SlideShare a Scribd company logo
1 of 94
Download to read offline
เพื่อนำเสนอ พระครูประวิตรวรำนุยุต,ดร.
ในรำยวิชำ พระพุทธศำสนำมหำยำน
ตำมหลักสูตรปริญญำพุทธศำสตรมหำบัณฑิต
มหำวิทยำลัยมหำจุฬำลงกรณรำชวิทยำลัย วิทยำเขตเชียงใหม่
ภำคเรียนที่ ๒ ปีกำรศึกษำ ๒๕๕๕
และเพื่อถวำยเป็นพุทธบูชำ ธรรมบูชำ สังฆบูชำ
จัดทำโดย
พระอธิกำรสุทิน อตฺตทีโป (เตจ๊ะสำ)
นำงสำวอัญชลี จตุรำนน
ศึกษำพระสูตรสำคัญ
ของพระพุทธศำสนำมหำยำน :
วิมลเกียรตินิทเทสสูตร และ ศรีมำลำเทวีสูตร
๑. เพื่อศึกษำถึงลักษณะสำคัญของพระไตรปิฎกมหำยำน
๒. เพื่อศึกษำภำพรวมของพระสูตรสำคัญของมหำยำน
๓. เพื่อศึกษำเนื้อหำโดยสรุปของวิมลเกียรตินิทเทสสูตร และศรีมำลำเทวี
สูตร ซึ่งเป็นพระสูตรที่สำคัญและโดดเด่นของมหำยำน
๔. เพื่อวิเครำะห์เปรียบเทียบเนื้อหำของวิมลเกียรตินิทเทสสูตรและศรี
มำลำเทวีสูตรกับคำสอนในพุทธศำสนำเถรวำท
๕. เพื่อศึกษำและสรุปแนวคิดในกำรศึกษำพุทธศำสนำมหำยำน
วัตถุประสงค์
๑. พระไตรปิฎกมหำยำน
๒. พระสูตรสำคัญของมหำยำน
๓. เนื้อหำโดยสรุปของวิมลเกียรตินิทเทสสูตร
๔. เปรียบเทียบเนื้อหำของวิมลเกียรตินิทเทสสูตรกับคำสอนในพุทธศำสนำ
เถรวำท
๕. เนื้อหำโดยสรุปของศรีมำลำเทวีสูตร
๖. เปรียบเทียบเนื้อหำของศรีมำลำเทวีสูตรกับคำสอนในพุทธศำสนำเถร
วำท
๗. แนวคิดในกำรศึกษำพุทธศำสนำมหำยำน
๘. บรรณำนุกรม
โครงร่ำงเนื้อหำสำระ
๑. พระไตรปิฎกภำษำมคธ หรือบำลี เป็นคัมภีร์ของฝ่ำยเถรวำท (ศรีลังกำ, ไทย,
พม่ำ, เขมร และลำว)
๒. พระไตรปิฎกภำษำสันสกฤต เป็นคัมภีร์ฝ่ำยนิกำยมหำยำนและนิกำยสรวำสติ
วำทิน (แปลเป็นภำษำจีน และเผยแพร่ต่อออกไป เกำหลี, ญี่ปุ่น และญวน)
๓. พระไตรปิฎกภำษำสันสกฤต เป็นคัมภีร์ฝ่ำยนิกำยมหำยำนเหมือนกัน แต่
ประกำศหนักไปในนิกำยมนตรยำน (แปลเป็นภำษำธิเบต และเผยแพร่ต่อ
ออกไป ในมองโกเลีย และมำนจูเรีย)
โดยสรุปคือ ในปัจจุบันมี
พระไตรปิฎกภำษำบำลี, ภำษำจีน
และภำษำธิเบต
พระไตรปิฎกในปัจจุบัน
พระไตรปิฎกมหำยำน
• ได้รวมเอาคติธรรมจากพระไตรปิฎกบาลีและธิเบตไว้ด้วย ไม่จากัดเฉพาะลัทธิมหายานเท่านั้น
• จานวนคัมภีร์ในพระไตรปิฎกจีนนี้มีการชาระกันหลายครั้ง จานวนคัมภีร์กับจานวนผูก
เปลี่ยนแปลงไม่เท่ากันในแต่ละครั้ง
ตัวอย่ำงหมวดพระไตรปิฎกจีนในสมัยรำชวงศ์เหม็ง
หมวดอวตังสกะ พระสูตรใหม่สูตรหนึ่งเป็นหัวใจคือ พุทธาวตังสกมหาไวปุลยสูตร ๘๐ ผูก
หมวดไวปุลยะ พระสูตรใหญ่ชื่อมหารัตนกูฏสูตร ๑๒๐ ผูก เป็นหัวใจ
หมวดปรัชญำ มีพระสูตรใหญ่ ชื่อมหาปรัชญาปารมิตาสูตร ๖๐๐ ผูก
หมวดสัทธรรมปุณฑริก มีพระสูตรใหญ่ ชื่อสัทธรรมปุณฑริกสูตร ๘ ผูก
หมวดปรินิรวำณ มีพระสูตรใหญ่ ชื่อมหาปรินิรวาณสูตร ๔๐ ผูก
พระวินัยลัทธิมหำยำน คงปฏิบัติวินัยบัญญัติตามพระปาฏิโมกข์
ของฝ่ายสาวกยาน แต่เพิ่มโพธิสัตวจริยา
ปกรณ์วิเสสต่ำงๆ อีกมากมายจานานนับพันผูก
คุณลักษณะของพระไตรปิฎกภำษำจีน
พระไตรปิฎกมหำยำน
เปรียบเทียบกับแนวคิดของพุทธ
ศำสนำเถรวำท
พระไตรปิฎกภำษำบำลีของเถร
วำทแบ่งเป็น ๓ หมวดคือ พระ
วินัย, พระสุตตันตปิฎก และพระ
อภิธรรมปิฎก และคงรูปแบบ
หมวดหมู่และเนื้อหำไว้ ไม่ว่ำจะ
มีกำรชำระกี่ครั้ง
๑.) วัชรปรัชญำปำรมิตำ - เป็นพระสูตรดั้งเดิมที่สุด เป็นมูลฐานทฤษฎีว่าด้วยศูนยตา นิกายเซ็นยกย่อง
พระสูตรนี้มาก จะสวดสาธยายในงานพิธีศราทธพรต เช่นการสวดอภิธรรมในฝ่ายเถรวาท
๒.) อวตังสกะสูตร - เชื่อว่าเป็นพระสูตรที่พระพุทธเจ้าทรงสั่งสอนเองในขณะที่พระองค์เข้าสมาธิหรืออยู่
ในสภาพธรรมกาย กล่าวถึงเรื่องของธรรมกาย (กายของพระพุทธเจ้า)
๓.) คัณฑวยุหสูตร - เป็นพระสูตรที่บรรยายการจาริกแสวงโมกษะธรรมของชายหนุ่มคนหนึ่งชื่อ สุธนะ
ซึ่งได้กล่าวถึงคาปฏิญาณของสุธนะในการที่ประสงค์ไปเกิดในสุขาวดียุหภพ
๔.) ทศภูมิกสูตร - กล่าวถึงวัชรครรภะโพธิสัตว์ ได้บรรยายถึงข้อปฏิบัติ ที่จะทาให้บุคคลบรรลุความเป็น
พระโพธิสัตว์ ๑๐ ประการ
๕.) วิมลเกียรตินิทเทสสูตร – เรื่องราวของวิมลเกียรติโพธิสัตว์ แสดงให้เห็นว่าการจะเป็นพระโพธิสัตว์
และดารงชีวิตตามแบบอย่างพระโพธิสัตว์นั้น ไม่จาเป็นต้องเป็นพระภิกษุก็ได้
พระสูตรสำคัญของมหำยำน
๖.) ศูรำงคมสมำธิสูตร - กล่าวถึงความสาคัญของการบาเพ็ญสมาธิว่า เป็นมูลเหตุให้บรรลุการตรัสรู้
ความเป็นพระโพธิสัตว์และสัจธรรม
๗.) สัทธรรมปุณฑริกสูตร - กล่าวถึงเหตุที่พระองค์ทรงสั่งสอนสรรพสัตว์ด้วยอุบายวิธีต่างๆกัน เนื่อง
ด้วยพระมหากรุณาของพระองค์ที่มีต่อสรรพสัตว์ คาสั่งสอนอันแท้จริงของพระตถาคตนั้นมีเพื่อ
หนึ่งเดียวเท่านั้นคือเพื่อสรรพสัตว์
๘.) ศรีมำลำเทวีสูตร - พระพุทธเจ้าได้ทรงตรัสพยากรณ์แห่งหญิงผู้หนึ่งคือ เจ้าหญิงศรีมาลาเทวีและ
เจ้าหญิงศรีมาลาเทวีก็ได้ตั้งสัตย์ปฏิญาณไว้ ๑๐ ประการ
๙.) พรหมชำลสูตร - ว่าด้วยวินัยของมหายานทุกนิกาย มีอยู่ ๑๐ ประการ
๑๐.) สุขำวดีวยุหสูตร – ว่าด้วยแนวคิดเรื่องภพหน้า มี ๓ ประการ คือ เกิดในสวรรค์ชั้นดุสิตของพระ
ศรีอารย์ เกิดในภูมิตะวันออกของพระอักโษภยะ และเกิดในภูมิตะวันตกของพระอมิตาภะ
พระสูตรสำคัญของมหำยำน (ต่อ)
• พระสูตรนี้กาเนิดในช่วงปลายพุทธศตวรรษที่ ๕ ไม่ปรากฏชื่อผู้แต่ง
พระสูตร
• พระนาคารชุน ผู้รจนาอรรถกถามหาปรัชญาปารมิตาสูตร ก็ได้
อ้างอิงข้อความจากวิมลเกียรตินิทเทสสูตรหลายตอน
• ต้นฉบับพระสูตรนี้ปัจจุบันหายสาบสูญไปแล้ว แต่มีผู้แปลไว้หลาย
สานวน จึงยังคงสืบทอดมาถึงทุกวันนี้
• ในภาษาจีนมีการแปลวิมลเกียรตินิทเทสสูตรไว้ถึง ๗ สานวน แต่
เหลือสืบทอดถึงปัจจุบันเพียง ๓ สานวนเท่านั้น ฉบับที่แปลเป็นไทย
โดย อ. เสถียร โพธินันทะ (พ.ศ. ๒๕๐๔) ได้แปลจากฉบับแปลของ
พระกุมารชีพ เพราะมีสานวนโวหารไพเราะได้รับการยกย่องว่าเป็น
วรรณคดีจีนชั้นสูง
ควำมเป็นมำ
วิมลเกียรตินิทเทสสูตร
เปรียบเทียบกับพุทธ
ศำสนำเถรวำท
พระสูตรในฝ่ำยเถร
วำทคือพุทธพจน์ของ
พระพุทธเจ้ำทั้งสิ้น ไม่
มีกำรแต่งเพิ่ม
ภำยหลัง
พระพุทธเจ้ำ - ตรัสกับรัตนกูฏบุตรคฤหบดีว่า วิสุทธิเกษตรแห่งพระโพธิสัตว์ก็อยู่ในสรรพ
สัตว์ทั้งปวง เพราะว่าพระโพธิสัตว์ย่อมบาเพ็ญหิตานุหิตประโยชน์โปรดสรรพสัตว์ จึงจะ
สามารถสาเร็จซึ่งพุทธเกษตรได้ เปรียบเหมือนการสร้างปราสาทที่ต้องอาศัยแผ่นดิน
พระสำรีบุตร - เกิดปริวิตกว่า เหตุใดพุทธเกษตรของพระพุทธเจ้าจึงไม่บริสุทธ์สะอาด
พระพุทธเจ้ำ - ทรงอธิบายว่าพุทธเกษตรของพระองค์แท้จริงแล้วบริสุทธิ์สะอาด แต่บุคคล
มีจิตสูงต่าไม่เสมอกัน จึงเห็นว่าไม่บริสุทธิ์สะอาด จากนั้นพระพุทธเจ้าก็ทรงแสดงฤทธิ์ให้
เห็นความงดงามอลังการของพุทธเกษตรของท่าน
เมื่อนั้นรัตนกูฏพร้อมด้วยบุตรคฤหบดีอีก ๕๐๕ คน ต่างก็บรรลุธรรมกษานติ และมี ๘,๔๐๐
คนต่างตั้งจิตมุ่งสาเร็จพระอนุตตรสัมมาสัมโพธิญาณ
ปริเฉทที่ ๑ พระพุทธเกษตรวรรค
วิมลเกียรตินิทเทสสูตร
ปริเฉทที่ ๑ พระพุทธเกษตรวรรค
วิมลเกียรตินิทเทสสูตร
เปรียบเทียบกับแนวคิดของพุทธศำสนำเถรวำท
• เถรวาทไม่มีเรื่องของพุทธเกษตร เชื่อว่าโลกและจักรวาลเป็นเรื่องของ
ธรรมชาติ ไม่ได้บริสุทธิ์ผุดผ่องปราศจากมลทิน แต่เป็นไปตามธรรมชาติ
• ในเถรวาทเมื่อมีการแสดงธรรมจบ มักจะจบเรื่องด้วยการกล่าวว่าผู้ได้ฟัง
ธรรมเกิดดวงตารู้แจ้งเห็นธรรม บรรลุธรรมขั้นใด แต่มหายานจะจบด้วยว่า ผู้
ได้ฟังธรรมเกิดจิตมุ่งต่อพระอนุตรสัมมาสัมโพธิญาณ
• กล่าวถึงคฤหบดีผู้หนึ่ง ชื่อวิมลเกียรติ เป็นผู้แตกฉานในธรรม
