SlideShare una empresa de Scribd logo
1 de 52
Descargar para leer sin conexión
MEASLE Preface 1-4.indd 1   7/30/2011 6:55:44 PM
แนวทางการเฝ้าระวังควบคุมโรค การตรวจรักษา
        และส่งตัวอย่างตรวจทางห้องปฏิบัติการเพื่อการก�ำจัดโรคหัด
        ตามโครงการก�ำจัดโรคหัดตามพันธะสัญญานานาชาติ
        (ฉบับปรับปรุง วันที่ 13 กรกฎาคม 2554)
        บรรณาธิการ :
        	 แพทย์หญิงปิยนิตย์ ธรรมาภรณ์พิลาศ
        	 นายเลิศฤทธิ์ ลีลาธร
        ISBN : 978-616-11-0778-9
        จัดพิมพ์โดย :
        	 ศูนย์ประสานงานโครงการกวาดล้างโปลิโอ
        	 และโรดหัดตามพันธะสัญญานานาชาติ
        	 ส�ำนักโรคติดต่อทั่วไป กรมควบคุมโรค
        	 โทรศัพท์ 0 2590 3196-9 โ
        	 ทรสาร 0 2965 9152
        	 E-mail: epithailand@yahoo.com
        พิมพ์ที่ : โรงพิมพ์ชุมนุมสหกรณ์การเกษตรแห่งประเทศไทย
        จ�ำนวนพิมพ์ : 25,000 เล่ม




MEASLE Preface 1-4.indd 2                                         7/30/2011 6:55:44 PM
สารบั ญ
          บทที่                                                                           หน้า
           1                โครงการก�ำจัดโรคหัดในประเทศไทยตามพันธะสัญญานานาชาติ
                            ปิยนิตย์ ธรรมาภรณ์พิลาศ                                          1


           2                ธรรมชาติการเกิดโรคและการรักษาพยาบาลผู้ป่วยโรคหัด
                            นฤมล สวรรค์ปัญญาเลิศ
                                                                                             7


           3                แนวทางการเฝ้าระวังสอบสวนทางระบาดวิทยา และการรายงานโรคหัด
                            ดารินทร์ อารีโชคชัย และ สมเจตน์ ตั้งเจริญศิลป์
                                                                                           13


           4                แนวทางการตรวจทางห้องปฏิบัติการเพื่อการวินิจฉัยโรคหัด
                            ศิริมา ปัทมดิลก
                                                                                           25


           5                แนวทางการป้องกันควบคุมการระบาดของโรคหัด
                            พอพิศ วรินทร์เสถียร และ พรศักดิ์ อยู่เจริญ
                                                                                           37




MEASLE Preface 1-4.indd 3                                                              7/30/2011 6:55:44 PM
MEASLE Preface 1-4.indd 4   7/30/2011 6:55:44 PM
บทที่ : 1
                             โครงการกำ� จดโรคหดในประเทศไทย
                                         ั    ั
                             ตามพนธะสญญานานาชาติ
                                  ั ั
                                                                                       ปิยนิตย์ ธรรมาภรณ์พิลาศ




         แนวทางการเฝ้าระวังควบคุมโรค การตรวจรักษา และส่งตัวอย่างตรวจทางห้องปฏิบัติการเพื่อการก�ำจัดโรคหัด
                                                           ตามโครงการก�ำจัดโรคหัดตามพันธะสัญญานานาชาติ      1 หน้ า

MEASLE Content 1-48.indd 1                                                                                    7/30/2011 6:53:40 PM
บทที่ 1 : โครงการก�ำจัดโรคหัดในประเทศไทยตามพันธะสัญญานานาชาติ




                             แนวทางการเฝ้าระวังควบคุมโรค การตรวจรักษา และส่งตัวอย่างตรวจทางห้องปฏิบัติการเพื่อการก�ำจัดโรคหัด
           หน้ า 2           ตามโครงการก�ำจัดโรคหัดตามพันธะสัญญานานาชาติ


MEASLE Content 1-48.indd 2                                                                                          7/30/2011 6:53:40 PM
บทที่ 1 : โครงการก�ำจัดโรคหัดในประเทศไทยตามพันธะสัญญานานาชาติ




         โครงการก�ำจัดโรคหัดในประเทศไทยตามพันธะสัญญานานาชาติ

        ความเป็นมา

        	         โครงการก� ำจัดโรคหัด (Measles Elimination) ริเริ่มครั้งแรกในทวีปอเมริกา
        ตั้งแต่ พ.ศ.2537 จนประสบความส�ำเร็จใน พ.ศ.2545 โดยสามารถลดจ�ำนวนผู้ป่วยโรคหัด
        ให้น้อยลงกว่าร้อยละ 99 คือจากจ�ำนวนผู้ป่วยประมาณ 250,000 รายต่อปี ทั่วทั้งภูมิภาคใน
        พ.ศ.2533 คงเหลือเพียง 105 ราย ใน พ.ศ.2546 ซึ่งเป็นการน�ำเชื้อเข้ามาจากต่างประเทศ
        (Import-related measles) ทั้งสิ้น


        	           จากความส� ำ เร็ จ ของการก� ำ จั ด โรคหั ด ในทวี ป อเมริ ก า ท� ำ ให้ ภู มิ ภ าคต่ า งๆ ทั่ ว โลก
        เห็นความเป็นไปได้ของการก�ำจัดโรคหัด และก�ำหนดปีเป้าหมายที่จะก�ำจัดโรคหัดให้ส�ำเร็จ
        ร่วมกัน โดยภูมิภาคเมดิเตอร์เรเนียนตะวันออก (Eastern Mediterranean region) และ
        ภูมิภาคยุโรป (European region) ตั้งเป้าหมายการก�ำจัดโรคหัดภายใน พ.ศ.2553 ภูมิภาค
        แปซิฟิกตะวันตก (Western Pacific Region) ตั้งเป้าหมายภายใน พ.ศ.2555 ภูมิภาคแอฟริกา
        ตั้งเป้าหมายภายใน พ.ศ.2563 ส่วนภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ซึ่งมีไทยเป็นหนึ่งใน 11
        ประเทศสมาชิ ก ได้ มี ข ้ อ ตกลงในการประชุ ม สมั ช ชาองค์ ก ารอนามั ย โลกครั้ ง ที่ 63 ใน
        พ.ศ.2553 ให้ตั้งเป้าหมายการก�ำจัดโรคหัดใน พ.ศ.2563 การด�ำเนินการก�ำจัดโรคหัดนอก
        ทวีปอเมริกาอาจยังไม่ประสบผลส�ำเร็จ เทียบเท่ากับในทวีปอเมริกา แต่ได้มีความก้าวหน้า
        เป็ น อย่ า งมาก การประเมิ น ในปี พ.ศ.2551 พบว่ า อั ต ราตายจากโรคหั ด ทั่ ว โลกลดลงถึ ง
        ร้อยละ 78 เมื่อเปรียบเทียบกับข้อมูลใน พ.ศ.2543 แม้ภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้จะ
        เริ่มต้นโครงการก�ำจัดโรคหัดล่าช้ากว่าในหลายภูมิภาค แต่ประเทศสมาชิกทุกประเทศได้มีแ ผน
         แนวทางการเฝ้าระวังควบคุมโรค การตรวจรักษา และส่งตัวอย่างตรวจทางห้องปฏิบัติการเพื่อการก�ำจัดโรคหัด
                                                           ตามโครงการก�ำจัดโรคหัดตามพันธะสัญญานานาชาติ      3 หน้ า

MEASLE Content 1-48.indd 3                                                                                    7/30/2011 6:53:40 PM
บทที่ 1 : โครงการก�ำจัดโรคหัดในประเทศไทยตามพันธะสัญญานานาชาติ

        งานสร ้ า งเสริ ม ภู มิ คุ ้ ม กั น โรคด ้ ว ยวั ค ซี น ป ้ อ งกั น โรคหั ด และจั ด ระบบการเฝ ้ า ระวั ง โรค เพื่ อ
        ชี้ เป้าหมายกลุ่มเสี่ยงอย่างต่อเนื่องมาเป็นเวลายาวนาน ท� ำให้จ� ำนวนผู้ป่วยและผู้เสียชีวิต
        จากโรคหัดลดลงตามล�ำดับ ในหลายประเทศ เช่น สหภาพเมียนมาร์ บังคลาเทศ อินโดนีเซีย
        ได้ท�ำการรณรงค์ให้วัคซีนป้องกันโรคหัดทั่วประเทศ เพื่อเสริมความครอบคลุมการได้รับวัคซีน
        ในเด็กมาแล้วระยะหนึ่ง จึงไม่ยากที่ทั้งภูมิภาคจะเร่งรัด การด�ำเนินงานให้สามารถก�ำจัดโรคหัด
        ลุ ล ่ ว งไปตามเป้ า หมายได้ ประเทศไทยจึ ง ควรได้ ริ เ ริ่ ม ด� ำ เนิ น การก� ำ จั ด โรคหั ด อย่ า งจริ ง จั ง
        เพื่อให้ลุล่วงตามเป้าหมายภายในปี 2563 เช่นกัน


        ค�ำจ�ำกัดความ
            	       “การก�ำจัดโรคหัด (Measles elimination)” หมายถึง การไม่พบผู้ป่วยโรคหัด
        ที่ติดเชื้อภายในประเทศ (Endemic measles case) ติดต่อกันเป็นระยะเวลานาน 12 เดือน
        ขึ้นไป ภายใต้ระบบเฝ้าระวังโรคหัดที่มีประสิทธิภาพ
        	

        	      “การกวาดล้างโรคหัด (Measles eradication)” หมายถึง การที่ทุกภูมิภาคทั่ว
        โลกประสบความส�ำเร็จในการก�ำจัดโรคหัดร่วมกัน


        ตัวชี้วัดความส�ำเร็จ และเป้าหมายของการโครงการก�ำจัดโรคหัด
        	           ในการประชุมระดับภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ เมื่อ พ.ศ.2552 ได้มีข้อเสนอแนะ
        ให้ ก� ำ หนดตั ว ชี้ วั ด ความส� ำ เร็ จ และเป้ า หมายของโครงการดั ง รายละเอี ย ดในตารางที่
        1 ทั้ ง นี้ ตั ว ชี้ วั ด และเป้ า หมายเหล่ า นี้ อาจต้ อ งปรั บ เปลี่ ย นไปตามข้ อ เท็ จ จริ ง ที่ ไ ด้ จ าก
        ประสบการณ ์ ก ารด� ำ เนิ น โครงการในอนาคต


        	


                             แนวทางการเฝ้าระวังควบคุมโรค การตรวจรักษา และส่งตัวอย่างตรวจทางห้องปฏิบัติการเพื่อการก�ำจัดโรคหัด
                หน้ า 4      ตามโครงการก�ำจัดโรคหัดตามพันธะสัญญานานาชาติ


MEASLE Content 1-48.indd 4                                                                                          7/30/2011 6:53:40 PM
บทที่ 1 : โครงการก�ำจัดโรคหัดในประเทศไทยตามพันธะสัญญานานาชาติ

        ตารางที่ 1 ตั ว ชี้ วั ด ความส� ำ เร็ จ และเป ้ า หมายของการก� ำ จั ด โรคหั ด

                   มาตรการ                                       ตัวชี้วัด                           เป้าหมาย
         1. ความครอบคลุมของวัคซีน               ค ว า ม ค ร อ บ ค ลุ ม ข อ ง วั ค ซี น    ความครอบคลุมของวัคซีน
                                                ป้องกันโรคหัดเข็มแรก ตาม EPI              ป้องกันโรคหัดเข็มแรก และ
                                                program และเข็ ม ที่ ส อง ตาม             เข็มที่สอง ต้องไม่น้อยกว่า
                                                EPI program หรื อ การรณรงค์               ร้อยละ 95 ในระดับต�ำบล
                                                ให้วัคซีนเสริม (Supplementary             และระดับประเทศ
                                                immunization activity: SIA)
         2. ขนาดของเหตุการณ์การ                 จ� ำ นวนผู ้ ป ่ ว ยยื น ยั น ในแต่ ล ะ
                                                                                พบผู้ป่วยยืนยันโรคหัดไม่เกิน
         ระบาด (outbreak size)                  เหตุการณ์การระบาด               10 รายต่อหนึ่งการระบาด ใน
                                                                                อย่างน้อยร้อยละ 80 ของ
                                                                                เหตุการณ์การระบาดทั้งหมด
         3. อุบัติการณ์ของโรคหัด                อุบัติการณ์โรคหัดต่อประชากรล้าน อุบัติการณ์โรคหัดน้อยกว่า 1
                                                คน                              ต่อประชากรล้านคน ทั้งนี้ไม่
                                                                                นับรวมผู้ป่วยน�ำเข้าจากต่าง
                                                                                ประเทศ (imported case)
         4. สายพั น ธุ ์ ข องไวรั ส โรคหั ด ที่ จ�ำนวนสายพันธุ์ของไวรัสโรคหัด ไม่มีผู้ป่วยยืนยันโรคหัดที่ติดเชื้อ
         แพร่กระจายภายในประเทศ                  ที่แพร่กระจายภายในประเทศ        จากไวรัสโรคหัดสายพันธุ์ภายใน
                                                                                ประเทศ เป็นระยะเวลาติดต่อ
                                                                                กันไม่ต�่ำกว่า 12 เดือน


        	          ส�ำหรับประเทศไทย ได้ด�ำเนินการสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรคด้วยวัคซีนป้องกันโรคหัด
        แก่เด็กอายุ 9 เดือนมาตั้งแต่ พ.ศ. 2527 และให้วัคซีนป้องกันโรคหัดแก่เด็กชั้นประถมศึกษา
        ปีที่ 1 อีกเป็นเข็มที่สอง ตั้งแต่ พ.ศ. 2539 ในปัจจุบันความครอบคลุมของการได้รับวัคซีนเฉลี่ย
        ทั่วประเทศสูงกว่าร้อยละ 96 และ 91 ตามล�ำดับ อย่างไรก็ตามประเทศไทยยังคงมีผู้ป่วยโรคหัด
        รายงานผ่านระบบเฝ้าระวังโรคปีละ 4,000 - 7,000 ราย และยังมีการระบาดของโรคหัด
        เป็นระยะๆ เนื่องจากปัญหาความครอบคลุมวัคซีนในเด็กยังต�่ำในบางพื้นที่ และมีกลุ่มวัยรุ่น
        วัยผู้ใหญ่ตอนต้น ซึ่งยังไม่มีภูมิคุ้มกันต่อโรคหัด เนื่องจากไม่ได้รับวัคซีนในวัยเด็ก แต่หลบรอด
        การป่ ว ยด้ ว ยโรคหั ด ในช่ ว งเวลาที่ ผ ่ า นมา มาอยู ่ ร วมกั น ในสถานศึ ก ษา สถาบั น ต่ า งๆ
         แนวทางการเฝ้าระวังควบคุมโรค การตรวจรักษา และส่งตัวอย่างตรวจทางห้องปฏิบัติการเพื่อการก�ำจัดโรคหัด
                                                           ตามโครงการก�ำจัดโรคหัดตามพันธะสัญญานานาชาติ       5 หน้ า

MEASLE Content 1-48.indd 5                                                                                       7/30/2011 6:53:41 PM
บทที่ 1 : โครงการก�ำจัดโรคหัดในประเทศไทยตามพันธะสัญญานานาชาติ

        หรือสถานประกอบการจ�ำนวนมาก นอกจากนี้ระบบเฝ้าระวังโรคหัดของประเทศไทยยังขาด
        ผลการตรวจยืนยันเชื้อก่อโรคทางห้องปฏิบัติการ ท�ำให้การชี้เป้าหมายกลุ่มเสี่ยงโดยใช้ข้อมูล
        จากระบบเฝ้าระวังโรคขาดความชัดเจนไปด้วย
        	
        	      การดำ�เนินงานให้บรรลุถงเป้าหมายการกำ�จัดโรคหัดนัน จำ�เป็นต้องกำ�หนดเป้าหมาย
                                     ึ                            ้
        ในระยะ 5 ปีแรก (2554-2558) ดังต่อไปนี้
        	         1.	 เพิ่ ม และรักษาระดับความครอบคลุมการได้ รั บ วั ค ซี นหั ด ทั้ งสองเข็ ม ไม่ ต�่ ำกว่ า
        ร้อยละ 95 ในทุกพื้นที่
        	         2.	 จัดตั้งเครือข่ายการตรวจเชื้อหัดทางห้องปฏิบัติการที่ได้มาตรฐานทั่วประเทศ
        	         3.	 เฝ้าระวังผู้ป่วยโรคหัด โดยมีบริการตรวจยืนยันการติดเชื้อทางห้องปฏิบัติการ
        ในผู้ป่วยสงสัยโรคหัด ไม่ต�่ำกว่าร้อยละ 80 ในทุกพื้นที่
        	         4.	 รณรงค์ให้วัคซีนป้องกันโรคหัด หรือมาตรการเสริมอื่น เช่น การบริการวัคซีน
        ในประชากรวัยท�ำงานเพื่อเพิ่มระดับความครอบคลุมการได้รับวัคซีนในประชากรกลุ่มเสี่ยง
        	
        	




                             แนวทางการเฝ้าระวังควบคุมโรค การตรวจรักษา และส่งตัวอย่างตรวจทางห้องปฏิบัติการเพื่อการก�ำจัดโรคหัด
           หน้ า 6           ตามโครงการก�ำจัดโรคหัดตามพันธะสัญญานานาชาติ


MEASLE Content 1-48.indd 6                                                                                          7/30/2011 6:53:41 PM
บทที่ : 2
                             ธรรมชาตการเกดโรค
                                      ิ ิ
                             และการรกษาพยาบาลผปวยโรคหด
                                    ั         ู้ ่   ั
                                                                                         นฤมล สวรรค์ปัญญาเลิศ




         แนวทางการเฝ้าระวังควบคุมโรค การตรวจรักษา และส่งตัวอย่างตรวจทางห้องปฏิบัติการเพื่อการก�ำจัดโรคหัด
                                                           ตามโครงการก�ำจัดโรคหัดตามพันธะสัญญานานาชาติ      7 หน้ า

MEASLE Content 1-48.indd 7                                                                                    7/30/2011 6:53:41 PM
บทที่ 2 : ธรรมชาติการเกิดโรคและการรักษาพยาบาลผู้ป่วยโรคหัด




                             แนวทางการเฝ้าระวังควบคุมโรค การตรวจรักษา และส่งตัวอย่างตรวจทางห้องปฏิบัติการเพื่อการก�ำจัดโรคหัด
           หน้ า 8           ตามโครงการก�ำจัดโรคหัดตามพันธะสัญญานานาชาติ


