SlideShare una empresa de Scribd logo
1 de 52
โรงเรียนยอแซฟวิทยา
อำาเภอท่าใหม่ จังหวัด
โครงการอนุรักษ์พันธุกรรมพืชอัน
เนื่องมาจากพระราชดำาริ
สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ
สยามบรมราชกุมารี
งานสวนพฤกษศาสตร์โรงเรียน
รายงานการศึกษาข้าวโพด
วัตถุประสงค์การศึกษา
• เพื่อศึกษาลักษณะทางพฤกษศาสตร์
ของข้าวโพดพันธุ์ Sweet corn
หรือข้าวโพดหวาน
• เพื่อศึกษาปัจจัยที่เกี่ยวข้องด้าน
กายภาพและชีวภาพในระบบนิเวศ
ของข้าวโพด
• เพื่อปลูกจิตสำานึกนักเรียนในการ
อนุรักษ์พันธุกรรมพืช
วัสดุอุปกรณ์
• ใบงานการศึกษา
• เครื่องวัด มาตราส่วน
• แอลกอฮอล์
• แผงอัด
• กล้องจุลทรรศน์
วิธีการดำาเนินการของนักเรียน
• ลงมือปฏิบัติในการศึกษา ค้นคว้า ตามแผน
ปฏิบัติงาน
• นักเรียนตรวจสอบ วิเคราะห์ผลการศึกษา
พรรณไม้
• ขั้นตอนการดำาเนินการของนักเรียน
• ช่วงชั้นที่ 1 ชั้นประถมศึกษาปีที่ 1 –3
• ครูนำาเสนอแนวทางการศึกษาพรรณไม้
• นักเรียนดำาเนินการศึกษาตามใบงานการ
วิเคราะห์ของครู
• สรุปและแลกเปลี่ยนความรู้ร่วมกันระหว่าง
ช่วงชั้นที่ 2 ชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 – 6
• ครูนำาเสนอแนวทางการศึกษาพรรณไม้
• นักเรียนตั้งแต่การตั้งจุดประสงค์การศึกษา
ค้นคว้า วัสดุอุปกรณ์ วิธีการดำาเนินงาน
การตรวจสอบและประเมินผล ตามแนวทาง
การดำาเนินการของนักเรียน
• ลงมือปฏิบัติในการศึกษา ค้นคว้า ตามแผน
ปฏิบัติงานของนักเรียน
• นักเรียนตรวจสอบ วิเคราะห์ผลการศึกษา
พรรณไม้
• สรุปและแลกเปลี่ยนความรู้ร่วมกัน ระหว่าง
ช่วงชั้นที่ 3 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1
• ครูนำาเสนอแนวทางการศึกษาพรรณไม้
• นักเรียนตั้งแต่การตั้งจุดประสงค์การศึกษา
ค้นคว้า วัสดุอุปกรณ์ วิธีการดำาเนินงาน
การตรวจสอบและประเมินผล ตามแนวทาง
การดำาเนินการของนักเรียน
• ลงมือปฏิบัติในการศึกษา ค้นคว้า ตามแผน
ปฏิบัติงานของนักเรียน
• นักเรียนตรวจสอบ วิเคราะห์ผลการศึกษา
พรรณไม้
• สรุปและแลกเปลี่ยนความรู้ร่วมกัน ระหว่าง
วิธีการดำาเนินงานของ
นักเรียน
• รวมกลุ่มกำาหนดปัญหาหรือจุดประสงค์ที่
ต้องการศึกษา
• กำาหนดวัสดุอุปกรณ์
• ลงไปศึกษาและหาคำาตอบเกี่ยวกับปัญหาที่ไว้
• สรุปความรู้และรายงานแลกเปลี่ยน หน้าชั้น
เรียน
• 1.1 ชื่อพื้นเมือง
• ข้าวโพด โพด ข้าวสาลี (สะอาด บุญ
เกิดและคณะ,2540 )
• ข้าวแข่ เง็กบี้ เง็กจกซู่ (วุฒิ วุฒิธรรม
เวช,2540)
• บือเคสะ โพด (เต็ม สมิตินันท์,2544)
• ชื่อวิทยาศาสตร์
• Zea mays L.cv.Saccharata
• ชื่อวงศ์
• GRAMINEAE
• ชื่อสามัญ
รา
ก
• เป็นระบบรากฝอย (fibrous root
system) รากงอกออกมาก่อนส่วนอื่นๆ
จากจุดกำาเนิดเมล็ด เรียกว่า คัพภะ
(embryo) ประกอบด้วยรากที่พัฒนามา
จากส่วนแรดิเคิล (radicle) เรียกว่า ราก