มีฌานและอภิญญาเป็นเลิศ มีจิตบริสุทธิ์สะอาด ดาเนินตามมหายานปฏิปทาโดยไม่แปรผัน
• วันหนึ่งท่ำนวิมลเกียรติสำแดงตนว่ำบังเกิดอำพำธ ชนทั้งหลายไปเยี่ยมไข้ ท่านวิมล
เกียรติจึงแสดงธรรมว่าร่างกายนี้เป็นของไม่เที่ยง ปราศจากแก่นสาร เป็นที่ประชุมของโรค จึง
ไม่ควรหลงใหลเพลิดเพลินในกายนี้แต่ให้ยินดีในพุทธสรีระ คือพระธรรมกายอันเกิดจากศีล
สมาธิ ปัญญา วิมุตติ วิมุตติญาณทัสสนะ เมตตา กรุณา มุทิตา อุเบกขา ทาน ศีล ขันติ โสรัจ
จะ วิริยะ ฌาน วิมุตติ สมาธิ พหูสูต ปัญญาแลปวงบารมีธรรม ๓๗
• ผู้มาเยี่ยมไข้ทั้งหลายก็บังเกิดจิตปณิธานในพระอนุตตรสัมมาสัมโพธิญาณโดยถ้วนหน้า
ปริเฉทที่ ๒ อุปำยโกศลวรรค
วิมลเกียรตินิทเทสสูตร
ปริเฉทที่ ๒ อุปำยโกศลวรรค
วิมลเกียรตินิทเทสสูตร
เปรียบเทียบกับแนวคิดของพุทธศำสนำเถรวำท
• เถรวาทก็สอนว่า “ร่างกายนี้เป็นของไม่เที่ยง ปราศจากแก่นสาร เป็นที่ประชุมของโรค
จึงไม่ควรหลงใหลเพลิดเพลินในกายนี้” แต่ไม่ได้สอนว่า “ให้ยินดีในพุทธสรีระ คือ
พระธรรมกายอันเกิดจากศีล สมาธิ ปัญญา.....” แต่จะสอนให้ละความยึดมั่นในกาย
เพื่อความหลุดพ้น
พระพุทธเจ้าทรงมีพระดารัสให้พระสาวกท่านต่างๆไปเยี่ยมไข้ท่านวิมลเกียรติ แต่ไม่มีท่านใดอยาก
ไป เพราะคิดว่าตนไม่คู่ควรในการไปเยี่ยมท่านวิมลเกียรติ โดยมีเรื่องเล่าประสบการณ์ของแต่ละ
ท่านดังนี้(ยกตัวอย่างเพียงบางท่าน)
พระสำรีบุตร
ท่านวิมลเกียรติเคยแสดงธรรมให้ท่านฟังเรื่องการนั่งสมาธิว่าไม่จาเป็นต้องกระทาอาการนั่ง แต่ควร
ทาการไม่ปรากฏกายใจในภพทั้ง ๓ จิตไม่ยึดติดในกายใจ หรือยึดติดในภายนอก สามารถอบรมใน
โพธิปักขิยธรรม ๓๗ ได้ ไม่ต้องตัดกิเลส แต่สามารถเข้านิพพานได้ นี้คือการนั่งสมาธิ
พระโมคคัลลำนะ
ครั้งหนึ่งขณะท่านกาลังแสดงธรรมให้คฤหบดีฟัง ท่านวิมลเกียรติได้มากล่าวว่าการแสดงธรรมไม่
ควรเป็นเช่นนั้น เพราะธรรมนั้นไม่มีสัตว์ บุคคล อดีต อนาคต เป็นสุญญตา เปรียบเทียบไม่ได้ จึงไม่
มีอะไรจะแสดงได้ ต้องตั้งจิตให้ได้เช่นนี้จิตมีมหากรุณา สดุดีลัทธิมหายาน ไม่ละขาดจากพระไตร
รัตน์ เช่นนี้จึงควรจะแสดงธรรม
ปริเฉทที่ ๓ สำวกวรรค
วิมลเกียรตินิทเทสสูตร
ปริเฉทที่ ๓ สำวกวรรค
วิมลเกียรตินิทเทสสูตร
เปรียบเทียบกับแนวคิดของพุทธศำสนำเถรวำท
• เถรวาทจะยกย่องพระอรหันตสาวกว่าเป็นผู้มีเกียรติ มีปัญญา โดยเฉพาะเอตทัคคะ
ในด้านต่างๆ
• เถรวาทไม่มีเรื่องการไม่ต้องตัดกิเลส แต่สามารถเข้านิพพานได้ คาสอนของเถรวาท
การเข้าสู่นิพพาน คือการหมดแล้วซึ่งกิเลส
• มหายานมีแนวคิดเชิงปรัชญา เช่น การกล่าวว่า “ธรรมนั้นไม่มีสัตว์ บุคคล อดีต
อนาคต เป็นสุญญตา เปรียบเทียบไม่ได้ จึงไม่มีอะไรจะแสดงได้” ฝ่ายเถรวาทเห็นว่า
การแสดงธรรม คือการแสดงความจริงให้ผู้ที่ยังมีอวิชชาได้พิจารณา
• มหายานจะมีการสอนให้สดุดีลัทธิมหายาน แทรกอยู่ในพระสูตรเป็นระยะ เถรวาท
เน้นการสดุดีพระพุทธเจ้า และ พระธรรม เป็นหลัก
พระมหำกัสสปะ
ครั้งหนึ่งขณะท่านเที่ยวจาริกบิณฑบาตคามละแวกบ้านคนยากจน
ท่านวิมลเกียรติได้มากล่าวว่าท่านมีจิตเมตตากรุณาไม่แผ่ไพศาล
เพราะละเลยบ้านคนร่ารวย มาโปรดแต่คนยากจน แท้จริงแล้วควรโปรดสัตว์ทั้งปวงได้เท่ากัน
หลังจากนั้นพระมหากัสสปะก็ไม่เทศน์ให้คนมุ่งต่อพระนิพพานอีก แต่ให้มุ่งต่อพุทธภูมิเท่านั้น
พระสุภูติ
ครั้งหนึ่งท่านวิมลเกียรติได้ใส่บาตรท่านจนเต็มบาตร และกล่าวว่าหากท่านสามารถเห็นถึงความ
จริงว่า ธรรมทั้งหลายเสมอกันหมด จึงสมควรที่จะนาอาหารเหล่านี้ไปฉันได้ การเห็นธรรมทั้งหลาย
เสมอกันหมดคือไม่ต้องตัดกิเลส แต่ไม่อยู่ร่วมกับกิเลส ไม่ฟังธรรมพระพุทธเจ้า แต่ฟังธรรมจากลัทธิ
ครูทั้ง ๖ ได้ เมื่อนั้นก็มีเทวบุตร ๒๐๐ องค์ได้ธรรมจักษุอันบริสุทธิ์
ปริเฉทที่ ๓ สำวกวรรค
วิมลเกียรตินิทเทสสูตร
ปริเฉทที่ ๓ สำวกวรรค
วิมลเกียรตินิทเทสสูตร
เปรียบเทียบกับแนวคิดของพุทธศำสนำเถรวำท
• เถรวาทก็มีคาสอนเรื่องการเมตตาโดยไม่มีประมาณเช่นกัน
• เถรวาทมุ่งเทศน์เพื่อให้คนมุ่งต่อพระนิพพาน แต่มหายานจะเน้นให้คนมุ่งพุทธภูมิ
• เถรวาทสอนให้ลดละกิเลส ฟังธรรมจากพระพุทธเจ้า เพื่อให้มีความเห็นชอบ แต่
มหายานสอนว่าไม่ต้องตัดกิเลส แต่ไม่อยู่ร่วมกับกิเลส ไม่ฟังธรรมพระพุทธเจ้า แต่ฟัง
ธรรมจากลัทธิครูทั้ง ๖ ได้ คือเห็นทุกอย่างเสมอกัน
• มหายานจะจบการแสดงธรรมแต่ละครั้งว่ามีผู้ได้ธรรมจักษุอันบริสุทธิ์ คือมีจิตมุ่งต่อ
พุทธภูมิ แต่เถรวาทจบด้วยการที่ผู้ฟังบรรลุธรรม ทั้งนี้เนื่องมาจากเป้ าหมายที่แตกต่าง
กัน
พระอุบำลี
ครั้งหนึ่งมีภิกษุสองรูปประพฤติผิดพระวินัยบัญญัติ และมาขอให้ท่านช่วยตัดวิมติกังขาเพื่อให้พ้น
จากอาบัติ ท่านวิมลเกียรติได้มากล่าวว่าควรจะสอนให้ดับโทษที่สมุฏฐานโดยตรงดีกว่า เพราะเมื่อ
จิตผ่องแผ้ว สัตว์ก็ย่อมชื่อว่าเป็นผู้ผ่องแผ้วก็ธรรมชาติแห่งจิตนั้น เมื่อจิตหลุดพ้นจากอาสวกิเลส จิต
ก็จะปราศจากความเศร้าหมอง ผู้ที่เข้าถึงสถานะความจริงอย่างนี้จึงชื่อว่าเป็นผู้ปฏิบัติพระวินัย
พระอำนนท์
ครั้งหนึ่งท่านได้ออกบิณฑบาตเพื่อหาน้านมโคมารักษาอาการอาพาธของพระพุทธเจ้า เมื่อท่านวิมล
เกียรติมาพบเข้า ก็กล่าวว่าพระวรกายของพระพุทธองค์นั้นเป็นวัชรกายสิทธิ มีสรรพบาปโทษละได้
ขาดแล้วโดยสิ้นเชิง เป็นที่ประชุมแห่งสรรพกุศลธรรมทั้งปวง ย่อมไม่มีอาการอาพาธ เพียงแต่สาแดง
อาการอาพาธเพื่อโปรดสัตว์เท่านั้น
ปริเฉทที่ ๓ สำวกวรรค
วิมลเกียรตินิทเทสสูตร
ปริเฉทที่ ๓ สำวกวรรค
วิมลเกียรตินิทเทสสูตร
เปรียบเทียบกับแนวคิดของพุทธศำสนำเถรวำท
• มหายานมีแนวคิดว่าบุญและบาปเท่ากัน ผู้เข้าถึงความจริงจะเห็นทุกอย่างเสมอกัน แต่
เถรวาทสอนให้รักษาศีลตามสถานะของตน เพราะศีลเป็นบาทฐานในการสร้างสมาธิและ
ปัญญา
• มหายานเชื่อว่าพระวรกายของพระพุทธองค์นั้นเป็นวัชรกายสิทธิ
บริสุทธิ์ผุดผ่อง ย่อมไม่มีอาการอาพาธ เพียงแต่สาแดงอาการอาพาธ
เพื่อโปรดสัตว์เท่านั้น แต่เถรวาทสอนว่าพระวรกายของพระพุทธเจ้า
ก็อยู่ภายใต้กฏไตรลักษณ์และทุกข์แห่งขันธ์ ๕ เช่นกัน
• ในปริเฉทนี้แสดงให้เห็นว่าพระอรหันต์ทั้งหลายรวมถึงเอตทัคคะด้านต่างๆ ด้อยปัญญา
กว่าท่านวิมลเกียรติ แต่ในเถรวาทจะยกย่องพระอรหันต์ว่าเป็นผู้มีปัญญา หมดกิเลส
พระพุทธเจ้าทรงมีพระดารัสให้พระโพธิสัตว์องค์ต่างๆไปเยี่ยมไข้ท่านวิมลเกียรติ
แต่ไม่มีองค์ใดอยากไป เพราะคิดว่าตนไม่คู่ควรในการไปเยี่ยมท่านวิมลเกียรติ
โดยมีเรื่องเล่าประสบการณ์ของแต่ละองค์ดังนี้(ยกตัวอย่างเพียงบางท่าน)
พระเมตไตรยโพธิสัตว์
ครั้งหนึ่งเมื่อท่านกาลังแสดงธรรมว่าด้วยปฏิปทาแห่งนิวรรตนิยภูมิแก่ดุสิตเทวราช
พร้อมทั้งเทวบริษัทอยู่ เมื่อนั้นท่านวิมลเกียรติได้มาบอกท่านว่า การที่ท่านได้รับ
พุทธพยากรณ์ว่าอีกเพียงชาติเดียว ท่านก็จักได้ตรัสรู้พระอนุตตรสัมมาสัมโพธิ
ญาณนั้น ท่านจะถือเอาอดีตชาติ อนาคตชาติ หรือปัจจุบันชาติ ถ้าเป็นอดีตชาติก็
ชื่อว่าล่วงลับไปแล้ว หากเป็นอนาคตชาติก็ยังเป็นธรรมที่ยังไม่มาถึง หรือหากเป็น
ปัจจุบันชาติ ก็ปราศจากสภาวะความดารงตั้งมั่นอยู่ได้ หรือหากกล่าวว่าได้รับ
พุทธพยากรณ์ในความเกิดขึ้นหรือดับไปแห่ง ตถตา โดยความจริงแล้ว ตถตา ย่อม
ไม่มีความเกิดขึ้นหรือดับไป
ปริเฉทที่ ๔ โพธิสัตววรรค
วิมลเกียรตินิทเทสสูตร
ปริเฉทที่ ๔ โพธิสัตววรรค
วิมลเกียรตินิทเทสสูตร
เปรียบเทียบกับแนวคิดของพุทธศำสนำเถรวำท