MEASLE Content 1-48.indd 8                                                                                          7/30/2011 6:53:41 PM
บทที่ 2 : ธรรมชาติการเกิดโรคและการรักษาพยาบาลผู้ป่วยโรคหัด

        	


                ธรรมชาติการเกิดโรคและการรักษาพยาบาลผู้ป่วยโรคหัด



        โรคหัดเป็นโรคไข้ออกผื่น (Exanthematous fever) ที่พบบ่อยในเด็ก
        	        สาเหตุ เกิดจากเชื้อไวรัส Measles ซึ่งอยู่ในตระกูล Paramyxovirus ซึ่งเป็น
        RNA ไวรัส ที่จะพบได้ในจมูก และล�ำคอของผู้ป่วย
        	
        	        การติดต่อ โรคหัดติดต่อโดยการไอ จาม หรือพูดกันในระยะใกล้ชิด เชื้อไวรัสจะ
        กระจายอยู่ในละอองเสมหะ น�้ำมูก น�้ำลายของผู้ป่วย และเข้าสู่ร่างกายโดยทางการหายใจ
        บางครั้งเชื้ออยู่ในอากาศ เมื่อหายใจเอาละอองที่ปนเปื้อนเชื้อไวรัส (air borne) ท�ำให้เป็น
        โรคได้ ผู้ป่วยหัดจะมีเชื้อไวรัสในล�ำคอและแพร่เชื้อได้ในระยะจาก 1-2 วัน ก่อนที่จะเริ่ม
        มีอาการ (3 ถึง 5 วัน ก่อนผื่นขึ้น) ไปถึงระยะหลังผื่นขึ้นแล้ว 4 วัน


        	        ระยะฟักตัวของโรค จากที่เริ่มสัมผัสโรคจนถึงมีอาการประมาณ 8-12 วัน เฉลี่ย
        จากวันที่สัมผัสจนถึงมีผื่นเกิดขึ้นประมาณ 14 วัน


        	        อาการและอาการแสดง จะคล้ายคลึงกับอาการของหวัดธรรมดา คือ ไข้ (ก่อน) น�ำมูกไหล
                                                                                        ้
        มักจะไอแห้งๆ ตลอดเวลา ไม่มีทางทราบเลยว่าเด็กเป็นหัดแล้ว จนเมื่ออาการเพิ่มขึ้น มีไข้สูง
        ตาแดงก�่ำและแฉะ เวลาโดนแสงจะแสบตา ระคายตา ท�ำตาหยี ไอและมีน�้ำมูกมาก ปากและ
        จมูกแดง เด็กอาจจะมีไข้สูงประมาณ 3 – 4 วัน จึงเริ่มมีผื่นจากหลังหูลามไปยังหน้าและร่างกาย
        ลักษณะผื่นนูนแดง maculo-papular ติดกันเป็นปื้นๆ โดยจะขึ้นที่หน้าบริเวณชิดขอบผมแล้ว
        แผ่กระจายไปตามล�ำตัว แขน ขา เมื่อผื่นแพร่กระจายไปทั่วตัว ซึ่งกินเวลาประมาณ 2-3 วัน
         แนวทางการเฝ้าระวังควบคุมโรค การตรวจรักษา และส่งตัวอย่างตรวจทางห้องปฏิบัติการเพื่อการก�ำจัดโรคหัด
                                                           ตามโครงการก�ำจัดโรคหัดตามพันธะสัญญานานาชาติ      9 หน้ า

MEASLE Content 1-48.indd 9                                                                                     7/30/2011 6:53:41 PM
บทที่ 2 : ธรรมชาติการเกิดโรคและการรักษาพยาบาลผู้ป่วยโรคหัด

        ไข้ก็จะเริ่มลดลง ผื่นที่ระยะแรกมีสีแดงจะมีสีเข้มขึ้น เป็นสีแดงคล�้ำ หรือน�้ำตาลแดง ซึ่งคงอยู่
        นาน 5-6 วัน กว่าจะจางหายไปหมด กินเวลาประมาณ 2 สัปดาห์ บางครั้งจะพบผิวหนังลอก
        เป็นขุย การตรวจในระยะ 1-2 วัน ก่อนผืนขึนจะพบจุดขาวๆ เล็กๆ มีขอบสีแดงๆ อยูในกระพุงแก้ม
                                               ่ ้                                      ่      ้
        เรียกว่า Koplik’s spots ซึ่งจะช่วยให้วินิจฉัยโรคหัดได้ก่อนที่จะมีผื่นขึ้น


        เมื่อใดควรไปพบแพทย์
        	      ถ้าผื่นออกแล้ว 3-4 วัน แต่ไข้ยังสูงอยู่ หรือว่าไข้ลงวันเดียวแล้วก็ขึ้นอีก ไอมากและ
        หอบ แสดงว่าผิดปกติ อาจมีปอดบวมหรือหลอดลมอักเสบแทรกก็ได้ ต้องรีบพาไปพบแพทย์ทันที


        	         โรคแทรกซ้อน พบได้บ่อย โดยเฉพาะเด็กที่มีภาวะขาดอาหารหรือภาวะทุพโภชนาการ
        (Malnutrition) อยู่ในชุมชนแออัด และในเด็กเล็ก โรคแทรกซ้อนที่พบบ่อย มีดังนี้	
        	         •	 ภาวะแทรกซ้อนทางระบบหายใจ อาจเกิดได้ตั้งแต่ คออักเสบ หลอดลมอักเสบ
        จนถึงปอดบวม
        	         •	 ภาวะแทรกซ้อนทางหู อาจเกิดหูชั้นกลางอักเสบ
        	         •	 ภาวะแทรกซ้อนทางตา จะมีเยื่อบุตาอักเสบ จนเป็นแผลที่แก้วตา corneal ulcer
        โดยเฉพาะเด็กที่ขาดวิตามิน เอ
        	         •	 ภาวะแทรกซ้อนทางเดินอาหาร มีการอักเสบของล�ำไส้ท�ำให้ถ่ายเหลว
        	         •	 ภาวะแทรกซ้อนทางระบบประสาทส่วนกลาง อาจพบสมองอักเสบ encephalitis
        ซึ่งเป็นภาวะที่รุนแรงที่สุด ผู้ป่วยจะมีไข้สูง ปวดศีรษะ และซึมลง
        	
        การวินิจฉัยโรค
        	       1.	อาการทางคลินิก ลักษณะการเกิดผื่นในวันที่ 4 และการแพร่กระจายของผื่น
        จากหน้าไปยังแขนขา พบ Koplik’s spots



                              แนวทางการเฝ้าระวังควบคุมโรค การตรวจรักษา และส่งตัวอย่างตรวจทางห้องปฏิบัติการเพื่อการก�ำจัดโรคหัด
           หน้ า 10           ตามโครงการก�ำจัดโรคหัดตามพันธะสัญญานานาชาติ


MEASLE Content 1-48.indd 10                                                                                          7/30/2011 6:53:41 PM
บทที่ 2 : ธรรมชาติการเกิดโรคและการรักษาพยาบาลผู้ป่วยโรคหัด

        	       2. การตรวจทางห้องปฏิบัติการ การตรวจหา IgM antibody ต่อ measles ด้วยวิธี
        ELISA ให้เจาะเลือดเพียงครั้งเดียว ในช่วง 4-30 วัน หลังผื่นขึ้น หรือตรวจแยกเชื้อไวรัสจาก
        throat swab หรือ nasal swab โดยเก็บในช่วง 1-5 วันหลังผื่นขึ้น แต่การแยกเชื้อท�ำได้ยาก
        ปัจจุบันแนะน�ำให้ท�ำเฉพาะในกรณีเกิดการระบาด


        การรักษา
        	        1.	ให้การรักษาตามอาการ ถ้าไข้สูงมากให้ยาลดไข้เป็นครั้งคราว ร่วมกับการเช็ดตัว
        ให้ยาแก้ไอที่เป็นยาขับเสมหะได้เป็นครั้งคราว	
        	        2.	ไม่ จ� ำ เป็ น ต้ อ งให้ ย าปฏิ ชี ว นะ นอกจากรายที่ มี โ รคแทรกซ้ อ นเช่ น ปอดอั ก เสบ
        หูอักเสบ
        	        3.	ให้อาหารอ่อนที่มีคุณค่าทางอาหารครบถ้วนให้วิตามินเสริมโดยเฉพาะวิตามินเอ
        องคการอนามยโลกและ UNICEF แนะนำ�ใหวตามนเอแกเดกทเปนหดทกรายในพนททมอบตการณ์
             ์        ั                                    ้ิ ิ    ่ ็ ี่ ็ ั ุ            ื้ ี่ ี่ ี ุ ั ิ
        ของการขาดวิตามินเอสูง และอัตราป่วยตายของโรคหัดเกิน 1% เนื่องจากผลของการศึกษาใน
        ประเทศด้อยพัฒนาหลายแห่งแสดงให้เห็นว่า การให้วิตามินเอเสริมแก่เด็กที่เป็นหัดจะช่วยลด
        อัตราตายจากหัดลงได้


        การแยกผู้ป่วย
                	 แยกผู้ป่วยที่สงสัยเป็นหัดจนถึง 4 วัน หลังผื่นขึ้น	
        	
        การป้องกัน	
               	 วิธีที่ดีที่สุดคือให้วัคซีนป้องกันและหลีกเลี่ยงการสัมผัสกับผู้ป่วย ปัจจุบันกระทรวง
        สาธารณสุขให้วัคซีนป้องกันโรคหัด 2 ครั้ง ครั้งแรกเมื่อเด็กอายุ 9-12 เดือน โดยให้ในรูปของ
        วัคซีนรวมป้องกันโรคหัด คางทูม หัดเยอรมัน (MMR) และให้ซ�้ำอีกเป็นครั้งที่สอง เมื่อเด็ก
        เข้าเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 1
        	
         แนวทางการเฝ้าระวังควบคุมโรค การตรวจรักษา และส่งตัวอย่างตรวจทางห้องปฏิบัติการเพื่อการก�ำจัดโรคหัด
                                                           ตามโครงการก�ำจัดโรคหัดตามพันธะสัญญานานาชาติ      11 หน้ า

MEASLE Content 1-48.indd 11                                                                                    7/30/2011 6:53:41 PM
บทที่ 2 : ธรรมชาติการเกิดโรคและการรักษาพยาบาลผู้ป่วยโรคหัด

        	          สำ�หรับผู้ที่สัมผัสโรคภายในระยะ 72 ชั่วโมง อาจพิจารณาให้วัคซีน MMR ทันที
        ซึ่งจะป้องกันการเกิดโรคได้
        	
        	          ถ้าสัมผัสโรคเกิน 72 ชั่วโมง แต่ไม่เกิน 6 วัน อาจให้ Immunoglobulin (IG) เพื่อ
        ป้องกันหรือทำ�ให้ความรุนแรงของโรคลดลง โดยให้ IG ฉีดเข้ากล้ามเนื้อต้นแขน 0.25 มล./กก.
        ผู้ที่ควรพิจารณาให้ IG ได้แก่ เด็กเล็กอายุน้อยกว่า 1 ปี ผู้ที่มีภูมิคุ้มกันบกพร่อง หญิงมีครรภ์
        และเด็กที่มีภาวะทุพโภชนาการ ซึ่งคนเหล่านั้นถ้าเป็นหัดแล้วจะมีภาวะแทรกซ้อนสูง


        	




        	
        	

        	




        	




                              แนวทางการเฝ้าระวังควบคุมโรค การตรวจรักษา และส่งตัวอย่างตรวจทางห้องปฏิบัติการเพื่อการก�ำจัดโรคหัด
            หน้ า 12          ตามโครงการก�ำจัดโรคหัดตามพันธะสัญญานานาชาติ


MEASLE Content 1-48.indd 12                                                                                          7/30/2011 6:53:41 PM
บทที่ : 3
                          เเนวทางการเฝา้ ระวงสอบสวน
                                            ั
                          ทางระบาดวทยา เเละการรายงานโรคหด
                                    ิ                   ั
                                                         ดารินทร์ อารีโชคชัย และ สมเจตน์ ตั้งเจริญศิลป์




         แนวทางการเฝ้าระวังควบคุมโรค การตรวจรักษา และส่งตัวอย่างตรวจทางห้องปฏิบัติการเพื่อการก�ำจัดโรคหัด
                                                           ตามโครงการก�ำจัดโรคหัดตามพันธะสัญญานานาชาติ      13 หน้ า

MEASLE Content 1-48.indd 13                                                                                    7/30/2011 6:53:41 PM
บทที่ 3 : แนวทางการเฝ้าระวังสอบสวนทางระบาดวิทยา และการรายงานโรคหัด




                              แนวทางการเฝ้าระวังควบคุมโรค การตรวจรักษา และส่งตัวอย่างตรวจทางห้องปฏิบัติการเพื่อการก�ำจัดโรคหัด
           หน้ า 14           ตามโครงการก�ำจัดโรคหัดตามพันธะสัญญานานาชาติ


MEASLE Content 1-48.indd 14                                                                                          7/30/2011 6:53:41 PM
บทที่ 3 : แนวทางการเฝ้าระวังสอบสวนทางระบาดวิทยา และการรายงานโรคหัด




       แนวทางการเฝาระวงสอบสวนทางระบาดวทยา และการรายงานโรคหด
                  ้ ั                 ิ                   ั
        	
        	          การเฝ้าระวังโรคเป็นมาตรการส�ำคัญในการติดตามแนวโน้มการเกิดโรค ชี้ให้เห็น
        กลุ่มประชากรที่เสี่ยงต่อการเกิดโรค และตรวจจับการระบาดที่เกิดขึ้นในแต่ละช่วงเวลาการ
        เฝ้าระวังที่ดีต้องมีความรวดเร็ว มีความครอบคลุมการรายงานที่ดีและมีความถูกต้อง ในปัจจุบัน
        การเฝ้าระวังโรคหัดในประเทศไทย เป็นการรายงานโดยอาศัยอาการทางคลินิกเป็นหลัก ดังนั้น
        ความถูกต้องในการวินิจฉัยโรคจึงยังไม่สูงนัก แต่เป็นรายงานที่มีความรวดเร็วและครอบคลุม
        เนื่องจากเป็นโรคที่ก�ำหนดให้แต่ละพื้นที่ต้องรายงานเร่งด่วนทุกสัปดาห์
        	
        	          เมื่อประเทศไทยตัดสินใจเริ่มด�ำเนินการก�ำจัดโรคหัด การปรับเปลี่ยนการเฝ้าระวังให้
        มีความถูกต้องมากขึ้น พร้อมทั้งปรับเปลี่ยนระบบให้สามารถรายงานรายละเอียดของผู้ป่วย
        มากขึ้น โดยยังคงความครอบคลุมและรวดเร็วไว้ซึ่งเป็นความจ�ำเป็น เพื่อช่วยให้เจ้าหน้าที่
        ทราบเป้าหมายกลุ่มเสี่ยงและเข้าด�ำเนินการป้องกันควบคุมโรคได้อย่างมีประสิทธิภาพ การ
        ปรับเปลี่ยนที่ส�ำคัญ ในการเฝ้าระวังโรคหัดในช่วงแรกของการด�ำเนินการก�ำจัดโรคหัดนี้ ได้แก่
        การก�ำหนดให้ส่งยืนยันการวินิจฉัยทางห้องปฏิบัติการในผู้ป่วยทุกราย และการรายงานผู้ป่วย
        ผ่านระบบฐานข้อมูลก�ำจัดโรคหัด นอกจากการนี้ยังมีการปรับเปลี่ยนหลักเกณฑ์ในการสอบสวน
        ผู้ป่วยเฉพาะราย และการสอบสวนการระบาดด้วย
        	
        	          การก� ำ จั ด โรคหั ด ต ้ อ งด� ำ เนิ น งานควบคู ่ ไ ปกั บ ระบบเฝ ้ า ระวั ง โรคที่ มี ป ระสิ ท ธิภ าพ
        เพื่อให้แน่ใจว่ามาตรการต่างๆ สามารถท�ำได้ตามตัวชี้วัดและเป้าหมายจริง จึงได้ก�ำหนดตัวชี้วัด
        การด�ำเนินการเฝ้าระวังโรคหัดไว้ด้วย ดังตารางที่ 2


         แนวทางการเฝ้าระวังควบคุมโรค การตรวจรักษา และส่งตัวอย่างตรวจทางห้องปฏิบัติการเพื่อการก�ำจัดโรคหัด
                                                           ตามโครงการก�ำจัดโรคหัดตามพันธะสัญญานานาชาติ      15 หน้ า

MEASLE Content 1-48.indd 15                                                                                    7/30/2011 6:53:41 PM
บทที่ 3 : แนวทางการเฝ้าระวังสอบสวนทางระบาดวิทยา และการรายงานโรคหัด



        ตารางที่ 2 ตัวชี้วัดระบบเฝ้าระวังโรคหัดตามโครงการก�ำจัดโรคหัด

                                  ตัวชี้วัด                                      การด�ำเนินงานเฝ้าระวัง
         1. อัตราการรายงานผู้ป่วย                                    1.1 มีก ารรายงานผู้ป ่ว ยสงสัยโรคหัด ไม่น้อย
                                                                     กว่า 2 รายต่อประชากรแสนคนต่อปี ในระดับ
                                                                     ประเทศ
                                                                     1.2 มีรายงานผู้ป่วยสงสัยโรคหัด ไม่น้อยกว่า
                                                                     1 รายต่อประชากรแสนคนต่อปี จากทุกอ�ำเภอ
                                                                     ของประเทศ


         2. การตรวจยืนยันทางห้องปฏิบัติการ                           มี ก ารเก็ บ ตั ว อย ่ า งซี รั่ ม เพื่ อ ส ่ ง ตรวจ measles
                                                                     IgM ไม ่ น ้ อ ยกว ่ า ร ้ อ ยละ 80 ของผู ้ ป ่ ว ยที่
                                                                     รายงานเข้าสู่ระบบเฝ้าระวัง (ไม่นับผู้ป่วยสงสัย
                                                                     ในการสอบสวนเหตุ ก ารณ์ ก ารระบาด) และ
                                                                     ด�ำเนินการตรวจโดยห้องปฏิบัติการที่ได้รับการ
                                                                     รับรองจากองค์การอนามัยโลกและเครือข่าย

