SlideShare una empresa de Scribd logo
1 de 29
Descargar para leer sin conexión
เปรียบเทียบความสัมพันธ์ระหว่างพุทธปรัชญา
และคาสอนของลัทธิครูทั้ง ๖ ในสมัยพุทธกาล
จัดทาโดย
นางสาวอัญชลี จตุรานน
นาเสนอ อาจารย์ ผศ. ดร.พูนชัย ปันธิยะ
รายวิชา พุทธปรัชญาเถรวาท
ตามหลักสูตรปริญญาพุทธศาสตรมหาบัณฑิต
มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย วิทยาเขตเชียงใหม่
ภาคเรียนที่ ๑ ปีการศึกษา ๒๕๕๕
และเพื่อถวายเป็นพุทธบูชา ธรรมบูชา สังฆบูชา
ลัทธิครูทั้ง ๖ ในอินเดียสมัยพุทธกาล
ที่มาเรื่องราวของลัทธิครูทั้ง ๖
เมื่อพระเจ้าอชาตศัตรูได้ครองราชย์สืบต่อจากพระเจ้าพิมพิสารผู้ราชบิดา อยู่มาวัน
หนึ่งพระองค์ทรงมีความประสงค์จะสนทนากับสมณพราหมณ์ ในปัญหาเรื่องการ
บวชมีผลเป็นที่ประจักษ์อย่างไร ได้เสด็จถามปัญหาดังกล่าวกับครูทั้ง ๖ ซึ่งเป็น
นักปราชญ์เจ้าลัทธิในขณะนั้น แต่ได้รับคาตอบไม่เป็นที่พอพระทัย เพราะเป็นการ
ถามปัญหาอย่างหนึ่งและตอบเสียอีกอย่างหนึ่ง จนท่านหมอชีวกโกมารภัจจ์
แนะนาให้ท่านไปเข้าเฝ้ าพระพุทธเจ้า ท่าจึงทรงนาคาตอบในลัทธิของครูทั้ง ๖ มา
ตรัสเล่าถวายพระพุทธเจ้า
ทีฆนิกาย, สีลขันธวรรค, สามัญญผลสูตร (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๙)
ลัทธิครูทั้ง ๖ ในอินเดียสมัยพุทธกาล
คาถามของพระเจ้าอชาตศัตรูต่อครูทั้ง ๖ - ถามถึงผลที่เห็นได้จากการบวช
“ข้าแต่พระองค์ผู้เจริญ ศิลปะศาสตร์เป็นอันมากเหล่านี้คือ พลช้าง พลม้า พลรถ พลธนู
พนักงานเชิญธง พนักงานจัดกระบวนทัพ พนักงานจัดส่งเสบียง พวกอุคคราชบุตร พลอาสา
ขุนพล พลกล้า พลสวมเกราะหนัง พวกบุตรทาส ช่างทาขนม ช่างกัลบก พนักงาน เครื่องสรง
พวกพ่อครัว ช่างดอกไม้ ช่างย้อม ช่างหูก ช่างจักสาน ช่างหม้อ นักคานวณ พวกนับคะแนน
(นักการบัญชี) หรือศิลปศาสตร์เป็นอันมาก แม้อย่างอื่นใดที่มีคติเหมือนอย่างนี้
คนเหล่านั้นย่อมอาศัยผลแห่งศิลปศาสตร์ที่เห็นประจักษ์เลี้ยงชีพในปัจจุบัน ด้วยผลแห่งศิลป
ศาสตร์นั้น เขาย่อมบารุงตน มารดาบิดา บุตรภริยา มิตรอามาตย์ให้เป็นสุขอิ่มหนาสาราญ
บาเพ็ญทักษิณาทานอันมีผลอย่างสูง เป็นไปเพื่อให้ได้อารมณ์ดี มีสุขเป็นผล ให้เกิดในสวรรค์
ในสมณพราหมณ์ทั้งหลาย ฉันใด ข้าแต่พระองค์ผู้เจริญ พระองค์อาจบัญญัติสามัญผลที่เห็น
ประจักษ์ในปัจจุบัน เหมือนอย่างนั้นได้บ้างหรือไม่?”
ทีฆนิกาย, สีลขันธวรรค, สามัญญผลสูตร (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๙)
สรุปคาตอบของครูทั้ง ๖ ต่อคาถามของ
พระเจ้าอชาตศัตรู
ปูรณกัสสปะ มักขลิโคศาล
อชิตเกสกัมพลนิครนถนาฏบุตร สัญชัยเวลัฏฐบุตร
ปกุธกัจจายนะ
เมื่อบุคคลทาบุญหรือทาบาปเอง หรือใช้
ผู้อื่นให้ทาบุญหรือทาบาป ก็ไม่มีผลของ
การทาบุญหรือทาบาปนั้นแก่เขา
สภาวะ ๗ กอง คือ กองดิน กองน้า กองไฟ
กองลม สุข ทุกข์ ชีวะ นี้ไม่มีใครทาหรือ
เนรมิต มีอยู่ยั่งยืนไม่แปรปรวน ไม่มี
ผู้กระทาการใด ๆ ต่อกัน แม้การเอามีดตัด
ศีรษะกันก็ไม่มีผู้ใดฆ่าใคร เป็นแต่เอามีด
ผ่านช่องระหว่างสภาวะ ๗ กองนี้เท่านั้น
ความเป็นอยู่หรือเป็นไปของสัตว์ทั้งหลาย
ไม่มีเหตุ ไม่มีปัจจัย ย่อมเป็นไปเอง ไม่อยู่
ในวิสัยที่จะทาให้เป็นไปอย่างใดอย่าง
หนึ่งได้ แม้การที่จะบรรลุถึงความบริสุทธิ์
พ้นทุกข์สิ้นเชิง ในวัฏสงสารนี้ก็เป็นไป
เอง มิใช่ด้วยการกระทาใด ๆ เป็นเหตุ
นิครนถ์เป็นผู้สังวรแล้วด้วยสังวร ๔
ประการ คือ เป็นผู้ห้ามน้าทั้งปวง ๑ เป็น
ผู้ประกอบด้วยน้าทั้งปวง ๑ เป็นผู้กาจัด
ด้วยน้าทั้งปวง ๑ เป็นผู้ประพรมด้วยน้า
ทั้งปวง ๑ จึงเป็นผู้ถึงที่สุด สารวมและตั้ง
มั่นแล้ว
ผลกรรมไม่มี โลกนี้โลกหน้าไม่มี การรู้
แจ้งไม่มี บุคคลและสัตว์ไม่มี เป็นเพียง
ธาตุดิน น้า ลม ไฟ มารวมกัน ตายแล้ว
ขาดสูญ
ถ้าถามปัญหาว่า ข้อนั้นเป็นอย่างนั้นหรือ
หากหม่อมฉันเห็นว่าเป็นอย่างนั้น ก็จะตอบ
ว่าเป็นอย่างนั้น แต่หม่อมฉันไม่มีความเห็น
ตายตัวเช่นนั้น หม่อมฉันมีความเห็นว่า
อย่างนี้ก็มิใช่ อย่างนั้นก็มิใช่ อย่างอื่นก็มิใช่
ไม่ใช่ก็มิใช่ มิใช่ไม่ใช่ก็มิใช่
ลัทธิปูรณกัสสปะ
• มีความเห็นว่า วิญญาณเป็นสิ่งไร้กัมมันตภาพ เป็นสิ่งเที่ยงแท้ถาวร ไม่มีการปลี่ยน
แปลง ร่างกายนี้เองเป็นเจ้าของพฤติกรรม วิญญาณไม่เกี่ยวข้องกับกรรมดีกรรมชั่วที่ร่างกายทา แต่
ร่างกายก็เป็นสิ่งที่ไร้เจตนา ดังนั้นเมื่อร่างกายทาสิ่งใดๆ ลงไป จึงไม่จัดเป็นบุญบาปแต่อย่างใด
บุคคลไม่จัดว่าได้ทาบุญเมื่อให้ทาน เป็นต้น และไม่จัดว่าได้ทาบาปเมื่อฆ่าสัตว์ ลักทรัพย์ประพฤติผิด
ในกาม หรือพูดปด
• เจ้าลัทธิชื่อ ปูรณะนั้น แต่ก่อนเป็นทาสคนที่ ๑๐๐ ของตระกูล จึงได้ชื่อว่า ปูรโณ. ก็เพราะเป็นทาส
มงคล จึงไม่มีผู้กล่าวว่าเขา แม้จะไม่ยอมทางานก็ตาม. ถึงกระนั้นเขาก็ยังคิดว่า เราจะอยู่ในที่นี้ไป
ทาไมแล้วก็หนีไป
• ในเวลาต่อมา ถูกพวกโจรชิงเอาเสื้อผ้าของเขาไป. เขาไม่รู้จักการปกปิดด้วยใบไม้หรือหญ้า ก็เข้าไป
ยังบ้านตาบลหนึ่ง ทั้งๆ ที่เปลือยกายนั่นเอง คนเห็นแล้วคิดว่าเป็นพระอรหันต์ ผู้มักน้อย จึงเข้า
อุปัฏฐาก เขาจึงได้ถือเอาการไม่นุ่งผ้านั้นเป็นการบรรพชา และตั้งลัทธิชื่อ อกิริยทิฏฐิ (ทาก็ไม่ชื่อว่า
ทา ) คือถือว่า บุญบาปไม่มี ความดีความชั่วไม่มี
“ศิลปะศาสตร์เป็นอันมากเหล่านั้น คือพลช้าง พลม้า...ฯลฯ คนเหล่า นั้น ย่อมอาศัยผล
แห่งศิลปศาสตร์ที่เห็นประจักษ์เลี้ยงชีพในปัจจุบัน ด้วยผลแห่งศิลปะศาสตร์นั้น เขาย่อม
บารุงตน มารดาบิดา...ฯลฯ ให้เป็นสุขอิ่มหนาสาราญ....มีสุขเป็นผล ให้เกิดในสวรรค์ ใน
สมณพราหมณ์ ทั้งหลาย ฉันใด ท่านอาจบัญญัติสามัญผลที่เห็นประจักษ์ในปัจจุบัน
เหมือนอย่างนั้นได้หรือไม่ “
คาถามพระเจ้าอชาตศัตรู (ย่อ)
“เมื่อบุคคลทาบุญหรือทาบาปเอง หรือใช้ผู้อื่นให้ทาบุญหรือทาบาป ก็ไม่มีผลของการ
ทาบุญหรือทาบาปนั้นแก่เขา”
ทีฆนิกาย, สีลขันธวรรค, สามัญญผลสูตร
คาตอบท่านปูรณกัสสปะ (ย่อ)
สรุปคาสอนของลัทธิปูรณกัสสปะ
• มีความเห็นว่า วิญญาณเป็นสิ่งไร้กัมมันตภาพ เป็นสิ่งเที่ยงแท้ถาวร ไม่มีการ
เปลี่ยนแปลง ร่างกายนี้เองเป็นเจ้าของพฤติกรรม วิญญาณไม่เกี่ยวข้องกับกรรมดี
กรรมชั่วที่ร่างกายทา แต่ร่างกายก็เป็นสิ่งที่ไร้เจตนา
• ดังนั้นเมื่อร่างกายทาสิ่งใดๆ ลงไป จึงไม่จัดเป็นบุญบาปแต่อย่างใด บุคคลไม่
จัดว่าได้ทาบุญเมื่อให้ทาน เป็นต้น และไม่จัดว่าได้ทาบาป เมื่อฆ่าสัตว์ ลักทรัพย์
ประพฤติผิดในกาม หรือพูดปด
ลัทธิปูรณกัสสปะ - พุทธปรัชญา
นัตถิกทิฏฐิ - ไม่เชื่อทั้งเหตุและผลของการกระทา ไม่เชื่อบุญ บาป
เอกัจจสัสสติกทิฏฐิ เอกัจจอสัสสติกทิฏฐิ (หมวดเห็นว่าบางอย่างเที่ยง บางอย่างไม่เที่ยง) - เห็น
ว่าวิญญาณเป็นสิ่งไร้กัมมันตภาพ เป็นสิ่งเที่ยงแท้ถาวร ไม่มีการเปลี่ยนแปลงร่างกายนี้เองเป็นเจ้าของ
พฤติกรรม วิญญาณไม่เกี่ยวข้องกับกรรม
อกิริยวาที - เป็นผู้กล่าวการทาว่าไม่เป็นอันทา
เทียบกับทิฏฐิ ๖๒
ขัดแย้งกับหลักไตรลักษณ์
ขัดแย้งกับหลักของกรรม คือผู้ทากรรม เป็นผู้รับผลของกรรม
เทียบกับหลักกรรม
เทียบกับนิยตมิจฉาทิฏฐิ ๓
ขัดแย้งกับหลักของกรรม ทาดีได้ดี ทาชั่วได้ชั่ว
ลัทธิมักขลิโคศาล
• วันหนึ่งเห็นต้นข้าวที่คนเหยียบย่าแล้วกลับงอกงามขึ้นมาอีก จึงเกิดความคิดว่า สัตว์ทั้งหลาย
หลังจากตายแล้ว จะต้องกลับมีวิญญาณขึ้นมาอีก ไม่ตายไม่สลาย และถือว่า สัตว์ทั้งหลายขึ้นอยู่
กับกระบวนการที่ได้กาหนดไว้แล้ว แน่นอนไม่เปลี่ยนแปลง
• ปฏิเสธกรรมและความเพียรว่าเป็นสิ่งที่ไร้ความหมาย เพราะการบรรลุโมกษะไม่ได้สาเร็จด้วย
ความเพียรหรือด้วยกรรมใดๆ สัตว์จะต้องเวียนว่ายตายเกิดจากภพสู่ภพไปโดยลาดับ เมื่อถึงภพ
สุดท้ายก็จะเข้าถึงความบริสุทธิ์ได้เอง ความบริสุทธิ์ประเภทนี้เรียกว่า “สังสารสุทธิ”
• เหตุการณ์ที่เกิดขึ้นในชีวิตหนึ่งๆ เป็นเรื่องของการโชคดีและเคราะห์ร้าย ไม่เกี่ยวกับกรรมดี
และกรรมชั่วแต่อย่างใด
• ชื่อ โคสาโล เพราะเกิดในโรงโค เคยลื่นล้มและทาหม้อน้ามันหกหมด จึงหนีไปเพราะกลัวนาย แต่
นายวิ่งไปจับชายผ้าไว้ทัน จึงทิ้งผ้าหนีไป และเข้าไปยังบ้านตาบลหนึ่งทั้งๆที่เปลือยกายนั่นเอง คนเห็น
แล้วคิดว่าเป็นพระอรหันต์ผู้มักน้อย จึงเข้าไปอุปัฏฐาก โคสาโลคิดว่า เรื่องนี้เกิดขึ้นเพราะเรานุ่งผ้า จึง
ได้ถือเอาการไม่นุ่งผ้านั้นเป็นบรรพชา และตั้งลัทธิชื่อ อเหตุกทิฏฐิ (ไม่มีเหตุ ไม่มีปัจจัย) คือถือว่า ดี
ชั่ว สุข ทุกข์ สัตว์ทั้งหลายเกิดมาจะบริสุทธิ์ได้เอง
“ศิลปะศาสตร์เป็นอันมากเหล่านั้น คือพลช้าง พลม้า...ฯลฯ คนเหล่า นั้น ย่อมอาศัยผล
แห่งศิลปศาสตร์ที่เห็นประจักษ์เลี้ยงชีพในปัจจุบัน ด้วยผลแห่งศิลปะศาสตร์นั้น เขาย่อม
บารุงตน มารดาบิดา...ฯลฯ ให้เป็นสุขอิ่มหนาสาราญ....มีสุขเป็นผล ให้เกิดในสวรรค์ ใน
สมณพราหมณ์ ทั้งหลาย ฉันใด ท่านอาจบัญญัติสามัญผลที่เห็นประจักษ์ในปัจจุบัน
เหมือนอย่างนั้นได้หรือไม่ “
คาถามพระเจ้าอชาตศัตรู (ย่อ)
“ความเป็นอยู่หรือเป็นไปของสัตว์ทั้งหลาย ไม่มีเหตุ ไม่มีปัจจัย ย่อมเป็นไปเอง ไม่อยู่ใน
วิสัยที่จะทาให้เป็นไปอย่างใดอย่างหนึ่งได้ แม้การที่จะบรรลุถึงความบริสุทธิ์พ้นทุกข์
สิ้นเชิง ในวัฏสงสารนี้ก็เป็นไปเอง มิใช่ด้วยการกระทาใดๆ เป็นเหตุ”
ทีฆนิกาย, สีลขันธวรรค, สามัญญผลสูตร
คาตอบท่านมักขลิโคศาล
สรุปคาสอนของลัทธิมักขลิโคศาล
• มีความเห็นว่า วิญญาณเป็นสิ่งไร้กัมมันตภาพ เป็นสิ่งเที่ยงแท้ถาวร วิญญาณไม่
เกี่ยวข้องกับกรรมดีกรรมชั่วที่ร่างกายทา ไม่จัดเป็นบุญบาปแต่อย่างใด
• เชื่อว่าสัตว์ทั้งหลายหลังจากตายแล้ว จะต้องกลับมีวิญญาณขึ้นมาอีก ไม่ตาย
ไม่สลาย และถือว่าสัตว์ทั้งหลายขึ้นอยู่กับกระบวนการที่ได้กาหนดไว้แล้ว แน่นอนไม่
เปลี่ยนแปลง
• ปฏิเสธกรรมและความเพียรว่าเป็นสิ่งที่ไร้ความหมาย สัตว์จะต้องเวียนว่าย
ตายเกิดจากภพสู่ภพไปโดยลาดับ เมื่อถึงภพสุดท้ายก็จะเข้าถึงความบริสุทธิ์ได้เอง
ความบริสุทธิ์ประเภทนี้เรียกว่า “สังสารสุทธิ”
• เหตุการณ์ที่เกิดขึ้นในชีวิตหนึ่งๆ เป็นเรื่องของการโชคดีและเคราะห์ร้าย ไม่
เกี่ยวกับกรรมดีและกรรมชั่วแต่อย่างใด
ลัทธิมักขลิโคศาล - พุทธปรัชญา
อกิริยทิฏฐิ - ปฏิเสธกรรมและผลของกรรมไม่เชื่อบุญ บาป
เอกัจจสัสสติกทิฏฐิ เอกัจจอสัสสติกทิฏฐิ (หมวดเห็นว่าบางอย่างเที่ยง บางอย่างไม่เที่ยง) - เห็น
ว่าวิญญาณเป็นสิ่งไร้กัมมันตภาพ เป็นสิ่งเที่ยงแท้ถาวร ไม่มีการเปลี่ยนแปลงร่างกายนี้เองเป็นเจ้าของ
พฤติกรรม วิญญาณไม่เกี่ยวข้องกับกรรม
อธิจจสมุปปันนิกทิฏฐิ (หมวดเห็นว่าสิ่งต่างๆ มีขึ้นเอง ไม่มีเหตุ) - เชื่อว่าสัตว์ทั้งหลายขึ้นอยู่กับ
กระบวนการที่ได้กาหนดไว้แล้ว แน่นอนไม่เปลี่ยนแปลง
เทียบกับทิฏฐิ ๖๒
ขัดแย้งกับหลักไตรลักษณ์
ขัดแย้งกับหลักปฏิจสมุปบาท
เทียบกับนิยตมิจฉาทิฏฐิ ๓
ขัดแย้งกับหลักของกรรม
ลัทธิปกุธกัจจายนะ
• ปกุธกัจจายนะเป็นนักพหุนิยมและวัตถุนิยม มีทรรศนะถือว่าสัตว์ประกอบด้วยธาตุทั้งหลาย ธาตุ
เหล่านั้นเป็นสิ่งที่มีความมั่นคง ไม่เป็นบ่อเกิดของสิ่งใดๆ ได้อีก ไม่มีพฤติกรรมร่วมกับสิ่งใดๆ ไม่
มีการเคลื่อนไหว ไม่มีการเปลี่ยนแปลง
• ดังนั้นจึงไม่มีใครฆ่าใคร ไม่มีใครถูกฆ่า ไม่มีใครแสดงอะไรแก่ใคร ไม่มีใครสอน ไม่มีใครเรียน แม้
ดาบจะผ่านร่างกายของสัตว์ไปก็ไม่จัดเป็นการทาบาป ไม่จัดเป็นการทาลายสัตว์เป็นเพียงดาบได้
ผ่านกลุ่มธาตุที่ปรากฏเป็นร่างกาย เท่านั้น ร่างกายนั้นเป็นกลุ่มของปรมาณูไม่มีสิ่งอื่นใดทุกอย่าง
สิ้นสุดลงพร้อมกับ การตายของสัตว์นั้นๆ
• ท่านเจ้าลัทธิชื่อ ปกุโธ ชื่อสกุลคือ กัจจายนะ ท่านถือว่าน้ามีชีวิต จึงห้ามใช้น้าเย็น แม้จะถ่ายอุจจาระ
ก็ไม่ใช้น้าเย็น ได้น้าร้อนหรือน้าข้าวจึงใช้ หากเดินผ่านแม่น้า หรือน้าในทางก็ถือว่าศีลขาดแล้ว จะต้อง
ก่อทรายทาเป็นสถูปอธิษฐานศีลก่อนเดินต่อไป ท่านได้ตั้งลัทธิชื่อสัสสตทิฏฐิ สิ่งทั้งหลายเที่ยง ยั่งยืน
อยู่อย่างนั้น เช่นโลกเที่ยง จิตเที่ยง
“ศิลปะศาสตร์เป็นอันมากเหล่านั้น คือพลช้าง พลม้า...ฯลฯ คนเหล่า นั้น ย่อมอาศัยผล
แห่งศิลปศาสตร์ที่เห็นประจักษ์เลี้ยงชีพในปัจจุบัน ด้วยผลแห่งศิลปะศาสตร์นั้น เขาย่อม
บารุงตน มารดาบิดา...ฯลฯ ให้เป็นสุขอิ่มหนาสาราญ....มีสุขเป็นผล ให้เกิดในสวรรค์ ใน
สมณพราหมณ์ ทั้งหลาย ฉันใด ท่านอาจบัญญัติสามัญผลที่เห็นประจักษ์ในปัจจุบัน
เหมือนอย่างนั้นได้หรือไม่ “
คาถามพระเจ้าอชาตศัตรู (ย่อ)
“สภาวะ ๗ กอง คือ กองดิน กองน้า กองไฟ กองลม สุข ทุกข์ ชีวะ นี้ไม่มีใครทาหรือ
เนรมิต มีอยู่ยั่งยืนไม่แปรปรวน ไม่มีผู้กระทาการใด ๆ ต่อกัน แม้การเอามีดตัดศีรษะกันก็