• มหายานเอาเรื่องการที่พระเมตไตรยโพธิสัตว์ได้รับพุทธพยากรณ์ว่าอีกเพียงชาติเดียวก็
จักได้ตรัสรู้พระอนุตตรสัมมาสัมโพธิญาณ มากล่าวถึงในมุมของปรัชญาเปรียบเปรยกับคา
สอนของมหายานเรื่องอนัตตา และตถตา แต่ในเถรวาทพุทธพยากรณ์เรื่องนี้เป็นข้อเท็จจริง
จากการพยากรณ์ของพระพุทธเจ้าว่า “อีกชาติเดียว” พระเมตไตรยโพธิสัตว์จะได้ตรัสรู้
ไม่ได้มีคาสอนแนวปรัชญาแฝงในพุทธพยากรณ์ดังเช่นมหายาน
พระประภำลังกำรกุมำร
ท่านได้ถามว่า “ท่านคฤหบดีมาแต่ไหน” ท่านวิมลเกียรติตอบว่า “ผมมาแต่ธรรมมณฑล” ธรรมมณฑลนั้น
คือ จิตที่ตั้งไว้ตรง คือการปฏิบัติธรรม คือจิตที่ลึกซึ้ง คือโพธิจิต คือทานบริจาค คือสีลสังวร คือขันติ คือ
วิริยะ คือฌานสมาธิ คือปัญญา คือเมตตา คือกรุณา คือมุทิตา คืออุเบกขา คืออภินิหาร คือวิมุตติ คืออุ
ปาย คือสังคหวัตถุ ๔ คือพหูสูต คือ...............ฯลฯ
สุทัตตะ บุตรคฤหบดี
ครั้งหนึ่งท่านได้จัดงานกุศลบาเพ็ญมหาทานบริจาคแก่สมณะ พราหมณ์ นักบวชนอกศาสนา คนยากจน
คนวรรณะต่า เมื่อนั้นท่านวิมลเกียรติได้มากล่าวว่ามหาทานสันนิบาตไม่ควรทาเช่นนี้แต่ควรทาธรรมทาน
สันนิบาตมากกว่า นั่นคือทานที่ไม่มีอดีต ไม่มีอนาคตในกาลเดียว บูชาสักการะในสรรพสัตว์ได้ทั่วถึง มี
ความตรัสรู้เป็นที่ตั้ง มีเมตตา กรุณา มุทิตา อุเบกขาในจิต ยังทานบารมี ขันติบารมี ฌานบารมี ปัญญา
บารมี สังคหวัตถุธรรม สรรพกุศลธรรม และโพธิปักขิยธรรมให้เกิดขึ้น จึงจะชื่อว่าเป็นบุญเขตอันประเสริฐ
ปริเฉทที่ ๔ โพธิสัตววรรค
วิมลเกียรตินิทเทสสูตร
ปริเฉทที่ ๔ โพธิสัตววรรควิมลเกียรตินิทเทสสูตร
เปรียบเทียบกับแนวคิดของพุทธศำสนำเถรวำท
• ธรรมมณฑล เป็นศัพท์เฉพาะในมหายาน หมายความรวมถึงธรรมทั้งหลายในมหายาน
ศัพท์นี้ไม่มีในเถรวาท เถรวาทจะสอนธรรมแต่ละหัวข้อตามกาลที่เหมาะสม และมี
คาอธิบายธรรมแต่ละหัวข้อ ว่าคืออะไร ปฏิบัติเพื่ออะไรอย่างชัดเจน เน้นความเป็นเหตุ
เป็นผล
• “ทาน” ในเถรวาทมีอามิสทาน, อภัยทาน, วิทยาทาน และธรรมทาน เป็นการบาเพ็ญ
บารมีประเภทหนึ่ง ส่วนในมหายานสอนถึงทานที่ไม่มีอดีต ไม่มีอนาคต บูชาสรรพสัตว์ได้
ทั่วถึง มีการตรัสรู้เป็นที่ตั้ง นั่นคือเน้นเป้ าหมายคือให้มุ่งพุทธภูมิ
แต่ในมหายาน ทาน ก็เป็นหนึ่งในบารมีที่ต้องบาเพ็ญเช่นกัน
พระพุทธเจ้าจึงทรงดารัสให้พระมัญชุศรีโพธิสัตว์ไปเยี่ยมไข้ท่านวิมลเกียรติ ท่านก็ขอรับพระพุทธ
บัญชาและเดินทางไปเยี่ยมท่านวิมลเกียรติพร้อมผู้ติดตามมากมาย ทั้งเหล่าเทพ เทวดา ท้าวพรหม
ทั้งหลาย พระสาวก และพระโพธิสัตว์ทั้งหลาย
ท่านวิมลเกียรติทราบว่าพระมัญชุศรีโพธิสัตว์จะมาเยี่ยม ก็ใช้ฤทธิ์บันกาลให้เคหาสน์ของตนเป็น
เคหาสน์ว่างเปล่า ปราศจากสิ่งประดับตกแต่ง บริวารใดๆ
พระมัญชุศรีโพธิสัตว์ - ถามถึงก็ถามถึงอาการป่วยไข้
ท่ำนวิมลเกียรติ - เพราะเหตุที่สรรพสัตว์เจ็บป่วยท่านจึงต้องเจ็บป่วย ถ้าหากสรรพสัตว์พ้นจาก
ความเจ็บป่วย ความเจ็บป่วยของท่านก็ย่อมดับสูญไปเอง จึงกล่าวได้ว่าเหตุแห่งอาพาธของพระ
โพธิสัตว์นั้น มีพระมหากรุณาเป็นสมุฏฐานนั่นเอง
ปริเฉทที่ ๕ คิลำนปุจฉำวรรค
วิมลเกียรตินิทเทสสูตร
ปริเฉทที่ ๕ คิลำนปุจฉำวรรค
วิมลเกียรตินิทเทสสูตร
เปรียบเทียบกับแนวคิดของพุทธศำสนำเถรวำท
• เถรวาทไม่ค่อยมีการกล่าวถึงการแสดงฤทธิ์ของผู้อื่นนอกเหนือไปจากพระพุทธเจ้าและ
พระสาวก
• เถรวาทเน้นสอนถึงทุกข์แห่งขันธ์ ๕ การเจ็บป่วยเป็นความทุกข์จากการมีขันธ์ ๕ แต่
มหายานแสดงว่าการเจ็บป่วยของพระโพธิสัตว์ เกิดจากการที่สรรพสัตว์ยังเจ็บป่วยอยู่
(มองได้ในอีกมุมด้วยว่า เป็นการเปรียบเปรยว่าพระโพธิสัตว์จะยังทนทุกข์อยู่ เพื่อ
ช่วยเหลือสรรพสัตว์ทั้งปวง)
พระมัญชุศรีโพธิสัตว์ - เหตุใดเคหาสน์ของท่านจึงว่างเปล่าจากบริวาร
ท่ำนวิมลเกียรติ - แม้แต่พระพุทธเกษตรแห่งพระสัมพุทธเจ้าทั้งหลาย ก็มีสภาพว่างเปล่าดุจกัน
ความที่ปราศจากวิกัลป์ ปะในความว่างเปล่านั่นเอง จึงเป็นสุญญตา จักหาสุญญตาได้จากทิฏฐิ ๖๒
จักหาทิฏฐิ ๖๒ ได้ในวิมุตติภาพแห่งพระสัมมาสัมพุทธเจ้าทั้งปวง และวิมุตติภาพแห่ง
พระสัมพุทธเจ้าทั้งปวงก็หาได้จากสรรพสัตว์ ดังนั้นแม้หมู่มารทั้งหลายก็ถือว่าเป็นบริวาร เพราะหมู่
มารทั้งปวงยินดีในการเวียนว่ายตายเกิด พระโพธิสัตว์ก็ย่อมไม่หวั่นเกรงในการเวียนว่ายตายเกิด
เช่นกัน
ปริเฉทที่ ๕ คิลำนปุจฉำวรรค
วิมลเกียรตินิทเทสสูตร
ปริเฉทที่ ๕ คิลำนปุจฉำวรรค
วิมลเกียรตินิทเทสสูตร
เปรียบเทียบกับแนวคิดของพุทธศำสนำเถรวำท
• เถรวาทไม่มีเรื่องของพุทธเกษตร
• แนวคิดของเถรวาทกับมหายานเหมือนกันในเรื่องความกรุณาอันไม่มีประมาณ และ
ความไม่หวาดกลัวที่จะต้องเวียนว่ายตายเกิดของพระโพธิสัตว์
พระมัญชุศรีโพธิสัตว์ - ถามถึงอาการอาพาธของท่านวิมลเกียรติ ว่ามีลักษณะอย่างไร
ท่ำนวิมลเกียรติ - อาการอาพาธนี้ปราศจากลักษณะอันจักพึงเห็นได้ เพราะจะว่าเกิดขึ้นกับกายก็
มิใช่ เพราะห่างไกลจากกายลักษณะ จะเกิดขึ้นกับจิตก็มิใช้ เพราะจิตนั้นเป็นดุจมายา ไม่ใช่เกิดที่
มหาภูตรูป ๔ คือ ปฐวีมหาภูต อาโปมหาภูตเตโชมหาภูต วาโยมหาภูต แต่ว่าอาพาธสมุฏฐานแห่ง
ปวงสัตว์ ย่อมเกิดมาจากมหาภูตรูป ๔ เมื่อสรรพสัตว์ยังอาพาธอยู่ตราบใด พระโพธิสัตว์ก็ยังต้อง
อาพาธอยู่ตราบนั้น
ปริเฉทที่ ๕ คิลำนปุจฉำวรรค
วิมลเกียรตินิทเทสสูตร
ปริเฉทที่ ๕ คิลำนปุจฉำวรรค
วิมลเกียรตินิทเทสสูตร
เปรียบเทียบกับแนวคิดของพุทธศำสนำเถรวำท
• ในพระสูตรนี้กล่าวเปรียบเปรยอาการอาพาธของท่านวิมลเกียรติในแง่ปรัชญา ไม่ใช่การ
อาพาธของร่างกายหรือจิต แต่แนวคิดของเถรวาทจะสอนอย่างตรงไปตรงมา เมื่อพูดถึง
การเจ็บป่วยก็คือชี้ให้เห็นถึงทุกข์ของกายและจิต
พระมัญชุศรีโพธิสัตว์ - พระโพธิสัตว์ผู้ไปเยี่ยมเยียนพระโพธิสัตว์ผู้อาพาธอยู่ พึงควรปลอบโยนให้
โอวาทอย่างไร
ท่ำนวิมลเกียรติ - พึงให้โอวาทถึงความอนิจจัง ทุกขัง อนัตตาแห่งสรีระแต่อย่ากล่าวให้เกิดความ
รังเกียจเอือมระอาในสรีระ อย่ากล่าวให้เกิดความยินดีในพระนิพพาน แต่ให้กล่าวให้เกิดวิริยะในการ
โปรดสรรพสัตว์ เพื่อยังพระโพธิสัตว์ผู้อาพาธนั้นให้มีธรรมปีติเกิดขึ้น
พระมัญชุศรีโพธิสัตว์ – พระโพธิสัตว์ผู้อาพาธอยู่จักพึงฝึกฝนอบรมจิตใจอย่างไร
ท่ำนวิมลเกียรติ - พึงมนสิการในใจว่าความเจ็บป่วยนี้ล้วนมีสมุฏฐานปัจจัยจากวิกัลปสัญญาและ
อาสวกิเลสในอดีตชาติ โดยความจริงแล้วไม่มีผู้ที่เจ็บป่วย เพราะสรีระเป็นเพียงที่ประชุมของมหาภูตรูป
๔ จึงควรละอหังการความยึดถือว่า “ตัวฉัน” ละมมังการ ความยึดถือว่า “ของของฉัน” เมื่อเห็นดังนั้น
สรรพอาพาธก็ย่อมไปปราศสิ้น คงมีเหลือแต่สุญญตาพาธ และพึงนึกถึงสรรพสัตว์ทั้งหลายและยังมหา
กรุณาจิตให้บังเกิดขึ้น
ปริเฉทที่ ๕ คิลำนปุจฉำวรรค
วิมลเกียรตินิทเทสสูตร
ปริเฉทที่ ๕ คิลำนปุจฉำวรรค
วิมลเกียรตินิทเทสสูตร
เปรียบเทียบกับแนวคิดของพุทธศำสนำเถรวำท
• มหายานก็สอนเรื่องของไตรลักษณ์แห่งสรีระ แต่ไม่ให้เกิดความเอือมระอาในสรีระ และ
ความยินดีในพระนิพพาน แต่มุ่งให้เกิดวิริยะในการโปรดสรรพสัตว์ ทั้งนี้ก็เนื่องด้วย
เป้ าหมายต้องการให้คนตั้งจิตเป็นพระโพธิสัตว์ ไม่ใช่บรรลุนิพพาน
• มหายานก็มีการสอนให้ละตัวฉัน ของฉัน เช่นกัน แต่เป็นไปเพื่อการสร้างมหากรุณาจิต
ไม่ใช่เป็นไปเพื่อความหลุดพ้นดังเช่นเถรวาท
ท่ำนวิมลเกียรติ - พระโพธิสัตว์แม้ตั้งอยู่ในชาติ ชรา
มรณะ แต่ก็ไม่ได้แปดเปื้อนด้วยมลทินเหล่านั้น แม้ตั้งอยู่ใน