         3. การตรวจวิเคราะห์สายพันธุ์ไวรัสโรคหัด มีการเก็บ สิ่งส่งตรวจเพื่อวิเคราะห ์ห าสายพันธุ์
                                                 ของไวรั ส โรคหั ด ไม ่ น ้ อ ยกว ่ า ร ้ อ ยละ 80 ของ
                                                 เหตุการณ์การระบาด และด�ำเนินการตรวจโดย
                                                 ห ้ อ งปฏิ บั ติ ก ารที่ ไ ด ้ รั บ การรั บ รองจากองค ์ ก าร
                                                 อนามัยโลก



         4. การสอบสวนโรค                                             มีการสอบสวนโรคเฉพาะรายผู้ป่วยสงสัยโรคหัด
                                                                     ภายใน 48 ชั่วโมงหลังจากพบผู้ป่วย
                                                                     ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 ของผู้ป่วย


                              แนวทางการเฝ้าระวังควบคุมโรค การตรวจรักษา และส่งตัวอย่างตรวจทางห้องปฏิบัติการเพื่อการก�ำจัดโรคหัด
           หน้ า 16           ตามโครงการก�ำจัดโรคหัดตามพันธะสัญญานานาชาติ


MEASLE Content 1-48.indd 16                                                                                            7/30/2011 6:53:42 PM
บทที่ 3 : แนวทางการเฝ้าระวังสอบสวนทางระบาดวิทยา และการรายงานโรคหัด

        นิยามและประเภทผู้ป่วยส�ำหรับการเฝ้าระวังโรคหัดตามโครงการก�ำจัดโรค
        รหัส ICD-10-TM ที่เกี่ยวข้อง

         B05                       Measles
                                   Includes: morbilli
                                   Excludes: subacute sclerosing panencephalitis

         B05.0+                    Measles complicated by encephalitis
                                   Postmeasles encephalitis

         B05.1+                    Measles complicated by meningitis
                                   Postmeasles meningitis

         B05.2+                    Measles complicated by pneumonia
                                   Postmeasles pneumonia

         B05.3+                    Measles complicated by otitis media
                                   Postmeasles otitis media

         B05.4                     Measles with intestinal complications
         B05.8                     Measles with other complications
                                   Measles keratitis and keratoconjunctivitis

         B05.9                     Measles without complication
                                   Measles NOS (not otherwise specific)

        *** German measles /Rubella หรือหัดเยอรมัน (กลุ่ม ICD-10 B06) ไม่นับเป็นผู้ป่วยโรคหัด



         แนวทางการเฝ้าระวังควบคุมโรค การตรวจรักษา และส่งตัวอย่างตรวจทางห้องปฏิบัติการเพื่อการก�ำจัดโรคหัด
                                                           ตามโครงการก�ำจัดโรคหัดตามพันธะสัญญานานาชาติ      17 หน้ า

MEASLE Content 1-48.indd 17                                                                                    7/30/2011 6:53:42 PM
บทที่ 3 : แนวทางการเฝ้าระวังสอบสวนทางระบาดวิทยา และการรายงานโรคหัด

        นิยามผู้ป่วย
        	          1. เกณฑ์ทางคลินิก (Clinical Criteria)
        	          มี ไ ข ้ > 38 ํ C และมี ผื่ น นู น แดงขึ้ น ขณะยั ง มี ไ ข ้ พ ร ้ อ มทั้ ง มี อ าการไอ (Cough) 	
        	      ร ่ ว มกั บ อาการอื่ น ๆ อี ก อย ่ า งน ้ อ ยหนึ่ ง อาการ ดั ง ต ่ อ ไปนี้
        	      • มีน�้ำมูก (Coryza)
        	      • เยื่อบุตาแดง (Conjunctivitis)
        	      • ตรวจพบ Koplik’s spot 1-2 วันก่อนและหลังผื่นขึ้น
        	      2. เกณฑ์ทางห้องปฏิบัติการ (Laboratory Criteria) (รายละเอียดช่วงเวลาที่	
        เหมาะสมและวิธีการเก็บสิ่งส่งตรวจในรูปที่ 1 หน้า 18)
        	      2.1. Serology test : Measles IgM ให้ผลบวก
        	      2.2. Viral isolation : เพาะเชื้ อ จากสารคั ด หลั่ ง ทางเดิ น หายใจ โดยการท� ำ
        Throat swab culture หรื อ Nasal swab culture


        ประเภทผู้ป่วย (Case Classification)
        	        1.	ผู ้ ป ่ ว ยสงสัย (Suspected case) หมายถึ งผู ้ ที่ มี อ าการตามเกณฑ์ ท างคลิ นิก
        หรือแพทย์วินิจฉัยโรคหัด
        	        2.	ผู้ป่วยเข้าข่าย (Probable case) หมายถึงผู้ที่มีอาการตามเกณฑ์ทางคลินิก
        ร่วมกับมีข้อมูลทางระบาดวิทยาเชื่อมโยงกับผู้ป่วยยืนยัน
        	        3.	ผู้ป่วยยืนยัน (Confirmed case) หมายถึงผู้ที่มีอาการตามเกณฑ์ทางคลินิก
        และมีผลบวกตามเกณฑ์ทางห้องปฏิบัติการอย่างใดอย่างหนึ่ง	


        นิยามผู้สัมผัสใกล้ชิด
        	          ผู้สัมผัสใกล้ชิดผู้ป่วย หมายถึง
        	          - ผู้สัมผัสร่วมบ้าน
        	          - ผู้ร่วมงาน หรือ ร่วมห้องเรียน ที่ต้องอยู่ในห้องเดียวกันเป็นประจ�ำ
                              แนวทางการเฝ้าระวังควบคุมโรค การตรวจรักษา และส่งตัวอย่างตรวจทางห้องปฏิบัติการเพื่อการก�ำจัดโรคหัด
            หน้ า 18          ตามโครงการก�ำจัดโรคหัดตามพันธะสัญญานานาชาติ


MEASLE Content 1-48.indd 18                                                                                          7/30/2011 6:53:42 PM
บทที่ 3 : แนวทางการเฝ้าระวังสอบสวนทางระบาดวิทยา และการรายงานโรคหัด

        	       - ผู ้ ที่ มี ป ระวัติคลุกคลีใกล้ชิดกับผู้ป่วยในระยะ 7 วั น ก่ อ นวั นเริ่ ม ป่ ว ยของผู ้ ป ่ ว ย
        เช่น แฟน เพื่อนสนิท


        การรายงานผู ้ ป ่ ว ยเข้ า ระบบเฝ้ า ระวั ง ตามโครงการก� ำ จั ด โรคหั ด
        (Reporting criteria)
        	       ให้รายงานตั้งแต่ผู้ป่วยสงสัย พร้อมทั้งเก็บสิ่งส่งตรวจทางห้องปฏิบัติการในผู้ป่วย
        สงสัยทุกราย


        ชนิ ด และหลั ก เกณฑ์ ก ารสอบสวนโรค
        	             การสอบสวนโรคเฉพาะรายมีวัตถุประสงค์ เ พื่ อ หารายละเอี ย ดของผู ้ ป ่ ว ยรายนั้ นๆ
        และตรวจสอบความเป็นไปได้ที่จะมีการระบาดของโรคในชุมชน ส่วนการสอบสวนการระบาด
        มี วั ต ถุ ป ระสงค ์ เ พื่ อ ค ้ น หาผู ้ ป ่ ว ยเพิ่ ม เติ ม ในชุ ม ชน ท� ำ ให ้ ท ราบขนาดความรุ น แรง ลั ก ษณะ
        ทางระบาดวิทยาของเหตุการณ์ และแหล่งที่มาของโรคจากผู้ป่วยรายแรกในชุมชน ซึ่งการ
        สอบสวนโรคต้องด�ำเนินการด้วยความรวดเร็ว ควบคู่ไปกับการเก็บสิ่งส่งตรวจทางห้องปฏิบัติการ
        เพื่อให้สามารถด�ำเนินการควบคุมการระบาดอย่างมีประสิทธิภาพ

        	             ชนิดของการสอบสวน
        	             1. สอบสวนเฉพาะราย (Individual case investigation) ให้สอบสวนผู้ป่วย
        สงสัยทุกรายที่เข้ารับการรักษาในโรงพยาบาลทั้งประเภทผู้ป่วยนอกและผู้ป่วยใน พร้อมทั้ง
        เก็บสิ่งส่งตรวจทางห้องปฏิบัติการในผู้ป่วยสงสัยทุกราย ได้แก่ Measles IgM
        	             2. สอบสวนการระบาด (Outbreak Investigation) ในกรณทเกดโรคเปนกลมกอน
                                                                                    ี ี่ ิ    ็ ุ่ ้
        ให้ รี บ ท� ำ การสอบสวนการระบาดทั น ที เพื่ อ ยื น ยั น เชื้ อ ก่ อ โรค และหาสาเหตุ ก ารระบาด
        ทั้งนี้อาจเก็บข้อมูลผู้ป่วยโดยใช้แบบสอบสวนโรคเฉพาะราย (ME1 form) หรือทะเบียนผู้ป่วย
        ในการสอบสวนเหตุ ก ารณ ์ ก ารระบาดของโรคหั ด (ME2 form) พร ้ อ มทั้ ง เก็ บ สิ่ ง ส ่ ง ตรวจ
        ทางห้องปฏิบัติการในผู้ป่วยสงสัย ได้แก่ Measles IgM ประมาณ 10 – 20 ตัวอย่าง ของจ�ำนวน
         แนวทางการเฝ้าระวังควบคุมโรค การตรวจรักษา และส่งตัวอย่างตรวจทางห้องปฏิบัติการเพื่อการก�ำจัดโรคหัด
                                                           ตามโครงการก�ำจัดโรคหัดตามพันธะสัญญานานาชาติ      19 หน้ า

MEASLE Content 1-48.indd 19                                                                                    7/30/2011 6:53:42 PM
บทที่ 3 : แนวทางการเฝ้าระวังสอบสวนทางระบาดวิทยา และการรายงานโรคหัด

        ผู้ป่วยสงสัยในเหตุการณ์การระบาดนั้นๆ และสุ่มตัวอย่าง Throat / Nasal swab จ�ำนวน
        ไม่เกิน 5 ตัวอย่าง เพื่อส่งตรวจ Genotype ของไวรัสโรคหัด ด้วยวิธี PCR (กรณีในเหตุการณ์
        ระบาดมี ผู ้ ป ่ ว ยสงสั ย ที่ เ ป็ น ชาวต่ า งชาติ ให้ สุ ่ ม ตั ว อย่ า ง Throat/Nasal swab ด้วย เพื่อน�ำ
        มาวิเคราะห์ว่าการระบาดเกิดจากเชื้อภายในประเทศ หรือเป็นเชื้อน�ำเข้าจากต่างประเทศ)
        	
        	        เกณฑ์ในการออกสอบสวนโรคในพื้นที่
        	        1.	ได้รับแจ้งเหตุการณ์การระบาด ทราบว่ามีผู้ป่วยสงสัยโรคหัดเป็นกลุ่มก้อน
        	        2.	เมื่อสอบสวนผู้ป่วย Index case แล้วพบว่าผู้สัมผัสใกล้ชิดมีอาการป่วยสงสัย
        โรคหัดร่วมด้วย
        	        3. ผู้ป่วย Index case มีผลการตรวจยืนยันทางห้องปฏิบัติการ Measles IgM
        ให้ผลบวก
        	        4.	ผู ้ ป ่ ว ย Index case มาจากพื้น ที่ที่ความครอบคลุ ม ของวั ค ซี น Measles หรื อ
        MMR ต�่ำ ในกรณีหนึ่งหรือทั้งสองกรณี ได้แก่
                    -	 Measles หรือ MMR เข็มที่ 1 ต�่ำกว่าร้อยละ 95 ในเด็กอายุ 1 - 2 ปี
                    		 (นับจากวันเริ่มป่วย ของผู้ป่วย index case) ในระดับต�ำบล
                    -	 MMR เข็ ม ที่ 2 ต�่ ำ กว่ า ร้ อ ยละ 95 ในเด็ ก นั ก เรี ย นชั้ น ประถมศึ ก ษา
                    		 ปี ที่ 1 – 6 ในโรงเรียน
        	




                              แนวทางการเฝ้าระวังควบคุมโรค การตรวจรักษา และส่งตัวอย่างตรวจทางห้องปฏิบัติการเพื่อการก�ำจัดโรคหัด
           หน้ า 20           ตามโครงการก�ำจัดโรคหัดตามพันธะสัญญานานาชาติ


MEASLE Content 1-48.indd 20                                                                                          7/30/2011 6:53:42 PM
บทที่ 3 : แนวทางการเฝ้าระวังสอบสวนทางระบาดวิทยา และการรายงานโรคหัด

        ขั้นตอนการรายงานผู้ป่วย
        	           1. ผู้ป่วยมารับการรักษาที่โรงพยาบาล

                                              ผู้ป่วยนอก                                                     ผู้ป่วยใน




                                     เข้าได้ตามนิยามทางคลินิก /                                     เข้าได้ตามนิยามทางคลินิก /
                                         แพทย์วินิจฉัยโรคหัด                                            แพทย์วินิจฉัยโรคหัด


                                                                  แพทย์สั่งให้เก็บตัวอย่างส่งตรวจ
                                                                    ทางห้องปฏิบัติการทุกราย


                                     พยาบาลหน้าห้องตรวจแจ้ง                                   พยาบาลประจ�ำหอผู้ป่วยแจ้งเจ้าหน้าที่
                                     เจ้าหน้าที่ระบาดวิทยาของ                              ระบาดวิทยาของโรงพยาบาลทันที โดยไม่ต้อง
                                          โรงพยาบาลทันที                                       รอการวินิจฉัยสุดท้าย เมื่อจ�ำหน่าย
                                                                                                   ผู้ป่วยออกจากโรงพยาบาล

                     เจ้าหน้าที่ลงรหัส ICD10 แยก
                    OPD card ผู้ป่วยโรคหัด รวบรวม
                          ให้เจ้าหน้าที่ระบาด                                                       เจ้าหน้าที่ระบาดวิทยาด�ำเนินการ
                                                                                                        สอบสวนผู้ป่วยเฉพาะราย



                                               พยาบาล / เจ้าหน้าที่ Lab ด�ำเนินการ
                                              เก็บตัวอย่างส่งตรวจ (ดูแนวทางการเก็บ
                                                   สิ่งส่งตรวจทางห้องปฏิบัติการ)



                                                                        เจ้าหน้าที่ระบาดวิทยาบันทึกข้อมูลผู้ป่วย รวมทั้งข้อมูล
                                                                            ตัวอย่างส่งตรวจลงในฐานข้อมูลก�ำจัดโรคหัดที่
                                                                                       www.boe.moph.go.th



                                                                   เจ้าหน้าที่ระบาดวิทยาของโรงพยาบาล แจ้ง งานระบาดวิทยา สสจ.
                                                                             พร้อมทั้งประสานการส่งตรวจทางห้องปฏิบัติการ



                                                      งานระบาดวิทยา สสจ. แจ้ง สคร. พร้อมทั้งประสานการส่งตรวจทางห้องปฏิบัติการ



                                ศูนย์วิทยาศาสตร์การแพทย์ / สถานบันวิจัยวิทยาศาสตร์สาธารณสุข ด�ำเนินการตรวจทางห้องปฏิบัติการ
                                            และบันทึกผลการตรวจลงในฐานข้อมูลก�ำจัดโรคหัด ที่ www.boe.moph.go.th



         แนวทางการเฝ้าระวังควบคุมโรค การตรวจรักษา และส่งตัวอย่างตรวจทางห้องปฏิบัติการเพื่อการก�ำจัดโรคหัด
                                                           ตามโครงการก�ำจัดโรคหัดตามพันธะสัญญานานาชาติ                                21 หน้ า

MEASLE Content 1-48.indd 21                                                                                                              7/30/2011 6:53:42 PM
บทที่ 3 : แนวทางการเฝ้าระวังสอบสวนทางระบาดวิทยา และการรายงานโรคหัด


        	           2. เหตุการณ์การระบาดของโรคหัด

                                          เจ้าหน้าที่ระบาดวิทยาในพื้นที่เกิดโรคได้รับแจ้งเหตุการณ์ หรือ พบผู้ป่วย Index case
                                                               เข้าเกณฑ์ในการออกสอบสวนโรคในพื้นที่



                                                               เจ้าหน้าที่ระบาดวิทยาในพื้นที่ตรวจสอบยืนยัน
                                                                            เหตุการณ์การระบาด


                                                           ออกสอบสวนโรคโดย SRRT อ�ำเภอ / จังหวัด /
                                                              เขต / ส�ำนักระบาดวิทยา ตามแต่กรณี

        	
                เก็บตัวอย่างส่งตรวจ(ดูแนวทางการเก็บสิ่งส่งตรวจทางห้องปฏิบัติการ) ได้แก่                เก็บข้อมูลผู้ป่วยสงสัยในการระบาดโดยใช้แบบ
                     ตัวอย่างเลือดส�ำหรับตรวจ measles IgM 10 – 20 ตัวอย่าง และ                         สอบสวนผู้ป่วยเฉพาะราย (ME 1 form) หรือ
                    Throat/ Nasal swab ส�ำหรับตรวจ Genotype ไม่เกิน 5 ตัวอย่าง                                  ทะเบียนผู้ป่วย (ME 2 form)



                                                                                                             ทีมสอบสวนโรค บันทึกข้อมูลผู้ป่วยลงในฐาน
                                                                                                                      ข้อมูลก�ำจัดโรคหัดที่
                                                                                                                     www.boe.moph.go.th



                                                                              ทีมสอบสวนโรค แจ้งงานระบาดวิทยา สสจ. พร้อมทั้งประสานการส่งตรวจ
                                                                                                    ทางห้องปฏิบัติการ



                                                                  งานระบาดวิทยา สสจ. แจ้ง สคร. พร้อมทั้งประสานการส่งตรวจทางห้องปฏิบัติการ



                                           ศูนย์วิทยาศาสตร์การแพทย์ / สถานบันวิจัยวิทยาศาสตร์สาธารณสุข ด�ำเนินการตรวจทางห้องปฏิบัติการ
                                                       และบันทึกผลการตรวจลงในฐานข้อมูลก�ำจัดโรคหัด ที่ www.boe.moph.go.th




               หมายเหตุ                        ข้อมูลผู้ป่วย

                                               ข้อมูลตัวอย่างส่งตรวจทางห้องปฏิบัติการ


                              แนวทางการเฝ้าระวังควบคุมโรค การตรวจรักษา และส่งตัวอย่างตรวจทางห้องปฏิบัติการเพื่อการก�ำจัดโรคหัด
            หน้ า 22          ตามโครงการก�ำจัดโรคหัดตามพันธะสัญญานานาชาติ


MEASLE Content 1-48.indd 22                                                                                                                    7/30/2011 6:53:42 PM
บทที่ 3 : แนวทางการเฝ้าระวังสอบสวนทางระบาดวิทยา และการรายงานโรคหัด

                                                                                                                                             ME 1 form

                       แบบสอบสวนโรคเฉพาะรายผู้ป่วยโรคหัดตามโครงการก�ำจัดโรคหัด
        ID ______ (ก�ำหนดโดยอัตโนมัติจาก running number ของฐานข้อมูล)
        ข้อมูลทั่วไป
        1. ชื่อ........................................		                    2. นามสกุล.........................................
        3. อายุ......ปี ......... เดือน (วัน/เดือน/ ปีเกิด ..../...../.....)                           4. เพศ	 [ ] ชาย	 [ ] หญิง
        5. เชื้อชาติ [ ] ไทย [ ] จีน/ฮ่องกง/ไต้หวัน [ ] พม่า [ ] มาเลเซีย [ ] กัมพูชา [ ] ลาว [ ] เวียดนาม [ ] อื่นๆ...........
        6. อาชีพ 	 ( ) เกษตร 		                          ( ) ข้าราชการ 	                         ( ) รับจ้าง, กรรมกร		                              ( ) ค้าขาย 	
        	                 ( ) งานบ้าน 	                  ( ) นักเรียน	 	                         ( ) ทหาร, ต�ำรวจ 		                                ( ) ประมง 	
        	                 ( ) ครู		                      ( ) อื่น ๆ 	 	                          ( ) ไม่ทราบอาชีพ		                                 ( ) เลี้ยงสัตว์	
        	                 ( ) นักบวช 		                  ( ) อาชีพพิเศษ                   	 ( ) บุคลากรสาธารณสุข		                                  ( ) ในปกครอง	
        7. ที่อยู่ขณะเริ่มป่วย ....................................................................................................................
        8. สถานศึกษา / ที่ท�ำงาน ......................... ชั้น / ปี / แผนกงาน.................ห้อง / คณะ.....................