ไม่มีผู้ใดฆ่าใคร เป็นแต่เอามีดผ่านช่องระหว่างสภาวะ ๗ กองนี้เท่านั้น”
คาตอบท่านปกุธกัจจายนะ (ย่อ)
ทีฆนิกาย, สีลขันธวรรค, สามัญญผลสูตร
สรุปคาสอนของลัทธิปกุธกัจจายนะ
• เมื่อพิจารณาตามคาตอบของท่านปกุธกัจจายนะนี้จะเห็นได้ว่าท่านเชื่อมั่นว่าชีวิต
ของสรรพสัตว์ ประกอบด้วยสภาวะ ๗ อย่าง คือ ดิน น้า ไฟ ลม สุข ทุกข์ และชีวะ
สภาวะเหล่านี้มีธรรมชาติเที่ยงแท้ เป็นอยู่นิรันดร มีอยู่เอง ไม่มีใครทาลายได้
• ในองค์ประกอบทั้ง ๗ เหล่านี้ธาตุ ๔ คือ ดิน น้า ลม และไฟ และชีวะเป็น
องค์ประกอบทาให้ชีวิตมนุษย์เกิดขึ้นได้ ธาตุแต่ละอย่างมีธรรมชาติ เป็นอยู่
นิรันดร เป็นอยู่ได้ด้วยตนเอง ไม่มีอะไรทาลายได้ ไม่มีอะไรทาให้เกิดขึ้น
• ดังนั้น การฆ่าจะใช้ศาสตราวุธอย่างใด ไม่ถือว่าบาป
ลัทธิปกุธกัจจายนะ - พุทธปรัชญา
อุจเฉททิฏฐิ (หมวดเห็นว่าขาดสูญ) - เชิ่อว่าผู้ฆ่าเองก็ดี หรือผู้ที่เกี่ยวข้องกับการฆ่า ไม่มีในสภาวะ ๗
กองนั้น กล่าวคือไม่มีใครฆ่า ไม่มีใครตาย ตายแล้วจึงไม่มีอะไรเหลืออยู่อีก
สัสสตทิฏฐิ (หมวดเห็นว่าเที่ยง) - เชื่อว่าสภาวะ ๗ กองเหล่านี้เที่ยงแท้ มั่นคง ไม่เปลี่ยนแปลง ไม่
หวั่นไหว ไม่แปรปรวน
อธิจจสมุปปันนิกทิฏฐิ (หมวดเห็นว่าสิ่งต่างๆ มีขึ้นเอง ไม่มีเหตุ) - เชื่อว่า สภาวะ ๗ กองเหล่านี้ไม่
หวั่นไหว ไม่แปรปรวน ไม่เบียดเบียนกัน ไม่อาจให้เกิดสุขหรือทุกข์หรือทั้งสุข และทุกข์แก่กันและกัน
เทียบกับทิฏฐิ ๖๒
เทียบกับนิยตมิจฉาทิฏฐิ ๓
นัตถิกทิฏฐิ - ไม่เชื่อทั้งเหตุและผลของการกระทา ไม่เชื่อว่ามีบุญ มีบาป
ขัดแย้งกับหลักไตรลักษณ์
ขัดแย้งกับหลักปฏิจสมุปบาท
ขัดแย้งกับสัมมาทิฏฐิ
ขัดแย้งกับหลักกรรม
ลัทธินิครนถนาฏบุตร
• เป็นเจ้าลัทธิที่ถือปฏิบัติเปลือยกาย เพราะถือว่าเครื่องนุ่งห่มเป็นเครื่องผูกพันอย่างหนึ่ง เป็น
เครื่องหมายของการมีพันธะอยู่กับโลกวัตถุ โดยทั่วไปถือว่าเป็นผู้เดียวกับมหาวีระศาสดาของเชน
เป็นผู้ปฏิบัติทรมานตน ในฐานะเป็นตบะปลดเปลื้องกรรมเก่าให้หมดไป และเพื่อปิดกั้นกรรมใหม่
ไม่ให้เกิดขึ้น ต่อจากนั้นก็จะบรรลุโมกษะ
• มีข้อปฏิบัติพื้นฐาน ๕ ประการ ในศาสนาเชน คือ อหิงสา (การไม่เบียดเบียนด้วยกาย วาจา
ใจ) สัตยะ (การปฏิบัติสัจจะทางกาย วาจา ใจ) , อสเตยยะ (การไม่ลักด้วยกาย วาจา ใจ), พรหมจริยะ
(การปฏิบัติถูกต้องเรื่องกามด้วยกาย วาจา ใจ), อปริคคหะ (การไม่เกาะเกี่ยวสิ่งใดๆด้วยกาย วาจา
ใจ)
• เจ้าลัทธิชื่อว่า นิคันถะ (เว้นจากเครื่องร้อยรัดคือกิเลส) นาฏบุตร คือเป็นบุตรของนาฏกะนักรา
ตั้งลัทธิชื่อ อัตตกิลมถานุโยค และอเนกานตวาท ถือว่า การทรมานกายเป็นหนทางแห่งความพ้น
ทุกข์ และเห็นว่า ความจริงมีหลายแง่มุม ขึ้นอยู่กับสถานการณ์ ความจริงไม่ได้มีเพียงหนึ่ง (สยาทวาท)
“ศิลปะศาสตร์เป็นอันมากเหล่านั้น คือพลช้าง พลม้า...ฯลฯ คนเหล่า นั้น ย่อมอาศัยผลแห่งศิลปศาสตร์ที่
เห็นประจักษ์เลี้ยงชีพในปัจจุบัน ด้วยผลแห่งศิลปะศาสตร์นั้น เขาย่อมบารุงตน มารดาบิดา...ฯลฯ ให้เป็น
สุขอิ่มหนาสาราญ....มีสุขเป็นผล ให้เกิดในสวรรค์ ในสมณพราหมณ์ ทั้งหลาย ฉันใด ท่านอาจบัญญัติ
สามัญผลที่เห็นประจักษ์ในปัจจุบัน เหมือนอย่างนั้นได้หรือไม่ “
คาถามพระเจ้าอชาตศัตรู (ย่อ)
“ดูกรมหาบพิตร นิครนถ์ในโลกนี้เป็นผู้สังวรแล้วด้วยสังวร ๔ ประการ นิครนถ์เป็นผู้สังวรแล้วด้วยสังวร
๔ ประการ เป็นไฉน? ดูกรมหาบพิตร นิครนถ์ในโลกนี้เป็นผู้ห้ามน้าทั้งปวง ๑ เป็นผู้ประกอบด้วยน้าทั้ง
ปวง ๑ เป็นผู้กาจัดด้วยน้าทั้งปวง ๑ เป็นผู้ประพรมด้วยน้าทั้งปวง ๑ นิครนถ์เป็นผู้สังวรแล้วด้วยสังวร ๔
ประการ อย่างนี้แล มหาบพิตร เพราะเหตุที่นิครนถ์เป็นผู้สังวรแล้วด้วยสังวร ๔ ประการอย่างนี้บัณฑิต
จึงเรียกว่า เป็นผู้มีตนถึงที่สุดแล้ว มีตนสารวมแล้วมีตนตั้งมั่นแล้ว ดังนี้“
คาตอบท่านนิครนถนาฏบุตร (ย่อ)
ทีฆนิกาย, สีลขันธวรรค, สามัญญผลสูตร
สรุปคาสอนของลัทธินิครนถนาฏบุตร
• เมื่อพิจารณาตามคาตอบของท่านนิครนถนาฏบุตรนี้จะเห็นได้ว่าท่านไม่ได้ให้
คาตอบในคาถามเรื่องสามัญญผลของสมณพราหมณ์เลย
• ถือปฏิบัติเปลือยกาย เพราะถือว่าเครื่องนุ่งห่มเป็นเครื่องผูกพันอย่างหนึ่ง
• ปฏิบัติทรมานตน ในฐานะเป็นตบะปลดเปลื้องกรรมเก่าให้หมดไป และเพื่อปิด
กั้นกรรมใหม่ไม่ให้เกิดขึ้น
• มีข้อปฏิบัติพื้นฐาน ๕ประการ ในศาสนาเชน คือ อหิงสา, สัตยะ, อสเตยยะ,
พรหมจริยะ, อปริคคหะ
ลัทธินิครนถนาฏบุตร - พุทธปรัชญา
มีข้อปฏิบัติพื้นฐาน ๕ ประการ - คือ อหิงสา, สัตยะ, อสเตยยะ, พรหมจริยะ, อปริคคหะ
อมราวิกเขปิกทิฏฐิ (หมวดพูดซัดส่ายไม่ตายตัวแบบปลาไหล) - เห็นว่า ความจริงมีหลายแง่มุม
ขึ้นอยู่กับสถานการณ์ ความจริงไม่ได้มีเพียงหนึ่ง (สยาทวาท)ไม่แปรปรวน
ถือหลักอัตตกิลามถานุโยค - ปฏิบัติทรมานตน ในฐานะเป็นตบะปลดเปลื้องกรรมเก่าให้หมด
ไป และเพื่อปิดกั้นกรรมใหม่ไม่ให้เกิดขึ้น
เทียบกับทิฏฐิ ๖๒ ขัดแย้งกับหลักอริยสัจ ๔ ซึ่งเป็นความจริงในทุกกาล สถานที่
ขัดแย้งกับหลักมรรค ๘ และกรรม ซึ่งกรรมแก้ไม่ได้
เหมือนพุทธคือเน้นหลักอหิงสา และการรักษาความบริสุทธ์ทางกาย วาจา ใจ
เทียบกับมรรค ๘
เทียบเรื่องศีล และบรรทัดฐานด้านจริยธรรม
เป้ าหมายคือ นิรวาณ (นิพพาน)
เป้ าหมายเหมือนพุทธคือนิพพาน
เทียบเรื่องเป้ าหมาย
เป็นลัทธิอเทวนิยม
เหมือนพุทธศาสนา
เทียบเรื่องการนับถือเทพ
ลัทธิอชิตเกสกัมพล
• ชื่อเดิมคือ อชิต แต่ที่มีชื่อว่า เกสกัมพล เพราะครองผ้ากัมพลที่ทอด้วยผมคน รวมชื่อทั้ง ๒ เข้า
ด้วยกัน จึงเรียกว่า อชิตเกสกัมพล ผ้ากัมพลที่ทอด้วยผมคน หน้าหนาวก็เย็นเยือก หน้าร้อนก็ร้อนระอุ
มีค่าน้อย สีไม่สวย ทั้งกลิ่นก็เหม็น และมีสัมผัสไม่สบาย ได้ตั้งลัทธิชื่อ นัตถิกทิฏฐิ คือถือว่า ทาอะไร
ไม่มีผลไม่ว่าจะดีชั่ว หรือการบูชาก็ตาม
• แนวคิดของลัทธิอชิตเกสัมพล ตรงกับปรัชญาในยุคหลังคือวัตถุนิยม เป็นทรรศนะที่ปฏิเสธว่า ไม่
มีสัตว์ ไม่มีบุคคลใดๆ ทั้งสิ้น ไม่มีชาติหน้า ไม่มีบุญ ไม่มีบาป ปฏิเสธกรรมดีกรรม ชั่ว ปฏิเสธพิธีกรรม
ทางศาสนาว่าไร้ผล ปฏิเสธความสมบูรณ์ทางจิต ไม่มีใครทาดีไม่มีใครทาชั่ว เพราะสัตว์ประกอบด้วย
ธาตุ 4 คือ ดิน น้า ลม ไฟ จึงไม่มีสัตว์ใดๆ คงมีแต่กลุ่มธาตุ ชาตินี้ของสัตว์สิ้นสุดลงที่การตาย ไม่มี
อะไรเหลืออีกหลังจากตาย
• ทรรศนะนี้ปฏิเสธคัมภีร์พระเวทอย่างรุนแรง เป็นทรรศนะที่ชี้แนะว่า สัตว์จะแสวงหาความสุขแก่ตน
ด้วยวิธีใดๆ ก็ได้ ไม่ต้องทาสิ่งที่เคยเชื่อกันมาว่าจะอานวยความสุขในชาติหน้า เพราะวิญญาณคือ
ร่างกายที่ยังมีชีวิตอยู่นั่นเอง
“ศิลปะศาสตร์เป็นอันมากเหล่านั้น คือพลช้าง พลม้า...ฯลฯ คนเหล่า นั้น ย่อมอาศัยผล
แห่งศิลปศาสตร์ที่เห็นประจักษ์เลี้ยงชีพในปัจจุบัน ด้วยผลแห่งศิลปะศาสตร์นั้น เขาย่อม
บารุงตน มารดาบิดา...ฯลฯ ให้เป็นสุขอิ่มหนาสาราญ....มีสุขเป็นผล ให้เกิดในสวรรค์ ใน
สมณพราหมณ์ ทั้งหลาย ฉันใด ท่านอาจบัญญัติสามัญผลที่เห็นประจักษ์ในปัจจุบัน
เหมือนอย่างนั้นได้หรือไม่ “
คาถามพระเจ้าอชาตศัตรู (ย่อ)
“ทานไม่มีผล การบูชาไม่มีผล การเซ่นสรวงไม่มีผล ผลวิบากแห่งกรรมที่ทาดี ทาชั่วไม่มี
โลกนี้ไม่มี โลกหน้าไม่มี มารดาบิดาไม่มี สัตว์ผู้เกิดผุดขึ้นไม่มี สมณพราหมณ์ผู้ดาเนิน
ชอบ ปฏิบัติชอบ ไม่มีในโลก คนเรานี้เป็นแต่ประชุมมหาภูตทั้งสี่ การเซ่นสรวงมีเถ้าเป็น
ที่สุด ทานนี้คนเขลาบัญญัติไว้ คาของคนบางพวกพูดว่า มีผลๆ ล้วนเป็นคาเปล่า คาเท็จ
คาเพ้อ เพราะกายสลาย ทั้งพาลทั้งบัณฑิตย่อมขาดสูญ พินาศสิ้น เบื้องหน้าแต่ตายย่อม
ไม่เกิด ดังนี้”
ทีฆนิกาย, สีลขันธวรรค, สามัญญผลสูตร
คาตอบท่านอชิตเกสกัมพล
สรุปคาสอนของลัทธิอชิตเกสกัมพล
• ปฏิเสธว่า ไม่มีสัตว์ ไม่มีบุคคลใดๆ ทั้งสิ้น ไม่มีชาติหน้า ไม่มีบุญ ไม่มีบาป
• ปฏิเสธกรรมดีกรรมชั่ว ปฏิเสธพิธีกรรมทางศาสนาว่าไร้ผล ปฏิเสธความ
สมบูรณ์ทางจิต
• เชื่อว่าไม่มีใครทาดี ไม่มีใครทาชั่ว เพราะสัตว์ประกอบด้วยธาตุ ๔ คือ ดิน น้า ลม
ไฟ จึงไม่มีสัตว์ใดๆ คงมีแต่กลุ่มธาตุ ชาตินี้ของสัตว์สิ้นสุดลงที่การตาย ไม่มีอะไร
เหลืออีกหลังจากตาย
• ชี้แนะว่า สัตว์จะแสวงหาความสุขแก่ตนด้วยวิธีใดๆ ก็ได้ ไม่ต้องทาสิ่งที่เคย
เชื่อกันมาว่าจะอานวยความสุขในชาติหน้า เพราะวิญญาณคือร่างกายที่ยังมีชีวิตอยู่
นั่นเอง
ลัทธิอชิตเกสกัมพล - พุทธปรัชญา
อกิริยทิฏฐิ - ปฏิเสธกรรมและผลของกรรมไม่เชื่อบุญ บาป
อุจเฉททิฏฐิ (หมวดเห็นว่า ขาดสูญ) - เพราะเชื่อว่าไม่มีสัตว์ใดๆ คงมีแต่กลุ่มธาตุ ชาตินี้ของสัตว์
สิ้นสุดลงที่การตาย ไม่มีอะไรเหลืออีกหลังจากตาย
ขัดกับสัมมาทิฏฐิ ๑๐ เพราะปฏิเสธกรรมดีกรรมชั่ว ไม่เชื่อว่ามีบุญ มีบาป ไม่เชื่อว่าทานและการบูชามีผล
เทียบกับทิฏฐิ ๖๒
ขัดแย้งกับสัมมาทิฏฐิ และความเชื่อเรื่อง
สังสารวัฏ
เทียบกับสัมมาทิฏฐิ ๑๐
ขัดแย้งกับหลักของกรรม
ขัดแย้งกับสัมมาทิฏฐิ
เทียบกับนิยตมิจฉาทิฏฐิ ๓
เชื่อว่าสัตว์จะแสวงหาความสุขแก่ตนด้วยวิธีใดๆ ก็ได้ ไม่มีผลใดๆ
ขัดแย้งกับหลักจริยธรรมที่มี
ศีล ๕ เป็นพื้นฐาน
เทียบกับหลักจริยธรรม
ลัทธิสัญชัยเวลัฏฐบุตร
คาว่า สัญชัย เป็นชื่อของเจ้าลัทธินั้น ชื่อว่า เวลัฏฐบุตร เพราะเป็นบุตรของเวลัฏฐ สัญชัยเวลัฏฐบุตร
อาศัยอยู่ในกรุงราชคฤห์ พร้อมกับปริพาชกหมู่ใหญ่ รวมถึง อุปติสสะ(พระสารีบุตร) และโกลิตะ(พระ
โมคคัลลานะ) ซึ่งได้ชวนกันมาบวชในสานักของสัญชัยปริพาชก พร้อมกับมาณพ ๕๐๐ คน ต่อมาเมื่อ
อุปติสสะ(พระสารีบุตร) ได้พบพระอัสสชิและบรรลุโสดาบัน จึงได้มาชวนโกลิตะ(พระโมคคัลลานะ)
และสัญชัยปริพาชกไปเฝ้ าพระพุทธเจ้า แต่สัญชัยปริพาชกปฏิเสธและพยายามห้ามปราม เมื่อห้ามไม่
สาเร็จจึงคับแค้นใจจนกระอักเลือดเสียชีวิต
• ลัทธิสัญชัยเวลัฏฐบุตรถือว่า สิ่งอันติมะเป็นสิ่งไม่สามารถกาหนดได้ และได้กล่าวถึงปัญหา
บางอย่างที่พระพุทธเจ้าไม่ทรงพยากรณ์ เช่น ปัญหาเรื่อง อาตมันเป็นสิ่งเดียวกับร่างกายหรือไม่?
สัตว์ตายแล้วเกิดอีกหรือไม่? ปัญหาเหล่านี้พระพุทธเจ้าไม่ทรงพยากรณ์ โดยทรงแสดงเหตุผลว่าเป็น
เรื่องไร้ประโยชน์ แต่ทรงพยากรณ์ปัญหาต่างๆ ในกระบวนการของอริยสัจ ๔
• ใช้หลักตรรกวิทยาเป็นเครื่องมือสาคัญในการตอบปัญหา มักพูดซัดส่ายไปมา ไม่อยู่กับร่องกับรอย
“ศิลปะศาสตร์เป็นอันมากเหล่านั้น คือพลช้าง พลม้า...ฯลฯ คนเหล่า นั้น ย่อมอาศัยผล
แห่งศิลปศาสตร์ที่เห็นประจักษ์เลี้ยงชีพในปัจจุบัน ด้วยผลแห่งศิลปะศาสตร์นั้น เขาย่อม
บารุงตน มารดาบิดา...ฯลฯ ให้เป็นสุขอิ่มหนาสาราญ....มีสุขเป็นผล ให้เกิดในสวรรค์ ใน
สมณพราหมณ์ ทั้งหลาย ฉันใด ท่านอาจบัญญัติสามัญผลที่เห็นประจักษ์ในปัจจุบัน
เหมือนอย่างนั้นได้หรือไม่ “
คาถามพระเจ้าอชาตศัตรู (ย่อ)
“ถ้าถามปัญหาว่า ข้อนั้นเป็นอย่างนั้นหรือ หากหม่อมฉันเห็นว่าเป็นอย่างนั้น ก็จะตอบว่า
เป็นอย่างนั้น แต่หม่อมฉันไม่มีความเห็นตายตัวเช่นนั้น หม่อมฉันมีความเห็นว่า อย่างนี้ก็
มิใช่ อย่างนั้นก็มิใช่ อย่างอื่นก็มิใช่ ไม่ใช่ก็มิใช่ มิใช่ไม่ใช่ก็มิใช่”
ทีฆนิกาย, สีลขันธวรรค, สามัญญผลสูตร
คาตอบท่านสัญชัยเวลัฏฐบุตร
สรุปคาสอนของลัทธิสัญชัยเวลัฏฐบุตร
• ถือว่า สิ่งอันติมะเป็นสิ่งไม่สามารถกาหนดได้ นอกจากนี้ยังกล่าวถึงปัญหา
บางอย่างที่พระพุทธเจ้าไม่ทรงพยากรณ์ เช่น ปัญหาเรื่อง อาตมันเป็นสิ่งเดียวกับ
ร่างกายหรือไม่? สัตว์ตายแล้วเกิดอีกหรือไม่?
• ใช้หลักตรรกวิทยาเป็นเครื่องมือสาคัญในการตอบปัญหา มักพูดซัดส่ายไปมา ไม่
อยู่กับร่องกับรอย ไม่ให้คาตอบที่ตรงกับคาถาม
ลัทธิสัญชัยเวลัฏฐบุตร - พุทธปรัชญา
อมราวิกเขปิกทิฏฐิ (หมวดพูดซัดส่ายไม่ตายตัวแบบปลาไหล) – เพราะไม่มีความเห็นตายตัว ไม่มี
ความจริงที่เป็นสัจจะ
กล่าวถึงปัญหาที่พระพุทธเจ้าไม่ทรงพยากรณ์ เช่น อาตมันเป็นสิ่งเดียวกับร่างกายหรือไม่? สัตว์ตายแล้ว
เกิดอีกหรือไม่?
เทียบกับทิฏฐิ ๖๒
เทียบกับอัพยากตปัญหา ๑๐
ปัญหาเหล่านี้พระพุทธเจ้าไม่ทรงพยากรณ์ ทรงแสดง
เหตุผลว่าเป็นเรื่องไร้ประโยชน์ แต่ทรงพยากรณ์ปัญหา
ต่างๆ ในกระบวนการของอริยสัจ ๔
ขัดแย้งกับหลักอริยสัจ ๔ ซึ่งเป็นความจริงในทุกกาล สถานที่
ดาวน์โหลดไฟล์งานนาเสนอนี้และวิชาอื่นๆได้ที่
www.BuddhaBucha.net/download
ขอขอบพระคุณในการติดตามชม
หวังว่าการนาเสนอครั้งนี้ จะทาให้
ท่านเข้าใจถึงความสัมพันธ์ระหว่าง
พุทธปรัชญา และปรัชญาของลัทธิครู
ทั้ง ๖ ในช่วงพุทธกาลมากยิ่งขึ้น
และจะเป็นประโยชน์ในการศึกษา
พุทธศาสนาของทุกท่านต่อไป
ขออนุโมทนาสาธุในบุญทุกประการ
ของทุกท่าน
และขอให้เจริญร่มเย็นในธรรม
ตลอดกาลเทอญ สาธุ...
आपको बहुत
बहुत धन्यवाद.