นิพพาน แต่ก็ไม่ดับขันธปรินิพพาน มีความรอบรู้แทงตลอด
ในจิตเจตสิกธรรมแห่งมวลสัตว์ชีพได้ แม้จักบาเพ็ญตามฉฬ
ภิญญา แต่ก็ไม่ยังอาสวะให้หมดจดสิ้นเชิงเลยทีเดียว แม้
จักปฏิบัติในอัปปมัญญาจตุพรหมวิหาร ๔ แต่ก็ไม่มีความ
ปรารถนาที่จักไปอุบัติในพรหมโลก นี่คือจริยาแห่งพระ
โพธิสัตว์
เมื่อท่านวิมลเกียรติกล่าวจบ เทพบุตร ๘๐๐ องค์ที่ติดตาม
พระมัญชุศรีโพธิสัตว์มา ก็ได้ตั้งจิตมุ่งต่อพระโพธิญาณแล
ปริเฉทที่ ๕ คิลำนปุจฉำวรรค
วิมลเกียรตินิทเทสสูตร
ปริเฉทที่ ๕ คิลำนปุจฉำวรรค
วิมลเกียรตินิทเทสสูตร
เปรียบเทียบกับแนวคิดของพุทธศำสนำเถรวำท
• แนวคิดเกี่ยวกับพระโพธิสัตว์ของมหายานและเถรวาทเหมือนกันในเรื่องที่ว่าพระโพธิสัตว์
คือผู้ที่ยังวนเวียนอยู่ในชาติ ชรา มรณะ แต่ไม่แปดเปื้อนด้วยมลทินเหล่านั้น เพราะข้อง
เกี่ยวอยู่ด้วยมหากรุณาในการโปรดสัตว์
พระสำรีบุตร - เกิดมนสิการขึ้นว่า พระโพธิสัตว์บริษัทกับพระมหาสาวกบริษัทจานวนมากขนาดนี้
จักนั่งด้วยอาสนะใดหนอ
ท่ำนวิมลเกียรติ - ท่านมา ณ สถานที่นี้เพื่อแสวงหาธรรม หรือมาเพื่อแสวงหาอาสนะ ผู้แสวงหา
ธรรมนั้น ย่อมไม่ละโมบติดใจในสรีระหรือชีวิต ย่อมเป็นผู้ไม่แสวงหารูป เวทนา สัญญา สังขาร
วิญญาณ.......ฯลฯ....... ย่อมไม่แสวงหาในการกาหนดรู้ทุกข์ ละสมุทัยทาให้แจ้งในนิโรธ เจริญใน
มรรค ก็เพราะว่า ธรรมนั้นย่อมปราศจากปปัญจธรรม หากกล่าวว่ามีตัวตนเป็นผู้กาหนดรู้ทุกข์ละ
สมุทัย ทาให้แจ้งในนิโรธ เจริญในมรรคไซร้ ย่อมชื่อว่าเป็นปปัญจธรรมหาชื่อว่าเป็นการแสวงหา
ธรรมไม่ (เมื่อกล่าวจบ มีเทพบุตร ๕๐๐ องค์ บรรลุธรรมจักษุอันบริสุทธิ์)
ปริเฉทที่ ๖ อจินไตยวรรค
วิมลเกียรตินิทเทสสูตร
ปริเฉทที่ ๖ อจินไตยวรรค
วิมลเกียรตินิทเทสสูตร
เปรียบเทียบกับแนวคิดของพุทธศำสนำเถรวำท
• ในฝ่ายเถรวาท พระอรหันต์เป็นผู้หมดซึ่งกิเลส และมีปัญญามาก จะไม่มีเรื่องราวที่พระ
อรหันต์แสดงอาการละโมบโลภมาก และโดนติเตียนจากผู้อื่นดังเช่นในพระสูตรของ
มหายาน
ท่ำนวิมลเกียรติ – พุทธเกษตรใดที่มีสิงหาสนะอันอุดมวิเศษสมบูรณ์
พระมัญชุศรีโพธิสัตว์ - สุเมรุลักษณะ ของพระสุเมรุประทีปราชาตถาคตพระพุทธเจ้า ผู้มีพระ
วรกายสูงถึง ๘๔,๐๐๐ โยชน์ สิงหาสนะที่ประทับก็สูง ๘๔,๐๐๐ โยชน์ สมบูรณ์ด้วยสรรพคุณา
ลังการอย่างยอดเยี่ยม
ท่านวิมลเกียรติจึงบันดาลฤทธิ์ ทูลขอประทานสิงหบัลลังก์จากพระสุคตเจ้าพระองค์นั้น มาไว้ใน
เคหาสน์ของท่าน โดยเคหาสน์ของท่านก็สามารถบรรจุสิงหบัลลังก์สูง ๘๔,๐๐๐ โยชน์ จานวน
จานวน ๓๒,๐๐๐ อันได้
ปริเฉทที่ ๖ อจินไตยวรรค
วิมลเกียรตินิทเทสสูตร
ปริเฉทที่ ๖ อจินไตยวรรค
วิมลเกียรตินิทเทสสูตร
เปรียบเทียบกับแนวคิดของพุทธศำสนำเถรวำท
• ในฝ่ายเถรวาทไม่มีการพูดถึงพุทธเกษตรอันงดงามของ
พระพุทธเจ้าองค์อื่น และไม่มีการแสดงอิทธิฤทธิ์ของบุคคลอื่นๆ
นอกจากพระพุทธเจ้าและพระสาวกบางรูปเท่านั้น
พระสำรีบุตร - เหตุใดเคหาสน์ของท่าน รวมถึงนครเวสาลี จึงรองรับอาสนะสูงใหญ่จานวนมากได้
ขนาดนี้
ท่ำนวิมลเกียรติ - พระพุทธเจ้าทุกพระองค์ และทั้งพระโพธิสัตว์ทั้งหลาย ตั้งอยู่ในวิมุตติธรรมชื่อ
อจินไตย แม้ความสูงใหญ่แห่งขุนเขาพระสุเมรุก็ยังอาจสามารถนาเอามาบรรจุไว้ในเมล็ดพันธุ์ผัก
เมล็ดหนึ่งได้อย่างพอดี สามารถยังน้าในมหาสมุทรทั้ง ๔ ให้เข้าไปบรรจุอยู่ในขุมรูโลมาขุมหนึ่งได้
พระมหำกัสสป - พระสาวกทั้งหลายผู้ได้สดับธรรมทวารแห่งวิมุตติอันเป็นอจินไตยนี้ย่อมมิอาจจัก
เข้าใจได้ เพราะไม่ได้ตั้งจิตมุ่งต่อพระอนุตตรสัมมาสัมโพธิญาณ (เมื่อกล่าวจบลง ก็มีเทพบุตร
๓๒,๐๐๐ องค์ ตั้งจิตมุ่งต่อพระอนุตตรสัมมาสัมโพธิญาณ)
ปริเฉทที่ ๖ อจินไตยวรรค
วิมลเกียรตินิทเทสสูตร
ปริเฉทที่ ๖ อจินไตยวรรค
วิมลเกียรตินิทเทสสูตร
เปรียบเทียบกับแนวคิดของพุทธศำสนำเถรวำท
ในมหายานจะแสดงถึงอิทธิฤทธิ์พิเศษของเหล่าพระโพธิสัตว์อยู่มากมาย และแสดงให้เห็น
อย่างชัดเจนว่าพระอรหันต์เป็นผู้มีภูมิปัญญาต่ากว่าพระโพธิสัตว์ผู้บาเพ็ญบารมีอยู่
พระมัญชุศรีโพธิสัตว์ - พระโพธิสัตว์ พึงเพ่งพิจารณาสรรพสัตว์โดยประการอย่างไร
ท่ำนวิมลเกียรติ - พึงเพ่งพิจารณาสรรพสัตว์โดยอาการพิจารณาแลดูซึ่งมายาบุรุษอันตนนิมิตขึ้น
เปรียบด้วยผู้มีปัญญาแลดูซึ่งเงาดวงจันทร์ในท้องน้า เปรียบด้วยการแลดูฉายาแห่งตนในกระจก
.......ฯลฯ.......
พระมัญชุศรีโพธิสัตว์ - การเพ่งพิจารณาสรรพสัตว์เป็นเมตตาจริยาอย่างไร
ท่ำนวิมลเกียรติ - การเปรียบเทียบนี้เป็นการแสดงภาวะตรงกันข้ามทั้งนั้น เป็นเรื่องที่เป็นไปไม่ได้
นั่นคือไม่สามารถถือเอาความเป็นตัวตนในสัตว์ในบุคคลได้ และพึงดาเนินเมตตาปฏิปทาด้วยการ
แสดงสมธรรม คือ ธรรมซึ่งยังกาละทั้ง ๓ ให้เสมอกัน.....ฯลฯ..... พึงดาเนินเมตตาปฏิปทาด้วยการ
ยังความสันติสุขให้เกิดมีขึ้นในสรรพสัตว์ คือยังสัตว์เหล่านั้นให้ได้รับสันติรสแห่งพระพุทธองค์
ปริเฉทที่ ๗ สรรพสัตว์วิทรรศนะวรรค
วิมลเกียรตินิทเทสสูตร
ปริเฉทที่ ๗ สรรพสัตว์วิทรรศนะวรรค
วิมลเกียรตินิทเทสสูตร
เปรียบเทียบกับแนวคิดของพุทธศำสนำเถรวำท
• มหายานเน้นการพิจารณาทุกสิ่งให้มีความเสมอกัน เพื่อให้เกิดมหากรุณาจิตสูงสุด เถร
วาทก็สอนให้มีความกรุณาเช่นกัน แต่เน้นให้พิจารณาทุกสิ่งตามความเป็นจริง
เมื่อนั้นมีเทพธิดาองค์หนึ่งสาแดงองค์ให้ปรากฏ และได้โปรยทิพยบุปผาบูชา ทิพยบุปผานี้ไม่ติด
สรีระของพระโพธิสัตว์ทั้งหลาย แต่กลับติดแน่นบนสรีระของพระมหาสาวก พระสารีบุตรพยายาม
สลัดทิพยบุปผา
เทพธิดำ - เหตุใดท่านจึงพยายามสลัดทิพยบุปผา
พระสำรีบุตร – เพราะสมณศากยบุตรไม่สมควรต่อการมีบุปผชาติมาประดับให้ผิดธรรมวินัย
เทพธิดา - ธรรมดาดอกไม้ย่อมไม่มีจิตมาคิดว่าชอบธรรมไม่ชอบธรรม มีแต่ท่านที่มาเกิดวิกัลป
สัญญาขึ้นเอง ชื่อว่าเป็นผู้ประพฤติไม่สมควรแก่ธรรม
พระสำรีบุตร – เธอมาอยู่ที่เคหาสน์นี้นานเท่าใดแล้ว
เทพธิดำ - เวลานั้นย่อมพ้นทางแห่งบัญญัติโวหาร คาพูดและตัวอักษรย่อมเป็นลักษณะแห่งวิมุตติ
เพราะว่าในวิมุตตินั้นย่อมไม่มีภายใน ภายนอก หรือท่ามกลาง อักษรก็ไม่อยู่ในภายในภายนอกหรือ
ท่ามกลาง
ปริเฉทที่ ๗ สรรพสัตว์วิทรรศนะวรรค
วิมลเกียรตินิทเทสสูตร
ปริเฉทที่ ๗ สรรพสัตว์วิทรรศนะวรรค
วิมลเกียรตินิทเทสสูตร
เปรียบเทียบกับแนวคิดของพุทธศำสนำเถรวำท
• เถรวาทเน้นสอนให้ประพฤติตนอยู่ในวินัยอันควร เพราะพระพุทธเจ้าทรงบัญญัติวินัยแต่
ละข้อมาด้วยเหตุอันสมควร แต่มหายานมุ่งสอนในแนวปรัชญา ซึ่งบางครั้งก็ให้ละวางข้อ
วินัย
• มหายานแสดงคาสอนส่วนมากในแง่ของปรัชญา เช่นการบอกเวลาก็บอกว่าคาพูดอยู่
เหนือบัญญัติแห่งโวหาร ทุกสิ่งเป็นวิมุตติ เถรวาทเน้นเรื่องของเหตุและผล มีที่ไปที่มาของ
คาสอนแต่ละเรื่องอย่างชัดเจน
พระสำรีบุตร - เธอปรารถนายานใดในยานทั้ง ๓
เทพธิดำ - หากต้องแสดงธรรมโปรดบุคคลผู้มีนิสัยเหมาะแก่สาวกยาน ก็จะสาแดงตนเป็นพระ
สาวก ถ้าจะต้องแสดงปฏิจจสมุปบาทธรรมโปรดสัตว์ ก็จะสาแดงตนเป็นพระปัจเจกโพธิ และถ้า
ต้องอาศัยมหากรุณาในการโปรดสรรพสัตว์ ก็จะสาแดงตนเป็นพระโพธิสัตว์ในมหายาน
พระสำรีบุตร - เหตุใดจึงไม่เปลี่ยนสภาวะความเป็นหญิงเสีย
เทพธิดำ - แท้จริงแล้วสภาวะความเป็นหญิงหรือชายไม่มีจริง เช่นเดียวกับธรรมทั้งหลายที่มิได้
ตั้งอยู่กาหนดแน่นอน ณ ที่ใดที่หนึ่ง เช่นเดียวกับการบรรลุพระอนุตตรสัมมาสัมโพธิญาณ ก็ย่อมไม่