        ประวัติการเจ็บป่วย
        9. วันเริ่มมีไข้ __/__/____ (dd/mm/yyyy)		                      วันที่เริ่มมีผื่น __/__/____ (dd/mm/yyyy)
        10. วันที่ท�ำการสอบสวน__/__/____ (dd/mm/yyyy)
        11. วันที่รับการวินิจฉัยหัด __/__/____ (dd/mm/yyyy) โรงพยาบาล..................... จังหวัดของ รพ. .........................
        12. ชนิดของผู้ป่วย	        [ ] ผู้ป่วยนอก [ ] ผู้ป่วยใน	        [ ] ผู้ป่วยค้นหาได้ในชุมชน
        13. ผลการรักษา          [ ] หาย          [ ] ตาย วันที่ตาย __/__/____ [ ] ยังรักษาอยู่ [ ] ไม่ทราบ
        14. อาการ	 [ ] ไข้	                [ ] ผื่น	        [ ] ไอ	            [ ] มีน�้ำมูก	    [ ] ตาแดง / เยื่อบุตาอักเสบ
        	                [ ] ถ่ายเหลว	 [ ] ปอดอักเสบ	 [ ] หูน�้ำหนวก	 [ ] อื่นๆ ระบุ..........................................

        ปัจจัยเสี่ยงและปัจจัยป้องกัน
        15. ประวัติการได้รับวัคซีนป้องกันโรคหัด หรือ หัด-หัดเยอรมัน-คางทูม
            [ ] เคย 1 ครั้ง [ ] เคย 2 ครั้ง [ ] เคยแต่ไม่ทราบจ�ำนวนครั้ง	 [ ] ไม่เคย [ ] ไม่ทราบ / ไม่แน่ใจ
        	 หากเคยได้รับ เข็มที่ 1 เมื่อวันที่ __/__/____ 	                                   เข็มที่ 2 เมื่อวันที่ __/__/____ (dd/mm/yyyy)
        16. [ ] มีประวัติเดินทางออกนอกประเทศในช่วง 2 สัปดาห์ก่อนวันเริ่มป่วย ระบุประเทศ......................
        17. [ ] มีประวัติสัมผัสผู้ป่วยโรคหัด / ไข้ออกผื่น ในช่วง 2 สัปดาห์ก่อนวันเริ่มป่วย
                  ระบุชื่อ ...................................... เกี่ยวข้องเป็น ...........................ของผู้ป่วยรายนี้

        ผู้สัมผัส	
        18. ร่วมบ้าน จ�ำนวน..................... คน	            มีอาการป่วยสงสัยโรคหัด .................. คน	
        19. ร่วมสถานศึกษา/ที่ท�ำงาน จ�ำนวน..................... คน	          มีอาการป่วยสงสัยโรคหัด .................. คน
        	
        การเก็บสิ่งส่งตรวจทางห้องปฏิบัติการ
        20. ตัวอย่างเลือด                     วันที่เก็บ __/__/____ วันที่ส่ง __/__/____ ผล………..................…………………
        21. ตัวอย่าง Throat/ Nasal swab วันที่เก็บ __/__/____ วันที่ส่ง __/__/____ ผล………………...………………...…..
        22. ชนิดผู้ป่วย      [ ] สงสัย            [ ] เข้าข่าย        [ ] ยืนยัน



         แนวทางการเฝ้าระวังควบคุมโรค การตรวจรักษา และส่งตัวอย่างตรวจทางห้องปฏิบัติการเพื่อการก�ำจัดโรคหัด
                                                           ตามโครงการก�ำจัดโรคหัดตามพันธะสัญญานานาชาติ                                         23 หน้ า

MEASLE Content 1-48.indd 23                                                                                                                           7/30/2011 6:53:42 PM
ME 2 form
                                                                                                                                                              ทะเบียนผู้ป่วยในการสอบสวนเหตุการณ์การระบาดของโรคหัด ................................................




                              หน้ า 24
                                                                                                                                 ID ชื่อ – นามสกุล     เพศ     อายุ   ที่อยู่   สถานที่เรียน /   ชั้นเรียน /   ห้อง    วันเริ่มป่วย   ประวัติวัคซีน    วันที่เก็บ     วันที่เก็บ   ชนิดผู้ป่วย ผล Lab    ประเภทผู้




MEASLE Content 1-48.indd 24
                                                                                                                                                                                   ท�ำงาน        แผนกงาน                              M หรือ MMR         เลือด      throat/nasal                           ป่วย
                                                                                                                                                                                                                                                                       swab
                                                                                                                                                     1 ชาย                                                            dd/mm/yyyy      1 เคยหนึ่งเข็ม   dd/mm/yyyy dd/mm/yyyy       1 OPD                1 สงสัย
                                                                                                                                                     2 หญิง                                                                           2 เคยสองเข็ม                                 2 IPD                2 เข้าข่าย
                                                                                                                                                                                                                                      3 เคย แต่ไม่ทราบ                             3 Active             3 ยืนยัน
                                                                                                                                                                                                                                        จ�ำนวนเข็ม                                   case
                                                                                                                                                                                                                                      4 ไม่เคย                                       finding
                                                                                                                                                                                                                                      5 ไม่ทราบ




                              ตามโครงการก�ำจัดโรคหัดตามพันธะสัญญานานาชาติ
                                                                                                                                                                                                                                                                                                                     บทที่ 3 : แนวทางการเฝ้าระวังสอบสวนทางระบาดวิทยา และการรายงานโรคหัด




                              แนวทางการเฝ้าระวังควบคุมโรค การตรวจรักษา และส่งตัวอย่างตรวจทางห้องปฏิบัติการเพื่อการก�ำจัดโรคหัด



7/30/2011 6:53:42 PM
บทที่ : 4
                          แนวทางการตรวจทางหองปฏบตการ
                                            ้ ิัิ
                          เพอการวนจฉยโรคหด
                            ื่   ิิ ั     ั
                                                                                                       ศิริมา ปัทมดิลก




         แนวทางการเฝ้าระวังควบคุมโรค การตรวจรักษา และส่งตัวอย่างตรวจทางห้องปฏิบัติการเพื่อการก�ำจัดโรคหัด
                                                           ตามโครงการก�ำจัดโรคหัดตามพันธะสัญญานานาชาติ      25 หน้ า

MEASLE Content 1-48.indd 25                                                                                    7/30/2011 6:53:42 PM
บทที่ 4 : แนวทางการตรวจทางห้องปฏิบัติการเพื่อการวินิจฉัยโรคหัด




                              แนวทางการเฝ้าระวังควบคุมโรค การตรวจรักษา และส่งตัวอย่างตรวจทางห้องปฏิบัติการเพื่อการก�ำจัดโรคหัด
           หน้ า 26           ตามโครงการก�ำจัดโรคหัดตามพันธะสัญญานานาชาติ


MEASLE Content 1-48.indd 26                                                                                          7/30/2011 6:53:42 PM
บทที่ 4 : แนวทางการตรวจทางห้องปฏิบัติการเพื่อการวินิจฉัยโรคหัด




                  แนวทางการตรวจทางห้องปฏิบัติการเพื่อการวินิจฉัยโรคหัด


        ความส� ำ คั ญ และบทบาทหน้ า ที่ ข องห้ อ งปฏิ บั ติ ก ารในการควบคุ ม และก� ำ จั ด
        โรคหัดของประเทศ
        	           กระทรวงสาธารณสุ ข ได ้ ป ระกาศนโยบายการก� ำ จั ด โรคหั ด ในประเทศไทย โดยมี
        เป้าหมายลดอุบัติการณ์การเกิดโรคหัดในประเทศลงเหลือไม่เกิน 1 รายต่อประชากรหนึ่งล้านคน
        ในป ี พ.ศ. 2563 การด� ำ เนิ น การจะสั ม ฤทธิ์ผ ลได ้ ต ้ อ งอาศั ย กลไกที่ เ กี่ ย วข ้ อ งคื อ ประเทศ
        ต้องมี 1) ความครอบคลุมของวัคซีนที่เพียงพอ 2) ระบบการเฝ้าระวังที่มีประสิทธิภาพและ
        3) การตรวจจับการระบาดของโรคอย่างรวดเร็ว ซึ่งกลไกที่ 2 และโดยเฉพาะอย่างยิ่งกลไก
        ที่ 3 ต้องอาศัยผลการตรวจยืนยันทางห้องปฏิบัติการ ดังนั้นประเทศต้องมีห้องปฏิบัติการ
        ที่ มี ค วามสามารถและศั ก ยภาพเป ็ น ที่ ย อมรั บ ให ้ ผ ลการตรวจทางห ้ อ งปฏิ บั ติ ก ารที่ ถู ก ต ้ อ ง
        น่าเชื่อถือและรวดเร็ว


        	           ปัจจุบันประเทศไทยมีห้องปฏิบัติการที่มีศักยภาพเป็นที่ยอมรับขององค์การอนามัยโลก
        ตั้งอยู่ ณ สถาบันวิจัยวิทยาศาสตร์สาธารณสุข กรมวิทยาศาสตร์การแพทย์ โดยได้รับการ
        แต่งตั้งให้เป็นห้องปฏิบัติการอ้างอิงในการตรวจวินิจฉัยโรคหัดของภูมิภาคเอเชียตะวันออก
        เฉียงใต้ (Measles Regional Reference Laboratory in SEAR) มีหน้าที่รับตรวจยืนยัน
        ผลการตรวจของห้องปฏิบัติการเครือข่ายใน 11 ประเทศสมาชิก นอกจากนี้ห้องปฏิบัติการ
        อ้างอิงฯยังได้ด�ำเนินการตรวจวิเคราะห์สายพันธุ์หัดที่แพร่ระบาดในประเทศสมาชิก เปรียบ
        เที ย บกั บ สายพั น ธุ ์ อ ้ า งอิ ง ที่ อ งค์ ก ารอนามั ย โลกก� ำ หนดไว้ เพื่ อ หาสายพั น ธุ ์ ป ระจ� ำ ถิ่ น ของ
        แต่ละประเทศ ซึ่งข้อมูลดังกล่าวจะถูกใช้เป็นหนึ่งในตัวชี้วัดความส�ำเร็จของการด�ำเนินการ
         แนวทางการเฝ้าระวังควบคุมโรค การตรวจรักษา และส่งตัวอย่างตรวจทางห้องปฏิบัติการเพื่อการก�ำจัดโรคหัด
                                                           ตามโครงการก�ำจัดโรคหัดตามพันธะสัญญานานาชาติ      27 หน้ า

MEASLE Content 1-48.indd 27                                                                                      7/30/2011 6:53:42 PM
Final measle 30 07-11
Final measle 30 07-11
Final measle 30 07-11
Final measle 30 07-11
Final measle 30 07-11
Final measle 30 07-11
Final measle 30 07-11
Final measle 30 07-11
Final measle 30 07-11
Final measle 30 07-11
Final measle 30 07-11
Final measle 30 07-11
Final measle 30 07-11
Final measle 30 07-11
Final measle 30 07-11
Final measle 30 07-11
Final measle 30 07-11
Final measle 30 07-11
Final measle 30 07-11
Final measle 30 07-11
Final measle 30 07-11

Más contenido relacionado

La actualidad más candente

Hazmat response for Emergency physician
Hazmat response for Emergency physicianHazmat response for Emergency physician
Hazmat response for Emergency physiciantaem
 
แนวทางเวชปฏิบัติสำหรับโรคเสพยาสูบ
แนวทางเวชปฏิบัติสำหรับโรคเสพยาสูบแนวทางเวชปฏิบัติสำหรับโรคเสพยาสูบ
แนวทางเวชปฏิบัติสำหรับโรคเสพยาสูบUtai Sukviwatsirikul
 
Guidance on Cannabis for Medical Use คำแนะนำการใช้กัญชาทางการแพทย์ ฉบับปรับปร...
Guidance on Cannabis for Medical Use คำแนะนำการใช้กัญชาทางการแพทย์ ฉบับปรับปร...Guidance on Cannabis for Medical Use คำแนะนำการใช้กัญชาทางการแพทย์ ฉบับปรับปร...
Guidance on Cannabis for Medical Use คำแนะนำการใช้กัญชาทางการแพทย์ ฉบับปรับปร...Vorawut Wongumpornpinit
 
Guidance on Cannabis for Medical Use คำแนะนำการใช้กัญชาทางการแพทย์ ฉบับปรับปร...
Guidance on Cannabis for Medical Use คำแนะนำการใช้กัญชาทางการแพทย์ ฉบับปรับปร...Guidance on Cannabis for Medical Use คำแนะนำการใช้กัญชาทางการแพทย์ ฉบับปรับปร...
Guidance on Cannabis for Medical Use คำแนะนำการใช้กัญชาทางการแพทย์ ฉบับปรับปร...Vorawut Wongumpornpinit
 
Rational Drug Use in Community Pharmacy: RDU Pharmacy
Rational Drug Use in Community Pharmacy: RDU PharmacyRational Drug Use in Community Pharmacy: RDU Pharmacy
Rational Drug Use in Community Pharmacy: RDU PharmacyUtai Sukviwatsirikul
 
องค์ความรู้ด้านอาหารและโภชนาการสำหรับทุกช่วงวัย
องค์ความรู้ด้านอาหารและโภชนาการสำหรับทุกช่วงวัยองค์ความรู้ด้านอาหารและโภชนาการสำหรับทุกช่วงวัย
องค์ความรู้ด้านอาหารและโภชนาการสำหรับทุกช่วงวัยVorawut Wongumpornpinit
 

La actualidad más candente (10)

N sdis 78_60_9
N sdis 78_60_9N sdis 78_60_9
N sdis 78_60_9
 
Hazmat response for Emergency physician
Hazmat response for Emergency physicianHazmat response for Emergency physician
Hazmat response for Emergency physician
 
Cpg Allergic Rhinitis 2011
Cpg  Allergic Rhinitis 2011Cpg  Allergic Rhinitis 2011
Cpg Allergic Rhinitis 2011
 
Nopparat Hazmat Preparedness
Nopparat Hazmat PreparednessNopparat Hazmat Preparedness
Nopparat Hazmat Preparedness
 
แนวทางเวชปฏิบัติสำหรับโรคเสพยาสูบ
แนวทางเวชปฏิบัติสำหรับโรคเสพยาสูบแนวทางเวชปฏิบัติสำหรับโรคเสพยาสูบ
แนวทางเวชปฏิบัติสำหรับโรคเสพยาสูบ
 
Guidance on Cannabis for Medical Use คำแนะนำการใช้กัญชาทางการแพทย์ ฉบับปรับปร...
Guidance on Cannabis for Medical Use คำแนะนำการใช้กัญชาทางการแพทย์ ฉบับปรับปร...Guidance on Cannabis for Medical Use คำแนะนำการใช้กัญชาทางการแพทย์ ฉบับปรับปร...
Guidance on Cannabis for Medical Use คำแนะนำการใช้กัญชาทางการแพทย์ ฉบับปรับปร...
 
Basic epi 2018 10-07
Basic epi 2018 10-07Basic epi 2018 10-07
Basic epi 2018 10-07
 
Guidance on Cannabis for Medical Use คำแนะนำการใช้กัญชาทางการแพทย์ ฉบับปรับปร...
Guidance on Cannabis for Medical Use คำแนะนำการใช้กัญชาทางการแพทย์ ฉบับปรับปร...Guidance on Cannabis for Medical Use คำแนะนำการใช้กัญชาทางการแพทย์ ฉบับปรับปร...
Guidance on Cannabis for Medical Use คำแนะนำการใช้กัญชาทางการแพทย์ ฉบับปรับปร...
 