ปฐมภูมิ และรากที่แตกแขนงออกมา เรียกว่า
รากทุติยภูมิ รากที่เกิดจากปุ่มของรากปฐมภูมิ
เรียกว่า รากตติยภูมิ และ รากที่เกิดจากข้อ
เหนือดิน เรียกว่า รากอากาศ หรือ รากคำ้า
ยัน ( aerial root )
รากมีความยาวประมาณ 13-14
ซม. กว้างประมาณ 0.1 ซม.
ลักษณะภายในที่พบเมื่อนำามาส่อง
ดูกับกล้องจุลทรรศน์ มีท่อ
ลำาเลียงนำ้าและท่อลำาเลียงอาหาร
ซึ่งท่อลำาเลียงอาหารจะอยู่
ภายนอกและท่อลำาเลียงนำ้าจะอยู่
ภายใน ท่อลำาเลียงอาหารและนำ้ามี
ลักษณะเป็นวงกลม ลักษณะเซลล์
ภายในของราก
ลำาต้นเจริญเติบโตมาจากราก
ประกอบด้วยข้อ และ ปล้องข้อ
ประกอบด้วย วงเจริญ ปุ่มกำาเนิด
ราก ตา
และ รอยกาบใบ
ส่วนประกอบภายในของลำาต้น
ท่อลำาเลียงนำ้า
จะลำาเลียงนำ้าจากด้านล่างขึ้นสู่
ด้านบน
ลักษณะเซลล์
ภายในลำาต้น
10-12 ข้อปล้อง ภายในลำาต้นจะ
มีไส้แน่น ไม่กลวง
ต้นอ่อนสีเขียวอ่อน ต้นแก่สีเขียว
เข้ม ถ้าแก่เต็มที่จะมีสีนำ้าตาล
ลำาต้นของข้าวโพดมีกลิ่นเหม็น
เขียวมีรสจืดออกฝาด ไม่มียาง
ลำาต้นตั้งตรง มีรูปทรงเป็นทรง
กระบอก
ใบของต้นข้าวโพด
มีลักษณะเรียวยาวปลายใบ
เรียวแหลม โคนใบมีลักษณะ
คล้ายรูปหัวใจ เส้นใบเรียงขนาน
เห็นได้ชัดเจน
ใบอ่อนสีเขียวอ่อน ใบแก่สีเขียว
เข้มปนเหลืองอ่อน ใบมีรสจืด มี
กลิ่นเหม็นเขียว
ใบยาวประมาณ 87.9 ซม. กว้าง
ประมาณ 7.7 ซม.
แล้วแต่อายุของใบ
เส้น
กึ่งกลาง
ใบ
แผ่น
ใบ
ในใบมีท่อลำาเลียงนำ้าและอาหาร ค
รอโรพลาสต์ ภายในมีรงควัตถุ
เรียกว่า ครอโรฟีลล์
เขี้ย
วใบ
เยื่อกั้นนำ้า ,
ลิ้นใบ
กาบ
ใบ
ใบ มีลักษณะยาวรี มีจำานวนใบ
ตั้งแต่ 2-20 ใบ ตามอายุของ
ข้าวโพด ความกว้างประมาณ 10
ซม. ยาวประมาณ 80 ซม.
ช่อดอกตัวผู้และตัวเมีย
ดอกตัวผู้ คล้ายเมล็ดข้าวเปลือก จะ
รวมกันอยู่เป็นช่อ
มีประมาณ 10 ช่อ อยู่บริเวณปลาย
ยอดสุดของลำาต้น
ช่อดอกตัวผู้ยาวประมาณ 25.4 ซม.
แล้วแต่อายุ
เกสรตัวเมีย เรียกว่า ไหม หรือเส้น
ไหม ไหมจะเหนียวเพื่อจับละอองเกสร
ตัวผู้ ดอกตัวเมียเจริญมาจากวงเจริญ
มีความยาวประมาณ 17.1 ซม. แล้ว
แต่อายุของเส้นไหม
เมื่อดอกได้รับการผสมก็จะเจริญ
เติบโตเป็นเมล็ด
ในต้นหนึ่งออกฝักประมาณ 2-5 ฝัก
และมีเมล็ด
ประมาณ 230 เมล็ด
ฝั
ก
เมล็ด
ผลมีลักษณะยาวรี กลางผลเป็น
ทรงกระบอก มีเมล็ดสีเหลือง เรียง
เป็นแถว มีรสหวานและกลิ่นหอม
เมื่อสุก มีกาบหุ้มเป็นชั้นๆ
ลักษณะพิเศษ
เมล็ดจะเรียงกันเป็นแถว
สวยงาม
สรรพสิ่งพันเกี่ยวข้องต้น
ข้าวโพด ได้แก่
มดเข้ามากินเมล็ดข้าวโพด
แมงมุมมาคอยจับสัตว์ที่มากิน
ข้าวโพดกินเป็นอาหาร ผีเสื้อ
และผึ้งจะคอยหานำ้าหวานจาก
เกสรตัวผู้และเกสรตัวเมีย
หญ้าที่พบบริเวณแปลง
ข้าวโพด
หญ้ากาบหอย ( ตัวเมีย)
ชื่อวิทยาศาสตร์ Lindernia Crustacea (L.)
F.Muell
ชื่อวงศ์ SCROPHULARIACEAE
ชื่อสามัญ -
ลักษณะ ลำาต้นเลื้อยทอดไปกับพื้นดิน ใบออกตรงกันข้าม