อยู่ในฐานะที่เป็นไปได้ เพราะว่าพระอนุตตรสัมมาสัมโพธิญาณนั้น เป็นธรรมปราศจากที่ตั้ง เหตุ
ฉะนั้นแลจึงไม่มีผู้จักบรรลุ กล่าวคือมิได้มีความยึดถือว่ามีสภาวะอันจักพึงบรรลุเมื่อปราศจากความ
ยึดถือ จึงชื่อว่าได้สาเร็จพระโพธิญาณโดยแท้จริง
ปริเฉทที่ ๗ สรรพสัตว์วิทรรศนะวรรค
วิมลเกียรตินิทเทสสูตร
ปริเฉทที่ ๗ สรรพสัตว์วิทรรศนะวรรค
วิมลเกียรตินิทเทสสูตร
เปรียบเทียบกับแนวคิดของพุทธศำสนำเถรวำท
• เถรวาทไม่มีเรื่อง ยาน ๓ (สาวกยาน, อรหันตยาน, โพธิ
สัตวยาน) มีเพียงเป้ าหมายแห่งการพ้นทุกข์
• ในเถรวาทผู้ที่ตั้งจิตมุ่งสิ่งใด ก็จะแน่วแน่แสดงตนในรูปแบบ
นั้นเพียงแบบเดียว ไม่มีการแสดงตนเป็นทั้งพระสาวก, พระ
ปัจเจกโพธิ และพระโพธิสัตว์ในบุคคลคนเดียว
• มหายานแสดงว่าภาวะแห่งความเป็นหญิงหรือชายไม่มีจริง
แต่ในเถรวาท ความเป็นหญิงหรือชาย เป็นสภาวะหนึ่ง ซึ่งมี
เหตุในการเป็นเช่นนั้นๆ
พระมัญชุศรีโพธิสัตว์ - โพธิสัตว์จักพึงบรรลุเข้าถึงพระพุทธภูมิโดยประการใด
ท่ำนวิมลเกียรติ - พระโพธิสัตว์จักพึงบรรลุเข้าถึงพระพุทธภูมิเมื่อสามารถดาเนินปฏิปทาอัน
ตรงกันข้ามกับปฏิปทาเพื่อบรรลุพระพุทธภูมิ นั่นคือสามารถบาเพ็ญโพธิจริยา ในท่ามกลางปัญ
จานันตริยภูมิ (นรก) ได้ สามารถบังเกิดในอบายภูมิได้
ท่ำนวิมลเกียรติ - ธรรมอะไรหนอ ชื่อว่าตถาคตพีชะ
พระมัญชุศรีโพธิสัตว์ - พระตถาคตพีชะนี้คือสรีรกายนี้คืออวิชชา ภวตัณหา คือโลภะ โทสะ โมหะ
คือวิปลาส ๔ และนิวรณ์ ๕ คือสฬายตนะ ๖ วิญญาณธาตุ ๗ มิจฉัตตะ ๘ สรุปความว่ามิจฉาทิฐิ
๖๒ กับปวงกิเลสล้วนเป็นพระพุทธพีชะได้ทั้งสิ้น นั่นคือกิเลสในสรรพสัตว์ทั้งหลายนั่นเอง เป็นเหตุ
ให้มีผู้ตั้งความปรารถนาเป็นพระพุทธเจ้า เพื่อเปลื้องทุกข์ภัยให้แก่สรรพสัตว์
ปริเฉทที่ ๘ พุทธภูมิวรรค
วิมลเกียรตินิทเทสสูตร
ปริเฉทที่ ๘ พุทธภูมิวรรค
วิมลเกียรตินิทเทสสูตร
เปรียบเทียบกับแนวคิดของพุทธศำสนำเถรวำท
• มหายานสอนว่าจะบรรลุพุทธภูมิเมื่อดาเนินปฏิปทาอันตรงกันข้ามกับปฏิปทาเพื่อบรรลุ
พระพุทธภูมิ (คาดว่าเป็นแนวปรัชญาแสดงถึงการไม่ยึดถืออะไร) แต่เถรวาทสอนแนว
ทางการบาเพ็ญบารมีเพื่อการบรรลุพุทธภูมิ หากทาตรงข้าม ก็ย่อมได้รับผลลัพธ์ตรงข้าม
• หากมองในมุมของเถรวาท คาว่า “กิเลสในสรรพสัตว์ทั้งหลายนั่นเอง เป็นเหตุให้มีผู้ตั้ง
ความปรารถนาเป็นพระพุทธเจ้า” ก็มีส่วนที่เข้ากันกับเถรวาทส่วนหนึ่ง แต่ในภาพรวมแล้ว
มีอีกหลายปัจจัยที่ทาให้บุคคลหนึ่งตั้งความปรารถนาจะเป็นพระพุทธเจ้า
พระสัพพัตถทิสมำนกำย - วงศาคณาญาติ และบริวารของท่านเป็นใคร ยวดยานพาหนะของท่าน
อยู่ที่ไหน
ท่ำนวิมลเกียรติ - พระโพธิสัตว์มีปรัชญาเป็นมารดา มีอุปายะเป็นบิดา อันพระผู้นาทางพ้นทุกข์แก่
ส่าสัตว์ มีปีติในพระธรรมมาเป็นคู่เคียง มีจิตที่เปี่ยมด้วยเมตตากรุณาเป็นบุตรสาว เอาความ
ซื่อสัตย์สุจริตใจเป็นบุตรชาย มีสุญญาตาเป็นเรือนอาศัย เอาสรรพสัตว์เป็นศิษย์ มีโพธิปักขิยธรรม
เป็นกัลยาณมิตร มีอภิญญา ๕ เป็นช้างม้าที่ไปได้เร็ว มีมหายานธรรมเป็นยวดยาน
ท่านยังกล่าวว่าท่านบูชาพระพุทธเจ้าทั้งหลายโดยมิได้เกิดวิกัลปสัญญาว่าพระพุทธเจ้าทั้งหลายกับ
ตนเองแตกต่างกัน สามารถสาแดงตนเป็นประการต่างๆอย่างไม่แบ่งแยก เพื่อการโปรดสรรพสัตว์ให้
ตั้งจิตมุ่งมั่นต่อพระโพธิญาณ
ปริเฉทที่ ๘ พุทธภูมิวรรค
วิมลเกียรตินิทเทสสูตร
ปริเฉทที่ ๘ พุทธภูมิวรรค
วิมลเกียรตินิทเทสสูตร
เปรียบเทียบกับแนวคิดของพุทธศำสนำเถรวำท
• จากส่วนนี้แสดงให้เห็นชัดเจนว่ามหายานเน้นคาสอนในแง่ปรัชญา จากที่กล่าวว่า
มหายานมีปรัชญาเป็นมารดา แต่เถรวาทจะแยกออกมาจากปรัชญา เพราะนาเสนอใน
เรื่องที่เป็นสัจจะ และมีเหตุมีผลรองรับชัดเจน
• ในพระสูตรนี้ได้แสดงเรื่องการบูชาพระพุทธเจ้าทั้งหลายโดยมิได้เกิดวิกัลปสัญญาว่า
พระพุทธเจ้าทั้งหลายกับตนเองแตกต่างกัน แต่ฝ่ายเถรวาทจะบูชาพระพุทธเจ้าเพราะ
พระองค์บริสุทธิ์จากกิเลส มีปัญญา กรุณาสูงสุด ต่างกับบุคคลทั่วไป
ท่ำนวิมลเกียรติ - พระโพธิสัตว์จักเข้าไปสู่อไทฺวตธรรมทวาร คือประตูแห่งความไม่เป็นคู่อย่างไร
(พระโพธิสัตว์ทั้งหลายให้ความเห็นต่างๆมากมาย ยกเป็นตัวอย่างดังนี้)
พระธรรมอิศวรโพธิสัตว์ - “ความเกิดและความดับ ชื่อว่าเป็นธรรมคู่แต่เนื้อแท้สิ่งทั้งปวง
ปราศจากความเกิดขึ้น เมื่อเป็นดังนี้จึงไม่มีอะไรดับไป ผู้ใดได้ลุถึงอนุตปาทธรรมกษานติดังกล่าว
จึงชื่อว่าเข้าสู่อไทฺวตธรรมทวาร”
พระศรีหัตถโพธิสัตว์ - “จิตพระโพธิสัตว์ จิตพระอรหันตสาวก ชื่อว่าเป็นธรรมคู่ ผู้ใดพิจารณาเห็น
ภาวะแห่งจิตว่าเป็นสุญญตา เป็นมายา ปราศจากแก่นสาร เนื้อแท้ไม่มีอะไร ที่เป็นจิตพระโพธิสัตว์
ฤาจิตพระอรหันตสาวก จึงชื่อว่าเข้าสู่อไทฺวตธรรมทวาร”
พระปุสสโพธิสัตว์ - “กุศล อกุศล ชื่อว่าเป็นธรรมคู่ ผู้ใดไม่เกิดความรู้สึกยึดถือก่อเกิดกุศลฤาอกุศล
รู้แจ้งเห็นจริง เข้าถึงอัปปณิหิตธรรม จึงชื่อว่าเข้าสู่อไทฺวตธรรมทวาร”
ปริเฉทที่ ๙ อไทฺวตธรรมทวำรวรรค
วิมลเกียรตินิทเทสสูตร
พระสิงหรำชำโพธิสัตว์ - “บาป บุญ ชื่อว่าเป็นธรรมคู่ ผู้ใดรู้แจ้งเนื้อแท้ภาวะแห่งบาปมิได้ผิด
แปลกจากบุญเลย ใช้วชิรปัญญาเข้าไปตัดความติดแน่นในลักษณะแบ่งแยกเสียได้ ไม่มีผู้ถูกผูกพัน
ฤาไม่มีผู้หลุดพ้น จึงเข้าสู่อไทฺวตธรรมทวาร”
พระคุณครรภโพธิสัตว์ - “ผู้บรรลุกับธรรมที่บรรลุ ชื่อว่าเป็นธรรมคู่ ผู้ใดรู้แจ้งว่า เนื้อแท้ปราศจาก
ผู้บรรลุกับธรรมที่บรรลุ เมื่อเป็นเช่นนี้ก็ย่อมไม่มีสิ่งอันพึงยึดถือฤาสิ่งอันพึงละใด ๆ เมื่อไม่มีการยึด
และไม่มีการละ จึงชื่อว่าเข้าสู่อไทฺวตธรรมทวาร”
พระมัญชุศรีโพธิสัตว์ - “ในธรรมทั้งหลาย เมื่อปราศจากคาพูด ปราศจากโวหาร ปราศจากการ
แสดง ปราศจากความคิดรู้คานึง พ้นจากการปุจฉาวิสัชนา นั้นคือการเข้าสู่อไทฺวตธรรมทวาร”
ท่ำนวิมลเกียรติ - (นิ่งเงียบ ไม่เอ่ยวาจาใดๆ เป็นการแสดงความเห็น) เพื่อแสดงว่าเมื่อปราศจาก
อักขรโวหารวจนบัญญัติใดๆ จึงนับว่าเป็นการเข้าเข้าสู่อไทฺวตธรรมทวารวิถีโดยแท้จริง
ปริเฉทที่ ๙ อไทฺวตธรรมทวำรวรรค
วิมลเกียรตินิทเทสสูตร
ปริเฉทที่ ๙ อไทฺวตธรรมทวำรวรรค
วิมลเกียรตินิทเทสสูตร
เปรียบเทียบกับแนวคิดของพุทธศำสนำเถรวำท
• มหายานเน้นสอนว่าทุกสิ่งเสมอกัน สิ่งที่เป็นคู่กันเช่นกุศลและอกุศล จิตพระอรหันต์และ
จิตพระโพธิสัตว์ ล้วนเป็นคู่กัน แท้จริงแล้วทุกอย่างเสมอกัน แต่เถรวาทสอนความแตกต่าง
ของสิ่งที่เป็นคู่กัน จะละทั้งคู่เช่นละทั้งกุศลและอกุศลก็ต่อเมื่อบรรลุถึงนิพพาน แต่ระหว่าง
ทางแห่งการบาเพ็ญบารมี ก็ต้องเลือกฝ่ายกุศล และละอกุศล
พระสำรีบุตร - วิตกว่าเวลานี้เป็นใกล้เพลแล้ว บรรดาพระโพธิสัตว์ทั้งหลายจะแสวงอาหารบริโภค
ได้ ณ ที่ใด
ท่ำนวิมลเกียรติ - เหตุใดท่านจึงมาจานงหวังต่อการขบฉันในการสดับพระสัทธรรมนี้และนิมนต์ให้
ท่านรอสักครู่และจะนาภัตตาหารอันไม่เคยมีมาก่อนมาถวาย
และเข้าฌานสมาบัติ บันดาลให้ชนทั้งหลายได้เห็นพหุสุคันธพุทธเกษตร มีพระพุทธเจ้าพระนามว่า
พระสุคันโธปจิตตถาคต ทุกสิ่งในโลกธาตุนี้ล้วนมีกลิ่นหอมอบอวล และเนรมิตพระโพธิสัตว์ผู้มีฤทธิ์
มากขึ้นมา สั่งให้นิรมิตพระโพธิสัตว์ไปทูลขอทิพยสุทธาโภชน์จากพระสุคันโธปจิตตถาคต เพื่อนาไป
ให้บุคคลผู้ยินดีในหินธรรมได้บริโภคอาหารนี้แล้ว บังเกิดจิตปณิธานมุ่งต่อพระโพธิญาณ
ปริเฉทที่ ๑๐ สุคันโธปจิตพุทธวรรค
วิมลเกียรตินิทเทสสูตร
ปริเฉทที่ ๑๐ สุคันโธปจิตพุทธวรรค