Rational Drug Use in Community Pharmacy: RDU Pharmacy
Rational Drug Use in Community Pharmacy: RDU PharmacyRational Drug Use in Community Pharmacy: RDU Pharmacy
Rational Drug Use in Community Pharmacy: RDU Pharmacy
 
องค์ความรู้ด้านอาหารและโภชนาการสำหรับทุกช่วงวัย
องค์ความรู้ด้านอาหารและโภชนาการสำหรับทุกช่วงวัยองค์ความรู้ด้านอาหารและโภชนาการสำหรับทุกช่วงวัย
องค์ความรู้ด้านอาหารและโภชนาการสำหรับทุกช่วงวัย
 

Similar a Final measle 30 07-11

พยาธิวิทยาทททททททททททททททททททททททททททททททททททททททททท
พยาธิวิทยาททททททททททททททททททททททททททททททททททททททททททพยาธิวิทยาทททททททททททททททททททททททททททททททททททททททททท
พยาธิวิทยาททททททททททททททททททททททททททททททททททททททททททpakpoomounhalekjit
 
Infectious PPE
Infectious PPEInfectious PPE
Infectious PPEtaem
 
Middle East Respiratory Syndrome Coronavirus : MERS-CoV Handbook
Middle East Respiratory Syndrome Coronavirus : MERS-CoV HandbookMiddle East Respiratory Syndrome Coronavirus : MERS-CoV Handbook
Middle East Respiratory Syndrome Coronavirus : MERS-CoV HandbookUtai Sukviwatsirikul
 
tapanee2500,+Journal+manager,+Aw+CVT+journal+No27-2-4.pdf
tapanee2500,+Journal+manager,+Aw+CVT+journal+No27-2-4.pdftapanee2500,+Journal+manager,+Aw+CVT+journal+No27-2-4.pdf
tapanee2500,+Journal+manager,+Aw+CVT+journal+No27-2-4.pdf60941
 
แนวเวชปฏิบัติโรคพิษสุนัขบ้า
แนวเวชปฏิบัติโรคพิษสุนัขบ้าแนวเวชปฏิบัติโรคพิษสุนัขบ้า
แนวเวชปฏิบัติโรคพิษสุนัขบ้าsucheera Leethochawalit
 
การรักษาและป้องกันการบาดเจ็บและเสียชีวิตจากแมงกะพรุน Box jellyfish กับ Portug...
การรักษาและป้องกันการบาดเจ็บและเสียชีวิตจากแมงกะพรุน Box jellyfish กับ Portug...การรักษาและป้องกันการบาดเจ็บและเสียชีวิตจากแมงกะพรุน Box jellyfish กับ Portug...
การรักษาและป้องกันการบาดเจ็บและเสียชีวิตจากแมงกะพรุน Box jellyfish กับ Portug...Utai Sukviwatsirikul
 
Surveillance Systems
Surveillance SystemsSurveillance Systems
Surveillance SystemsUltraman Taro
 
โครงร่างวิจัยเกี่ยวกับการแพทย์แผนไทยประยุกต์
โครงร่างวิจัยเกี่ยวกับการแพทย์แผนไทยประยุกต์โครงร่างวิจัยเกี่ยวกับการแพทย์แผนไทยประยุกต์
โครงร่างวิจัยเกี่ยวกับการแพทย์แผนไทยประยุกต์Apichat kon
 
การจัดการตนเองเมื่อเป็นมะเร็ง ดร.ศุภลักษณ์ เข็มทอง
การจัดการตนเองเมื่อเป็นมะเร็ง ดร.ศุภลักษณ์ เข็มทองการจัดการตนเองเมื่อเป็นมะเร็ง ดร.ศุภลักษณ์ เข็มทอง
การจัดการตนเองเมื่อเป็นมะเร็ง ดร.ศุภลักษณ์ เข็มทองJumpon Utta
 
คู่มือฝึกอบรมอบรมอาสาโรคพิษสุนัขบ้า.pdf
คู่มือฝึกอบรมอบรมอาสาโรคพิษสุนัขบ้า.pdfคู่มือฝึกอบรมอบรมอาสาโรคพิษสุนัขบ้า.pdf
คู่มือฝึกอบรมอบรมอาสาโรคพิษสุนัขบ้า.pdfKraJiabSugunya
 
หลักสูตร Mini MM in Health 55
หลักสูตร Mini MM in Health 55หลักสูตร Mini MM in Health 55
หลักสูตร Mini MM in Health 55sivapong klongpanich
 
การเกิดปริทันต์ในผู้ป่วยโรคเบาหวาน
การเกิดปริทันต์ในผู้ป่วยโรคเบาหวานการเกิดปริทันต์ในผู้ป่วยโรคเบาหวาน
การเกิดปริทันต์ในผู้ป่วยโรคเบาหวานTangMa Salee
 

Similar a Final measle 30 07-11 (20)

พยาธิวิทยาทททททททททททททททททททททททททททททททททททททททททท
พยาธิวิทยาททททททททททททททททททททททททททททททททททททททททททพยาธิวิทยาทททททททททททททททททททททททททททททททททททททททททท
พยาธิวิทยาทททททททททททททททททททททททททททททททททททททททททท
 
Infectious PPE
Infectious PPEInfectious PPE
Infectious PPE
 
H1n1 For Safe 040852
H1n1 For Safe 040852H1n1 For Safe 040852
H1n1 For Safe 040852
 
Middle East Respiratory Syndrome Coronavirus : MERS-CoV Handbook
Middle East Respiratory Syndrome Coronavirus : MERS-CoV HandbookMiddle East Respiratory Syndrome Coronavirus : MERS-CoV Handbook
Middle East Respiratory Syndrome Coronavirus : MERS-CoV Handbook
 
tapanee2500,+Journal+manager,+Aw+CVT+journal+No27-2-4.pdf
tapanee2500,+Journal+manager,+Aw+CVT+journal+No27-2-4.pdftapanee2500,+Journal+manager,+Aw+CVT+journal+No27-2-4.pdf
tapanee2500,+Journal+manager,+Aw+CVT+journal+No27-2-4.pdf
 
แนวเวชปฏิบัติโรคพิษสุนัขบ้า
แนวเวชปฏิบัติโรคพิษสุนัขบ้าแนวเวชปฏิบัติโรคพิษสุนัขบ้า
แนวเวชปฏิบัติโรคพิษสุนัขบ้า
 
antidote y57
antidote y57antidote y57
antidote y57
 
การรักษาและป้องกันการบาดเจ็บและเสียชีวิตจากแมงกะพรุน Box jellyfish กับ Portug...
การรักษาและป้องกันการบาดเจ็บและเสียชีวิตจากแมงกะพรุน Box jellyfish กับ Portug...การรักษาและป้องกันการบาดเจ็บและเสียชีวิตจากแมงกะพรุน Box jellyfish กับ Portug...
การรักษาและป้องกันการบาดเจ็บและเสียชีวิตจากแมงกะพรุน Box jellyfish กับ Portug...
 
Siiim
SiiimSiiim
Siiim
 
Siiim
SiiimSiiim
Siiim
 
(16 มิ.ย. 56) service profile update
(16 มิ.ย. 56) service profile update(16 มิ.ย. 56) service profile update
(16 มิ.ย. 56) service profile update
 
Cpg asthma in children 2551
Cpg asthma in children 2551Cpg asthma in children 2551
Cpg asthma in children 2551
 
Surveillance Systems
Surveillance SystemsSurveillance Systems
Surveillance Systems
 
โครงร่างวิจัยเกี่ยวกับการแพทย์แผนไทยประยุกต์
โครงร่างวิจัยเกี่ยวกับการแพทย์แผนไทยประยุกต์โครงร่างวิจัยเกี่ยวกับการแพทย์แผนไทยประยุกต์
โครงร่างวิจัยเกี่ยวกับการแพทย์แผนไทยประยุกต์
 
การจัดการตนเองเมื่อเป็นมะเร็ง ดร.ศุภลักษณ์ เข็มทอง
การจัดการตนเองเมื่อเป็นมะเร็ง ดร.ศุภลักษณ์ เข็มทองการจัดการตนเองเมื่อเป็นมะเร็ง ดร.ศุภลักษณ์ เข็มทอง
การจัดการตนเองเมื่อเป็นมะเร็ง ดร.ศุภลักษณ์ เข็มทอง
 
(20 พ.ค 56) service profile (ส่งเจี๊ยบ)
(20 พ.ค 56) service profile (ส่งเจี๊ยบ)(20 พ.ค 56) service profile (ส่งเจี๊ยบ)
(20 พ.ค 56) service profile (ส่งเจี๊ยบ)
 
คู่มือฝึกอบรมอบรมอาสาโรคพิษสุนัขบ้า.pdf
คู่มือฝึกอบรมอบรมอาสาโรคพิษสุนัขบ้า.pdfคู่มือฝึกอบรมอบรมอาสาโรคพิษสุนัขบ้า.pdf
คู่มือฝึกอบรมอบรมอาสาโรคพิษสุนัขบ้า.pdf
 
หลักสูตร Mini MM in Health 55
หลักสูตร Mini MM in Health 55หลักสูตร Mini MM in Health 55
หลักสูตร Mini MM in Health 55
 
การเกิดปริทันต์ในผู้ป่วยโรคเบาหวาน
การเกิดปริทันต์ในผู้ป่วยโรคเบาหวานการเกิดปริทันต์ในผู้ป่วยโรคเบาหวาน
การเกิดปริทันต์ในผู้ป่วยโรคเบาหวาน
 
hand foot mouth
hand foot mouthhand foot mouth
hand foot mouth
 

Más de Loveis1able Khumpuangdee (20)

Rollup01
Rollup01Rollup01
Rollup01
 
Protec
ProtecProtec
Protec
 
Factsheet hfm
Factsheet hfmFactsheet hfm
Factsheet hfm
 
Factsheet
FactsheetFactsheet
Factsheet
 
Eidnotebook54
Eidnotebook54Eidnotebook54
Eidnotebook54
 
Data l3 148
Data l3 148Data l3 148
Data l3 148
 
Data l3 147
Data l3 147Data l3 147
Data l3 147
 
Data l3 127
Data l3 127Data l3 127
Data l3 127
 
Data l3 126
Data l3 126Data l3 126
Data l3 126
 
Data l3 113
Data l3 113Data l3 113
Data l3 113
 
Data l3 112
Data l3 112Data l3 112
Data l3 112
 
Data l3 92
Data l3 92Data l3 92
Data l3 92
 
Data l3 89
Data l3 89Data l3 89
Data l3 89
 
Data l2 80
Data l2 80Data l2 80
Data l2 80
 
Hfm reccomment10072555
Hfm reccomment10072555Hfm reccomment10072555
Hfm reccomment10072555
 
Hfm work2550
Hfm work2550Hfm work2550
Hfm work2550
 
Factsheet hfm
Factsheet hfmFactsheet hfm
Factsheet hfm
 
Publichealth
PublichealthPublichealth
Publichealth
 
แนวทางการดาเน ํ นงานป ิ องก ้ นควบค ั มการระบาดของโรคม ุ ือ เท้า ปาก สําหรบแพ...
แนวทางการดาเน ํ นงานป ิ องก ้ นควบค ั มการระบาดของโรคม ุ ือ เท้า ปาก สําหรบแพ...แนวทางการดาเน ํ นงานป ิ องก ้ นควบค ั มการระบาดของโรคม ุ ือ เท้า ปาก สําหรบแพ...
แนวทางการดาเน ํ นงานป ิ องก ้ นควบค ั มการระบาดของโรคม ุ ือ เท้า ปาก สําหรบแพ...
 