Más contenido relacionado

La actualidad más candente

วรรณกรรมทางพระพุทธศาสนาในสมัยล้านนา
วรรณกรรมทางพระพุทธศาสนาในสมัยล้านนาวรรณกรรมทางพระพุทธศาสนาในสมัยล้านนา
วรรณกรรมทางพระพุทธศาสนาในสมัยล้านนาพระอภิชัช ธมฺมโชโต
 
วิชาพุทธปรัชญา : พื้นฐานพุทธปรัชญา
วิชาพุทธปรัชญา : พื้นฐานพุทธปรัชญาวิชาพุทธปรัชญา : พื้นฐานพุทธปรัชญา
วิชาพุทธปรัชญา : พื้นฐานพุทธปรัชญาPadvee Academy
 
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับศาสนา
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับศาสนาความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับศาสนา
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับศาสนาPadvee Academy
 
อริยสัจ ๔ ม.๒
อริยสัจ ๔ ม.๒อริยสัจ ๔ ม.๒
อริยสัจ ๔ ม.๒Evesu Goodevening
 
ประวัติศาสตร์สุโขทัย
ประวัติศาสตร์สุโขทัยประวัติศาสตร์สุโขทัย
ประวัติศาสตร์สุโขทัยchatsawat265
 
บทที่ ๑ ประวัติและวิวัฒนาการของการปฏิบัติกรรมฐาน
บทที่ ๑ ประวัติและวิวัฒนาการของการปฏิบัติกรรมฐานบทที่ ๑ ประวัติและวิวัฒนาการของการปฏิบัติกรรมฐาน
บทที่ ๑ ประวัติและวิวัฒนาการของการปฏิบัติกรรมฐานpop Jaturong
 