วิมลเกียรตินิทเทสสูตร
เปรียบเทียบกับแนวคิดของพุทธศำสนำเถรวำท
• มหายานมีการนาเสนอถึงอาการของผู้มีกิเลสของพระอรหันต์ แต่เถรวาทจะแสดงถึง
อาการหมดกิเลสของพระอรหันต์
• มหายานมีการนาเสนอในเชิงว่าไม่ควรยินดีในหินธรรม (ซึ่งคือการมุ่งหวังนิพพาน) แต่
เถรวาทมีเป้ าหมายสูงสุดก็คือนิพพานนั่นเอง (แสดงให้เห็นความแตกต่างของเป้ าหมาย
อย่างชัดเจน) อย่างไรก็ตามทางเถรวาทไม่มีท่าทีขัดแย้งต่อผู้ที่มีจิตมุ่งเป็นพระโพธิสัตว์
พระโพธิสัตว์นิรมิตได้เหาะไปทูลขอทิพยสุทธาโภชน์จากพระสุคันโธปจิตตถาคต เมื่อนั้นพระ
โพธิสัตว์ ๙ ล้านองค์ในที่แห่งนั้นก็ปรารถนาจะไปเยี่ยมเยือนดินแดนสหโลกธาตุ เพื่อเข้าเฝ้ าพระ
ศากยมุนีพุทธะและเยี่ยมท่านวิมลเกียรติ
พระสุคันโธปจิตตถาคตทรงอนุญาติและทรงมีพุทธบรรหารให้พระโพธิสัตว์ทั้งหลายรวมกลิ่นหอม
ในสรีรกายอย่าให้ขจรเฟื่องฟุ้ ง เพราะจะเป็นเหตุให้สรรพสัตว์ในสหโลกธาตุบังเกิดฉันทราคะต่อ
กลิ่นนั้นได้ และเตือนมิให้ดูแคลนต่อพระโพธิสัตว์เหล่านั้นว่ามีสรีระด้อยกว่า เพราะการจะแสดง
พระสัทธรรมโปรดปรานบรรดาผู้ยินดีต่อหินธรรม พระพุทธเจ้าย่อมจะไม่สาแดงพุทธเกษตรของ
พระองค์ให้ให้บริสุทธิ์หมดจดวิเศษ
ปริเฉทที่ ๑๐ สุคันโธปจิตพุทธวรรค
วิมลเกียรตินิทเทสสูตร
ปริเฉทที่ ๑๐ สุคันโธปจิตพุทธวรรค
วิมลเกียรตินิทเทสสูตร
เปรียบเทียบกับแนวคิดของพุทธศำสนำเถรวำท
• เถรวาทไม่มีการกล่าวถึงรายละเอียดของพระพุทธเจ้าในโลกอื่น แต่มหายานมีการ
กล่าวถึงพระพุทธเจ้าและพุทธเกษตรอื่นๆแทรกไว้ในคาสอน
• มหายานเชื่อว่าโลกธาตุนี้ไม่บริสุทธิ์ผุดผ่องเพราะพระพุทธเจ้าดลบันดาลให้เป็นเช่นนั้น
เพื่อโปรดสัตว์ผู้ยินดีในหินธรรม แต่เถรวาทเชื่อว่าโลกเป็นไปโดยธรรมชาติ ความละเอียด
บริสุทธิ์จะต่างกันไปในแต่ละภพภูมิ เช่น นรก โลก และ สวรรค์
เมื่อนั้นนิรมิตพระโพธิสัตว์พร้อมด้วยพระโพธิสัตว์ ๙ ล้านองค์ก็เหาะมาถึงสหโลกธาตุพร้อมด้วย
ทิพยโภชน์กลิ่นหอมอบอวล
ท่ำนวิมลเกียรติ - (กล่าวกับพระสาวก) อย่าได้ขบฉันด้วยจิตที่มีภูมิขีดคั่นจากัด (จิตที่ตั้งอยู่ในภูมิ
พระอรหันตสาวก ซึ่งในทัศนะของฝ่ายมหายานเห็นว่ายังแคบ) มิฉะนั้นแล้วจะไม่สามารถย่อย
อาหารนี้ได้เลย
พระสำวก - อาหารเพียงเท่านี้จะเพียงพอได้อย่างไร
ท่ำนวิมลเกียรติ - อย่าได้ทาคุณธรรมเพียงเล็กน้อย ปัญญาเพียงเล็กน้อยของภูมิพระสาวกมาหยั่ง
ประมาณพระคุณาภินิหารของพระตถาคตเจ้าเลย แม้น้าในมหาสมุทรทั้ง ๔ จะเหือดแห้งไป ทิพยวิสุ
ทธาหารนี้ก็จะไม่หมดไป
ปริเฉทที่ ๑๐ สุคันโธปจิตพุทธวรรค
วิมลเกียรตินิทเทสสูตร
ปริเฉทที่ ๑๐ สุคันโธปจิตพุทธวรรค
วิมลเกียรตินิทเทสสูตร
เปรียบเทียบกับแนวคิดของพุทธศำสนำเถรวำท
• พระสูตรนี้แสดงชัดเจนถึงมุมมองของมหายานต่อพระอรหันต์ ว่ามีความคับแคบ ด้อย
ปัญญา ในเถรวาทพระอรหันต์คือบุคคลผู้ควรบูชา หมดกิเลส และมีปัญญารู้แจ้งเห็นจริง
ท่ำนวิมลเกียรติ - พระสุคันโธปจิตตถาคตเจ้าทรงแสดงพระธรรมบรรยายอย่างไร
พระโพธิสัตว์แห่งพหุสุคันธเกษตร - พระองค์มิได้อาศัยอักขรโวหารบัญญัติใดๆ มาแสดงพระสัทธรรม
แต่ทรงอาศัยสรรพสุคันธชาติเป็นปัจจัย ชักนาให้เหล่าเทพและมนุษย์ตั้งอยู่ในศีล
พระโพธิสัตว์แห่งพหุสุคันธเกษตร – พระศากยมุนีตถาคตเจ้าทรงแสดงพระธรรมบรรยายอย่างไร
ท่ำนวิมลเกียรติ - สรรพสัตว์ในโลกธาตุแห่งนี้มีนิสัยหยาบกระด้างยากแก่การอบรมสั่งสอน พระศากย
มุนีพระพุทธเจ้า จึงต้องตรัสแสดงธรรมอันกล้าแข็ง เพื่อฝึกข่มสัตว์เหล่านั้นให้ราบคาบ เช่นเรื่องนิรยคติ
ดิรัจฉานคติ เปรตคติ ทุจริต ๓ และผลแห่งทุจริต ๓ ศีลและผลแห่งการทุศีล มิจฉาปฏิปทา และสัมมา
ปฏิปทา เป็นต้น
พระโพธิสัตว์ในโลกธาตุนี้แม้บาเพ็ญหิตานุหิตจริยาต่อสัตว์ทั้งหลายเพียงชาติเดียวก็ยังประเสริฐกว่า
พระโพธิสัตว์ที่บาเพ็ญโพธิจริยาในโลกธาตุอื่นหลายร้อยหลายพันกัลป์ เพราะได้บาเพ็ญบารมีมาก
ปริเฉทที่ ๑๐ สุคันโธปจิตพุทธวรรค
วิมลเกียรตินิทเทสสูตร
ปริเฉทที่ ๑๐ สุคันโธปจิตพุทธวรรค
วิมลเกียรตินิทเทสสูตร
เปรียบเทียบกับแนวคิดของพุทธศำสนำเถรวำท
• มหายานนาเสนอว่าพระพุทธเจ้าทรงจาเป็นต้องสอนธรรมอันกล้าแข็งให้มนุษย์ในโลกนี้
เพราะมนุษย์ในโลกธาตุนี้เป็นผู้มีนิสัยหยาบกระด้าง แต่ในเถรวาทเชื่อว่าธรรมะที่
พระพุทธเจ้าทรงสอนคือสัจธรรมอันเป็นอกาลิโก ไม่จากัดกาล สถานที่ เป็นจริงในทุกกาล
ทุกสถานที่
ท่านวิมลเกียรติได้นามหาชนทั้งหลาย มีพระมัญชุศรีโพธิสัตว์ พระโพธิสัตว์จากโลกธาตุอื่น เทพ
พรหมทั้งหลาย รวมถึงพระสาวกพร้อมด้วยสิงหาสนบัลลังก์ทั้งหมด ประดิษฐานบนฝ่าหัตถ์ขวาของ
ท่าน แล้วไปเฝ้ าพระตถาคตเจ้า
พระพุทธเจ้ำ - สารีบุตรคิดเห็นอย่างไรเมื่อได้เห็นอภินิหารของท่านวิมลเกียรติ
พระสำรีบุตร - สิ่งเหล่านี้เป็นอจินไตย สุดที่ความคิดของท่านจะหยั่งทราบไปถึงได้
พระอำนนท์ - กลิ่นหอมอันอบอวลนี้เป็นกลิ่นอะไร
พระพุทธเจ้ำ - กลิ่นสรีระของพระโพธิสัตว์
พระสำรีบุตร - สรีระของตัวท่านก็มีกลิ่นสุคันธชาติติดมา เพราะท่านได้ฉันทิพยโภชน์ที่ท่านวิมล
เกียรตินามาให้ (ไม่ใช้คาว่าถวาย)
ปริเฉทที่ ๑๑ โพธิสัตว์จริยำวรรค
วิมลเกียรตินิทเทสสูตร
ปริเฉทที่ ๑๑ โพธิสัตว์จริยำวรรค
วิมลเกียรตินิทเทสสูตร
เปรียบเทียบกับแนวคิดของพุทธศำสนำเถรวำท
• มหายานมีการแสดงถึงอิทธิฤทธิ์ของพระโพธิสัตว์อยู่เนืองๆ แต่ไม่มีการอธิบายถึงเหตุ
แห่งอิทธิฤทธิ์นั้น ในเถรวาทเมื่อมีการกล่าวถึงการใช้ฤทธิ์ของพระสาวกรูปใด จะมีการ
นาเสนอโยงไปถึงเหตุแห่งการได้มาซึ่งฤทธิ์นั้น เช่น บาเพ็ญเพียรมาอย่างไร จึงได้ทิพยจักษุ
เป็นต้น
พระอำนนท์ - สุคันธชาติจะตั้งอยู่นานเพียงใด
ท่ำนวิมลเกียรติ - จนกว่าอาหารนี้จะย่อยไปหมด โอชะแห่งอาหารนี้จะดารงอยู่จนถึงเมื่อพระ
สาวกรูปนั้นบรรลุภูมิธรรมในขั้นสูงขึ้นจากเดิม กล่าวคืออานุภาพแห่งโอสถนั้นจะดารงอยู่ตราบ
เท่าที่พิษโรคยังเหลือมีอยู่ในสรีระนั่นเอง
พระอำนนท์ - อัศจรรย์ใจว่าทิพยสุคันธาหารนี้สามารถทาหน้าที่บาเพ็ญพุทธกรณียกิจได้อย่างดี
ยิ่ง
พระพุทธเจ้ำ - พุทธเกษตรแต่ละแห่ง ก็ได้ใช้สิ่งต่างๆกันทาหน้าที่บาเพ็ญพุทธกรณียกิจ เช่นอาศัย
รังสิโยภาสแห่งพระพุทธเจ้า อาศัยหมู่พระโพธิสัตว์ อาศัยบุรุษนิรมิต อาศัยต้นพระศรีมหาโพธิ
พฤกษ์ เป็นต้น
ปริเฉทที่ ๑๑ โพธิสัตว์จริยำวรรค
วิมลเกียรตินิทเทสสูตร
ศึกษาพระสูตรสำคัญของมหายาน
ศึกษาพระสูตรสำคัญของมหายาน
ศึกษาพระสูตรสำคัญของมหายาน
ศึกษาพระสูตรสำคัญของมหายาน
ศึกษาพระสูตรสำคัญของมหายาน
ศึกษาพระสูตรสำคัญของมหายาน
ศึกษาพระสูตรสำคัญของมหายาน
ศึกษาพระสูตรสำคัญของมหายาน
ศึกษาพระสูตรสำคัญของมหายาน
ศึกษาพระสูตรสำคัญของมหายาน
ศึกษาพระสูตรสำคัญของมหายาน
ศึกษาพระสูตรสำคัญของมหายาน
ศึกษาพระสูตรสำคัญของมหายาน
ศึกษาพระสูตรสำคัญของมหายาน
ศึกษาพระสูตรสำคัญของมหายาน
ศึกษาพระสูตรสำคัญของมหายาน
ศึกษาพระสูตรสำคัญของมหายาน
ศึกษาพระสูตรสำคัญของมหายาน
ศึกษาพระสูตรสำคัญของมหายาน
ศึกษาพระสูตรสำคัญของมหายาน
ศึกษาพระสูตรสำคัญของมหายาน
ศึกษาพระสูตรสำคัญของมหายาน
ศึกษาพระสูตรสำคัญของมหายาน
ศึกษาพระสูตรสำคัญของมหายาน
ศึกษาพระสูตรสำคัญของมหายาน
ศึกษาพระสูตรสำคัญของมหายาน
ศึกษาพระสูตรสำคัญของมหายาน
ศึกษาพระสูตรสำคัญของมหายาน
ศึกษาพระสูตรสำคัญของมหายาน
ศึกษาพระสูตรสำคัญของมหายาน
ศึกษาพระสูตรสำคัญของมหายาน
ศึกษาพระสูตรสำคัญของมหายาน