ขอบใบหยักปลายใบมน ใบยาว 0.5 –1.2 เซนติเมตร
กว้าง 0.5-1.0 เซนติเมตร ใบสีเขียวเข้ม เส้นใบเห็นได้
ชัดเจน ออกดอกที่ปลายยอด กลีบดอกมีสีม่วงอ่อน สลับขาว
บริเวณข้อพบรากสีขาว เจริญเติบโตงอกตามผิวดิน
หงอนไก่ไทย
ชื่อวิทยาศาสตร์ Celosia argentea L.
ชื่อวงศ์ AMARANTHACEAE
ชื่อสามัญ -
ลักษณะ ลำาต้นเหนือดิน เป็นไม้พุ่มขนาดเล็ก มีอายุ
ประมาณฤดูเดียว ใบรูปยาวเรียวปลายใบแหลม เส้นใบ
เป็นรูปร่างแห ความสูงของต้นประมาณ 45- 65
เซนติเมตร ดอกออกที่ปลายยอด ลำาต้นมีสีชมพูอมแดง
เมล็ดมีขนาดเล็กสีดำามัน มีลักษณะแข็ง
ผักเสี้ยนผี
• ชื่อวิทยาศาสตร์ Cleome
viscosa L.
• ชื่อวงศ์ CAPPARACEAE
• ชื่อสามัญ -
• ลักษณะ ลำาต้นตั้งตรง ปลายใบแหลม ขอบ
ใบแหลม ขอบใบเรียบ ก้านใบยาว 7
เซนติเมตร ลักษณะใบด้านบนมีขน มองได้
ชัดเจน ดอกมีสีเหลืองออกที่ปลายยอด และ
ซอกใบฝักยาว 4 เซนติเมตร กว้าง 0.3
เซนติเมตร ภายในฝักมีเมล็ดเรียงกันอยู่เป็น
จำานวนมาก ฝักสดมีสีเขียว ฝักแก่แตกตรง
กกดอกขาว
• ชื่อวิทยาศาสตร์ Cypreus brenifolius
( rottb) Hassk.
• ชื่อวงศ์ CYPERACEAE
• ชื่อสามัญ Green kyllirga
• ลักษณะ ลำาต้นอยู่ใต้ดินมีใบห่อหุ้มลำาต้น หรือ
มีกาบใบสีนำ้าตาล อมแดง ใบรูปร่างเรียวยาว
5-15 เซนติเมตร กว้าง 0.5 – 1.0
เซนติเมตร ขอบใบเรียบ ปลายใบแหลม ใบสี
เขียวเข้ม ดอกออกที่ยอด ก้านชูดอก 5-10
เซนติเมตร
ระยะการเจริญ
เติบโต• เริ่มปลูก 3 วัน - ออกราก
• 4 วัน หน่อเริ่มโผล่เหนือดิน
• 6 วัน ใบปฐมภูมิเริ่มผลิ ประมาณ 1
เซนติเมตร
• 36 วัน ใบมีจำานวน 32 ใบ
• 38 วัน เริ่มมีรากอากาศ(รากคำ้ายัน) เกิด
บริเวณข้อที่ 1 หรือ 2
• 39 วัน ช่อดอกตัวผู้ออกบริเวณปลายยอด
• 47 วัน ช่อดอกตัวผู้เริ่มผลิเต็มที่
• 44 วัน ช่อดอกตัวเมียออกบริเวณข้อปล้องที่
• 58 วัน ช่อดอกตัวผู้เริ่มโรย
• 64 วัน ไหมข้าวโพดเริ่มมีสีนำ้าตาลอมแดง
• 73 วัน ดอกตัวผู้เริ่มแห้ง
• 76 วัน เก็บฝัง
• หลังจาก 76 วัน
• ใบข้าวโพดเริ่มแห้งมีสีนำ้าตาล ลำาต้นเริ่ม
เปลี่ยนสี
ใช้เป็นสมุนไพร
• ราก ขับปัสสาวะ , แก้นิ่ว และอาเจียน
เป็นเลือด
• ต้น และใบ ใบสด และใบแห้ง นำามาต้มรับ
ประทานเป็นยารักษานิ่ว
• ยอด และเกสรตัวเมีย(ไหมข้าวโพด)
ช่วยขับปัสสาวะ บำารุงตับ ขับนำ้าดี ดีซ่าน แก้
ไตอักเสบความดันโลหิตสูง นิ่วในถุงนำ้าดี
เบาหวาน โพรงจมูกอักเสบ เลือดกำาเดาออก
ง่าย
• ซัง บำารุงม้าม ขับปัสสาวะ แก้บวมนำ้า
บิด ท้องร่วง
คณะผู้
จัดทำา
• นางสาววิไล ภานุพันธ์ ผู้จัดการและครูใหญ่
• นางสาวสุนทรี ดิษฐี ผู้ช่วยครูใหญ่ฝ่าย
บริหารงานทั่วไป
• นายฉัตรชัย กันดิษฐ์
• นางสาวภันทิลา ภันตะเพา
• นายสราวุธ อนามพงษ์
• ด.ญ.วรพรรณ พยับแสง
• ด.ญ.วรกานต์ ใจแกล้ว
• คณะครูและนักเรียนโรงเรียนยอแซฟวิทยา
โรงเรียนยอแซฟวิทยา
อำาเภอท่าใหม่