ศาสนาเปรียบเทียบ
ศาสนาเปรียบเทียบศาสนาเปรียบเทียบ
ศาสนาเปรียบเทียบthnaporn999
 
ศาสนาซิกข์
ศาสนาซิกข์ศาสนาซิกข์
ศาสนาซิกข์Padvee Academy
 
อิทธิพลของพระพุทธศาสนาที่มีต่ออินเดีย
อิทธิพลของพระพุทธศาสนาที่มีต่ออินเดียอิทธิพลของพระพุทธศาสนาที่มีต่ออินเดีย
อิทธิพลของพระพุทธศาสนาที่มีต่ออินเดียPadvee Academy
 
ศาสนาสากล
ศาสนาสากลศาสนาสากล
ศาสนาสากลThanaponSuwan
 
ศาสนาเปรียบเทียบ (Comparative Religion) สังคมศึกษา ม.ปลาย
ศาสนาเปรียบเทียบ (Comparative Religion) สังคมศึกษา ม.ปลาย  ศาสนาเปรียบเทียบ (Comparative Religion) สังคมศึกษา ม.ปลาย
ศาสนาเปรียบเทียบ (Comparative Religion) สังคมศึกษา ม.ปลาย Bom Anuchit
 
พระพุทธศาสนากับสถานการณ์ปัจจุบัน
พระพุทธศาสนากับสถานการณ์ปัจจุบันพระพุทธศาสนากับสถานการณ์ปัจจุบัน
พระพุทธศาสนากับสถานการณ์ปัจจุบันleemeanshun minzstar
 
พุทธสาวก : พระราธะ ส16101 ป.6
พุทธสาวก :  พระราธะ  ส16101 ป.6พุทธสาวก :  พระราธะ  ส16101 ป.6
พุทธสาวก : พระราธะ ส16101 ป.6Thanawut Rattanadon
 
ฉันทศาสตร์ 2
ฉันทศาสตร์ 2ฉันทศาสตร์ 2
ฉันทศาสตร์ 2tayanon
 
คัมภีร์ฉันทศาสตร์ Sine
คัมภีร์ฉันทศาสตร์ Sineคัมภีร์ฉันทศาสตร์ Sine
คัมภีร์ฉันทศาสตร์ SineKat Suksrikong
 
เปรียบเทียบความเชื่อเรื่องความดีความชั่วในศาสนาต่างๆ
เปรียบเทียบความเชื่อเรื่องความดีความชั่วในศาสนาต่างๆเปรียบเทียบความเชื่อเรื่องความดีความชั่วในศาสนาต่างๆ
เปรียบเทียบความเชื่อเรื่องความดีความชั่วในศาสนาต่างๆAnchalee BuddhaBucha
 
เป้าหมายของชีวิตตามหลักพระพุทธศาสนา
เป้าหมายของชีวิตตามหลักพระพุทธศาสนาเป้าหมายของชีวิตตามหลักพระพุทธศาสนา
เป้าหมายของชีวิตตามหลักพระพุทธศาสนาศศิพร แซ่เฮ้ง
 

La actualidad más candente (20)

วรรณกรรมทางพระพุทธศาสนาในสมัยล้านนา
วรรณกรรมทางพระพุทธศาสนาในสมัยล้านนาวรรณกรรมทางพระพุทธศาสนาในสมัยล้านนา
วรรณกรรมทางพระพุทธศาสนาในสมัยล้านนา
 
วิชาพุทธปรัชญา : พื้นฐานพุทธปรัชญา
วิชาพุทธปรัชญา : พื้นฐานพุทธปรัชญาวิชาพุทธปรัชญา : พื้นฐานพุทธปรัชญา
วิชาพุทธปรัชญา : พื้นฐานพุทธปรัชญา
 
ศาสนาคริสต์
ศาสนาคริสต์ศาสนาคริสต์
ศาสนาคริสต์
 
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับศาสนา
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับศาสนาความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับศาสนา
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับศาสนา
 
อริยสัจ ๔ ม.๒
อริยสัจ ๔ ม.๒อริยสัจ ๔ ม.๒
อริยสัจ ๔ ม.๒
 
ประวัติศาสตร์สุโขทัย
ประวัติศาสตร์สุโขทัยประวัติศาสตร์สุโขทัย
ประวัติศาสตร์สุโขทัย
 
บทที่ ๑ ประวัติและวิวัฒนาการของการปฏิบัติกรรมฐาน
บทที่ ๑ ประวัติและวิวัฒนาการของการปฏิบัติกรรมฐานบทที่ ๑ ประวัติและวิวัฒนาการของการปฏิบัติกรรมฐาน
บทที่ ๑ ประวัติและวิวัฒนาการของการปฏิบัติกรรมฐาน
 
ศาสนาเปรียบเทียบ
ศาสนาเปรียบเทียบศาสนาเปรียบเทียบ
ศาสนาเปรียบเทียบ
 
ศาสนาซิกข์
ศาสนาซิกข์ศาสนาซิกข์
ศาสนาซิกข์
 
อิทธิพลของพระพุทธศาสนาที่มีต่ออินเดีย
อิทธิพลของพระพุทธศาสนาที่มีต่ออินเดียอิทธิพลของพระพุทธศาสนาที่มีต่ออินเดีย
อิทธิพลของพระพุทธศาสนาที่มีต่ออินเดีย
 
พระพุทธศาสนาในประเทศอินเดีย
พระพุทธศาสนาในประเทศอินเดียพระพุทธศาสนาในประเทศอินเดีย
พระพุทธศาสนาในประเทศอินเดีย
 
ศาสนาสากล
ศาสนาสากลศาสนาสากล
ศาสนาสากล
 
ศาสนาเปรียบเทียบ (Comparative Religion) สังคมศึกษา ม.ปลาย
ศาสนาเปรียบเทียบ (Comparative Religion) สังคมศึกษา ม.ปลาย  ศาสนาเปรียบเทียบ (Comparative Religion) สังคมศึกษา ม.ปลาย
ศาสนาเปรียบเทียบ (Comparative Religion) สังคมศึกษา ม.ปลาย
 
พระพุทธศาสนากับสถานการณ์ปัจจุบัน
พระพุทธศาสนากับสถานการณ์ปัจจุบันพระพุทธศาสนากับสถานการณ์ปัจจุบัน
พระพุทธศาสนากับสถานการณ์ปัจจุบัน
 
พุทธสาวก : พระราธะ ส16101 ป.6
พุทธสาวก :  พระราธะ  ส16101 ป.6พุทธสาวก :  พระราธะ  ส16101 ป.6
พุทธสาวก : พระราธะ ส16101 ป.6
 
ฉันทศาสตร์ 2
ฉันทศาสตร์ 2ฉันทศาสตร์ 2
ฉันทศาสตร์ 2
 
คัมภีร์ฉันทศาสตร์ Sine
คัมภีร์ฉันทศาสตร์ Sineคัมภีร์ฉันทศาสตร์ Sine
คัมภีร์ฉันทศาสตร์ Sine
 
โคลนติดล้อ (สอน Ppt)[1]
โคลนติดล้อ (สอน Ppt)[1]โคลนติดล้อ (สอน Ppt)[1]
โคลนติดล้อ (สอน Ppt)[1]
 
เปรียบเทียบความเชื่อเรื่องความดีความชั่วในศาสนาต่างๆ
เปรียบเทียบความเชื่อเรื่องความดีความชั่วในศาสนาต่างๆเปรียบเทียบความเชื่อเรื่องความดีความชั่วในศาสนาต่างๆ
เปรียบเทียบความเชื่อเรื่องความดีความชั่วในศาสนาต่างๆ
 
เป้าหมายของชีวิตตามหลักพระพุทธศาสนา
เป้าหมายของชีวิตตามหลักพระพุทธศาสนาเป้าหมายของชีวิตตามหลักพระพุทธศาสนา
เป้าหมายของชีวิตตามหลักพระพุทธศาสนา
 

Destacado

พุทธอภิปรัชญา ความจริงเกี่ยวกับจักรวาล โลก มนุษย์และสังสารวัฏ
พุทธอภิปรัชญา ความจริงเกี่ยวกับจักรวาล โลก มนุษย์และสังสารวัฏพุทธอภิปรัชญา ความจริงเกี่ยวกับจักรวาล โลก มนุษย์และสังสารวัฏ
พุทธอภิปรัชญา ความจริงเกี่ยวกับจักรวาล โลก มนุษย์และสังสารวัฏCUPress
 
8 67+วิสุทธิมรรคแปล+ภาค+๑+ตอน+๑
8 67+วิสุทธิมรรคแปล+ภาค+๑+ตอน+๑8 67+วิสุทธิมรรคแปล+ภาค+๑+ตอน+๑
8 67+วิสุทธิมรรคแปล+ภาค+๑+ตอน+๑Tongsamut vorasan
 
หลักธรรมทางพระพุทธศาสนา
หลักธรรมทางพระพุทธศาสนาหลักธรรมทางพระพุทธศาสนา
หลักธรรมทางพระพุทธศาสนาmagicgirl123
 
หลักธรรมทางพระพุทธศาสนา
หลักธรรมทางพระพุทธศาสนาหลักธรรมทางพระพุทธศาสนา
หลักธรรมทางพระพุทธศาสนาprimpatcha
 
ผลกระทบของลัทธิการเมืองกับพระพุทธศาสนา
ผลกระทบของลัทธิการเมืองกับพระพุทธศาสนาผลกระทบของลัทธิการเมืองกับพระพุทธศาสนา
ผลกระทบของลัทธิการเมืองกับพระพุทธศาสนาPadvee Academy
 
ปรัชญาอัตถิภาวนิยมของ ฌอง ปอล ซาร์ต (Jean paul sartre)
ปรัชญาอัตถิภาวนิยมของ ฌอง ปอล ซาร์ต (Jean paul sartre)ปรัชญาอัตถิภาวนิยมของ ฌอง ปอล ซาร์ต (Jean paul sartre)
ปรัชญาอัตถิภาวนิยมของ ฌอง ปอล ซาร์ต (Jean paul sartre)Padvee Academy
 

Destacado (6)

พุทธอภิปรัชญา ความจริงเกี่ยวกับจักรวาล โลก มนุษย์และสังสารวัฏ
พุทธอภิปรัชญา ความจริงเกี่ยวกับจักรวาล โลก มนุษย์และสังสารวัฏพุทธอภิปรัชญา ความจริงเกี่ยวกับจักรวาล โลก มนุษย์และสังสารวัฏ
พุทธอภิปรัชญา ความจริงเกี่ยวกับจักรวาล โลก มนุษย์และสังสารวัฏ
 
8 67+วิสุทธิมรรคแปล+ภาค+๑+ตอน+๑
8 67+วิสุทธิมรรคแปล+ภาค+๑+ตอน+๑8 67+วิสุทธิมรรคแปล+ภาค+๑+ตอน+๑
8 67+วิสุทธิมรรคแปล+ภาค+๑+ตอน+๑
 
หลักธรรมทางพระพุทธศาสนา
หลักธรรมทางพระพุทธศาสนาหลักธรรมทางพระพุทธศาสนา
หลักธรรมทางพระพุทธศาสนา
 
หลักธรรมทางพระพุทธศาสนา
หลักธรรมทางพระพุทธศาสนาหลักธรรมทางพระพุทธศาสนา
หลักธรรมทางพระพุทธศาสนา
 
ผลกระทบของลัทธิการเมืองกับพระพุทธศาสนา
ผลกระทบของลัทธิการเมืองกับพระพุทธศาสนาผลกระทบของลัทธิการเมืองกับพระพุทธศาสนา
ผลกระทบของลัทธิการเมืองกับพระพุทธศาสนา
 
ปรัชญาอัตถิภาวนิยมของ ฌอง ปอล ซาร์ต (Jean paul sartre)
ปรัชญาอัตถิภาวนิยมของ ฌอง ปอล ซาร์ต (Jean paul sartre)ปรัชญาอัตถิภาวนิยมของ ฌอง ปอล ซาร์ต (Jean paul sartre)
ปรัชญาอัตถิภาวนิยมของ ฌอง ปอล ซาร์ต (Jean paul sartre)
 

Similar a เปรียบเทียบพุทธปรัชญาและปรัชญาลัทธิครูทั้ง ๖

ครูพัชราภรณ์ เหมือนรุ่ง
ครูพัชราภรณ์    เหมือนรุ่งครูพัชราภรณ์    เหมือนรุ่ง
ครูพัชราภรณ์ เหมือนรุ่งพัน พัน
 
จุลสารชมรมจริยธรรมฉบับที่๒
จุลสารชมรมจริยธรรมฉบับที่๒จุลสารชมรมจริยธรรมฉบับที่๒
จุลสารชมรมจริยธรรมฉบับที่๒dentyomaraj
 
การศึกษาวิเคราะห์ท่าทีของพระพุทธศาสนาเรื่องการเปลี่ยน
การศึกษาวิเคราะห์ท่าทีของพระพุทธศาสนาเรื่องการเปลี่ยนการศึกษาวิเคราะห์ท่าทีของพระพุทธศาสนาเรื่องการเปลี่ยน
การศึกษาวิเคราะห์ท่าทีของพระพุทธศาสนาเรื่องการเปลี่ยนMartin Trinity
 
ศึกษาเปรียบเทียบหลักจริยศาสตร์ของโสคราตีสกับพุทธปรัชญาเถรวาท
ศึกษาเปรียบเทียบหลักจริยศาสตร์ของโสคราตีสกับพุทธปรัชญาเถรวาทศึกษาเปรียบเทียบหลักจริยศาสตร์ของโสคราตีสกับพุทธปรัชญาเถรวาท
ศึกษาเปรียบเทียบหลักจริยศาสตร์ของโสคราตีสกับพุทธปรัชญาเถรวาทpentanino
 
บทความเรื่องการบริหารงานตามหลักฆราวาสธรรม ๑
บทความเรื่องการบริหารงานตามหลักฆราวาสธรรม ๑บทความเรื่องการบริหารงานตามหลักฆราวาสธรรม ๑
บทความเรื่องการบริหารงานตามหลักฆราวาสธรรม ๑วัดดอนทอง กาฬสินธุ์
 
บทความเรื่องการบริหารงานตามหลักฆราวาสธรรม ๒
บทความเรื่องการบริหารงานตามหลักฆราวาสธรรม ๒บทความเรื่องการบริหารงานตามหลักฆราวาสธรรม ๒
บทความเรื่องการบริหารงานตามหลักฆราวาสธรรม ๒วัดดอนทอง กาฬสินธุ์
 
บทความเรื่องการบริหารงานตามหลักฆราวาสธรรม ๒
บทความเรื่องการบริหารงานตามหลักฆราวาสธรรม ๒บทความเรื่องการบริหารงานตามหลักฆราวาสธรรม ๒
บทความเรื่องการบริหารงานตามหลักฆราวาสธรรม ๒วัดดอนทอง กาฬสินธุ์
 
บทความเรื่องการบริหารงานตามหลักฆราวาสธรรม ๒
บทความเรื่องการบริหารงานตามหลักฆราวาสธรรม ๒บทความเรื่องการบริหารงานตามหลักฆราวาสธรรม ๒
บทความเรื่องการบริหารงานตามหลักฆราวาสธรรม ๒วัดดอนทอง กาฬสินธุ์
 
บทความเรื่องการบริหารงานตามหลักฆราวาสธรรม ๓
บทความเรื่องการบริหารงานตามหลักฆราวาสธรรม ๓บทความเรื่องการบริหารงานตามหลักฆราวาสธรรม ๓
บทความเรื่องการบริหารงานตามหลักฆราวาสธรรม ๓วัดดอนทอง กาฬสินธุ์
 
สื่อการเรียนรู้เรื่องศาสนาพุทธ
สื่อการเรียนรู้เรื่องศาสนาพุทธสื่อการเรียนรู้เรื่องศาสนาพุทธ
สื่อการเรียนรู้เรื่องศาสนาพุทธNet'Net Zii
 
