีท้ งปริ มาณและคุณภาพ อาจเกิดจากความคิดผสมผสานเชื่ อมโยงระหว่างความคิดใหม่ ๆ กับ ั ประสบการณ์เดิม ให้เกิดสิ่ งใหม่ที่แก้ปัญหาและเอื้ออานวยประโยชน์ต่อตนเองและสังคม ่ สุ วทย์ มูลคา (2547: 9) อธิ บายไว้วา ความคิดสร้างสรรค์เป็ นกระบวนการทาง ิ ความคิดที่มีความสาคัญต่อเด็ก ทาให้เด็กสามารถสร้างความคิด สร้างจินตนาการ ไม่จนต่อ สถานการณ์หรื อสภาพแวดล้อมที่กาหนดไว้ ความคิดสร้างสรรค์คือพลังทางความคิดที่เด็ก ๆ ทุกคน มีมาแต่กาเนิ ด หากได้รับการกระตุน การพัฒนา พลังแห่งการสร้างสรรค์จะทาให้เด็กเป็ นคนมีอิสระ ้ ทางความคิด มีความคิดที่ฉีกกรอบ สามารถหาหนทางในการที่จะสร้างสรรค์สิ่งใหม่ ๆ ได้เสมอ กุลยา ตันติผลาชีวะ (2547: 33) กล่าวว่า การคิดสร้างสรรค์ หรื อการออกแบบ สร้างสรรค์ เป็ นกระบวนการทางสมองที่คิดในลักษณะอเนกนัย ที่ทาให้เกิดการค้นพบสิ่ งแปลกใหม่ ด้วยการดัดแปลง ปรับปรุ งผสมผสาน รวมถึงการประดิษฐ์และค้นพบสิ่ งต่าง ๆ เป็ นการคิดทั้ง
  • 9. เหตุผล และจินตนาการจนเกิดผลงาน สามารถพัฒนาได้ดวยการทากิจกรรมอิสระในการคิด การ ้ สังเกต จากแนวคิดที่กล่าวมาข้างต้นพอจะสรุ ปความหมายของความคิดสร้างสรรค์ได้วา ่ หมายถึง การที่เด็กได้คิดมาจากสมองและจากจิตใจในหลาย ๆ อย่างแบบอเนกนัย ซึ่ งเป็ นผลมาจาก พื้นฐานและประสบการณ์เดิม สภาพแวดล้อมที่เด็กได้รับแล้วแสดงออกมาในรู ปแบบของคาพูด หรื อผลงานต่าง ๆ อันไม่ซ้ าแบบใคร ทั้งแบบเดียวหรื อหลาย ๆ แบบ และมีคุณค่าต่อตนเอง ผูอื่น ้ และสังคมส่ วนรวม ความคิดริ เริ่ มสร้างสรรค์ เป็ นกระบวนการคิดที่อาศัยความรู ้พ้ืนฐานจินตนาการ และวิจารณญาณ ในการพัฒนาหรื อคิดค้นองค์ความรู ้หรื อสิ่ งประดิษฐ์ใหม่ ๆ ที่มีคุณค่าและเป็ น ประโยชน์ต่อตนเองและสังคม 4.2 องค์ประกอบของความคิดสร้างสรรค์ วิลสั น (นิพาดา เทวกุล, มล. 2552: ออนไลน์ ; อ้ างอิงจาก Wilson. 1958: 114-115) กล่าวว่ า ความคิดสร้ างสรรค์ ประกอบด้ วยความคล่องในการคิด (Fluency) และความยืดหยุ่นใน การคิด (Flexibility) โดยแบ่ งเป็ นชนิดย่ อยๆได้ อีกประเภทละ 2 ชนิด ความคล่องในการคิด แบ่งเป็ น 1. ความคล่องในด้านการเชื่ อมโยง (Associative Fluency) คือ ความ สามารถใน การคิดคานึงถึงคาหรื อข้อความที่เขียนแล้วให้ความหมายชัดเจน ถูกต้อง รวดเร็ ว ดังต้องการ ความสามารถนี้มีความสาคัญต่อการอธิ บายความคิดของตนได้เป็ นอย่างดี 2. ความคล่องในด้านความคิด (Ideational Fluency) เน้นถึงอัตราความเร็ วในการ คิดของแต่ละคน ความยืดหยุ่นในการคิด แบ่งเป็ น 2 ชนิด คือ ่ 1. ความยืดหยุนในการปรับความคิด (Adaptive Flexibility) คือ ความ สามารถใน การเปลี่ยนทิศทางของความคิดเมื่อมีปัญหาเกิดขึ้นใหม่ เพื่อจะได้คนพบสิ่ งใหม่ ้ ่ 2. ความยืดหยุนในการคิดหลายแนวทาง (Spontaneous Flexibility) คือ ความสามารถในการคิดที่จะตอบสนองปั ญหาอย่างเดียวกันนั้นได้หลาย ๆ แบบโดยคิดถึงปั ญหานั้น ในหลาย ๆ ด้าน กิลฟอร์ ด (กานดา ทิววัฒน์ปกรณ์. 2543: 8-9; อ้างอิงจาก กิลฟอร์ ด Guilford. 1967: 145-151) ได้เสนอรายละเอียดขององค์ประกอบของความคิดสร้างสรรค์ ไว้ดงนี้ ั 1. ความคิดริ เริ่ ม (Originality) หมายถึง ลักษณะการคิดที่แปลกใหม่ไม่ซ้ ากันกับ ่ ความคิดของคนอื่น ๆ แตกต่างจากความคิดธรรมดา ความคิดริ เริ่ มอาจเกิดจากของเดิมที่มีอยูแล้ว ให้