Knowledge
KnowledgeKnowledge
Knowledge
 

Final measle 30 07-11

  • 1. MEASLE Preface 1-4.indd 1 7/30/2011 6:55:44 PM
  • 2. แนวทางการเฝ้าระวังควบคุมโรค การตรวจรักษา และส่งตัวอย่างตรวจทางห้องปฏิบัติการเพื่อการก�ำจัดโรคหัด ตามโครงการก�ำจัดโรคหัดตามพันธะสัญญานานาชาติ (ฉบับปรับปรุง วันที่ 13 กรกฎาคม 2554) บรรณาธิการ : แพทย์หญิงปิยนิตย์ ธรรมาภรณ์พิลาศ นายเลิศฤทธิ์ ลีลาธร ISBN : 978-616-11-0778-9 จัดพิมพ์โดย : ศูนย์ประสานงานโครงการกวาดล้างโปลิโอ และโรดหัดตามพันธะสัญญานานาชาติ ส�ำนักโรคติดต่อทั่วไป กรมควบคุมโรค โทรศัพท์ 0 2590 3196-9 โ ทรสาร 0 2965 9152 E-mail: epithailand@yahoo.com พิมพ์ที่ : โรงพิมพ์ชุมนุมสหกรณ์การเกษตรแห่งประเทศไทย จ�ำนวนพิมพ์ : 25,000 เล่ม MEASLE Preface 1-4.indd 2 7/30/2011 6:55:44 PM
  • 3. สารบั ญ บทที่ หน้า 1 โครงการก�ำจัดโรคหัดในประเทศไทยตามพันธะสัญญานานาชาติ ปิยนิตย์ ธรรมาภรณ์พิลาศ 1 2 ธรรมชาติการเกิดโรคและการรักษาพยาบาลผู้ป่วยโรคหัด นฤมล สวรรค์ปัญญาเลิศ 7 3 แนวทางการเฝ้าระวังสอบสวนทางระบาดวิทยา และการรายงานโรคหัด ดารินทร์ อารีโชคชัย และ สมเจตน์ ตั้งเจริญศิลป์ 13 4 แนวทางการตรวจทางห้องปฏิบัติการเพื่อการวินิจฉัยโรคหัด ศิริมา ปัทมดิลก 25 5 แนวทางการป้องกันควบคุมการระบาดของโรคหัด พอพิศ วรินทร์เสถียร และ พรศักดิ์ อยู่เจริญ 37 MEASLE Preface 1-4.indd 3 7/30/2011 6:55:44 PM
  • 4. MEASLE Preface 1-4.indd 4 7/30/2011 6:55:44 PM
  • 5. บทที่ : 1 โครงการกำ� จดโรคหดในประเทศไทย ั ั ตามพนธะสญญานานาชาติ ั ั ปิยนิตย์ ธรรมาภรณ์พิลาศ แนวทางการเฝ้าระวังควบคุมโรค การตรวจรักษา และส่งตัวอย่างตรวจทางห้องปฏิบัติการเพื่อการก�ำจัดโรคหัด ตามโครงการก�ำจัดโรคหัดตามพันธะสัญญานานาชาติ 1 หน้ า MEASLE Content 1-48.indd 1 7/30/2011 6:53:40 PM
  • 6. บทที่ 1 : โครงการก�ำจัดโรคหัดในประเทศไทยตามพันธะสัญญานานาชาติ แนวทางการเฝ้าระวังควบคุมโรค การตรวจรักษา และส่งตัวอย่างตรวจทางห้องปฏิบัติการเพื่อการก�ำจัดโรคหัด หน้ า 2 ตามโครงการก�ำจัดโรคหัดตามพันธะสัญญานานาชาติ MEASLE Content 1-48.indd 2 7/30/2011 6:53:40 PM
  • 7. บทที่ 1 : โครงการก�ำจัดโรคหัดในประเทศไทยตามพันธะสัญญานานาชาติ โครงการก�ำจัดโรคหัดในประเทศไทยตามพันธะสัญญานานาชาติ ความเป็นมา โครงการก� ำจัดโรคหัด (Measles Elimination) ริเริ่มครั้งแรกในทวีปอเมริกา ตั้งแต่ พ.ศ.2537 จนประสบความส�ำเร็จใน พ.ศ.2545 โดยสามารถลดจ�ำนวนผู้ป่วยโรคหัด ให้น้อยลงกว่าร้อยละ 99 คือจากจ�ำนวนผู้ป่วยประมาณ 250,000 รายต่อปี ทั่วทั้งภูมิภาคใน พ.ศ.2533 คงเหลือเพียง 105 ราย ใน พ.ศ.2546 ซึ่งเป็นการน�ำเชื้อเข้ามาจากต่างประเทศ (Import-related measles) ทั้งสิ้น จากความส� ำ เร็ จ ของการก� ำ จั ด โรคหั ด ในทวี ป อเมริ ก า ท� ำ ให้ ภู มิ ภ าคต่ า งๆ ทั่ ว โลก เห็นความเป็นไปได้ของการก�ำจัดโรคหัด และก�ำหนดปีเป้าหมายที่จะก�ำจัดโรคหัดให้ส�ำเร็จ ร่วมกัน โดยภูมิภาคเมดิเตอร์เรเนียนตะวันออก (Eastern Mediterranean region) และ ภูมิภาคยุโรป (European region) ตั้งเป้าหมายการก�ำจัดโรคหัดภายใน พ.ศ.2553 ภูมิภาค แปซิฟิกตะวันตก (Western Pacific Region) ตั้งเป้าหมายภายใน พ.ศ.2555 ภูมิภาคแอฟริกา ตั้งเป้าหมายภายใน พ.ศ.2563 ส่วนภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ซึ่งมีไทยเป็นหนึ่งใน 11 ประเทศสมาชิ ก ได้ มี ข ้ อ ตกลงในการประชุ ม สมั ช ชาองค์ ก ารอนามั ย โลกครั้ ง ที่ 63 ใน พ.ศ.2553 ให้ตั้งเป้าหมายการก�ำจัดโรคหัดใน พ.ศ.2563 การด�ำเนินการก�ำจัดโรคหัดนอก ทวีปอเมริกาอาจยังไม่ประสบผลส�ำเร็จ เทียบเท่ากับในทวีปอเมริกา แต่ได้มีความก้าวหน้า เป็ น อย่ า งมาก การประเมิ น ในปี พ.ศ.2551 พบว่ า อั ต ราตายจากโรคหั ด ทั่ ว โลกลดลงถึ ง ร้อยละ 78 เมื่อเปรียบเทียบกับข้อมูลใน พ.ศ.2543 แม้ภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้จะ เริ่มต้นโครงการก�ำจัดโรคหัดล่าช้ากว่าในหลายภูมิภาค แต่ประเทศสมาชิกทุกประเทศได้มีแ ผน แนวทางการเฝ้าระวังควบคุมโรค การตรวจรักษา และส่งตัวอย่างตรวจทางห้องปฏิบัติการเพื่อการก�ำจัดโรคหัด ตามโครงการก�ำจัดโรคหัดตามพันธะสัญญานานาชาติ 3 หน้ า MEASLE Content 1-48.indd 3 7/30/2011 6:53:40 PM
  • 8. บทที่ 1 : โครงการก�ำจัดโรคหัดในประเทศไทยตามพันธะสัญญานานาชาติ งานสร ้ า งเสริ ม ภู มิ คุ ้ ม กั น โรคด ้ ว ยวั ค ซี น ป ้ อ งกั น โรคหั ด และจั ด ระบบการเฝ ้ า ระวั ง โรค เพื่ อ ชี้ เป้าหมายกลุ่มเสี่ยงอย่างต่อเนื่องมาเป็นเวลายาวนาน ท� ำให้จ� ำนวนผู้ป่วยและผู้เสียชีวิต จากโรคหัดลดลงตามล�ำดับ ในหลายประเทศ เช่น สหภาพเมียนมาร์ บังคลาเทศ อินโดนีเซีย ได้ท�ำการรณรงค์ให้วัคซีนป้องกันโรคหัดทั่วประเทศ เพื่อเสริมความครอบคลุมการได้รับวัคซีน ในเด็กมาแล้วระยะหนึ่ง จึงไม่ยากที่ทั้งภูมิภาคจะเร่งรัด การด�ำเนินงานให้สามารถก�ำจัดโรคหัด ลุ ล ่ ว งไปตามเป้ า หมายได้ ประเทศไทยจึ ง ควรได้ ริ เ ริ่ ม ด� ำ เนิ น การก� ำ จั ด โรคหั ด อย่ า งจริ ง จั ง เพื่อให้ลุล่วงตามเป้าหมายภายในปี 2563 เช่นกัน ค�ำจ�ำกัดความ “การก�ำจัดโรคหัด (Measles elimination)” หมายถึง การไม่พบผู้ป่วยโรคหัด ที่ติดเชื้อภายในประเทศ (Endemic measles case) ติดต่อกันเป็นระยะเวลานาน 12 เดือน ขึ้นไป ภายใต้ระบบเฝ้าระวังโรคหัดที่มีประสิทธิภาพ “การกวาดล้างโรคหัด (Measles eradication)” หมายถึง การที่ทุกภูมิภาคทั่ว โลกประสบความส�ำเร็จในการก�ำจัดโรคหัดร่วมกัน ตัวชี้วัดความส�ำเร็จ และเป้าหมายของการโครงการก�ำจัดโรคหัด ในการประชุมระดับภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ เมื่อ พ.ศ.2552 ได้มีข้อเสนอแนะ ให้ ก� ำ หนดตั ว ชี้ วั ด ความส� ำ เร็ จ และเป้ า หมายของโครงการดั ง รายละเอี ย ดในตารางที่ 1 ทั้ ง นี้ ตั ว ชี้ วั ด และเป้ า หมายเหล่ า นี้ อาจต้ อ งปรั บ เปลี่ ย นไปตามข้ อ เท็ จ จริ ง ที่ ไ ด้ จ าก ประสบการณ ์ ก ารด� ำ เนิ น โครงการในอนาคต แนวทางการเฝ้าระวังควบคุมโรค การตรวจรักษา และส่งตัวอย่างตรวจทางห้องปฏิบัติการเพื่อการก�ำจัดโรคหัด หน้ า 4 ตามโครงการก�ำจัดโรคหัดตามพันธะสัญญานานาชาติ MEASLE Content 1-48.indd 4 7/30/2011 6:53:40 PM
  • 9. บทที่ 1 : โครงการก�ำจัดโรคหัดในประเทศไทยตามพันธะสัญญานานาชาติ ตารางที่ 1 ตั ว ชี้ วั ด ความส� ำ เร็ จ และเป ้ า หมายของการก� ำ จั ด โรคหั ด มาตรการ ตัวชี้วัด เป้าหมาย 1. ความครอบคลุมของวัคซีน ค ว า ม ค ร อ บ ค ลุ ม ข อ ง วั ค ซี น ความครอบคลุมของวัคซีน ป้องกันโรคหัดเข็มแรก ตาม EPI ป้องกันโรคหัดเข็มแรก และ program และเข็ ม ที่ ส อง ตาม เข็มที่สอง ต้องไม่น้อยกว่า EPI program หรื อ การรณรงค์ ร้อยละ 95 ในระดับต�ำบล ให้วัคซีนเสริม (Supplementary และระดับประเทศ immunization activity: SIA) 2. ขนาดของเหตุการณ์การ จ� ำ นวนผู ้ ป ่ ว ยยื น ยั น ในแต่ ล ะ พบผู้ป่วยยืนยันโรคหัดไม่เกิน ระบาด (outbreak size) เหตุการณ์การระบาด 10 รายต่อหนึ่งการระบาด ใน อย่างน้อยร้อยละ 80 ของ เหตุการณ์การระบาดทั้งหมด 3. อุบัติการณ์ของโรคหัด อุบัติการณ์โรคหัดต่อประชากรล้าน อุบัติการณ์โรคหัดน้อยกว่า 1 คน ต่อประชากรล้านคน ทั้งนี้ไม่ นับรวมผู้ป่วยน�ำเข้าจากต่าง ประเทศ (imported case) 4. สายพั น ธุ ์ ข องไวรั ส โรคหั ด ที่ จ�ำนวนสายพันธุ์ของไวรัสโรคหัด ไม่มีผู้ป่วยยืนยันโรคหัดที่ติดเชื้อ แพร่กระจายภายในประเทศ ที่แพร่กระจายภายในประเทศ จากไวรัสโรคหัดสายพันธุ์ภายใน ประเทศ เป็นระยะเวลาติดต่อ กันไม่ต�่ำกว่า 12 เดือน ส�ำหรับประเทศไทย ได้ด�ำเนินการสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรคด้วยวัคซีนป้องกันโรคหัด แก่เด็กอายุ 9 เดือนมาตั้งแต่ พ.ศ. 2527 และให้วัคซีนป้องกันโรคหัดแก่เด็กชั้นประถมศึกษา ปีที่ 1 อีกเป็นเข็มที่สอง ตั้งแต่ พ.ศ. 2539 ในปัจจุบันความครอบคลุมของการได้รับวัคซีนเฉลี่ย ทั่วประเทศสูงกว่าร้อยละ 96 และ 91 ตามล�ำดับ อย่างไรก็ตามประเทศไทยยังคงมีผู้ป่วยโรคหัด รายงานผ่านระบบเฝ้าระวังโรคปีละ 4,000 - 7,000 ราย และยังมีการระบาดของโรคหัด เป็นระยะๆ เนื่องจากปัญหาความครอบคลุมวัคซีนในเด็กยังต�่ำในบางพื้นที่ และมีกลุ่มวัยรุ่น วัยผู้ใหญ่ตอนต้น ซึ่งยังไม่มีภูมิคุ้มกันต่อโรคหัด เนื่องจากไม่ได้รับวัคซีนในวัยเด็ก แต่หลบรอด การป่ ว ยด้ ว ยโรคหั ด ในช่ ว งเวลาที่ ผ ่ า นมา มาอยู ่ ร วมกั น ในสถานศึ ก ษา สถาบั น ต่ า งๆ แนวทางการเฝ้าระวังควบคุมโรค การตรวจรักษา และส่งตัวอย่างตรวจทางห้องปฏิบัติการเพื่อการก�ำจัดโรคหัด ตามโครงการก�ำจัดโรคหัดตามพันธะสัญญานานาชาติ 5 หน้ า MEASLE Content 1-48.indd 5 7/30/2011 6:53:41 PM
  • 10. บทที่ 1 : โครงการก�ำจัดโรคหัดในประเทศไทยตามพันธะสัญญานานาชาติ หรือสถานประกอบการจ�ำนวนมาก นอกจากนี้ระบบเฝ้าระวังโรคหัดของประเทศไทยยังขาด ผลการตรวจยืนยันเชื้อก่อโรคทางห้องปฏิบัติการ ท�ำให้การชี้เป้าหมายกลุ่มเสี่ยงโดยใช้ข้อมูล จากระบบเฝ้าระวังโรคขาดความชัดเจนไปด้วย การดำ�เนินงานให้บรรลุถงเป้าหมายการกำ�จัดโรคหัดนัน จำ�เป็นต้องกำ�หนดเป้าหมาย ึ ้ ในระยะ 5 ปีแรก (2554-2558) ดังต่อไปนี้ 1. เพิ่ ม และรักษาระดับความครอบคลุมการได้ รั บ วั ค ซี นหั ด ทั้ งสองเข็ ม ไม่ ต�่ ำกว่ า ร้อยละ 95 ในทุกพื้นที่ 2. จัดตั้งเครือข่ายการตรวจเชื้อหัดทางห้องปฏิบัติการที่ได้มาตรฐานทั่วประเทศ 3. เฝ้าระวังผู้ป่วยโรคหัด โดยมีบริการตรวจยืนยันการติดเชื้อทางห้องปฏิบัติการ ในผู้ป่วยสงสัยโรคหัด ไม่ต�่ำกว่าร้อยละ 80 ในทุกพื้นที่ 4. รณรงค์ให้วัคซีนป้องกันโรคหัด หรือมาตรการเสริมอื่น เช่น การบริการวัคซีน ในประชากรวัยท�ำงานเพื่อเพิ่มระดับความครอบคลุมการได้รับวัคซีนในประชากรกลุ่มเสี่ยง แนวทางการเฝ้าระวังควบคุมโรค การตรวจรักษา และส่งตัวอย่างตรวจทางห้องปฏิบัติการเพื่อการก�ำจัดโรคหัด หน้ า 6 ตามโครงการก�ำจัดโรคหัดตามพันธะสัญญานานาชาติ MEASLE Content 1-48.indd 6 7/30/2011 6:53:41 PM
  • 11. บทที่ : 2 ธรรมชาตการเกดโรค ิ ิ และการรกษาพยาบาลผปวยโรคหด ั ู้ ่ ั นฤมล สวรรค์ปัญญาเลิศ แนวทางการเฝ้าระวังควบคุมโรค การตรวจรักษา และส่งตัวอย่างตรวจทางห้องปฏิบัติการเพื่อการก�ำจัดโรคหัด ตามโครงการก�ำจัดโรคหัดตามพันธะสัญญานานาชาติ 7 หน้ า MEASLE Content 1-48.indd 7 7/30/2011 6:53:41 PM
  • 12. บทที่ 2 : ธรรมชาติการเกิดโรคและการรักษาพยาบาลผู้ป่วยโรคหัด แนวทางการเฝ้าระวังควบคุมโรค การตรวจรักษา และส่งตัวอย่างตรวจทางห้องปฏิบัติการเพื่อการก�ำจัดโรคหัด หน้ า 8 ตามโครงการก�ำจัดโรคหัดตามพันธะสัญญานานาชาติ MEASLE Content 1-48.indd 8 7/30/2011 6:53:41 PM
  • 13. บทที่ 2 : ธรรมชาติการเกิดโรคและการรักษาพยาบาลผู้ป่วยโรคหัด ธรรมชาติการเกิดโรคและการรักษาพยาบาลผู้ป่วยโรคหัด โรคหัดเป็นโรคไข้ออกผื่น (Exanthematous fever) ที่พบบ่อยในเด็ก สาเหตุ เกิดจากเชื้อไวรัส Measles ซึ่งอยู่ในตระกูล Paramyxovirus ซึ่งเป็น RNA ไวรัส ที่จะพบได้ในจมูก และล�ำคอของผู้ป่วย การติดต่อ โรคหัดติดต่อโดยการไอ จาม หรือพูดกันในระยะใกล้ชิด เชื้อไวรัสจะ กระจายอยู่ในละอองเสมหะ น�้ำมูก น�้ำลายของผู้ป่วย และเข้าสู่ร่างกายโดยทางการหายใจ บางครั้งเชื้ออยู่ในอากาศ เมื่อหายใจเอาละอองที่ปนเปื้อนเชื้อไวรัส (air borne) ท�ำให้เป็น โรคได้ ผู้ป่วยหัดจะมีเชื้อไวรัสในล�ำคอและแพร่เชื้อได้ในระยะจาก 1-2 วัน ก่อนที่จะเริ่ม มีอาการ (3 ถึง 5 วัน ก่อนผื่นขึ้น) ไปถึงระยะหลังผื่นขึ้นแล้ว 4 วัน ระยะฟักตัวของโรค จากที่เริ่มสัมผัสโรคจนถึงมีอาการประมาณ 8-12 วัน เฉลี่ย จากวันที่สัมผัสจนถึงมีผื่นเกิดขึ้นประมาณ 14 วัน อาการและอาการแสดง จะคล้ายคลึงกับอาการของหวัดธรรมดา คือ ไข้ (ก่อน) น�ำมูกไหล ้ มักจะไอแห้งๆ ตลอดเวลา ไม่มีทางทราบเลยว่าเด็กเป็นหัดแล้ว จนเมื่ออาการเพิ่มขึ้น มีไข้สูง ตาแดงก�่ำและแฉะ เวลาโดนแสงจะแสบตา ระคายตา ท�ำตาหยี ไอและมีน�้ำมูกมาก ปากและ จมูกแดง เด็กอาจจะมีไข้สูงประมาณ 3 – 4 วัน จึงเริ่มมีผื่นจากหลังหูลามไปยังหน้าและร่างกาย ลักษณะผื่นนูนแดง maculo-papular ติดกันเป็นปื้นๆ โดยจะขึ้นที่หน้าบริเวณชิดขอบผมแล้ว แผ่กระจายไปตามล�ำตัว แขน ขา เมื่อผื่นแพร่กระจายไปทั่วตัว ซึ่งกินเวลาประมาณ 2-3 วัน แนวทางการเฝ้าระวังควบคุมโรค การตรวจรักษา และส่งตัวอย่างตรวจทางห้องปฏิบัติการเพื่อการก�ำจัดโรคหัด ตามโครงการก�ำจัดโรคหัดตามพันธะสัญญานานาชาติ 9 หน้ า MEASLE Content 1-48.indd 9 7/30/2011 6:53:41 PM