ส อการเร_ยนร__เร__องศาสนาพ_ทธ
ส  อการเร_ยนร__เร__องศาสนาพ_ทธส  อการเร_ยนร__เร__องศาสนาพ_ทธ
ส อการเร_ยนร__เร__องศาสนาพ_ทธOrraya Swager
 
สื่อการเรียนรู้เรื่องศาสนาพุทธ
สื่อการเรียนรู้เรื่องศาสนาพุทธสื่อการเรียนรู้เรื่องศาสนาพุทธ
สื่อการเรียนรู้เรื่องศาสนาพุทธNet'Net Zii
 
โพชฌงค์ พุทธวิธีเสริมสุขภาพ
โพชฌงค์ พุทธวิธีเสริมสุขภาพโพชฌงค์ พุทธวิธีเสริมสุขภาพ
โพชฌงค์ พุทธวิธีเสริมสุขภาพTongsamut vorasan
 
พระพรหมคุณาภรณ์ (ป.อ. ปยุตฺโต) โพชฌงค์ พุทธวิธีเสริมสุขภาพ
พระพรหมคุณาภรณ์ (ป.อ. ปยุตฺโต)   โพชฌงค์ พุทธวิธีเสริมสุขภาพพระพรหมคุณาภรณ์ (ป.อ. ปยุตฺโต)   โพชฌงค์ พุทธวิธีเสริมสุขภาพ
พระพรหมคุณาภรณ์ (ป.อ. ปยุตฺโต) โพชฌงค์ พุทธวิธีเสริมสุขภาพTongsamut vorasan
 
ธัมมานุปัสสนาสติปัฏฐาน
ธัมมานุปัสสนาสติปัฏฐานธัมมานุปัสสนาสติปัฏฐาน
ธัมมานุปัสสนาสติปัฏฐานAnchalee BuddhaBucha
 
พุทธศาสนามหายาน ตอน นิกายมาธยมิกะ
พุทธศาสนามหายาน ตอน นิกายมาธยมิกะพุทธศาสนามหายาน ตอน นิกายมาธยมิกะ
พุทธศาสนามหายาน ตอน นิกายมาธยมิกะPadvee Academy
 

Similar a เปรียบเทียบพุทธปรัชญาและปรัชญาลัทธิครูทั้ง ๖ (20)

ครูพัชราภรณ์ เหมือนรุ่ง
ครูพัชราภรณ์    เหมือนรุ่งครูพัชราภรณ์    เหมือนรุ่ง
ครูพัชราภรณ์ เหมือนรุ่ง
 
สถานการณ์พุทธศาสนา พลิกหายนะเป็นพัฒนา
สถานการณ์พุทธศาสนา พลิกหายนะเป็นพัฒนาสถานการณ์พุทธศาสนา พลิกหายนะเป็นพัฒนา
สถานการณ์พุทธศาสนา พลิกหายนะเป็นพัฒนา
 
จุลสารชมรมจริยธรรมฉบับที่๒
จุลสารชมรมจริยธรรมฉบับที่๒จุลสารชมรมจริยธรรมฉบับที่๒
จุลสารชมรมจริยธรรมฉบับที่๒
 
การศึกษาวิเคราะห์ท่าทีของพระพุทธศาสนาเรื่องการเปลี่ยน
การศึกษาวิเคราะห์ท่าทีของพระพุทธศาสนาเรื่องการเปลี่ยนการศึกษาวิเคราะห์ท่าทีของพระพุทธศาสนาเรื่องการเปลี่ยน
การศึกษาวิเคราะห์ท่าทีของพระพุทธศาสนาเรื่องการเปลี่ยน
 
Manomayitti 1-8
Manomayitti 1-8Manomayitti 1-8
Manomayitti 1-8
 
ศึกษาเปรียบเทียบหลักจริยศาสตร์ของโสคราตีสกับพุทธปรัชญาเถรวาท
ศึกษาเปรียบเทียบหลักจริยศาสตร์ของโสคราตีสกับพุทธปรัชญาเถรวาทศึกษาเปรียบเทียบหลักจริยศาสตร์ของโสคราตีสกับพุทธปรัชญาเถรวาท
ศึกษาเปรียบเทียบหลักจริยศาสตร์ของโสคราตีสกับพุทธปรัชญาเถรวาท
 
บทความเรื่องการบริหารงานตามหลักฆราวาสธรรม ๑
บทความเรื่องการบริหารงานตามหลักฆราวาสธรรม ๑บทความเรื่องการบริหารงานตามหลักฆราวาสธรรม ๑
บทความเรื่องการบริหารงานตามหลักฆราวาสธรรม ๑
 
บทความเรื่องการบริหารงานตามหลักฆราวาสธรรม ๒
บทความเรื่องการบริหารงานตามหลักฆราวาสธรรม ๒บทความเรื่องการบริหารงานตามหลักฆราวาสธรรม ๒
บทความเรื่องการบริหารงานตามหลักฆราวาสธรรม ๒
 
บทความเรื่องการบริหารงานตามหลักฆราวาสธรรม ๒
บทความเรื่องการบริหารงานตามหลักฆราวาสธรรม ๒บทความเรื่องการบริหารงานตามหลักฆราวาสธรรม ๒
บทความเรื่องการบริหารงานตามหลักฆราวาสธรรม ๒
 
บทความเรื่องการบริหารงานตามหลักฆราวาสธรรม ๒
บทความเรื่องการบริหารงานตามหลักฆราวาสธรรม ๒บทความเรื่องการบริหารงานตามหลักฆราวาสธรรม ๒
บทความเรื่องการบริหารงานตามหลักฆราวาสธรรม ๒
 
บทความเรื่องการบริหารงานตามหลักฆราวาสธรรม ๓
บทความเรื่องการบริหารงานตามหลักฆราวาสธรรม ๓บทความเรื่องการบริหารงานตามหลักฆราวาสธรรม ๓
บทความเรื่องการบริหารงานตามหลักฆราวาสธรรม ๓
 
สื่อการเรียนรู้เรื่องศาสนาพุทธ
สื่อการเรียนรู้เรื่องศาสนาพุทธสื่อการเรียนรู้เรื่องศาสนาพุทธ
สื่อการเรียนรู้เรื่องศาสนาพุทธ
 
ส อการเร_ยนร__เร__องศาสนาพ_ทธ
ส  อการเร_ยนร__เร__องศาสนาพ_ทธส  อการเร_ยนร__เร__องศาสนาพ_ทธ
ส อการเร_ยนร__เร__องศาสนาพ_ทธ
 
สื่อการเรียนรู้เรื่องศาสนาพุทธ
สื่อการเรียนรู้เรื่องศาสนาพุทธสื่อการเรียนรู้เรื่องศาสนาพุทธ
สื่อการเรียนรู้เรื่องศาสนาพุทธ
 
บทความ (สังขาร)
บทความ (สังขาร)บทความ (สังขาร)
บทความ (สังขาร)
 
บทความ (สังขาร)
บทความ (สังขาร)บทความ (สังขาร)
บทความ (สังขาร)
 
โพชฌงค์ พุทธวิธีเสริมสุขภาพ
โพชฌงค์ พุทธวิธีเสริมสุขภาพโพชฌงค์ พุทธวิธีเสริมสุขภาพ
โพชฌงค์ พุทธวิธีเสริมสุขภาพ
 
พระพรหมคุณาภรณ์ (ป.อ. ปยุตฺโต) โพชฌงค์ พุทธวิธีเสริมสุขภาพ
พระพรหมคุณาภรณ์ (ป.อ. ปยุตฺโต)   โพชฌงค์ พุทธวิธีเสริมสุขภาพพระพรหมคุณาภรณ์ (ป.อ. ปยุตฺโต)   โพชฌงค์ พุทธวิธีเสริมสุขภาพ
พระพรหมคุณาภรณ์ (ป.อ. ปยุตฺโต) โพชฌงค์ พุทธวิธีเสริมสุขภาพ
 
ธัมมานุปัสสนาสติปัฏฐาน
ธัมมานุปัสสนาสติปัฏฐานธัมมานุปัสสนาสติปัฏฐาน
ธัมมานุปัสสนาสติปัฏฐาน
 
พุทธศาสนามหายาน ตอน นิกายมาธยมิกะ
พุทธศาสนามหายาน ตอน นิกายมาธยมิกะพุทธศาสนามหายาน ตอน นิกายมาธยมิกะ
พุทธศาสนามหายาน ตอน นิกายมาธยมิกะ
 

Más de Anchalee BuddhaBucha

โครงร่างวิทยานิพนธ์ ใช้การการสอบขออนุมัติหัวข้อ
โครงร่างวิทยานิพนธ์ ใช้การการสอบขออนุมัติหัวข้อโครงร่างวิทยานิพนธ์ ใช้การการสอบขออนุมัติหัวข้อ
โครงร่างวิทยานิพนธ์ ใช้การการสอบขออนุมัติหัวข้อAnchalee BuddhaBucha
 
โครงร่างวิทยานิพนธ์ อัญชลี จตุรานนUpdate1011
โครงร่างวิทยานิพนธ์   อัญชลี จตุรานนUpdate1011โครงร่างวิทยานิพนธ์   อัญชลี จตุรานนUpdate1011
โครงร่างวิทยานิพนธ์ อัญชลี จตุรานนUpdate1011Anchalee BuddhaBucha
 
ศึกษาความรู้และความเข้าใจในการปฏิบัติวิปัสสนากรรมฐานตามแนวสติปัฏฐาน ๔ ของผู้ป...
ศึกษาความรู้และความเข้าใจในการปฏิบัติวิปัสสนากรรมฐานตามแนวสติปัฏฐาน ๔ ของผู้ป...ศึกษาความรู้และความเข้าใจในการปฏิบัติวิปัสสนากรรมฐานตามแนวสติปัฏฐาน ๔ ของผู้ป...
ศึกษาความรู้และความเข้าใจในการปฏิบัติวิปัสสนากรรมฐานตามแนวสติปัฏฐาน ๔ ของผู้ป...Anchalee BuddhaBucha
 
ภาษาบาลี ชุดที่ ๔ การันต์
ภาษาบาลี ชุดที่ ๔   การันต์ภาษาบาลี ชุดที่ ๔   การันต์
ภาษาบาลี ชุดที่ ๔ การันต์Anchalee BuddhaBucha
 
ภาษาบาลี ชุดที่ ๒ โครงสร้างวจีวิภาค
ภาษาบาลี ชุดที่ ๒   โครงสร้างวจีวิภาคภาษาบาลี ชุดที่ ๒   โครงสร้างวจีวิภาค
ภาษาบาลี ชุดที่ ๒ โครงสร้างวจีวิภาคAnchalee BuddhaBucha
 
ภาษาบาลี ชุดที่ ๑ ความเป็นมาและคุณค่าของภาษาบาลี
ภาษาบาลี ชุดที่ ๑   ความเป็นมาและคุณค่าของภาษาบาลีภาษาบาลี ชุดที่ ๑   ความเป็นมาและคุณค่าของภาษาบาลี
ภาษาบาลี ชุดที่ ๑ ความเป็นมาและคุณค่าของภาษาบาลีAnchalee BuddhaBucha
 
ภาษาบาลี ชุดที่ ๓ นามศัพท์ ลิงค์ วจนะ วิภัตติ
ภาษาบาลี ชุดที่ ๓   นามศัพท์ ลิงค์ วจนะ วิภัตติภาษาบาลี ชุดที่ ๓   นามศัพท์ ลิงค์ วจนะ วิภัตติ
ภาษาบาลี ชุดที่ ๓ นามศัพท์ ลิงค์ วจนะ วิภัตติAnchalee BuddhaBucha
 
ศึกษาพระสูตรสำคัญของมหายาน
ศึกษาพระสูตรสำคัญของมหายานศึกษาพระสูตรสำคัญของมหายาน
ศึกษาพระสูตรสำคัญของมหายานAnchalee BuddhaBucha
 
ศึกษาความเป็นมา วิธีการเผยแผ่ และอิทธพลขององค์กรพุทธฉือจี้
ศึกษาความเป็นมา วิธีการเผยแผ่ และอิทธพลขององค์กรพุทธฉือจี้ศึกษาความเป็นมา วิธีการเผยแผ่ และอิทธพลขององค์กรพุทธฉือจี้
ศึกษาความเป็นมา วิธีการเผยแผ่ และอิทธพลขององค์กรพุทธฉือจี้Anchalee BuddhaBucha
 
พุทธศาสนาเถรวาทในอินเดีย
พุทธศาสนาเถรวาทในอินเดียพุทธศาสนาเถรวาทในอินเดีย
พุทธศาสนาเถรวาทในอินเดียAnchalee BuddhaBucha
 
พุทธศาสนากับการบริหาร
พุทธศาสนากับการบริหารพุทธศาสนากับการบริหาร
พุทธศาสนากับการบริหารAnchalee BuddhaBucha
 
โครงสร้างและเนื้อหาสาระพระไตรปิฎก
โครงสร้างและเนื้อหาสาระพระไตรปิฎกโครงสร้างและเนื้อหาสาระพระไตรปิฎก
โครงสร้างและเนื้อหาสาระพระไตรปิฎกAnchalee BuddhaBucha
 

Más de Anchalee BuddhaBucha (13)

โครงร่างวิทยานิพนธ์ ใช้การการสอบขออนุมัติหัวข้อ
โครงร่างวิทยานิพนธ์ ใช้การการสอบขออนุมัติหัวข้อโครงร่างวิทยานิพนธ์ ใช้การการสอบขออนุมัติหัวข้อ
โครงร่างวิทยานิพนธ์ ใช้การการสอบขออนุมัติหัวข้อ
 
โครงร่างวิทยานิพนธ์ อัญชลี จตุรานนUpdate1011
โครงร่างวิทยานิพนธ์   อัญชลี จตุรานนUpdate1011โครงร่างวิทยานิพนธ์   อัญชลี จตุรานนUpdate1011
โครงร่างวิทยานิพนธ์ อัญชลี จตุรานนUpdate1011
 
ศึกษาความรู้และความเข้าใจในการปฏิบัติวิปัสสนากรรมฐานตามแนวสติปัฏฐาน ๔ ของผู้ป...
ศึกษาความรู้และความเข้าใจในการปฏิบัติวิปัสสนากรรมฐานตามแนวสติปัฏฐาน ๔ ของผู้ป...ศึกษาความรู้และความเข้าใจในการปฏิบัติวิปัสสนากรรมฐานตามแนวสติปัฏฐาน ๔ ของผู้ป...
ศึกษาความรู้และความเข้าใจในการปฏิบัติวิปัสสนากรรมฐานตามแนวสติปัฏฐาน ๔ ของผู้ป...
 