Más contenido relacionado

La actualidad más candente

01 เมล็ดพืชและการเจริญเติบโต
01 เมล็ดพืชและการเจริญเติบโต01 เมล็ดพืชและการเจริญเติบโต
01 เมล็ดพืชและการเจริญเติบโตนราพร ผิวขำ
 
ติวสอบเตรียมสืบพันธุ์เจริญเติบโต
ติวสอบเตรียมสืบพันธุ์เจริญเติบโตติวสอบเตรียมสืบพันธุ์เจริญเติบโต
ติวสอบเตรียมสืบพันธุ์เจริญเติบโตWichai Likitponrak
 
บท3การเจริญดอก
บท3การเจริญดอกบท3การเจริญดอก
บท3การเจริญดอกWichai Likitponrak
 
เตชินท์ประเทศอัฟกานิสถาน
เตชินท์ประเทศอัฟกานิสถานเตชินท์ประเทศอัฟกานิสถาน
เตชินท์ประเทศอัฟกานิสถานSRINAKARIN MOTHER PRINCESS SCHOOL
 
การถ่ายละอองเรณู (T)
การถ่ายละอองเรณู (T)การถ่ายละอองเรณู (T)
การถ่ายละอองเรณู (T)Thitaree Samphao
 
การศึกษาโครงสร้างดอกอัญชัน บานเย็น เทียนหยด ม.5 ห้อง 656 กลุ่มที่ 8 โรงเรียนเ...
การศึกษาโครงสร้างดอกอัญชัน บานเย็น เทียนหยด ม.5 ห้อง 656 กลุ่มที่ 8 โรงเรียนเ...การศึกษาโครงสร้างดอกอัญชัน บานเย็น เทียนหยด ม.5 ห้อง 656 กลุ่มที่ 8 โรงเรียนเ...
การศึกษาโครงสร้างดอกอัญชัน บานเย็น เทียนหยด ม.5 ห้อง 656 กลุ่มที่ 8 โรงเรียนเ...dijchanokbunyaratave
 