  • 14. บทที่ 2 : ธรรมชาติการเกิดโรคและการรักษาพยาบาลผู้ป่วยโรคหัด ไข้ก็จะเริ่มลดลง ผื่นที่ระยะแรกมีสีแดงจะมีสีเข้มขึ้น เป็นสีแดงคล�้ำ หรือน�้ำตาลแดง ซึ่งคงอยู่ นาน 5-6 วัน กว่าจะจางหายไปหมด กินเวลาประมาณ 2 สัปดาห์ บางครั้งจะพบผิวหนังลอก เป็นขุย การตรวจในระยะ 1-2 วัน ก่อนผืนขึนจะพบจุดขาวๆ เล็กๆ มีขอบสีแดงๆ อยูในกระพุงแก้ม ่ ้ ่ ้ เรียกว่า Koplik’s spots ซึ่งจะช่วยให้วินิจฉัยโรคหัดได้ก่อนที่จะมีผื่นขึ้น เมื่อใดควรไปพบแพทย์ ถ้าผื่นออกแล้ว 3-4 วัน แต่ไข้ยังสูงอยู่ หรือว่าไข้ลงวันเดียวแล้วก็ขึ้นอีก ไอมากและ หอบ แสดงว่าผิดปกติ อาจมีปอดบวมหรือหลอดลมอักเสบแทรกก็ได้ ต้องรีบพาไปพบแพทย์ทันที โรคแทรกซ้อน พบได้บ่อย โดยเฉพาะเด็กที่มีภาวะขาดอาหารหรือภาวะทุพโภชนาการ (Malnutrition) อยู่ในชุมชนแออัด และในเด็กเล็ก โรคแทรกซ้อนที่พบบ่อย มีดังนี้ • ภาวะแทรกซ้อนทางระบบหายใจ อาจเกิดได้ตั้งแต่ คออักเสบ หลอดลมอักเสบ จนถึงปอดบวม • ภาวะแทรกซ้อนทางหู อาจเกิดหูชั้นกลางอักเสบ • ภาวะแทรกซ้อนทางตา จะมีเยื่อบุตาอักเสบ จนเป็นแผลที่แก้วตา corneal ulcer โดยเฉพาะเด็กที่ขาดวิตามิน เอ • ภาวะแทรกซ้อนทางเดินอาหาร มีการอักเสบของล�ำไส้ท�ำให้ถ่ายเหลว • ภาวะแทรกซ้อนทางระบบประสาทส่วนกลาง อาจพบสมองอักเสบ encephalitis ซึ่งเป็นภาวะที่รุนแรงที่สุด ผู้ป่วยจะมีไข้สูง ปวดศีรษะ และซึมลง การวินิจฉัยโรค 1. อาการทางคลินิก ลักษณะการเกิดผื่นในวันที่ 4 และการแพร่กระจายของผื่น จากหน้าไปยังแขนขา พบ Koplik’s spots แนวทางการเฝ้าระวังควบคุมโรค การตรวจรักษา และส่งตัวอย่างตรวจทางห้องปฏิบัติการเพื่อการก�ำจัดโรคหัด หน้ า 10 ตามโครงการก�ำจัดโรคหัดตามพันธะสัญญานานาชาติ MEASLE Content 1-48.indd 10 7/30/2011 6:53:41 PM
  • 15. บทที่ 2 : ธรรมชาติการเกิดโรคและการรักษาพยาบาลผู้ป่วยโรคหัด 2. การตรวจทางห้องปฏิบัติการ การตรวจหา IgM antibody ต่อ measles ด้วยวิธี ELISA ให้เจาะเลือดเพียงครั้งเดียว ในช่วง 4-30 วัน หลังผื่นขึ้น หรือตรวจแยกเชื้อไวรัสจาก throat swab หรือ nasal swab โดยเก็บในช่วง 1-5 วันหลังผื่นขึ้น แต่การแยกเชื้อท�ำได้ยาก ปัจจุบันแนะน�ำให้ท�ำเฉพาะในกรณีเกิดการระบาด การรักษา 1. ให้การรักษาตามอาการ ถ้าไข้สูงมากให้ยาลดไข้เป็นครั้งคราว ร่วมกับการเช็ดตัว ให้ยาแก้ไอที่เป็นยาขับเสมหะได้เป็นครั้งคราว 2. ไม่ จ� ำ เป็ น ต้ อ งให้ ย าปฏิ ชี ว นะ นอกจากรายที่ มี โ รคแทรกซ้ อ นเช่ น ปอดอั ก เสบ หูอักเสบ 3. ให้อาหารอ่อนที่มีคุณค่าทางอาหารครบถ้วนให้วิตามินเสริมโดยเฉพาะวิตามินเอ องคการอนามยโลกและ UNICEF แนะนำ�ใหวตามนเอแกเดกทเปนหดทกรายในพนททมอบตการณ์ ์ ั ้ิ ิ ่ ็ ี่ ็ ั ุ ื้ ี่ ี่ ี ุ ั ิ ของการขาดวิตามินเอสูง และอัตราป่วยตายของโรคหัดเกิน 1% เนื่องจากผลของการศึกษาใน ประเทศด้อยพัฒนาหลายแห่งแสดงให้เห็นว่า การให้วิตามินเอเสริมแก่เด็กที่เป็นหัดจะช่วยลด อัตราตายจากหัดลงได้ การแยกผู้ป่วย แยกผู้ป่วยที่สงสัยเป็นหัดจนถึง 4 วัน หลังผื่นขึ้น การป้องกัน วิธีที่ดีที่สุดคือให้วัคซีนป้องกันและหลีกเลี่ยงการสัมผัสกับผู้ป่วย ปัจจุบันกระทรวง สาธารณสุขให้วัคซีนป้องกันโรคหัด 2 ครั้ง ครั้งแรกเมื่อเด็กอายุ 9-12 เดือน โดยให้ในรูปของ วัคซีนรวมป้องกันโรคหัด คางทูม หัดเยอรมัน (MMR) และให้ซ�้ำอีกเป็นครั้งที่สอง เมื่อเด็ก เข้าเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 1 แนวทางการเฝ้าระวังควบคุมโรค การตรวจรักษา และส่งตัวอย่างตรวจทางห้องปฏิบัติการเพื่อการก�ำจัดโรคหัด ตามโครงการก�ำจัดโรคหัดตามพันธะสัญญานานาชาติ 11 หน้ า MEASLE Content 1-48.indd 11 7/30/2011 6:53:41 PM
  • 16. บทที่ 2 : ธรรมชาติการเกิดโรคและการรักษาพยาบาลผู้ป่วยโรคหัด สำ�หรับผู้ที่สัมผัสโรคภายในระยะ 72 ชั่วโมง อาจพิจารณาให้วัคซีน MMR ทันที ซึ่งจะป้องกันการเกิดโรคได้ ถ้าสัมผัสโรคเกิน 72 ชั่วโมง แต่ไม่เกิน 6 วัน อาจให้ Immunoglobulin (IG) เพื่อ ป้องกันหรือทำ�ให้ความรุนแรงของโรคลดลง โดยให้ IG ฉีดเข้ากล้ามเนื้อต้นแขน 0.25 มล./กก. ผู้ที่ควรพิจารณาให้ IG ได้แก่ เด็กเล็กอายุน้อยกว่า 1 ปี ผู้ที่มีภูมิคุ้มกันบกพร่อง หญิงมีครรภ์ และเด็กที่มีภาวะทุพโภชนาการ ซึ่งคนเหล่านั้นถ้าเป็นหัดแล้วจะมีภาวะแทรกซ้อนสูง แนวทางการเฝ้าระวังควบคุมโรค การตรวจรักษา และส่งตัวอย่างตรวจทางห้องปฏิบัติการเพื่อการก�ำจัดโรคหัด หน้ า 12 ตามโครงการก�ำจัดโรคหัดตามพันธะสัญญานานาชาติ MEASLE Content 1-48.indd 12 7/30/2011 6:53:41 PM
  • 17. บทที่ : 3 เเนวทางการเฝา้ ระวงสอบสวน ั ทางระบาดวทยา เเละการรายงานโรคหด ิ ั ดารินทร์ อารีโชคชัย และ สมเจตน์ ตั้งเจริญศิลป์ แนวทางการเฝ้าระวังควบคุมโรค การตรวจรักษา และส่งตัวอย่างตรวจทางห้องปฏิบัติการเพื่อการก�ำจัดโรคหัด ตามโครงการก�ำจัดโรคหัดตามพันธะสัญญานานาชาติ 13 หน้ า MEASLE Content 1-48.indd 13 7/30/2011 6:53:41 PM
  • 18. บทที่ 3 : แนวทางการเฝ้าระวังสอบสวนทางระบาดวิทยา และการรายงานโรคหัด แนวทางการเฝ้าระวังควบคุมโรค การตรวจรักษา และส่งตัวอย่างตรวจทางห้องปฏิบัติการเพื่อการก�ำจัดโรคหัด หน้ า 14 ตามโครงการก�ำจัดโรคหัดตามพันธะสัญญานานาชาติ MEASLE Content 1-48.indd 14 7/30/2011 6:53:41 PM
  • 19. บทที่ 3 : แนวทางการเฝ้าระวังสอบสวนทางระบาดวิทยา และการรายงานโรคหัด แนวทางการเฝาระวงสอบสวนทางระบาดวทยา และการรายงานโรคหด ้ ั ิ ั การเฝ้าระวังโรคเป็นมาตรการส�ำคัญในการติดตามแนวโน้มการเกิดโรค ชี้ให้เห็น กลุ่มประชากรที่เสี่ยงต่อการเกิดโรค และตรวจจับการระบาดที่เกิดขึ้นในแต่ละช่วงเวลาการ เฝ้าระวังที่ดีต้องมีความรวดเร็ว มีความครอบคลุมการรายงานที่ดีและมีความถูกต้อง ในปัจจุบัน การเฝ้าระวังโรคหัดในประเทศไทย เป็นการรายงานโดยอาศัยอาการทางคลินิกเป็นหลัก ดังนั้น ความถูกต้องในการวินิจฉัยโรคจึงยังไม่สูงนัก แต่เป็นรายงานที่มีความรวดเร็วและครอบคลุม เนื่องจากเป็นโรคที่ก�ำหนดให้แต่ละพื้นที่ต้องรายงานเร่งด่วนทุกสัปดาห์ เมื่อประเทศไทยตัดสินใจเริ่มด�ำเนินการก�ำจัดโรคหัด การปรับเปลี่ยนการเฝ้าระวังให้ มีความถูกต้องมากขึ้น พร้อมทั้งปรับเปลี่ยนระบบให้สามารถรายงานรายละเอียดของผู้ป่วย มากขึ้น โดยยังคงความครอบคลุมและรวดเร็วไว้ซึ่งเป็นความจ�ำเป็น เพื่อช่วยให้เจ้าหน้าที่ ทราบเป้าหมายกลุ่มเสี่ยงและเข้าด�ำเนินการป้องกันควบคุมโรคได้อย่างมีประสิทธิภาพ การ ปรับเปลี่ยนที่ส�ำคัญ ในการเฝ้าระวังโรคหัดในช่วงแรกของการด�ำเนินการก�ำจัดโรคหัดนี้ ได้แก่ การก�ำหนดให้ส่งยืนยันการวินิจฉัยทางห้องปฏิบัติการในผู้ป่วยทุกราย และการรายงานผู้ป่วย ผ่านระบบฐานข้อมูลก�ำจัดโรคหัด นอกจากการนี้ยังมีการปรับเปลี่ยนหลักเกณฑ์ในการสอบสวน ผู้ป่วยเฉพาะราย และการสอบสวนการระบาดด้วย การก� ำ จั ด โรคหั ด ต ้ อ งด� ำ เนิ น งานควบคู ่ ไ ปกั บ ระบบเฝ ้ า ระวั ง โรคที่ มี ป ระสิ ท ธิภ าพ เพื่อให้แน่ใจว่ามาตรการต่างๆ สามารถท�ำได้ตามตัวชี้วัดและเป้าหมายจริง จึงได้ก�ำหนดตัวชี้วัด การด�ำเนินการเฝ้าระวังโรคหัดไว้ด้วย ดังตารางที่ 2 แนวทางการเฝ้าระวังควบคุมโรค การตรวจรักษา และส่งตัวอย่างตรวจทางห้องปฏิบัติการเพื่อการก�ำจัดโรคหัด ตามโครงการก�ำจัดโรคหัดตามพันธะสัญญานานาชาติ 15 หน้ า MEASLE Content 1-48.indd 15 7/30/2011 6:53:41 PM
  • 20. บทที่ 3 : แนวทางการเฝ้าระวังสอบสวนทางระบาดวิทยา และการรายงานโรคหัด ตารางที่ 2 ตัวชี้วัดระบบเฝ้าระวังโรคหัดตามโครงการก�ำจัดโรคหัด ตัวชี้วัด การด�ำเนินงานเฝ้าระวัง 1. อัตราการรายงานผู้ป่วย 1.1 มีก ารรายงานผู้ป ่ว ยสงสัยโรคหัด ไม่น้อย กว่า 2 รายต่อประชากรแสนคนต่อปี ในระดับ ประเทศ 1.2 มีรายงานผู้ป่วยสงสัยโรคหัด ไม่น้อยกว่า 1 รายต่อประชากรแสนคนต่อปี จากทุกอ�ำเภอ ของประเทศ 2. การตรวจยืนยันทางห้องปฏิบัติการ มี ก ารเก็ บ ตั ว อย ่ า งซี รั่ ม เพื่ อ ส ่ ง ตรวจ measles IgM ไม ่ น ้ อ ยกว ่ า ร ้ อ ยละ 80 ของผู ้ ป ่ ว ยที่ รายงานเข้าสู่ระบบเฝ้าระวัง (ไม่นับผู้ป่วยสงสัย ในการสอบสวนเหตุ ก ารณ์ ก ารระบาด) และ ด�ำเนินการตรวจโดยห้องปฏิบัติการที่ได้รับการ รับรองจากองค์การอนามัยโลกและเครือข่าย 3. การตรวจวิเคราะห์สายพันธุ์ไวรัสโรคหัด มีการเก็บ สิ่งส่งตรวจเพื่อวิเคราะห ์ห าสายพันธุ์ ของไวรั ส โรคหั ด ไม ่ น ้ อ ยกว ่ า ร ้ อ ยละ 80 ของ เหตุการณ์การระบาด และด�ำเนินการตรวจโดย ห ้ อ งปฏิ บั ติ ก ารที่ ไ ด ้ รั บ การรั บ รองจากองค ์ ก าร อนามัยโลก 4. การสอบสวนโรค มีการสอบสวนโรคเฉพาะรายผู้ป่วยสงสัยโรคหัด ภายใน 48 ชั่วโมงหลังจากพบผู้ป่วย ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 ของผู้ป่วย แนวทางการเฝ้าระวังควบคุมโรค การตรวจรักษา และส่งตัวอย่างตรวจทางห้องปฏิบัติการเพื่อการก�ำจัดโรคหัด หน้ า 16 ตามโครงการก�ำจัดโรคหัดตามพันธะสัญญานานาชาติ MEASLE Content 1-48.indd 16 7/30/2011 6:53:42 PM
  • 21. บทที่ 3 : แนวทางการเฝ้าระวังสอบสวนทางระบาดวิทยา และการรายงานโรคหัด นิยามและประเภทผู้ป่วยส�ำหรับการเฝ้าระวังโรคหัดตามโครงการก�ำจัดโรค รหัส ICD-10-TM ที่เกี่ยวข้อง B05 Measles Includes: morbilli Excludes: subacute sclerosing panencephalitis B05.0+ Measles complicated by encephalitis Postmeasles encephalitis B05.1+ Measles complicated by meningitis Postmeasles meningitis B05.2+ Measles complicated by pneumonia Postmeasles pneumonia B05.3+ Measles complicated by otitis media Postmeasles otitis media B05.4 Measles with intestinal complications B05.8 Measles with other complications Measles keratitis and keratoconjunctivitis B05.9 Measles without complication Measles NOS (not otherwise specific) *** German measles /Rubella หรือหัดเยอรมัน (กลุ่ม ICD-10 B06) ไม่นับเป็นผู้ป่วยโรคหัด แนวทางการเฝ้าระวังควบคุมโรค การตรวจรักษา และส่งตัวอย่างตรวจทางห้องปฏิบัติการเพื่อการก�ำจัดโรคหัด ตามโครงการก�ำจัดโรคหัดตามพันธะสัญญานานาชาติ 17 หน้ า MEASLE Content 1-48.indd 17 7/30/2011 6:53:42 PM
  • 22. บทที่ 3 : แนวทางการเฝ้าระวังสอบสวนทางระบาดวิทยา และการรายงานโรคหัด นิยามผู้ป่วย 1. เกณฑ์ทางคลินิก (Clinical Criteria) มี ไ ข ้ > 38 ํ C และมี ผื่ น นู น แดงขึ้ น ขณะยั ง มี ไ ข ้ พ ร ้ อ มทั้ ง มี อ าการไอ (Cough) ร ่ ว มกั บ อาการอื่ น ๆ อี ก อย ่ า งน ้ อ ยหนึ่ ง อาการ ดั ง ต ่ อ ไปนี้ • มีน�้ำมูก (Coryza) • เยื่อบุตาแดง (Conjunctivitis) • ตรวจพบ Koplik’s spot 1-2 วันก่อนและหลังผื่นขึ้น 2. เกณฑ์ทางห้องปฏิบัติการ (Laboratory Criteria) (รายละเอียดช่วงเวลาที่ เหมาะสมและวิธีการเก็บสิ่งส่งตรวจในรูปที่ 1 หน้า 18) 2.1. Serology test : Measles IgM ให้ผลบวก 2.2. Viral isolation : เพาะเชื้ อ จากสารคั ด หลั่ ง ทางเดิ น หายใจ โดยการท� ำ Throat swab culture หรื อ Nasal swab culture ประเภทผู้ป่วย (Case Classification) 1. ผู ้ ป ่ ว ยสงสัย (Suspected case) หมายถึ งผู ้ ที่ มี อ าการตามเกณฑ์ ท างคลิ นิก หรือแพทย์วินิจฉัยโรคหัด 2. ผู้ป่วยเข้าข่าย (Probable case) หมายถึงผู้ที่มีอาการตามเกณฑ์ทางคลินิก ร่วมกับมีข้อมูลทางระบาดวิทยาเชื่อมโยงกับผู้ป่วยยืนยัน 3. ผู้ป่วยยืนยัน (Confirmed case) หมายถึงผู้ที่มีอาการตามเกณฑ์ทางคลินิก และมีผลบวกตามเกณฑ์ทางห้องปฏิบัติการอย่างใดอย่างหนึ่ง นิยามผู้สัมผัสใกล้ชิด ผู้สัมผัสใกล้ชิดผู้ป่วย หมายถึง - ผู้สัมผัสร่วมบ้าน - ผู้ร่วมงาน หรือ ร่วมห้องเรียน ที่ต้องอยู่ในห้องเดียวกันเป็นประจ�ำ แนวทางการเฝ้าระวังควบคุมโรค การตรวจรักษา และส่งตัวอย่างตรวจทางห้องปฏิบัติการเพื่อการก�ำจัดโรคหัด หน้ า 18 ตามโครงการก�ำจัดโรคหัดตามพันธะสัญญานานาชาติ MEASLE Content 1-48.indd 18 7/30/2011 6:53:42 PM
  • 23. บทที่ 3 : แนวทางการเฝ้าระวังสอบสวนทางระบาดวิทยา และการรายงานโรคหัด - ผู ้ ที่ มี ป ระวัติคลุกคลีใกล้ชิดกับผู้ป่วยในระยะ 7 วั น ก่ อ นวั นเริ่ ม ป่ ว ยของผู ้ ป ่ ว ย เช่น แฟน เพื่อนสนิท การรายงานผู ้ ป ่ ว ยเข้ า ระบบเฝ้ า ระวั ง ตามโครงการก� ำ จั ด โรคหั ด (Reporting criteria) ให้รายงานตั้งแต่ผู้ป่วยสงสัย พร้อมทั้งเก็บสิ่งส่งตรวจทางห้องปฏิบัติการในผู้ป่วย สงสัยทุกราย ชนิ ด และหลั ก เกณฑ์ ก ารสอบสวนโรค การสอบสวนโรคเฉพาะรายมีวัตถุประสงค์ เ พื่ อ หารายละเอี ย ดของผู ้ ป ่ ว ยรายนั้ นๆ และตรวจสอบความเป็นไปได้ที่จะมีการระบาดของโรคในชุมชน ส่วนการสอบสวนการระบาด มี วั ต ถุ ป ระสงค ์ เ พื่ อ ค ้ น หาผู ้ ป ่ ว ยเพิ่ ม เติ ม ในชุ ม ชน ท� ำ ให ้ ท ราบขนาดความรุ น แรง ลั ก ษณะ ทางระบาดวิทยาของเหตุการณ์ และแหล่งที่มาของโรคจากผู้ป่วยรายแรกในชุมชน ซึ่งการ สอบสวนโรคต้องด�ำเนินการด้วยความรวดเร็ว ควบคู่ไปกับการเก็บสิ่งส่งตรวจทางห้องปฏิบัติการ เพื่อให้สามารถด�ำเนินการควบคุมการระบาดอย่างมีประสิทธิภาพ ชนิดของการสอบสวน 1. สอบสวนเฉพาะราย (Individual case investigation) ให้สอบสวนผู้ป่วย สงสัยทุกรายที่เข้ารับการรักษาในโรงพยาบาลทั้งประเภทผู้ป่วยนอกและผู้ป่วยใน พร้อมทั้ง เก็บสิ่งส่งตรวจทางห้องปฏิบัติการในผู้ป่วยสงสัยทุกราย ได้แก่ Measles IgM 2. สอบสวนการระบาด (Outbreak Investigation) ในกรณทเกดโรคเปนกลมกอน ี ี่ ิ ็ ุ่ ้ ให้ รี บ ท� ำ การสอบสวนการระบาดทั น ที เพื่ อ ยื น ยั น เชื้ อ ก่ อ โรค และหาสาเหตุ ก ารระบาด ทั้งนี้อาจเก็บข้อมูลผู้ป่วยโดยใช้แบบสอบสวนโรคเฉพาะราย (ME1 form) หรือทะเบียนผู้ป่วย ในการสอบสวนเหตุ ก ารณ ์ ก ารระบาดของโรคหั ด (ME2 form) พร ้ อ มทั้ ง เก็ บ สิ่ ง ส ่ ง ตรวจ ทางห้องปฏิบัติการในผู้ป่วยสงสัย ได้แก่ Measles IgM ประมาณ 10 – 20 ตัวอย่าง ของจ�ำนวน แนวทางการเฝ้าระวังควบคุมโรค การตรวจรักษา และส่งตัวอย่างตรวจทางห้องปฏิบัติการเพื่อการก�ำจัดโรคหัด ตามโครงการก�ำจัดโรคหัดตามพันธะสัญญานานาชาติ 19 หน้ า MEASLE Content 1-48.indd 19 7/30/2011 6:53:42 PM