More Related Content

What's hot

วิชาพระพุทธศาสนามหายาน ตอน นิกายโยคาจาร
วิชาพระพุทธศาสนามหายาน ตอน นิกายโยคาจารวิชาพระพุทธศาสนามหายาน ตอน นิกายโยคาจาร
วิชาพระพุทธศาสนามหายาน ตอน นิกายโยคาจารPadvee Academy
 
พุทธศาสนานิกายมหายาน
พุทธศาสนานิกายมหายานพุทธศาสนานิกายมหายาน
พุทธศาสนานิกายมหายานChainarong Maharak
 
พุทธศาสนามหายานในไทย
พุทธศาสนามหายานในไทยพุทธศาสนามหายานในไทย
พุทธศาสนามหายานในไทยPadvee Academy
 
วิเคราะห์ปฏิจจสมุปบาท
วิเคราะห์ปฏิจจสมุปบาทวิเคราะห์ปฏิจจสมุปบาท
วิเคราะห์ปฏิจจสมุปบาทPadvee Academy
 
ศาสนาพราหมณ์ ฮินดู
ศาสนาพราหมณ์ ฮินดูศาสนาพราหมณ์ ฮินดู
ศาสนาพราหมณ์ ฮินดูPadvee Academy
 
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับศาสนา
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับศาสนาความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับศาสนา
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับศาสนาPadvee Academy
 
เทศกาลและพิธีกรรมทางศาสนา
เทศกาลและพิธีกรรมทางศาสนาเทศกาลและพิธีกรรมทางศาสนา
เทศกาลและพิธีกรรมทางศาสนาCC Nakhon Pathom Rajabhat University
 
ปรัชญาเบื้องต้น บทที่ ๒ ความสัมพันธ์ระหว่างปรัชญา ศาสนา วิทยาศาสตร์
ปรัชญาเบื้องต้น บทที่ ๒ ความสัมพันธ์ระหว่างปรัชญา ศาสนา วิทยาศาสตร์ปรัชญาเบื้องต้น บทที่ ๒ ความสัมพันธ์ระหว่างปรัชญา ศาสนา วิทยาศาสตร์
ปรัชญาเบื้องต้น บทที่ ๒ ความสัมพันธ์ระหว่างปรัชญา ศาสนา วิทยาศาสตร์Padvee Academy
 
ชีวิตและผลงานของพระสุมังคลาจารย์
ชีวิตและผลงานของพระสุมังคลาจารย์ชีวิตและผลงานของพระสุมังคลาจารย์
ชีวิตและผลงานของพระสุมังคลาจารย์Padvee Academy
 
ธัมมานุปัสสนาสติปัฏฐาน
ธัมมานุปัสสนาสติปัฏฐานธัมมานุปัสสนาสติปัฏฐาน
ธัมมานุปัสสนาสติปัฏฐานAnchalee BuddhaBucha
 
ปรัชญาเบื้องต้น บทที่ ๔ ญาณวิทยา
ปรัชญาเบื้องต้น บทที่ ๔ ญาณวิทยาปรัชญาเบื้องต้น บทที่ ๔ ญาณวิทยา
ปรัชญาเบื้องต้น บทที่ ๔ ญาณวิทยาPadvee Academy
 
ศาสนาสากล
ศาสนาสากลศาสนาสากล
ศาสนาสากลThanaponSuwan
 
บทที่ ๒ กรรมฐาน และบุรพกิจของการปฏิบัติกรรมฐาน
บทที่ ๒ กรรมฐาน และบุรพกิจของการปฏิบัติกรรมฐานบทที่ ๒ กรรมฐาน และบุรพกิจของการปฏิบัติกรรมฐาน
บทที่ ๒ กรรมฐาน และบุรพกิจของการปฏิบัติกรรมฐานpop Jaturong
 
ธรรมภาคปฏิบัติ บทที่ ๒ กรรมฐาน และบุรพกิจของการปฏิบัติกรรมฐาน
ธรรมภาคปฏิบัติ บทที่ ๒ กรรมฐาน และบุรพกิจของการปฏิบัติกรรมฐานธรรมภาคปฏิบัติ บทที่ ๒ กรรมฐาน และบุรพกิจของการปฏิบัติกรรมฐาน
ธรรมภาคปฏิบัติ บทที่ ๒ กรรมฐาน และบุรพกิจของการปฏิบัติกรรมฐานPadvee Academy
 

What's hot (20)

วิชาพระพุทธศาสนามหายาน ตอน นิกายโยคาจาร
วิชาพระพุทธศาสนามหายาน ตอน นิกายโยคาจารวิชาพระพุทธศาสนามหายาน ตอน นิกายโยคาจาร
วิชาพระพุทธศาสนามหายาน ตอน นิกายโยคาจาร
 
พุทธศาสนานิกายมหายาน
พุทธศาสนานิกายมหายานพุทธศาสนานิกายมหายาน
พุทธศาสนานิกายมหายาน
 
พุทธศาสนามหายานในไทย
พุทธศาสนามหายานในไทยพุทธศาสนามหายานในไทย
พุทธศาสนามหายานในไทย
 
พระไตรปิฎก
พระไตรปิฎกพระไตรปิฎก
พระไตรปิฎก
 
ปฏิจจสมุปบาท
ปฏิจจสมุปบาท ปฏิจจสมุปบาท
ปฏิจจสมุปบาท
 
วิเคราะห์ปฏิจจสมุปบาท
วิเคราะห์ปฏิจจสมุปบาทวิเคราะห์ปฏิจจสมุปบาท
วิเคราะห์ปฏิจจสมุปบาท
 
ศาสนาพราหมณ์ ฮินดู
ศาสนาพราหมณ์ ฮินดูศาสนาพราหมณ์ ฮินดู
ศาสนาพราหมณ์ ฮินดู
 
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับศาสนา
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับศาสนาความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับศาสนา
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับศาสนา
 
กรรมฐาน (สื่อการสอน ๑) สัปดาห์ที่ ๑
กรรมฐาน (สื่อการสอน ๑) สัปดาห์ที่ ๑กรรมฐาน (สื่อการสอน ๑) สัปดาห์ที่ ๑
กรรมฐาน (สื่อการสอน ๑) สัปดาห์ที่ ๑
 
เทศกาลและพิธีกรรมทางศาสนา
เทศกาลและพิธีกรรมทางศาสนาเทศกาลและพิธีกรรมทางศาสนา
เทศกาลและพิธีกรรมทางศาสนา
 
กรรมฐาน (เอกสาร ๑)
กรรมฐาน (เอกสาร ๑)กรรมฐาน (เอกสาร ๑)
กรรมฐาน (เอกสาร ๑)
 
ปรัชญาเบื้องต้น บทที่ ๒ ความสัมพันธ์ระหว่างปรัชญา ศาสนา วิทยาศาสตร์
ปรัชญาเบื้องต้น บทที่ ๒ ความสัมพันธ์ระหว่างปรัชญา ศาสนา วิทยาศาสตร์ปรัชญาเบื้องต้น บทที่ ๒ ความสัมพันธ์ระหว่างปรัชญา ศาสนา วิทยาศาสตร์
ปรัชญาเบื้องต้น บทที่ ๒ ความสัมพันธ์ระหว่างปรัชญา ศาสนา วิทยาศาสตร์
 
ชีวิตและผลงานของพระสุมังคลาจารย์
ชีวิตและผลงานของพระสุมังคลาจารย์ชีวิตและผลงานของพระสุมังคลาจารย์
ชีวิตและผลงานของพระสุมังคลาจารย์
 
ธัมมานุปัสสนาสติปัฏฐาน
ธัมมานุปัสสนาสติปัฏฐานธัมมานุปัสสนาสติปัฏฐาน
ธัมมานุปัสสนาสติปัฏฐาน
 
ปรัชญาเบื้องต้น บทที่ ๔ ญาณวิทยา
ปรัชญาเบื้องต้น บทที่ ๔ ญาณวิทยาปรัชญาเบื้องต้น บทที่ ๔ ญาณวิทยา
ปรัชญาเบื้องต้น บทที่ ๔ ญาณวิทยา
 
วรรณกรรมบาลีในประเทศไทย
วรรณกรรมบาลีในประเทศไทยวรรณกรรมบาลีในประเทศไทย
วรรณกรรมบาลีในประเทศไทย
 
การปกครองคณะสงฆ์
การปกครองคณะสงฆ์การปกครองคณะสงฆ์
การปกครองคณะสงฆ์
 
ศาสนาสากล
ศาสนาสากลศาสนาสากล
ศาสนาสากล
 
บทที่ ๒ กรรมฐาน และบุรพกิจของการปฏิบัติกรรมฐาน
บทที่ ๒ กรรมฐาน และบุรพกิจของการปฏิบัติกรรมฐานบทที่ ๒ กรรมฐาน และบุรพกิจของการปฏิบัติกรรมฐาน
บทที่ ๒ กรรมฐาน และบุรพกิจของการปฏิบัติกรรมฐาน
 
ธรรมภาคปฏิบัติ บทที่ ๒ กรรมฐาน และบุรพกิจของการปฏิบัติกรรมฐาน
ธรรมภาคปฏิบัติ บทที่ ๒ กรรมฐาน และบุรพกิจของการปฏิบัติกรรมฐานธรรมภาคปฏิบัติ บทที่ ๒ กรรมฐาน และบุรพกิจของการปฏิบัติกรรมฐาน
ธรรมภาคปฏิบัติ บทที่ ๒ กรรมฐาน และบุรพกิจของการปฏิบัติกรรมฐาน
 

Viewers also liked

สัทธรรมปุณฑริกสูตร (The Lotus of The True Law)
สัทธรรมปุณฑริกสูตร (The Lotus of The True Law)สัทธรรมปุณฑริกสูตร (The Lotus of The True Law)
สัทธรรมปุณฑริกสูตร (The Lotus of The True Law)Padvee Academy
 
พุทธศาสนามหายาน ตอน นิกายมาธยมิกะ
พุทธศาสนามหายาน ตอน นิกายมาธยมิกะพุทธศาสนามหายาน ตอน นิกายมาธยมิกะ
พุทธศาสนามหายาน ตอน นิกายมาธยมิกะPadvee Academy
 
พุทธศาสนามหายาน นิกายสุขาวดี | Pure Land Buddhism
พุทธศาสนามหายาน นิกายสุขาวดี | Pure Land Buddhismพุทธศาสนามหายาน นิกายสุขาวดี | Pure Land Buddhism
พุทธศาสนามหายาน นิกายสุขาวดี | Pure Land BuddhismPadvee Academy
 
ศิลปะแห่งความสุขขององค์ดาไล ลามะ
ศิลปะแห่งความสุขขององค์ดาไล ลามะศิลปะแห่งความสุขขององค์ดาไล ลามะ
ศิลปะแห่งความสุขขององค์ดาไล ลามะPadvee Academy
 
พุทธศาสนามหายาน ตอน ประเพณีทิ้งกระจาด
พุทธศาสนามหายาน ตอน ประเพณีทิ้งกระจาดพุทธศาสนามหายาน ตอน ประเพณีทิ้งกระจาด
พุทธศาสนามหายาน ตอน ประเพณีทิ้งกระจาดPadvee Academy
 
ภาพพระโพธิสัตว์ (เจ้าแม่กวนอิม) ในอิริยาบถต่างๆ
ภาพพระโพธิสัตว์ (เจ้าแม่กวนอิม) ในอิริยาบถต่างๆภาพพระโพธิสัตว์ (เจ้าแม่กวนอิม) ในอิริยาบถต่างๆ
ภาพพระโพธิสัตว์ (เจ้าแม่กวนอิม) ในอิริยาบถต่างๆPadvee Academy
 
อัคคิวัจฉโคตตสูตร บ่อเกิดแนวคิดมหายาน
อัคคิวัจฉโคตตสูตร บ่อเกิดแนวคิดมหายานอัคคิวัจฉโคตตสูตร บ่อเกิดแนวคิดมหายาน
อัคคิวัจฉโคตตสูตร บ่อเกิดแนวคิดมหายานPadvee Academy
 
พระพุทธศาสนานิกายเซน
พระพุทธศาสนานิกายเซนพระพุทธศาสนานิกายเซน
พระพุทธศาสนานิกายเซนPadvee Academy
 
แนวคิดเรื่อง “สังฆะ” ของหมู่บ้านพลัม
แนวคิดเรื่อง “สังฆะ” ของหมู่บ้านพลัม  แนวคิดเรื่อง “สังฆะ” ของหมู่บ้านพลัม
แนวคิดเรื่อง “สังฆะ” ของหมู่บ้านพลัม Padvee Academy
 
ศาสนาเชน
ศาสนาเชนศาสนาเชน
ศาสนาเชนPadvee Academy
 
ศาสนาบาไฮ
ศาสนาบาไฮศาสนาบาไฮ
ศาสนาบาไฮPadvee Academy
 
ศาสนายิว
ศาสนายิวศาสนายิว
ศาสนายิวPadvee Academy
 
ศาสนาคริสต์
ศาสนาคริสต์ศาสนาคริสต์
ศาสนาคริสต์Padvee Academy
 
ศาสนาอิสลาม
ศาสนาอิสลามศาสนาอิสลาม
ศาสนาอิสลามPadvee Academy
 
ศาสนาซิกข์
ศาสนาซิกข์ศาสนาซิกข์
ศาสนาซิกข์Padvee Academy
 
ศาสนาชินโต
ศาสนาชินโตศาสนาชินโต
ศาสนาชินโตPadvee Academy
 
พระพุทธศาสนา
พระพุทธศาสนาพระพุทธศาสนา
พระพุทธศาสนาPadvee Academy
 

Viewers also liked (17)

สัทธรรมปุณฑริกสูตร (The Lotus of The True Law)
สัทธรรมปุณฑริกสูตร (The Lotus of The True Law)สัทธรรมปุณฑริกสูตร (The Lotus of The True Law)
สัทธรรมปุณฑริกสูตร (The Lotus of The True Law)
 
พุทธศาสนามหายาน ตอน นิกายมาธยมิกะ
พุทธศาสนามหายาน ตอน นิกายมาธยมิกะพุทธศาสนามหายาน ตอน นิกายมาธยมิกะ
พุทธศาสนามหายาน ตอน นิกายมาธยมิกะ
 
พุทธศาสนามหายาน นิกายสุขาวดี | Pure Land Buddhism
พุทธศาสนามหายาน นิกายสุขาวดี | Pure Land Buddhismพุทธศาสนามหายาน นิกายสุขาวดี | Pure Land Buddhism
พุทธศาสนามหายาน นิกายสุขาวดี | Pure Land Buddhism
 
ศิลปะแห่งความสุขขององค์ดาไล ลามะ
ศิลปะแห่งความสุขขององค์ดาไล ลามะศิลปะแห่งความสุขขององค์ดาไล ลามะ
ศิลปะแห่งความสุขขององค์ดาไล ลามะ
 