บทที่3การสืบพันธุ์เจริญเติบโตพืชดอก
บทที่3การสืบพันธุ์เจริญเติบโตพืชดอกบทที่3การสืบพันธุ์เจริญเติบโตพืชดอก
บทที่3การสืบพันธุ์เจริญเติบโตพืชดอกWichai Likitponrak
 
งานกลางภาค นางสาวอภิชญา บุญโกมุด
งานกลางภาค นางสาวอภิชญา บุญโกมุดงานกลางภาค นางสาวอภิชญา บุญโกมุด
งานกลางภาค นางสาวอภิชญา บุญโกมุดSRINAKARIN MOTHER PRINCESS SCHOOL
 
10.โครงสรา้งและหน้าที่ของราก ลำต้น ใบ ตอน1
10.โครงสรา้งและหน้าที่ของราก ลำต้น ใบ ตอน110.โครงสรา้งและหน้าที่ของราก ลำต้น ใบ ตอน1
10.โครงสรา้งและหน้าที่ของราก ลำต้น ใบ ตอน1Wichai Likitponrak
 
Stem structure and function
Stem structure and functionStem structure and function
Stem structure and functionsukanya petin
 
plantmakatae
plantmakataeplantmakatae
plantmakataesomjaio
 
surinpittayakom
surinpittayakomsurinpittayakom
surinpittayakomtulaluk
 
พืชรอบตัวเรา
พืชรอบตัวเราพืชรอบตัวเรา
พืชรอบตัวเราsujitrapa
 
พืชรอบตัวเรา
พืชรอบตัวเราพืชรอบตัวเรา
พืชรอบตัวเราsujitrapa
 
การสืบพันธุ์ของพืชดอก (T)
การสืบพันธุ์ของพืชดอก (T)การสืบพันธุ์ของพืชดอก (T)
การสืบพันธุ์ของพืชดอก (T)Thitaree Samphao
 

La actualidad más candente (20)

01 เมล็ดพืชและการเจริญเติบโต
01 เมล็ดพืชและการเจริญเติบโต01 เมล็ดพืชและการเจริญเติบโต
01 เมล็ดพืชและการเจริญเติบโต
 
สมุดเล่มเล็ก
สมุดเล่มเล็กสมุดเล่มเล็ก
สมุดเล่มเล็ก
 
ติวสอบเตรียมสืบพันธุ์เจริญเติบโต
ติวสอบเตรียมสืบพันธุ์เจริญเติบโตติวสอบเตรียมสืบพันธุ์เจริญเติบโต
ติวสอบเตรียมสืบพันธุ์เจริญเติบโต
 
บท3การเจริญดอก
บท3การเจริญดอกบท3การเจริญดอก
บท3การเจริญดอก
 
เตชินท์ประเทศอัฟกานิสถาน
เตชินท์ประเทศอัฟกานิสถานเตชินท์ประเทศอัฟกานิสถาน
เตชินท์ประเทศอัฟกานิสถาน
 
การถ่ายละอองเรณู (T)
การถ่ายละอองเรณู (T)การถ่ายละอองเรณู (T)
การถ่ายละอองเรณู (T)
 
การศึกษาโครงสร้างดอกอัญชัน บานเย็น เทียนหยด ม.5 ห้อง 656 กลุ่มที่ 8 โรงเรียนเ...
การศึกษาโครงสร้างดอกอัญชัน บานเย็น เทียนหยด ม.5 ห้อง 656 กลุ่มที่ 8 โรงเรียนเ...การศึกษาโครงสร้างดอกอัญชัน บานเย็น เทียนหยด ม.5 ห้อง 656 กลุ่มที่ 8 โรงเรียนเ...
การศึกษาโครงสร้างดอกอัญชัน บานเย็น เทียนหยด ม.5 ห้อง 656 กลุ่มที่ 8 โรงเรียนเ...
 
บทที่3การสืบพันธุ์เจริญเติบโตพืชดอก
บทที่3การสืบพันธุ์เจริญเติบโตพืชดอกบทที่3การสืบพันธุ์เจริญเติบโตพืชดอก
บทที่3การสืบพันธุ์เจริญเติบโตพืชดอก
 
งานกลางภาค นางสาวอภิชญา บุญโกมุด
งานกลางภาค นางสาวอภิชญา บุญโกมุดงานกลางภาค นางสาวอภิชญา บุญโกมุด
งานกลางภาค นางสาวอภิชญา บุญโกมุด
 
Antidesma sp.
Antidesma  sp.Antidesma  sp.
Antidesma sp.
 