  • 10. แปลกแตกต่างจากที่เคยเห็น หรื อสามารถพลิกแพลงให้กลายเป็ นสิ่ งที่ไม่เคยคาดคิด ความคิดริ เริ่ ม ่ อาจเป็ นการนาเอาความคิดเก่ามาปรุ งแต่งผสมผสานจนเกิดเป็ นของใหม่ ซึ่ งมีอยูหลายระดับ อาจ เป็ นความคิดครั้งแรกที่เกิดขึ้นโดยไม่มีใครสอน แม้ความคิดนั้นจะมีผอื่นคิดไว้ก่อนแล้วก็ตาม ู้ 2. ความคิดคล่องแคล่ว (Fluency) หมายถึง ความสามารถในการคิดได้อย่าง รวดเร็ ว มีปริ มาณมากและไม่ซ้ ากันในเรื่ องเดียวกัน ความคิดคล่องตัวนี้มีความสาคัญต่อการ แก้ปัญหาเฉพาะหน้า เพราะในการแก้ปัญหาเฉพาะหน้านั้นต้องการความรวดเร็ วและคิดหาวิธีแก้ไข ได้หลายวิธี โดยแบ่งออกเป็ น 4 ประเภท 2.1 ความคล่องแคล่วทางด้านถ้อยคา (Word Fluency) เป็ นความสามรถ ในการใช้ถอยคาอย่างคล่องแคล่ว ้ 2.2 ความคล่องแคล่วทางด้านการโยงสัมพันธ์ (Associational Fluency) เป็ น ความสามารถที่จะคิดหาถ้อยคาที่เหมือนกันหรื อคล้ายกันได้มากที่สุดเท่าที่จะมากได้ภายในเวลาที่ กาหนด 2.3 ความคล่องแคล่วทางด้านการแสดงออก (Express Fluency) เป็ น ความสามารถในการใช้วลีหรื อประโยค กล่าวคือ ความสามารถที่จะนาคามาเรี ยงกันอย่างรวดเร็ ว เพื่อให้ได้ประโยคที่ตองการ ้ 2.4 ความคล่องแคล่วในการคิด (Ideational Fluency) เป็ นความสามารถที่จะ ค้นคิดสิ่ งที่ ต้องการภายในเวลาที่กาหนด ่ 3. ความคิดยืดหยุน (Flexibility) หมายถึง ประเภทหรื อแบบของความคิด แบ่ง ออกเป็ น ่ 3.1 ความคิดยืดหยุนที่เกิดขึ้นทันที (Spontaneous Flexibility) เป็ นความ ่ สามารถที่จะพยายามคิดได้หลายทางอย่างอิสระ ตัวอย่างของคนที่มีความคิดยืดหยุนในด้านนี้จะคิด ได้วาประโยชน์ของหนังสื อพิมพ์มีอะไรบ้าง ผูที่มีความคิดยืดหยุนจะสามารถจัดกลุ่มได้หลายทิศ ่ ้ ่ หลายทางหรื อหลายด้าน เช่น เพื่อรู ้ข่าวสาร เพื่อโฆษณาสิ นค้า เพื่อธุ รกิจ เป็ นต้น ใน ขณะที่คนที่ไม่ มีความคิดสร้างสรรค์จะคิดได้เพียงทิศทางเดียว คือ เพื่อรู ้ข่าวสารเท่านั้น ่ 3.2 ความคิดยืดหยุนทางด้านการดัดแปลง (Adaptive Flexibility) เป็ น ความสามารถในการดัดแปลงความรู ้หรื อประสบการณ์ให้เกิดประโยชน์หลาย ๆ ด้าน ซึ่ งมี ประโยชน์ต่อการแก้ไขปั ญหา ผูที่มีความยืดหยุนจะคิดดัดแปลงได้ไม่ซ้ ากัน ้ ่ 4. ความคิดละเอียดลออ (Elaboration) หมายถึง ความคิดในรายละเอียด เป็ น ขั้นตอน สามารถอธิ บายให้เห็นภาพชัดเจน หรื อเป็ นแผนงานที่สมบูรณ์ข้ ึน ความคิดละเอียดลออ จัดเป็ นรายละเอียดที่นามาตกแต่งขยายความคิดครั้งแรกให้สมบูรณ์ข้ ึน