  • 24. บทที่ 3 : แนวทางการเฝ้าระวังสอบสวนทางระบาดวิทยา และการรายงานโรคหัด ผู้ป่วยสงสัยในเหตุการณ์การระบาดนั้นๆ และสุ่มตัวอย่าง Throat / Nasal swab จ�ำนวน ไม่เกิน 5 ตัวอย่าง เพื่อส่งตรวจ Genotype ของไวรัสโรคหัด ด้วยวิธี PCR (กรณีในเหตุการณ์ ระบาดมี ผู ้ ป ่ ว ยสงสั ย ที่ เ ป็ น ชาวต่ า งชาติ ให้ สุ ่ ม ตั ว อย่ า ง Throat/Nasal swab ด้วย เพื่อน�ำ มาวิเคราะห์ว่าการระบาดเกิดจากเชื้อภายในประเทศ หรือเป็นเชื้อน�ำเข้าจากต่างประเทศ) เกณฑ์ในการออกสอบสวนโรคในพื้นที่ 1. ได้รับแจ้งเหตุการณ์การระบาด ทราบว่ามีผู้ป่วยสงสัยโรคหัดเป็นกลุ่มก้อน 2. เมื่อสอบสวนผู้ป่วย Index case แล้วพบว่าผู้สัมผัสใกล้ชิดมีอาการป่วยสงสัย โรคหัดร่วมด้วย 3. ผู้ป่วย Index case มีผลการตรวจยืนยันทางห้องปฏิบัติการ Measles IgM ให้ผลบวก 4. ผู ้ ป ่ ว ย Index case มาจากพื้น ที่ที่ความครอบคลุ ม ของวั ค ซี น Measles หรื อ MMR ต�่ำ ในกรณีหนึ่งหรือทั้งสองกรณี ได้แก่ - Measles หรือ MMR เข็มที่ 1 ต�่ำกว่าร้อยละ 95 ในเด็กอายุ 1 - 2 ปี (นับจากวันเริ่มป่วย ของผู้ป่วย index case) ในระดับต�ำบล - MMR เข็ ม ที่ 2 ต�่ ำ กว่ า ร้ อ ยละ 95 ในเด็ ก นั ก เรี ย นชั้ น ประถมศึ ก ษา ปี ที่ 1 – 6 ในโรงเรียน แนวทางการเฝ้าระวังควบคุมโรค การตรวจรักษา และส่งตัวอย่างตรวจทางห้องปฏิบัติการเพื่อการก�ำจัดโรคหัด หน้ า 20 ตามโครงการก�ำจัดโรคหัดตามพันธะสัญญานานาชาติ MEASLE Content 1-48.indd 20 7/30/2011 6:53:42 PM
  • 25. บทที่ 3 : แนวทางการเฝ้าระวังสอบสวนทางระบาดวิทยา และการรายงานโรคหัด ขั้นตอนการรายงานผู้ป่วย 1. ผู้ป่วยมารับการรักษาที่โรงพยาบาล ผู้ป่วยนอก ผู้ป่วยใน เข้าได้ตามนิยามทางคลินิก / เข้าได้ตามนิยามทางคลินิก / แพทย์วินิจฉัยโรคหัด แพทย์วินิจฉัยโรคหัด แพทย์สั่งให้เก็บตัวอย่างส่งตรวจ ทางห้องปฏิบัติการทุกราย พยาบาลหน้าห้องตรวจแจ้ง พยาบาลประจ�ำหอผู้ป่วยแจ้งเจ้าหน้าที่ เจ้าหน้าที่ระบาดวิทยาของ ระบาดวิทยาของโรงพยาบาลทันที โดยไม่ต้อง โรงพยาบาลทันที รอการวินิจฉัยสุดท้าย เมื่อจ�ำหน่าย ผู้ป่วยออกจากโรงพยาบาล เจ้าหน้าที่ลงรหัส ICD10 แยก OPD card ผู้ป่วยโรคหัด รวบรวม ให้เจ้าหน้าที่ระบาด เจ้าหน้าที่ระบาดวิทยาด�ำเนินการ สอบสวนผู้ป่วยเฉพาะราย พยาบาล / เจ้าหน้าที่ Lab ด�ำเนินการ เก็บตัวอย่างส่งตรวจ (ดูแนวทางการเก็บ สิ่งส่งตรวจทางห้องปฏิบัติการ) เจ้าหน้าที่ระบาดวิทยาบันทึกข้อมูลผู้ป่วย รวมทั้งข้อมูล ตัวอย่างส่งตรวจลงในฐานข้อมูลก�ำจัดโรคหัดที่ www.boe.moph.go.th เจ้าหน้าที่ระบาดวิทยาของโรงพยาบาล แจ้ง งานระบาดวิทยา สสจ. พร้อมทั้งประสานการส่งตรวจทางห้องปฏิบัติการ งานระบาดวิทยา สสจ. แจ้ง สคร. พร้อมทั้งประสานการส่งตรวจทางห้องปฏิบัติการ ศูนย์วิทยาศาสตร์การแพทย์ / สถานบันวิจัยวิทยาศาสตร์สาธารณสุข ด�ำเนินการตรวจทางห้องปฏิบัติการ และบันทึกผลการตรวจลงในฐานข้อมูลก�ำจัดโรคหัด ที่ www.boe.moph.go.th แนวทางการเฝ้าระวังควบคุมโรค การตรวจรักษา และส่งตัวอย่างตรวจทางห้องปฏิบัติการเพื่อการก�ำจัดโรคหัด ตามโครงการก�ำจัดโรคหัดตามพันธะสัญญานานาชาติ 21 หน้ า MEASLE Content 1-48.indd 21 7/30/2011 6:53:42 PM
  • 26. บทที่ 3 : แนวทางการเฝ้าระวังสอบสวนทางระบาดวิทยา และการรายงานโรคหัด 2. เหตุการณ์การระบาดของโรคหัด เจ้าหน้าที่ระบาดวิทยาในพื้นที่เกิดโรคได้รับแจ้งเหตุการณ์ หรือ พบผู้ป่วย Index case เข้าเกณฑ์ในการออกสอบสวนโรคในพื้นที่ เจ้าหน้าที่ระบาดวิทยาในพื้นที่ตรวจสอบยืนยัน เหตุการณ์การระบาด ออกสอบสวนโรคโดย SRRT อ�ำเภอ / จังหวัด / เขต / ส�ำนักระบาดวิทยา ตามแต่กรณี เก็บตัวอย่างส่งตรวจ(ดูแนวทางการเก็บสิ่งส่งตรวจทางห้องปฏิบัติการ) ได้แก่ เก็บข้อมูลผู้ป่วยสงสัยในการระบาดโดยใช้แบบ ตัวอย่างเลือดส�ำหรับตรวจ measles IgM 10 – 20 ตัวอย่าง และ สอบสวนผู้ป่วยเฉพาะราย (ME 1 form) หรือ Throat/ Nasal swab ส�ำหรับตรวจ Genotype ไม่เกิน 5 ตัวอย่าง ทะเบียนผู้ป่วย (ME 2 form) ทีมสอบสวนโรค บันทึกข้อมูลผู้ป่วยลงในฐาน ข้อมูลก�ำจัดโรคหัดที่ www.boe.moph.go.th ทีมสอบสวนโรค แจ้งงานระบาดวิทยา สสจ. พร้อมทั้งประสานการส่งตรวจ ทางห้องปฏิบัติการ งานระบาดวิทยา สสจ. แจ้ง สคร. พร้อมทั้งประสานการส่งตรวจทางห้องปฏิบัติการ ศูนย์วิทยาศาสตร์การแพทย์ / สถานบันวิจัยวิทยาศาสตร์สาธารณสุข ด�ำเนินการตรวจทางห้องปฏิบัติการ และบันทึกผลการตรวจลงในฐานข้อมูลก�ำจัดโรคหัด ที่ www.boe.moph.go.th หมายเหตุ ข้อมูลผู้ป่วย ข้อมูลตัวอย่างส่งตรวจทางห้องปฏิบัติการ แนวทางการเฝ้าระวังควบคุมโรค การตรวจรักษา และส่งตัวอย่างตรวจทางห้องปฏิบัติการเพื่อการก�ำจัดโรคหัด หน้ า 22 ตามโครงการก�ำจัดโรคหัดตามพันธะสัญญานานาชาติ MEASLE Content 1-48.indd 22 7/30/2011 6:53:42 PM
  • 27. บทที่ 3 : แนวทางการเฝ้าระวังสอบสวนทางระบาดวิทยา และการรายงานโรคหัด ME 1 form แบบสอบสวนโรคเฉพาะรายผู้ป่วยโรคหัดตามโครงการก�ำจัดโรคหัด ID ______ (ก�ำหนดโดยอัตโนมัติจาก running number ของฐานข้อมูล) ข้อมูลทั่วไป 1. ชื่อ........................................ 2. นามสกุล......................................... 3. อายุ......ปี ......... เดือน (วัน/เดือน/ ปีเกิด ..../...../.....) 4. เพศ [ ] ชาย [ ] หญิง 5. เชื้อชาติ [ ] ไทย [ ] จีน/ฮ่องกง/ไต้หวัน [ ] พม่า [ ] มาเลเซีย [ ] กัมพูชา [ ] ลาว [ ] เวียดนาม [ ] อื่นๆ........... 6. อาชีพ ( ) เกษตร ( ) ข้าราชการ ( ) รับจ้าง, กรรมกร ( ) ค้าขาย ( ) งานบ้าน ( ) นักเรียน ( ) ทหาร, ต�ำรวจ ( ) ประมง ( ) ครู ( ) อื่น ๆ ( ) ไม่ทราบอาชีพ ( ) เลี้ยงสัตว์ ( ) นักบวช ( ) อาชีพพิเศษ ( ) บุคลากรสาธารณสุข ( ) ในปกครอง 7. ที่อยู่ขณะเริ่มป่วย .................................................................................................................... 8. สถานศึกษา / ที่ท�ำงาน ......................... ชั้น / ปี / แผนกงาน.................ห้อง / คณะ..................... ประวัติการเจ็บป่วย 9. วันเริ่มมีไข้ __/__/____ (dd/mm/yyyy) วันที่เริ่มมีผื่น __/__/____ (dd/mm/yyyy) 10. วันที่ท�ำการสอบสวน__/__/____ (dd/mm/yyyy) 11. วันที่รับการวินิจฉัยหัด __/__/____ (dd/mm/yyyy) โรงพยาบาล..................... จังหวัดของ รพ. ......................... 12. ชนิดของผู้ป่วย [ ] ผู้ป่วยนอก [ ] ผู้ป่วยใน [ ] ผู้ป่วยค้นหาได้ในชุมชน 13. ผลการรักษา [ ] หาย [ ] ตาย วันที่ตาย __/__/____ [ ] ยังรักษาอยู่ [ ] ไม่ทราบ 14. อาการ [ ] ไข้ [ ] ผื่น [ ] ไอ [ ] มีน�้ำมูก [ ] ตาแดง / เยื่อบุตาอักเสบ [ ] ถ่ายเหลว [ ] ปอดอักเสบ [ ] หูน�้ำหนวก [ ] อื่นๆ ระบุ.......................................... ปัจจัยเสี่ยงและปัจจัยป้องกัน 15. ประวัติการได้รับวัคซีนป้องกันโรคหัด หรือ หัด-หัดเยอรมัน-คางทูม [ ] เคย 1 ครั้ง [ ] เคย 2 ครั้ง [ ] เคยแต่ไม่ทราบจ�ำนวนครั้ง [ ] ไม่เคย [ ] ไม่ทราบ / ไม่แน่ใจ หากเคยได้รับ เข็มที่ 1 เมื่อวันที่ __/__/____ เข็มที่ 2 เมื่อวันที่ __/__/____ (dd/mm/yyyy) 16. [ ] มีประวัติเดินทางออกนอกประเทศในช่วง 2 สัปดาห์ก่อนวันเริ่มป่วย ระบุประเทศ...................... 17. [ ] มีประวัติสัมผัสผู้ป่วยโรคหัด / ไข้ออกผื่น ในช่วง 2 สัปดาห์ก่อนวันเริ่มป่วย ระบุชื่อ ...................................... เกี่ยวข้องเป็น ...........................ของผู้ป่วยรายนี้ ผู้สัมผัส 18. ร่วมบ้าน จ�ำนวน..................... คน มีอาการป่วยสงสัยโรคหัด .................. คน 19. ร่วมสถานศึกษา/ที่ท�ำงาน จ�ำนวน..................... คน มีอาการป่วยสงสัยโรคหัด .................. คน การเก็บสิ่งส่งตรวจทางห้องปฏิบัติการ 20. ตัวอย่างเลือด วันที่เก็บ __/__/____ วันที่ส่ง __/__/____ ผล………..................………………… 21. ตัวอย่าง Throat/ Nasal swab วันที่เก็บ __/__/____ วันที่ส่ง __/__/____ ผล………………...………………...….. 22. ชนิดผู้ป่วย [ ] สงสัย [ ] เข้าข่าย [ ] ยืนยัน แนวทางการเฝ้าระวังควบคุมโรค การตรวจรักษา และส่งตัวอย่างตรวจทางห้องปฏิบัติการเพื่อการก�ำจัดโรคหัด ตามโครงการก�ำจัดโรคหัดตามพันธะสัญญานานาชาติ 23 หน้ า MEASLE Content 1-48.indd 23 7/30/2011 6:53:42 PM
  • 28. ME 2 form ทะเบียนผู้ป่วยในการสอบสวนเหตุการณ์การระบาดของโรคหัด ................................................ หน้ า 24 ID ชื่อ – นามสกุล เพศ อายุ ที่อยู่ สถานที่เรียน / ชั้นเรียน / ห้อง วันเริ่มป่วย ประวัติวัคซีน วันที่เก็บ วันที่เก็บ ชนิดผู้ป่วย ผล Lab ประเภทผู้ MEASLE Content 1-48.indd 24 ท�ำงาน แผนกงาน M หรือ MMR เลือด throat/nasal ป่วย swab 1 ชาย dd/mm/yyyy 1 เคยหนึ่งเข็ม dd/mm/yyyy dd/mm/yyyy 1 OPD 1 สงสัย 2 หญิง 2 เคยสองเข็ม 2 IPD 2 เข้าข่าย 3 เคย แต่ไม่ทราบ 3 Active 3 ยืนยัน จ�ำนวนเข็ม case 4 ไม่เคย finding 5 ไม่ทราบ ตามโครงการก�ำจัดโรคหัดตามพันธะสัญญานานาชาติ บทที่ 3 : แนวทางการเฝ้าระวังสอบสวนทางระบาดวิทยา และการรายงานโรคหัด แนวทางการเฝ้าระวังควบคุมโรค การตรวจรักษา และส่งตัวอย่างตรวจทางห้องปฏิบัติการเพื่อการก�ำจัดโรคหัด 7/30/2011 6:53:42 PM
  • 29. บทที่ : 4 แนวทางการตรวจทางหองปฏบตการ ้ ิัิ เพอการวนจฉยโรคหด ื่ ิิ ั ั ศิริมา ปัทมดิลก แนวทางการเฝ้าระวังควบคุมโรค การตรวจรักษา และส่งตัวอย่างตรวจทางห้องปฏิบัติการเพื่อการก�ำจัดโรคหัด ตามโครงการก�ำจัดโรคหัดตามพันธะสัญญานานาชาติ 25 หน้ า MEASLE Content 1-48.indd 25 7/30/2011 6:53:42 PM
  • 30. บทที่ 4 : แนวทางการตรวจทางห้องปฏิบัติการเพื่อการวินิจฉัยโรคหัด แนวทางการเฝ้าระวังควบคุมโรค การตรวจรักษา และส่งตัวอย่างตรวจทางห้องปฏิบัติการเพื่อการก�ำจัดโรคหัด หน้ า 26 ตามโครงการก�ำจัดโรคหัดตามพันธะสัญญานานาชาติ MEASLE Content 1-48.indd 26 7/30/2011 6:53:42 PM
  • 31. บทที่ 4 : แนวทางการตรวจทางห้องปฏิบัติการเพื่อการวินิจฉัยโรคหัด แนวทางการตรวจทางห้องปฏิบัติการเพื่อการวินิจฉัยโรคหัด ความส� ำ คั ญ และบทบาทหน้ า ที่ ข องห้ อ งปฏิ บั ติ ก ารในการควบคุ ม และก� ำ จั ด โรคหัดของประเทศ กระทรวงสาธารณสุ ข ได ้ ป ระกาศนโยบายการก� ำ จั ด โรคหั ด ในประเทศไทย โดยมี เป้าหมายลดอุบัติการณ์การเกิดโรคหัดในประเทศลงเหลือไม่เกิน 1 รายต่อประชากรหนึ่งล้านคน ในป ี พ.ศ. 2563 การด� ำ เนิ น การจะสั ม ฤทธิ์ผ ลได ้ ต ้ อ งอาศั ย กลไกที่ เ กี่ ย วข ้ อ งคื อ ประเทศ ต้องมี 1) ความครอบคลุมของวัคซีนที่เพียงพอ 2) ระบบการเฝ้าระวังที่มีประสิทธิภาพและ 3) การตรวจจับการระบาดของโรคอย่างรวดเร็ว ซึ่งกลไกที่ 2 และโดยเฉพาะอย่างยิ่งกลไก ที่ 3 ต้องอาศัยผลการตรวจยืนยันทางห้องปฏิบัติการ ดังนั้นประเทศต้องมีห้องปฏิบัติการ ที่ มี ค วามสามารถและศั ก ยภาพเป ็ น ที่ ย อมรั บ ให ้ ผ ลการตรวจทางห ้ อ งปฏิ บั ติ ก ารที่ ถู ก ต ้ อ ง น่าเชื่อถือและรวดเร็ว ปัจจุบันประเทศไทยมีห้องปฏิบัติการที่มีศักยภาพเป็นที่ยอมรับขององค์การอนามัยโลก ตั้งอยู่ ณ สถาบันวิจัยวิทยาศาสตร์สาธารณสุข กรมวิทยาศาสตร์การแพทย์ โดยได้รับการ แต่งตั้งให้เป็นห้องปฏิบัติการอ้างอิงในการตรวจวินิจฉัยโรคหัดของภูมิภาคเอเชียตะวันออก เฉียงใต้ (Measles Regional Reference Laboratory in SEAR) มีหน้าที่รับตรวจยืนยัน ผลการตรวจของห้องปฏิบัติการเครือข่ายใน 11 ประเทศสมาชิก นอกจากนี้ห้องปฏิบัติการ อ้างอิงฯยังได้ด�ำเนินการตรวจวิเคราะห์สายพันธุ์หัดที่แพร่ระบาดในประเทศสมาชิก เปรียบ เที ย บกั บ สายพั น ธุ ์ อ ้ า งอิ ง ที่ อ งค์ ก ารอนามั ย โลกก� ำ หนดไว้ เพื่ อ หาสายพั น ธุ ์ ป ระจ� ำ ถิ่ น ของ แต่ละประเทศ ซึ่งข้อมูลดังกล่าวจะถูกใช้เป็นหนึ่งในตัวชี้วัดความส�ำเร็จของการด�ำเนินการ แนวทางการเฝ้าระวังควบคุมโรค การตรวจรักษา และส่งตัวอย่างตรวจทางห้องปฏิบัติการเพื่อการก�ำจัดโรคหัด ตามโครงการก�ำจัดโรคหัดตามพันธะสัญญานานาชาติ 27 หน้ า MEASLE Content 1-48.indd 27 7/30/2011 6:53:42 PM