New species
New speciesNew species
New species
 
Is1
Is1Is1
Is1
 
10.โครงสรา้งและหน้าที่ของราก ลำต้น ใบ ตอน1
10.โครงสรา้งและหน้าที่ของราก ลำต้น ใบ ตอน110.โครงสรา้งและหน้าที่ของราก ลำต้น ใบ ตอน1
10.โครงสรา้งและหน้าที่ของราก ลำต้น ใบ ตอน1
 
Stem structure and function
Stem structure and functionStem structure and function
Stem structure and function
 
plantmakatae
plantmakataeplantmakatae
plantmakatae
 
surinpittayakom
surinpittayakomsurinpittayakom
surinpittayakom
 
Plant ser 77_60_9
Plant ser 77_60_9Plant ser 77_60_9
Plant ser 77_60_9
 
พืชรอบตัวเรา
พืชรอบตัวเราพืชรอบตัวเรา
พืชรอบตัวเรา
 
พืชรอบตัวเรา
พืชรอบตัวเราพืชรอบตัวเรา
พืชรอบตัวเรา
 
การสืบพันธุ์ของพืชดอก (T)
การสืบพันธุ์ของพืชดอก (T)การสืบพันธุ์ของพืชดอก (T)
การสืบพันธุ์ของพืชดอก (T)
 

Similar a Sweet

Similar a Sweet (20)

Plant ser 77_60_2
Plant ser 77_60_2Plant ser 77_60_2
Plant ser 77_60_2
 
Plant ser 125_60_6
Plant ser 125_60_6Plant ser 125_60_6
Plant ser 125_60_6
 
20080901 Saka Patai
20080901 Saka Patai20080901 Saka Patai
20080901 Saka Patai
 
Herbarium g2 332
Herbarium g2 332Herbarium g2 332
Herbarium g2 332
 
โครงงาน54เห็ด
โครงงาน54เห็ดโครงงาน54เห็ด
โครงงาน54เห็ด
 
ผักบุ้งทะเล
ผักบุ้งทะเลผักบุ้งทะเล
ผักบุ้งทะเล
 
Plant ser 125_60_10
Plant ser 125_60_10Plant ser 125_60_10
Plant ser 125_60_10
 
ต้นเข็ม Ixora กลุ่ม 5 ห้อง334
ต้นเข็ม Ixora กลุ่ม 5 ห้อง334 ต้นเข็ม Ixora กลุ่ม 5 ห้อง334
ต้นเข็ม Ixora กลุ่ม 5 ห้อง334
 
Practice
PracticePractice
Practice
 
Practice
PracticePractice
Practice
 
Plant ser 126_60_9
Plant ser 126_60_9Plant ser 126_60_9
Plant ser 126_60_9
 
Rose, Bougainvillea and Ruellia tuberosa Flower Structure Observation by M.5 ...
Rose, Bougainvillea and Ruellia tuberosa Flower Structure Observation by M.5 ...Rose, Bougainvillea and Ruellia tuberosa Flower Structure Observation by M.5 ...
Rose, Bougainvillea and Ruellia tuberosa Flower Structure Observation by M.5 ...
 
พันธ์ุบุกในประเทศไทย
พันธ์ุบุกในประเทศไทยพันธ์ุบุกในประเทศไทย
พันธ์ุบุกในประเทศไทย
 
Plant ser 125_60_8
Plant ser 125_60_8Plant ser 125_60_8
Plant ser 125_60_8
 
Plant ser 144_60_7
Plant ser 144_60_7Plant ser 144_60_7
Plant ser 144_60_7
 
Biomapcontest2014 xoxo
Biomapcontest2014 xoxoBiomapcontest2014 xoxo
Biomapcontest2014 xoxo
 
Plant ser 125_60_5
Plant ser 125_60_5Plant ser 125_60_5
Plant ser 125_60_5
 
20080801 Carena Pmd
20080801 Carena Pmd20080801 Carena Pmd
20080801 Carena Pmd
 
Plant ser 126_60_7
Plant ser 126_60_7Plant ser 126_60_7
Plant ser 126_60_7
 
931 pre12
931 pre12931 pre12
931 pre12
 

Sweet