ภาษาบาลี ชุดที่ ๔ การันต์
ภาษาบาลี ชุดที่ ๔   การันต์ภาษาบาลี ชุดที่ ๔   การันต์
ภาษาบาลี ชุดที่ ๔ การันต์
 
ภาษาบาลี ชุดที่ ๒ โครงสร้างวจีวิภาค
ภาษาบาลี ชุดที่ ๒   โครงสร้างวจีวิภาคภาษาบาลี ชุดที่ ๒   โครงสร้างวจีวิภาค
ภาษาบาลี ชุดที่ ๒ โครงสร้างวจีวิภาค
 
ภาษาบาลี ชุดที่ ๑ ความเป็นมาและคุณค่าของภาษาบาลี
ภาษาบาลี ชุดที่ ๑   ความเป็นมาและคุณค่าของภาษาบาลีภาษาบาลี ชุดที่ ๑   ความเป็นมาและคุณค่าของภาษาบาลี
ภาษาบาลี ชุดที่ ๑ ความเป็นมาและคุณค่าของภาษาบาลี
 
ภาษาบาลี ชุดที่ ๓ นามศัพท์ ลิงค์ วจนะ วิภัตติ
ภาษาบาลี ชุดที่ ๓   นามศัพท์ ลิงค์ วจนะ วิภัตติภาษาบาลี ชุดที่ ๓   นามศัพท์ ลิงค์ วจนะ วิภัตติ
ภาษาบาลี ชุดที่ ๓ นามศัพท์ ลิงค์ วจนะ วิภัตติ
 
ศึกษาพระสูตรสำคัญของมหายาน
ศึกษาพระสูตรสำคัญของมหายานศึกษาพระสูตรสำคัญของมหายาน
ศึกษาพระสูตรสำคัญของมหายาน
 
ศึกษาความเป็นมา วิธีการเผยแผ่ และอิทธพลขององค์กรพุทธฉือจี้
ศึกษาความเป็นมา วิธีการเผยแผ่ และอิทธพลขององค์กรพุทธฉือจี้ศึกษาความเป็นมา วิธีการเผยแผ่ และอิทธพลขององค์กรพุทธฉือจี้
ศึกษาความเป็นมา วิธีการเผยแผ่ และอิทธพลขององค์กรพุทธฉือจี้
 
ภาวนาทีปนี
ภาวนาทีปนีภาวนาทีปนี
ภาวนาทีปนี
 
พุทธศาสนาเถรวาทในอินเดีย
พุทธศาสนาเถรวาทในอินเดียพุทธศาสนาเถรวาทในอินเดีย
พุทธศาสนาเถรวาทในอินเดีย
 
พุทธศาสนากับการบริหาร
พุทธศาสนากับการบริหารพุทธศาสนากับการบริหาร
พุทธศาสนากับการบริหาร
 
โครงสร้างและเนื้อหาสาระพระไตรปิฎก
โครงสร้างและเนื้อหาสาระพระไตรปิฎกโครงสร้างและเนื้อหาสาระพระไตรปิฎก
โครงสร้างและเนื้อหาสาระพระไตรปิฎก
 

เปรียบเทียบพุทธปรัชญาและปรัชญาลัทธิครูทั้ง ๖

  • 1. เปรียบเทียบความสัมพันธ์ระหว่างพุทธปรัชญา และคาสอนของลัทธิครูทั้ง ๖ ในสมัยพุทธกาล จัดทาโดย นางสาวอัญชลี จตุรานน นาเสนอ อาจารย์ ผศ. ดร.พูนชัย ปันธิยะ รายวิชา พุทธปรัชญาเถรวาท ตามหลักสูตรปริญญาพุทธศาสตรมหาบัณฑิต มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย วิทยาเขตเชียงใหม่ ภาคเรียนที่ ๑ ปีการศึกษา ๒๕๕๕ และเพื่อถวายเป็นพุทธบูชา ธรรมบูชา สังฆบูชา
  • 2. ลัทธิครูทั้ง ๖ ในอินเดียสมัยพุทธกาล ที่มาเรื่องราวของลัทธิครูทั้ง ๖ เมื่อพระเจ้าอชาตศัตรูได้ครองราชย์สืบต่อจากพระเจ้าพิมพิสารผู้ราชบิดา อยู่มาวัน หนึ่งพระองค์ทรงมีความประสงค์จะสนทนากับสมณพราหมณ์ ในปัญหาเรื่องการ บวชมีผลเป็นที่ประจักษ์อย่างไร ได้เสด็จถามปัญหาดังกล่าวกับครูทั้ง ๖ ซึ่งเป็น นักปราชญ์เจ้าลัทธิในขณะนั้น แต่ได้รับคาตอบไม่เป็นที่พอพระทัย เพราะเป็นการ ถามปัญหาอย่างหนึ่งและตอบเสียอีกอย่างหนึ่ง จนท่านหมอชีวกโกมารภัจจ์ แนะนาให้ท่านไปเข้าเฝ้ าพระพุทธเจ้า ท่าจึงทรงนาคาตอบในลัทธิของครูทั้ง ๖ มา ตรัสเล่าถวายพระพุทธเจ้า ทีฆนิกาย, สีลขันธวรรค, สามัญญผลสูตร (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๙)
  • 3. ลัทธิครูทั้ง ๖ ในอินเดียสมัยพุทธกาล คาถามของพระเจ้าอชาตศัตรูต่อครูทั้ง ๖ - ถามถึงผลที่เห็นได้จากการบวช “ข้าแต่พระองค์ผู้เจริญ ศิลปะศาสตร์เป็นอันมากเหล่านี้คือ พลช้าง พลม้า พลรถ พลธนู พนักงานเชิญธง พนักงานจัดกระบวนทัพ พนักงานจัดส่งเสบียง พวกอุคคราชบุตร พลอาสา ขุนพล พลกล้า พลสวมเกราะหนัง พวกบุตรทาส ช่างทาขนม ช่างกัลบก พนักงาน เครื่องสรง พวกพ่อครัว ช่างดอกไม้ ช่างย้อม ช่างหูก ช่างจักสาน ช่างหม้อ นักคานวณ พวกนับคะแนน (นักการบัญชี) หรือศิลปศาสตร์เป็นอันมาก แม้อย่างอื่นใดที่มีคติเหมือนอย่างนี้ คนเหล่านั้นย่อมอาศัยผลแห่งศิลปศาสตร์ที่เห็นประจักษ์เลี้ยงชีพในปัจจุบัน ด้วยผลแห่งศิลป ศาสตร์นั้น เขาย่อมบารุงตน มารดาบิดา บุตรภริยา มิตรอามาตย์ให้เป็นสุขอิ่มหนาสาราญ บาเพ็ญทักษิณาทานอันมีผลอย่างสูง เป็นไปเพื่อให้ได้อารมณ์ดี มีสุขเป็นผล ให้เกิดในสวรรค์ ในสมณพราหมณ์ทั้งหลาย ฉันใด ข้าแต่พระองค์ผู้เจริญ พระองค์อาจบัญญัติสามัญผลที่เห็น ประจักษ์ในปัจจุบัน เหมือนอย่างนั้นได้บ้างหรือไม่?” ทีฆนิกาย, สีลขันธวรรค, สามัญญผลสูตร (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๙)
  • 4. สรุปคาตอบของครูทั้ง ๖ ต่อคาถามของ พระเจ้าอชาตศัตรู ปูรณกัสสปะ มักขลิโคศาล อชิตเกสกัมพลนิครนถนาฏบุตร สัญชัยเวลัฏฐบุตร ปกุธกัจจายนะ เมื่อบุคคลทาบุญหรือทาบาปเอง หรือใช้ ผู้อื่นให้ทาบุญหรือทาบาป ก็ไม่มีผลของ การทาบุญหรือทาบาปนั้นแก่เขา สภาวะ ๗ กอง คือ กองดิน กองน้า กองไฟ กองลม สุข ทุกข์ ชีวะ นี้ไม่มีใครทาหรือ เนรมิต มีอยู่ยั่งยืนไม่แปรปรวน ไม่มี ผู้กระทาการใด ๆ ต่อกัน แม้การเอามีดตัด ศีรษะกันก็ไม่มีผู้ใดฆ่าใคร เป็นแต่เอามีด ผ่านช่องระหว่างสภาวะ ๗ กองนี้เท่านั้น ความเป็นอยู่หรือเป็นไปของสัตว์ทั้งหลาย ไม่มีเหตุ ไม่มีปัจจัย ย่อมเป็นไปเอง ไม่อยู่ ในวิสัยที่จะทาให้เป็นไปอย่างใดอย่าง หนึ่งได้ แม้การที่จะบรรลุถึงความบริสุทธิ์ พ้นทุกข์สิ้นเชิง ในวัฏสงสารนี้ก็เป็นไป เอง มิใช่ด้วยการกระทาใด ๆ เป็นเหตุ นิครนถ์เป็นผู้สังวรแล้วด้วยสังวร ๔ ประการ คือ เป็นผู้ห้ามน้าทั้งปวง ๑ เป็น ผู้ประกอบด้วยน้าทั้งปวง ๑ เป็นผู้กาจัด ด้วยน้าทั้งปวง ๑ เป็นผู้ประพรมด้วยน้า ทั้งปวง ๑ จึงเป็นผู้ถึงที่สุด สารวมและตั้ง มั่นแล้ว ผลกรรมไม่มี โลกนี้โลกหน้าไม่มี การรู้ แจ้งไม่มี บุคคลและสัตว์ไม่มี เป็นเพียง ธาตุดิน น้า ลม ไฟ มารวมกัน ตายแล้ว ขาดสูญ ถ้าถามปัญหาว่า ข้อนั้นเป็นอย่างนั้นหรือ หากหม่อมฉันเห็นว่าเป็นอย่างนั้น ก็จะตอบ ว่าเป็นอย่างนั้น แต่หม่อมฉันไม่มีความเห็น ตายตัวเช่นนั้น หม่อมฉันมีความเห็นว่า อย่างนี้ก็มิใช่ อย่างนั้นก็มิใช่ อย่างอื่นก็มิใช่ ไม่ใช่ก็มิใช่ มิใช่ไม่ใช่ก็มิใช่
  • 5. ลัทธิปูรณกัสสปะ • มีความเห็นว่า วิญญาณเป็นสิ่งไร้กัมมันตภาพ เป็นสิ่งเที่ยงแท้ถาวร ไม่มีการปลี่ยน แปลง ร่างกายนี้เองเป็นเจ้าของพฤติกรรม วิญญาณไม่เกี่ยวข้องกับกรรมดีกรรมชั่วที่ร่างกายทา แต่ ร่างกายก็เป็นสิ่งที่ไร้เจตนา ดังนั้นเมื่อร่างกายทาสิ่งใดๆ ลงไป จึงไม่จัดเป็นบุญบาปแต่อย่างใด บุคคลไม่จัดว่าได้ทาบุญเมื่อให้ทาน เป็นต้น และไม่จัดว่าได้ทาบาปเมื่อฆ่าสัตว์ ลักทรัพย์ประพฤติผิด ในกาม หรือพูดปด • เจ้าลัทธิชื่อ ปูรณะนั้น แต่ก่อนเป็นทาสคนที่ ๑๐๐ ของตระกูล จึงได้ชื่อว่า ปูรโณ. ก็เพราะเป็นทาส มงคล จึงไม่มีผู้กล่าวว่าเขา แม้จะไม่ยอมทางานก็ตาม. ถึงกระนั้นเขาก็ยังคิดว่า เราจะอยู่ในที่นี้ไป ทาไมแล้วก็หนีไป • ในเวลาต่อมา ถูกพวกโจรชิงเอาเสื้อผ้าของเขาไป. เขาไม่รู้จักการปกปิดด้วยใบไม้หรือหญ้า ก็เข้าไป ยังบ้านตาบลหนึ่ง ทั้งๆ ที่เปลือยกายนั่นเอง คนเห็นแล้วคิดว่าเป็นพระอรหันต์ ผู้มักน้อย จึงเข้า อุปัฏฐาก เขาจึงได้ถือเอาการไม่นุ่งผ้านั้นเป็นการบรรพชา และตั้งลัทธิชื่อ อกิริยทิฏฐิ (ทาก็ไม่ชื่อว่า ทา ) คือถือว่า บุญบาปไม่มี ความดีความชั่วไม่มี
  • 6. “ศิลปะศาสตร์เป็นอันมากเหล่านั้น คือพลช้าง พลม้า...ฯลฯ คนเหล่า นั้น ย่อมอาศัยผล แห่งศิลปศาสตร์ที่เห็นประจักษ์เลี้ยงชีพในปัจจุบัน ด้วยผลแห่งศิลปะศาสตร์นั้น เขาย่อม บารุงตน มารดาบิดา...ฯลฯ ให้เป็นสุขอิ่มหนาสาราญ....มีสุขเป็นผล ให้เกิดในสวรรค์ ใน สมณพราหมณ์ ทั้งหลาย ฉันใด ท่านอาจบัญญัติสามัญผลที่เห็นประจักษ์ในปัจจุบัน เหมือนอย่างนั้นได้หรือไม่ “ คาถามพระเจ้าอชาตศัตรู (ย่อ) “เมื่อบุคคลทาบุญหรือทาบาปเอง หรือใช้ผู้อื่นให้ทาบุญหรือทาบาป ก็ไม่มีผลของการ ทาบุญหรือทาบาปนั้นแก่เขา” ทีฆนิกาย, สีลขันธวรรค, สามัญญผลสูตร คาตอบท่านปูรณกัสสปะ (ย่อ)
  • 7. สรุปคาสอนของลัทธิปูรณกัสสปะ • มีความเห็นว่า วิญญาณเป็นสิ่งไร้กัมมันตภาพ เป็นสิ่งเที่ยงแท้ถาวร ไม่มีการ เปลี่ยนแปลง ร่างกายนี้เองเป็นเจ้าของพฤติกรรม วิญญาณไม่เกี่ยวข้องกับกรรมดี กรรมชั่วที่ร่างกายทา แต่ร่างกายก็เป็นสิ่งที่ไร้เจตนา • ดังนั้นเมื่อร่างกายทาสิ่งใดๆ ลงไป จึงไม่จัดเป็นบุญบาปแต่อย่างใด บุคคลไม่ จัดว่าได้ทาบุญเมื่อให้ทาน เป็นต้น และไม่จัดว่าได้ทาบาป เมื่อฆ่าสัตว์ ลักทรัพย์ ประพฤติผิดในกาม หรือพูดปด
  • 8. ลัทธิปูรณกัสสปะ - พุทธปรัชญา นัตถิกทิฏฐิ - ไม่เชื่อทั้งเหตุและผลของการกระทา ไม่เชื่อบุญ บาป เอกัจจสัสสติกทิฏฐิ เอกัจจอสัสสติกทิฏฐิ (หมวดเห็นว่าบางอย่างเที่ยง บางอย่างไม่เที่ยง) - เห็น ว่าวิญญาณเป็นสิ่งไร้กัมมันตภาพ เป็นสิ่งเที่ยงแท้ถาวร ไม่มีการเปลี่ยนแปลงร่างกายนี้เองเป็นเจ้าของ พฤติกรรม วิญญาณไม่เกี่ยวข้องกับกรรม อกิริยวาที - เป็นผู้กล่าวการทาว่าไม่เป็นอันทา เทียบกับทิฏฐิ ๖๒ ขัดแย้งกับหลักไตรลักษณ์ ขัดแย้งกับหลักของกรรม คือผู้ทากรรม เป็นผู้รับผลของกรรม เทียบกับหลักกรรม เทียบกับนิยตมิจฉาทิฏฐิ ๓ ขัดแย้งกับหลักของกรรม ทาดีได้ดี ทาชั่วได้ชั่ว
  • 9. ลัทธิมักขลิโคศาล • วันหนึ่งเห็นต้นข้าวที่คนเหยียบย่าแล้วกลับงอกงามขึ้นมาอีก จึงเกิดความคิดว่า สัตว์ทั้งหลาย หลังจากตายแล้ว จะต้องกลับมีวิญญาณขึ้นมาอีก ไม่ตายไม่สลาย และถือว่า สัตว์ทั้งหลายขึ้นอยู่ กับกระบวนการที่ได้กาหนดไว้แล้ว แน่นอนไม่เปลี่ยนแปลง • ปฏิเสธกรรมและความเพียรว่าเป็นสิ่งที่ไร้ความหมาย เพราะการบรรลุโมกษะไม่ได้สาเร็จด้วย ความเพียรหรือด้วยกรรมใดๆ สัตว์จะต้องเวียนว่ายตายเกิดจากภพสู่ภพไปโดยลาดับ เมื่อถึงภพ สุดท้ายก็จะเข้าถึงความบริสุทธิ์ได้เอง ความบริสุทธิ์ประเภทนี้เรียกว่า “สังสารสุทธิ” • เหตุการณ์ที่เกิดขึ้นในชีวิตหนึ่งๆ เป็นเรื่องของการโชคดีและเคราะห์ร้าย ไม่เกี่ยวกับกรรมดี และกรรมชั่วแต่อย่างใด • ชื่อ โคสาโล เพราะเกิดในโรงโค เคยลื่นล้มและทาหม้อน้ามันหกหมด จึงหนีไปเพราะกลัวนาย แต่ นายวิ่งไปจับชายผ้าไว้ทัน จึงทิ้งผ้าหนีไป และเข้าไปยังบ้านตาบลหนึ่งทั้งๆที่เปลือยกายนั่นเอง คนเห็น แล้วคิดว่าเป็นพระอรหันต์ผู้มักน้อย จึงเข้าไปอุปัฏฐาก โคสาโลคิดว่า เรื่องนี้เกิดขึ้นเพราะเรานุ่งผ้า จึง ได้ถือเอาการไม่นุ่งผ้านั้นเป็นบรรพชา และตั้งลัทธิชื่อ อเหตุกทิฏฐิ (ไม่มีเหตุ ไม่มีปัจจัย) คือถือว่า ดี ชั่ว สุข ทุกข์ สัตว์ทั้งหลายเกิดมาจะบริสุทธิ์ได้เอง
  • 10. “ศิลปะศาสตร์เป็นอันมากเหล่านั้น คือพลช้าง พลม้า...ฯลฯ คนเหล่า นั้น ย่อมอาศัยผล แห่งศิลปศาสตร์ที่เห็นประจักษ์เลี้ยงชีพในปัจจุบัน ด้วยผลแห่งศิลปะศาสตร์นั้น เขาย่อม บารุงตน มารดาบิดา...ฯลฯ ให้เป็นสุขอิ่มหนาสาราญ....มีสุขเป็นผล ให้เกิดในสวรรค์ ใน สมณพราหมณ์ ทั้งหลาย ฉันใด ท่านอาจบัญญัติสามัญผลที่เห็นประจักษ์ในปัจจุบัน เหมือนอย่างนั้นได้หรือไม่ “ คาถามพระเจ้าอชาตศัตรู (ย่อ) “ความเป็นอยู่หรือเป็นไปของสัตว์ทั้งหลาย ไม่มีเหตุ ไม่มีปัจจัย ย่อมเป็นไปเอง ไม่อยู่ใน วิสัยที่จะทาให้เป็นไปอย่างใดอย่างหนึ่งได้ แม้การที่จะบรรลุถึงความบริสุทธิ์พ้นทุกข์ สิ้นเชิง ในวัฏสงสารนี้ก็เป็นไปเอง มิใช่ด้วยการกระทาใดๆ เป็นเหตุ” ทีฆนิกาย, สีลขันธวรรค, สามัญญผลสูตร คาตอบท่านมักขลิโคศาล
  • 11. สรุปคาสอนของลัทธิมักขลิโคศาล • มีความเห็นว่า วิญญาณเป็นสิ่งไร้กัมมันตภาพ เป็นสิ่งเที่ยงแท้ถาวร วิญญาณไม่ เกี่ยวข้องกับกรรมดีกรรมชั่วที่ร่างกายทา ไม่จัดเป็นบุญบาปแต่อย่างใด • เชื่อว่าสัตว์ทั้งหลายหลังจากตายแล้ว จะต้องกลับมีวิญญาณขึ้นมาอีก ไม่ตาย ไม่สลาย และถือว่าสัตว์ทั้งหลายขึ้นอยู่กับกระบวนการที่ได้กาหนดไว้แล้ว แน่นอนไม่ เปลี่ยนแปลง • ปฏิเสธกรรมและความเพียรว่าเป็นสิ่งที่ไร้ความหมาย สัตว์จะต้องเวียนว่าย ตายเกิดจากภพสู่ภพไปโดยลาดับ เมื่อถึงภพสุดท้ายก็จะเข้าถึงความบริสุทธิ์ได้เอง ความบริสุทธิ์ประเภทนี้เรียกว่า “สังสารสุทธิ” • เหตุการณ์ที่เกิดขึ้นในชีวิตหนึ่งๆ เป็นเรื่องของการโชคดีและเคราะห์ร้าย ไม่ เกี่ยวกับกรรมดีและกรรมชั่วแต่อย่างใด
  • 12. ลัทธิมักขลิโคศาล - พุทธปรัชญา อกิริยทิฏฐิ - ปฏิเสธกรรมและผลของกรรมไม่เชื่อบุญ บาป เอกัจจสัสสติกทิฏฐิ เอกัจจอสัสสติกทิฏฐิ (หมวดเห็นว่าบางอย่างเที่ยง บางอย่างไม่เที่ยง) - เห็น ว่าวิญญาณเป็นสิ่งไร้กัมมันตภาพ เป็นสิ่งเที่ยงแท้ถาวร ไม่มีการเปลี่ยนแปลงร่างกายนี้เองเป็นเจ้าของ พฤติกรรม วิญญาณไม่เกี่ยวข้องกับกรรม อธิจจสมุปปันนิกทิฏฐิ (หมวดเห็นว่าสิ่งต่างๆ มีขึ้นเอง ไม่มีเหตุ) - เชื่อว่าสัตว์ทั้งหลายขึ้นอยู่กับ กระบวนการที่ได้กาหนดไว้แล้ว แน่นอนไม่เปลี่ยนแปลง เทียบกับทิฏฐิ ๖๒ ขัดแย้งกับหลักไตรลักษณ์ ขัดแย้งกับหลักปฏิจสมุปบาท เทียบกับนิยตมิจฉาทิฏฐิ ๓ ขัดแย้งกับหลักของกรรม
  • 13. ลัทธิปกุธกัจจายนะ • ปกุธกัจจายนะเป็นนักพหุนิยมและวัตถุนิยม มีทรรศนะถือว่าสัตว์ประกอบด้วยธาตุทั้งหลาย ธาตุ เหล่านั้นเป็นสิ่งที่มีความมั่นคง ไม่เป็นบ่อเกิดของสิ่งใดๆ ได้อีก ไม่มีพฤติกรรมร่วมกับสิ่งใดๆ ไม่ มีการเคลื่อนไหว ไม่มีการเปลี่ยนแปลง • ดังนั้นจึงไม่มีใครฆ่าใคร ไม่มีใครถูกฆ่า ไม่มีใครแสดงอะไรแก่ใคร ไม่มีใครสอน ไม่มีใครเรียน แม้ ดาบจะผ่านร่างกายของสัตว์ไปก็ไม่จัดเป็นการทาบาป ไม่จัดเป็นการทาลายสัตว์เป็นเพียงดาบได้ ผ่านกลุ่มธาตุที่ปรากฏเป็นร่างกาย เท่านั้น ร่างกายนั้นเป็นกลุ่มของปรมาณูไม่มีสิ่งอื่นใดทุกอย่าง สิ้นสุดลงพร้อมกับ การตายของสัตว์นั้นๆ • ท่านเจ้าลัทธิชื่อ ปกุโธ ชื่อสกุลคือ กัจจายนะ ท่านถือว่าน้ามีชีวิต จึงห้ามใช้น้าเย็น แม้จะถ่ายอุจจาระ ก็ไม่ใช้น้าเย็น ได้น้าร้อนหรือน้าข้าวจึงใช้ หากเดินผ่านแม่น้า หรือน้าในทางก็ถือว่าศีลขาดแล้ว จะต้อง ก่อทรายทาเป็นสถูปอธิษฐานศีลก่อนเดินต่อไป ท่านได้ตั้งลัทธิชื่อสัสสตทิฏฐิ สิ่งทั้งหลายเที่ยง ยั่งยืน อยู่อย่างนั้น เช่นโลกเที่ยง จิตเที่ยง
  • 14. “ศิลปะศาสตร์เป็นอันมากเหล่านั้น คือพลช้าง พลม้า...ฯลฯ คนเหล่า นั้น ย่อมอาศัยผล แห่งศิลปศาสตร์ที่เห็นประจักษ์เลี้ยงชีพในปัจจุบัน ด้วยผลแห่งศิลปะศาสตร์นั้น เขาย่อม บารุงตน มารดาบิดา...ฯลฯ ให้เป็นสุขอิ่มหนาสาราญ....มีสุขเป็นผล ให้เกิดในสวรรค์ ใน สมณพราหมณ์ ทั้งหลาย ฉันใด ท่านอาจบัญญัติสามัญผลที่เห็นประจักษ์ในปัจจุบัน เหมือนอย่างนั้นได้หรือไม่ “ คาถามพระเจ้าอชาตศัตรู (ย่อ) “สภาวะ ๗ กอง คือ กองดิน กองน้า กองไฟ กองลม สุข ทุกข์ ชีวะ นี้ไม่มีใครทาหรือ เนรมิต มีอยู่ยั่งยืนไม่แปรปรวน ไม่มีผู้กระทาการใด ๆ ต่อกัน แม้การเอามีดตัดศีรษะกันก็ ไม่มีผู้ใดฆ่าใคร เป็นแต่เอามีดผ่านช่องระหว่างสภาวะ ๗ กองนี้เท่านั้น” คาตอบท่านปกุธกัจจายนะ (ย่อ) ทีฆนิกาย, สีลขันธวรรค, สามัญญผลสูตร
  • 15. สรุปคาสอนของลัทธิปกุธกัจจายนะ • เมื่อพิจารณาตามคาตอบของท่านปกุธกัจจายนะนี้จะเห็นได้ว่าท่านเชื่อมั่นว่าชีวิต ของสรรพสัตว์ ประกอบด้วยสภาวะ ๗ อย่าง คือ ดิน น้า ไฟ ลม สุข ทุกข์ และชีวะ สภาวะเหล่านี้มีธรรมชาติเที่ยงแท้ เป็นอยู่นิรันดร มีอยู่เอง ไม่มีใครทาลายได้ • ในองค์ประกอบทั้ง ๗ เหล่านี้ธาตุ ๔ คือ ดิน น้า ลม และไฟ และชีวะเป็น องค์ประกอบทาให้ชีวิตมนุษย์เกิดขึ้นได้ ธาตุแต่ละอย่างมีธรรมชาติ เป็นอยู่ นิรันดร เป็นอยู่ได้ด้วยตนเอง ไม่มีอะไรทาลายได้ ไม่มีอะไรทาให้เกิดขึ้น • ดังนั้น การฆ่าจะใช้ศาสตราวุธอย่างใด ไม่ถือว่าบาป
  • 16. ลัทธิปกุธกัจจายนะ - พุทธปรัชญา อุจเฉททิฏฐิ (หมวดเห็นว่าขาดสูญ) - เชิ่อว่าผู้ฆ่าเองก็ดี หรือผู้ที่เกี่ยวข้องกับการฆ่า ไม่มีในสภาวะ ๗ กองนั้น กล่าวคือไม่มีใครฆ่า ไม่มีใครตาย ตายแล้วจึงไม่มีอะไรเหลืออยู่อีก สัสสตทิฏฐิ (หมวดเห็นว่าเที่ยง) - เชื่อว่าสภาวะ ๗ กองเหล่านี้เที่ยงแท้ มั่นคง ไม่เปลี่ยนแปลง ไม่ หวั่นไหว ไม่แปรปรวน อธิจจสมุปปันนิกทิฏฐิ (หมวดเห็นว่าสิ่งต่างๆ มีขึ้นเอง ไม่มีเหตุ) - เชื่อว่า สภาวะ ๗ กองเหล่านี้ไม่ หวั่นไหว ไม่แปรปรวน ไม่เบียดเบียนกัน ไม่อาจให้เกิดสุขหรือทุกข์หรือทั้งสุข และทุกข์แก่กันและกัน เทียบกับทิฏฐิ ๖๒ เทียบกับนิยตมิจฉาทิฏฐิ ๓ นัตถิกทิฏฐิ - ไม่เชื่อทั้งเหตุและผลของการกระทา ไม่เชื่อว่ามีบุญ มีบาป ขัดแย้งกับหลักไตรลักษณ์ ขัดแย้งกับหลักปฏิจสมุปบาท ขัดแย้งกับสัมมาทิฏฐิ ขัดแย้งกับหลักกรรม
  • 17. ลัทธินิครนถนาฏบุตร • เป็นเจ้าลัทธิที่ถือปฏิบัติเปลือยกาย เพราะถือว่าเครื่องนุ่งห่มเป็นเครื่องผูกพันอย่างหนึ่ง เป็น เครื่องหมายของการมีพันธะอยู่กับโลกวัตถุ โดยทั่วไปถือว่าเป็นผู้เดียวกับมหาวีระศาสดาของเชน เป็นผู้ปฏิบัติทรมานตน ในฐานะเป็นตบะปลดเปลื้องกรรมเก่าให้หมดไป และเพื่อปิดกั้นกรรมใหม่ ไม่ให้เกิดขึ้น ต่อจากนั้นก็จะบรรลุโมกษะ • มีข้อปฏิบัติพื้นฐาน ๕ ประการ ในศาสนาเชน คือ อหิงสา (การไม่เบียดเบียนด้วยกาย วาจา ใจ) สัตยะ (การปฏิบัติสัจจะทางกาย วาจา ใจ) , อสเตยยะ (การไม่ลักด้วยกาย วาจา ใจ), พรหมจริยะ (การปฏิบัติถูกต้องเรื่องกามด้วยกาย วาจา ใจ), อปริคคหะ (การไม่เกาะเกี่ยวสิ่งใดๆด้วยกาย วาจา ใจ) • เจ้าลัทธิชื่อว่า นิคันถะ (เว้นจากเครื่องร้อยรัดคือกิเลส) นาฏบุตร คือเป็นบุตรของนาฏกะนักรา ตั้งลัทธิชื่อ อัตตกิลมถานุโยค และอเนกานตวาท ถือว่า การทรมานกายเป็นหนทางแห่งความพ้น ทุกข์ และเห็นว่า ความจริงมีหลายแง่มุม ขึ้นอยู่กับสถานการณ์ ความจริงไม่ได้มีเพียงหนึ่ง (สยาทวาท)
  • 18. “ศิลปะศาสตร์เป็นอันมากเหล่านั้น คือพลช้าง พลม้า...ฯลฯ คนเหล่า นั้น ย่อมอาศัยผลแห่งศิลปศาสตร์ที่ เห็นประจักษ์เลี้ยงชีพในปัจจุบัน ด้วยผลแห่งศิลปะศาสตร์นั้น เขาย่อมบารุงตน มารดาบิดา...ฯลฯ ให้เป็น สุขอิ่มหนาสาราญ....มีสุขเป็นผล ให้เกิดในสวรรค์ ในสมณพราหมณ์ ทั้งหลาย ฉันใด ท่านอาจบัญญัติ สามัญผลที่เห็นประจักษ์ในปัจจุบัน เหมือนอย่างนั้นได้หรือไม่ “ คาถามพระเจ้าอชาตศัตรู (ย่อ) “ดูกรมหาบพิตร นิครนถ์ในโลกนี้เป็นผู้สังวรแล้วด้วยสังวร ๔ ประการ นิครนถ์เป็นผู้สังวรแล้วด้วยสังวร ๔ ประการ เป็นไฉน? ดูกรมหาบพิตร นิครนถ์ในโลกนี้เป็นผู้ห้ามน้าทั้งปวง ๑ เป็นผู้ประกอบด้วยน้าทั้ง ปวง ๑ เป็นผู้กาจัดด้วยน้าทั้งปวง ๑ เป็นผู้ประพรมด้วยน้าทั้งปวง ๑ นิครนถ์เป็นผู้สังวรแล้วด้วยสังวร ๔ ประการ อย่างนี้แล มหาบพิตร เพราะเหตุที่นิครนถ์เป็นผู้สังวรแล้วด้วยสังวร ๔ ประการอย่างนี้บัณฑิต จึงเรียกว่า เป็นผู้มีตนถึงที่สุดแล้ว มีตนสารวมแล้วมีตนตั้งมั่นแล้ว ดังนี้“ คาตอบท่านนิครนถนาฏบุตร (ย่อ) ทีฆนิกาย, สีลขันธวรรค, สามัญญผลสูตร
  • 19. สรุปคาสอนของลัทธินิครนถนาฏบุตร • เมื่อพิจารณาตามคาตอบของท่านนิครนถนาฏบุตรนี้จะเห็นได้ว่าท่านไม่ได้ให้ คาตอบในคาถามเรื่องสามัญญผลของสมณพราหมณ์เลย • ถือปฏิบัติเปลือยกาย เพราะถือว่าเครื่องนุ่งห่มเป็นเครื่องผูกพันอย่างหนึ่ง • ปฏิบัติทรมานตน ในฐานะเป็นตบะปลดเปลื้องกรรมเก่าให้หมดไป และเพื่อปิด กั้นกรรมใหม่ไม่ให้เกิดขึ้น • มีข้อปฏิบัติพื้นฐาน ๕ประการ ในศาสนาเชน คือ อหิงสา, สัตยะ, อสเตยยะ, พรหมจริยะ, อปริคคหะ
  • 20. ลัทธินิครนถนาฏบุตร - พุทธปรัชญา มีข้อปฏิบัติพื้นฐาน ๕ ประการ - คือ อหิงสา, สัตยะ, อสเตยยะ, พรหมจริยะ, อปริคคหะ อมราวิกเขปิกทิฏฐิ (หมวดพูดซัดส่ายไม่ตายตัวแบบปลาไหล) - เห็นว่า ความจริงมีหลายแง่มุม ขึ้นอยู่กับสถานการณ์ ความจริงไม่ได้มีเพียงหนึ่ง (สยาทวาท)ไม่แปรปรวน ถือหลักอัตตกิลามถานุโยค - ปฏิบัติทรมานตน ในฐานะเป็นตบะปลดเปลื้องกรรมเก่าให้หมด ไป และเพื่อปิดกั้นกรรมใหม่ไม่ให้เกิดขึ้น เทียบกับทิฏฐิ ๖๒ ขัดแย้งกับหลักอริยสัจ ๔ ซึ่งเป็นความจริงในทุกกาล สถานที่ ขัดแย้งกับหลักมรรค ๘ และกรรม ซึ่งกรรมแก้ไม่ได้ เหมือนพุทธคือเน้นหลักอหิงสา และการรักษาความบริสุทธ์ทางกาย วาจา ใจ เทียบกับมรรค ๘ เทียบเรื่องศีล และบรรทัดฐานด้านจริยธรรม เป้ าหมายคือ นิรวาณ (นิพพาน) เป้ าหมายเหมือนพุทธคือนิพพาน เทียบเรื่องเป้ าหมาย เป็นลัทธิอเทวนิยม เหมือนพุทธศาสนา เทียบเรื่องการนับถือเทพ
  • 21. ลัทธิอชิตเกสกัมพล • ชื่อเดิมคือ อชิต แต่ที่มีชื่อว่า เกสกัมพล เพราะครองผ้ากัมพลที่ทอด้วยผมคน รวมชื่อทั้ง ๒ เข้า ด้วยกัน จึงเรียกว่า อชิตเกสกัมพล ผ้ากัมพลที่ทอด้วยผมคน หน้าหนาวก็เย็นเยือก หน้าร้อนก็ร้อนระอุ มีค่าน้อย สีไม่สวย ทั้งกลิ่นก็เหม็น และมีสัมผัสไม่สบาย ได้ตั้งลัทธิชื่อ นัตถิกทิฏฐิ คือถือว่า ทาอะไร ไม่มีผลไม่ว่าจะดีชั่ว หรือการบูชาก็ตาม • แนวคิดของลัทธิอชิตเกสัมพล ตรงกับปรัชญาในยุคหลังคือวัตถุนิยม เป็นทรรศนะที่ปฏิเสธว่า ไม่ มีสัตว์ ไม่มีบุคคลใดๆ ทั้งสิ้น ไม่มีชาติหน้า ไม่มีบุญ ไม่มีบาป ปฏิเสธกรรมดีกรรม ชั่ว ปฏิเสธพิธีกรรม ทางศาสนาว่าไร้ผล ปฏิเสธความสมบูรณ์ทางจิต ไม่มีใครทาดีไม่มีใครทาชั่ว เพราะสัตว์ประกอบด้วย ธาตุ 4 คือ ดิน น้า ลม ไฟ จึงไม่มีสัตว์ใดๆ คงมีแต่กลุ่มธาตุ ชาตินี้ของสัตว์สิ้นสุดลงที่การตาย ไม่มี อะไรเหลืออีกหลังจากตาย • ทรรศนะนี้ปฏิเสธคัมภีร์พระเวทอย่างรุนแรง เป็นทรรศนะที่ชี้แนะว่า สัตว์จะแสวงหาความสุขแก่ตน ด้วยวิธีใดๆ ก็ได้ ไม่ต้องทาสิ่งที่เคยเชื่อกันมาว่าจะอานวยความสุขในชาติหน้า เพราะวิญญาณคือ ร่างกายที่ยังมีชีวิตอยู่นั่นเอง
  • 22. “ศิลปะศาสตร์เป็นอันมากเหล่านั้น คือพลช้าง พลม้า...ฯลฯ คนเหล่า นั้น ย่อมอาศัยผล แห่งศิลปศาสตร์ที่เห็นประจักษ์เลี้ยงชีพในปัจจุบัน ด้วยผลแห่งศิลปะศาสตร์นั้น เขาย่อม บารุงตน มารดาบิดา...ฯลฯ ให้เป็นสุขอิ่มหนาสาราญ....มีสุขเป็นผล ให้เกิดในสวรรค์ ใน สมณพราหมณ์ ทั้งหลาย ฉันใด ท่านอาจบัญญัติสามัญผลที่เห็นประจักษ์ในปัจจุบัน เหมือนอย่างนั้นได้หรือไม่ “ คาถามพระเจ้าอชาตศัตรู (ย่อ) “ทานไม่มีผล การบูชาไม่มีผล การเซ่นสรวงไม่มีผล ผลวิบากแห่งกรรมที่ทาดี ทาชั่วไม่มี โลกนี้ไม่มี โลกหน้าไม่มี มารดาบิดาไม่มี สัตว์ผู้เกิดผุดขึ้นไม่มี สมณพราหมณ์ผู้ดาเนิน ชอบ ปฏิบัติชอบ ไม่มีในโลก คนเรานี้เป็นแต่ประชุมมหาภูตทั้งสี่ การเซ่นสรวงมีเถ้าเป็น ที่สุด ทานนี้คนเขลาบัญญัติไว้ คาของคนบางพวกพูดว่า มีผลๆ ล้วนเป็นคาเปล่า คาเท็จ คาเพ้อ เพราะกายสลาย ทั้งพาลทั้งบัณฑิตย่อมขาดสูญ พินาศสิ้น เบื้องหน้าแต่ตายย่อม ไม่เกิด ดังนี้” ทีฆนิกาย, สีลขันธวรรค, สามัญญผลสูตร คาตอบท่านอชิตเกสกัมพล
  • 23. สรุปคาสอนของลัทธิอชิตเกสกัมพล • ปฏิเสธว่า ไม่มีสัตว์ ไม่มีบุคคลใดๆ ทั้งสิ้น ไม่มีชาติหน้า ไม่มีบุญ ไม่มีบาป • ปฏิเสธกรรมดีกรรมชั่ว ปฏิเสธพิธีกรรมทางศาสนาว่าไร้ผล ปฏิเสธความ สมบูรณ์ทางจิต • เชื่อว่าไม่มีใครทาดี ไม่มีใครทาชั่ว เพราะสัตว์ประกอบด้วยธาตุ ๔ คือ ดิน น้า ลม ไฟ จึงไม่มีสัตว์ใดๆ คงมีแต่กลุ่มธาตุ ชาตินี้ของสัตว์สิ้นสุดลงที่การตาย ไม่มีอะไร เหลืออีกหลังจากตาย • ชี้แนะว่า สัตว์จะแสวงหาความสุขแก่ตนด้วยวิธีใดๆ ก็ได้ ไม่ต้องทาสิ่งที่เคย เชื่อกันมาว่าจะอานวยความสุขในชาติหน้า เพราะวิญญาณคือร่างกายที่ยังมีชีวิตอยู่ นั่นเอง
  • 24. ลัทธิอชิตเกสกัมพล - พุทธปรัชญา อกิริยทิฏฐิ - ปฏิเสธกรรมและผลของกรรมไม่เชื่อบุญ บาป อุจเฉททิฏฐิ (หมวดเห็นว่า ขาดสูญ) - เพราะเชื่อว่าไม่มีสัตว์ใดๆ คงมีแต่กลุ่มธาตุ ชาตินี้ของสัตว์ สิ้นสุดลงที่การตาย ไม่มีอะไรเหลืออีกหลังจากตาย ขัดกับสัมมาทิฏฐิ ๑๐ เพราะปฏิเสธกรรมดีกรรมชั่ว ไม่เชื่อว่ามีบุญ มีบาป ไม่เชื่อว่าทานและการบูชามีผล เทียบกับทิฏฐิ ๖๒ ขัดแย้งกับสัมมาทิฏฐิ และความเชื่อเรื่อง สังสารวัฏ เทียบกับสัมมาทิฏฐิ ๑๐ ขัดแย้งกับหลักของกรรม ขัดแย้งกับสัมมาทิฏฐิ เทียบกับนิยตมิจฉาทิฏฐิ ๓ เชื่อว่าสัตว์จะแสวงหาความสุขแก่ตนด้วยวิธีใดๆ ก็ได้ ไม่มีผลใดๆ ขัดแย้งกับหลักจริยธรรมที่มี ศีล ๕ เป็นพื้นฐาน เทียบกับหลักจริยธรรม
  • 25. ลัทธิสัญชัยเวลัฏฐบุตร คาว่า สัญชัย เป็นชื่อของเจ้าลัทธินั้น ชื่อว่า เวลัฏฐบุตร เพราะเป็นบุตรของเวลัฏฐ สัญชัยเวลัฏฐบุตร อาศัยอยู่ในกรุงราชคฤห์ พร้อมกับปริพาชกหมู่ใหญ่ รวมถึง อุปติสสะ(พระสารีบุตร) และโกลิตะ(พระ โมคคัลลานะ) ซึ่งได้ชวนกันมาบวชในสานักของสัญชัยปริพาชก พร้อมกับมาณพ ๕๐๐ คน ต่อมาเมื่อ อุปติสสะ(พระสารีบุตร) ได้พบพระอัสสชิและบรรลุโสดาบัน จึงได้มาชวนโกลิตะ(พระโมคคัลลานะ) และสัญชัยปริพาชกไปเฝ้ าพระพุทธเจ้า แต่สัญชัยปริพาชกปฏิเสธและพยายามห้ามปราม เมื่อห้ามไม่ สาเร็จจึงคับแค้นใจจนกระอักเลือดเสียชีวิต • ลัทธิสัญชัยเวลัฏฐบุตรถือว่า สิ่งอันติมะเป็นสิ่งไม่สามารถกาหนดได้ และได้กล่าวถึงปัญหา บางอย่างที่พระพุทธเจ้าไม่ทรงพยากรณ์ เช่น ปัญหาเรื่อง อาตมันเป็นสิ่งเดียวกับร่างกายหรือไม่? สัตว์ตายแล้วเกิดอีกหรือไม่? ปัญหาเหล่านี้พระพุทธเจ้าไม่ทรงพยากรณ์ โดยทรงแสดงเหตุผลว่าเป็น เรื่องไร้ประโยชน์ แต่ทรงพยากรณ์ปัญหาต่างๆ ในกระบวนการของอริยสัจ ๔ • ใช้หลักตรรกวิทยาเป็นเครื่องมือสาคัญในการตอบปัญหา มักพูดซัดส่ายไปมา ไม่อยู่กับร่องกับรอย
  • 26. “ศิลปะศาสตร์เป็นอันมากเหล่านั้น คือพลช้าง พลม้า...ฯลฯ คนเหล่า นั้น ย่อมอาศัยผล แห่งศิลปศาสตร์ที่เห็นประจักษ์เลี้ยงชีพในปัจจุบัน ด้วยผลแห่งศิลปะศาสตร์นั้น เขาย่อม บารุงตน มารดาบิดา...ฯลฯ ให้เป็นสุขอิ่มหนาสาราญ....มีสุขเป็นผล ให้เกิดในสวรรค์ ใน สมณพราหมณ์ ทั้งหลาย ฉันใด ท่านอาจบัญญัติสามัญผลที่เห็นประจักษ์ในปัจจุบัน เหมือนอย่างนั้นได้หรือไม่ “ คาถามพระเจ้าอชาตศัตรู (ย่อ) “ถ้าถามปัญหาว่า ข้อนั้นเป็นอย่างนั้นหรือ หากหม่อมฉันเห็นว่าเป็นอย่างนั้น ก็จะตอบว่า เป็นอย่างนั้น แต่หม่อมฉันไม่มีความเห็นตายตัวเช่นนั้น หม่อมฉันมีความเห็นว่า อย่างนี้ก็ มิใช่ อย่างนั้นก็มิใช่ อย่างอื่นก็มิใช่ ไม่ใช่ก็มิใช่ มิใช่ไม่ใช่ก็มิใช่” ทีฆนิกาย, สีลขันธวรรค, สามัญญผลสูตร คาตอบท่านสัญชัยเวลัฏฐบุตร
  • 27. สรุปคาสอนของลัทธิสัญชัยเวลัฏฐบุตร • ถือว่า สิ่งอันติมะเป็นสิ่งไม่สามารถกาหนดได้ นอกจากนี้ยังกล่าวถึงปัญหา บางอย่างที่พระพุทธเจ้าไม่ทรงพยากรณ์ เช่น ปัญหาเรื่อง อาตมันเป็นสิ่งเดียวกับ ร่างกายหรือไม่? สัตว์ตายแล้วเกิดอีกหรือไม่? • ใช้หลักตรรกวิทยาเป็นเครื่องมือสาคัญในการตอบปัญหา มักพูดซัดส่ายไปมา ไม่ อยู่กับร่องกับรอย ไม่ให้คาตอบที่ตรงกับคาถาม
  • 28. ลัทธิสัญชัยเวลัฏฐบุตร - พุทธปรัชญา อมราวิกเขปิกทิฏฐิ (หมวดพูดซัดส่ายไม่ตายตัวแบบปลาไหล) – เพราะไม่มีความเห็นตายตัว ไม่มี ความจริงที่เป็นสัจจะ กล่าวถึงปัญหาที่พระพุทธเจ้าไม่ทรงพยากรณ์ เช่น อาตมันเป็นสิ่งเดียวกับร่างกายหรือไม่? สัตว์ตายแล้ว เกิดอีกหรือไม่? เทียบกับทิฏฐิ ๖๒ เทียบกับอัพยากตปัญหา ๑๐ ปัญหาเหล่านี้พระพุทธเจ้าไม่ทรงพยากรณ์ ทรงแสดง เหตุผลว่าเป็นเรื่องไร้ประโยชน์ แต่ทรงพยากรณ์ปัญหา ต่างๆ ในกระบวนการของอริยสัจ ๔ ขัดแย้งกับหลักอริยสัจ ๔ ซึ่งเป็นความจริงในทุกกาล สถานที่
  • 29. ดาวน์โหลดไฟล์งานนาเสนอนี้และวิชาอื่นๆได้ที่ www.BuddhaBucha.net/download ขอขอบพระคุณในการติดตามชม หวังว่าการนาเสนอครั้งนี้ จะทาให้ ท่านเข้าใจถึงความสัมพันธ์ระหว่าง พุทธปรัชญา และปรัชญาของลัทธิครู ทั้ง ๖ ในช่วงพุทธกาลมากยิ่งขึ้น และจะเป็นประโยชน์ในการศึกษา พุทธศาสนาของทุกท่านต่อไป ขออนุโมทนาสาธุในบุญทุกประการ ของทุกท่าน และขอให้เจริญร่มเย็นในธรรม ตลอดกาลเทอญ สาธุ... आपको बहुत बहुत धन्यवाद.