พุทธศาสนามหายาน ตอน ประเพณีทิ้งกระจาด
พุทธศาสนามหายาน ตอน ประเพณีทิ้งกระจาดพุทธศาสนามหายาน ตอน ประเพณีทิ้งกระจาด
พุทธศาสนามหายาน ตอน ประเพณีทิ้งกระจาด
 
ภาพพระโพธิสัตว์ (เจ้าแม่กวนอิม) ในอิริยาบถต่างๆ
ภาพพระโพธิสัตว์ (เจ้าแม่กวนอิม) ในอิริยาบถต่างๆภาพพระโพธิสัตว์ (เจ้าแม่กวนอิม) ในอิริยาบถต่างๆ
ภาพพระโพธิสัตว์ (เจ้าแม่กวนอิม) ในอิริยาบถต่างๆ
 
อัคคิวัจฉโคตตสูตร บ่อเกิดแนวคิดมหายาน
อัคคิวัจฉโคตตสูตร บ่อเกิดแนวคิดมหายานอัคคิวัจฉโคตตสูตร บ่อเกิดแนวคิดมหายาน
อัคคิวัจฉโคตตสูตร บ่อเกิดแนวคิดมหายาน
 
พระพุทธศาสนานิกายเซน
พระพุทธศาสนานิกายเซนพระพุทธศาสนานิกายเซน
พระพุทธศาสนานิกายเซน
 
แนวคิดเรื่อง “สังฆะ” ของหมู่บ้านพลัม
แนวคิดเรื่อง “สังฆะ” ของหมู่บ้านพลัม  แนวคิดเรื่อง “สังฆะ” ของหมู่บ้านพลัม
แนวคิดเรื่อง “สังฆะ” ของหมู่บ้านพลัม
 
ศาสนาเชน
ศาสนาเชนศาสนาเชน
ศาสนาเชน
 
ศาสนาบาไฮ
ศาสนาบาไฮศาสนาบาไฮ
ศาสนาบาไฮ
 
ศาสนายิว
ศาสนายิวศาสนายิว
ศาสนายิว
 
ศาสนาคริสต์
ศาสนาคริสต์ศาสนาคริสต์
ศาสนาคริสต์
 
ศาสนาอิสลาม
ศาสนาอิสลามศาสนาอิสลาม
ศาสนาอิสลาม
 
ศาสนาซิกข์
ศาสนาซิกข์ศาสนาซิกข์
ศาสนาซิกข์
 
ศาสนาชินโต
ศาสนาชินโตศาสนาชินโต
ศาสนาชินโต
 
พระพุทธศาสนา
พระพุทธศาสนาพระพุทธศาสนา
พระพุทธศาสนา
 

Similar to ศึกษาพระสูตรสำคัญของมหายาน

2 23คัณฐีพระธัมมปทัฏฐกถา+ยกศัพท์แปล+ภาค๑
2 23คัณฐีพระธัมมปทัฏฐกถา+ยกศัพท์แปล+ภาค๑2 23คัณฐีพระธัมมปทัฏฐกถา+ยกศัพท์แปล+ภาค๑
2 23คัณฐีพระธัมมปทัฏฐกถา+ยกศัพท์แปล+ภาค๑Tongsamut vorasan
 
2 23คัณฐีพระธัมมปทัฏฐกถา+ยกศัพท์แปล+ภาค๑
2 23คัณฐีพระธัมมปทัฏฐกถา+ยกศัพท์แปล+ภาค๑2 23คัณฐีพระธัมมปทัฏฐกถา+ยกศัพท์แปล+ภาค๑
2 23คัณฐีพระธัมมปทัฏฐกถา+ยกศัพท์แปล+ภาค๑Tongsamut vorasan
 
Tri91 20+มัชฌิมนิกาย+มัชฌิมปัณณาสก์+เล่ม+๒+ภาค+๑
Tri91 20+มัชฌิมนิกาย+มัชฌิมปัณณาสก์+เล่ม+๒+ภาค+๑Tri91 20+มัชฌิมนิกาย+มัชฌิมปัณณาสก์+เล่ม+๒+ภาค+๑
Tri91 20+มัชฌิมนิกาย+มัชฌิมปัณณาสก์+เล่ม+๒+ภาค+๑Tongsamut vorasan
 
2 24คัณฐีพระธัมมปทัฏฐกถา+ยกศัพท์แปล+ภาค๒
2 24คัณฐีพระธัมมปทัฏฐกถา+ยกศัพท์แปล+ภาค๒2 24คัณฐีพระธัมมปทัฏฐกถา+ยกศัพท์แปล+ภาค๒
2 24คัณฐีพระธัมมปทัฏฐกถา+ยกศัพท์แปล+ภาค๒Tongsamut vorasan
 
Tri91 15+ทีฆนิกาย+ปาฏิกวรรค+เล่ม+๓+ภาค+๑ (1)
Tri91 15+ทีฆนิกาย+ปาฏิกวรรค+เล่ม+๓+ภาค+๑ (1)Tri91 15+ทีฆนิกาย+ปาฏิกวรรค+เล่ม+๓+ภาค+๑ (1)
Tri91 15+ทีฆนิกาย+ปาฏิกวรรค+เล่ม+๓+ภาค+๑ (1)Tongsamut vorasan
 
พระพุทธเจ้าทรงสั่งสอนอะไร พระนิพนธ์ในสมเด็จพระญาณสังวร
พระพุทธเจ้าทรงสั่งสอนอะไร  พระนิพนธ์ในสมเด็จพระญาณสังวรพระพุทธเจ้าทรงสั่งสอนอะไร  พระนิพนธ์ในสมเด็จพระญาณสังวร
พระพุทธเจ้าทรงสั่งสอนอะไร พระนิพนธ์ในสมเด็จพระญาณสังวรSarod Paichayonrittha
 
บทความเรื่องการบริหารงานตามหลักฆราวาสธรรม ๓
บทความเรื่องการบริหารงานตามหลักฆราวาสธรรม ๓บทความเรื่องการบริหารงานตามหลักฆราวาสธรรม ๓
บทความเรื่องการบริหารงานตามหลักฆราวาสธรรม ๓วัดดอนทอง กาฬสินธุ์
 
๐๖. ภูริทัตตชาดก.pdf
๐๖. ภูริทัตตชาดก.pdf๐๖. ภูริทัตตชาดก.pdf
๐๖. ภูริทัตตชาดก.pdfmaruay songtanin
 
เหตุผลแห่งข้อเท็จจริงตามหลักกาลามสูตร
เหตุผลแห่งข้อเท็จจริงตามหลักกาลามสูตรเหตุผลแห่งข้อเท็จจริงตามหลักกาลามสูตร
เหตุผลแห่งข้อเท็จจริงตามหลักกาลามสูตรsolarcell2
 
ครูพัชราภรณ์ เหมือนรุ่ง
ครูพัชราภรณ์    เหมือนรุ่งครูพัชราภรณ์    เหมือนรุ่ง
ครูพัชราภรณ์ เหมือนรุ่งพัน พัน
 
บทความเรื่องการบริหารงานตามหลักฆราวาสธรรม ๒
บทความเรื่องการบริหารงานตามหลักฆราวาสธรรม ๒บทความเรื่องการบริหารงานตามหลักฆราวาสธรรม ๒
บทความเรื่องการบริหารงานตามหลักฆราวาสธรรม ๒วัดดอนทอง กาฬสินธุ์
 
บทความเรื่องการบริหารงานตามหลักฆราวาสธรรม ๒
บทความเรื่องการบริหารงานตามหลักฆราวาสธรรม ๒บทความเรื่องการบริหารงานตามหลักฆราวาสธรรม ๒
บทความเรื่องการบริหารงานตามหลักฆราวาสธรรม ๒วัดดอนทอง กาฬสินธุ์
 
บทความเรื่องการบริหารงานตามหลักฆราวาสธรรม ๒
บทความเรื่องการบริหารงานตามหลักฆราวาสธรรม ๒บทความเรื่องการบริหารงานตามหลักฆราวาสธรรม ๒
บทความเรื่องการบริหารงานตามหลักฆราวาสธรรม ๒วัดดอนทอง กาฬสินธุ์
 
Tri91 29+สังยุตตนิกาย+สฬายตนวรรค+เล่ม+๔+ภาค+๒
Tri91 29+สังยุตตนิกาย+สฬายตนวรรค+เล่ม+๔+ภาค+๒Tri91 29+สังยุตตนิกาย+สฬายตนวรรค+เล่ม+๔+ภาค+๒
Tri91 29+สังยุตตนิกาย+สฬายตนวรรค+เล่ม+๔+ภาค+๒Tongsamut vorasan
 

Similar to ศึกษาพระสูตรสำคัญของมหายาน (20)

2 23คัณฐีพระธัมมปทัฏฐกถา+ยกศัพท์แปล+ภาค๑
2 23คัณฐีพระธัมมปทัฏฐกถา+ยกศัพท์แปล+ภาค๑2 23คัณฐีพระธัมมปทัฏฐกถา+ยกศัพท์แปล+ภาค๑
2 23คัณฐีพระธัมมปทัฏฐกถา+ยกศัพท์แปล+ภาค๑
 
มุตโตทัย
มุตโตทัยมุตโตทัย
มุตโตทัย
 
แต่งไทย ป.ธ. ๙.pdf
แต่งไทย ป.ธ. ๙.pdfแต่งไทย ป.ธ. ๙.pdf
แต่งไทย ป.ธ. ๙.pdf
 
2 23คัณฐีพระธัมมปทัฏฐกถา+ยกศัพท์แปล+ภาค๑
2 23คัณฐีพระธัมมปทัฏฐกถา+ยกศัพท์แปล+ภาค๑2 23คัณฐีพระธัมมปทัฏฐกถา+ยกศัพท์แปล+ภาค๑
2 23คัณฐีพระธัมมปทัฏฐกถา+ยกศัพท์แปล+ภาค๑
 
Tri91 20+มัชฌิมนิกาย+มัชฌิมปัณณาสก์+เล่ม+๒+ภาค+๑
Tri91 20+มัชฌิมนิกาย+มัชฌิมปัณณาสก์+เล่ม+๒+ภาค+๑Tri91 20+มัชฌิมนิกาย+มัชฌิมปัณณาสก์+เล่ม+๒+ภาค+๑
Tri91 20+มัชฌิมนิกาย+มัชฌิมปัณณาสก์+เล่ม+๒+ภาค+๑
 
-------------- --- 1
 -------------- --- 1 -------------- --- 1
-------------- --- 1
 
Manomayitti 1-8
Manomayitti 1-8Manomayitti 1-8
Manomayitti 1-8
 
2 24คัณฐีพระธัมมปทัฏฐกถา+ยกศัพท์แปล+ภาค๒
2 24คัณฐีพระธัมมปทัฏฐกถา+ยกศัพท์แปล+ภาค๒2 24คัณฐีพระธัมมปทัฏฐกถา+ยกศัพท์แปล+ภาค๒
2 24คัณฐีพระธัมมปทัฏฐกถา+ยกศัพท์แปล+ภาค๒
 
Tri91 15+ทีฆนิกาย+ปาฏิกวรรค+เล่ม+๓+ภาค+๑ (1)
Tri91 15+ทีฆนิกาย+ปาฏิกวรรค+เล่ม+๓+ภาค+๑ (1)Tri91 15+ทีฆนิกาย+ปาฏิกวรรค+เล่ม+๓+ภาค+๑ (1)
Tri91 15+ทีฆนิกาย+ปาฏิกวรรค+เล่ม+๓+ภาค+๑ (1)
 
200789830 katin
200789830 katin200789830 katin
200789830 katin
 
พระพุทธเจ้าทรงสั่งสอนอะไร พระนิพนธ์ในสมเด็จพระญาณสังวร
พระพุทธเจ้าทรงสั่งสอนอะไร  พระนิพนธ์ในสมเด็จพระญาณสังวรพระพุทธเจ้าทรงสั่งสอนอะไร  พระนิพนธ์ในสมเด็จพระญาณสังวร
พระพุทธเจ้าทรงสั่งสอนอะไร พระนิพนธ์ในสมเด็จพระญาณสังวร
 
บทความเรื่องการบริหารงานตามหลักฆราวาสธรรม ๓
บทความเรื่องการบริหารงานตามหลักฆราวาสธรรม ๓บทความเรื่องการบริหารงานตามหลักฆราวาสธรรม ๓
บทความเรื่องการบริหารงานตามหลักฆราวาสธรรม ๓
 
๐๖. ภูริทัตตชาดก.pdf
๐๖. ภูริทัตตชาดก.pdf๐๖. ภูริทัตตชาดก.pdf
๐๖. ภูริทัตตชาดก.pdf
 
Saeng Dhamma Vol. 36 No. 434 June 2011
Saeng Dhamma Vol. 36 No. 434 June 2011 Saeng Dhamma Vol. 36 No. 434 June 2011
Saeng Dhamma Vol. 36 No. 434 June 2011
 
เหตุผลแห่งข้อเท็จจริงตามหลักกาลามสูตร
เหตุผลแห่งข้อเท็จจริงตามหลักกาลามสูตรเหตุผลแห่งข้อเท็จจริงตามหลักกาลามสูตร
เหตุผลแห่งข้อเท็จจริงตามหลักกาลามสูตร
 
ครูพัชราภรณ์ เหมือนรุ่ง
ครูพัชราภรณ์    เหมือนรุ่งครูพัชราภรณ์    เหมือนรุ่ง
ครูพัชราภรณ์ เหมือนรุ่ง
 
บทความเรื่องการบริหารงานตามหลักฆราวาสธรรม ๒
บทความเรื่องการบริหารงานตามหลักฆราวาสธรรม ๒บทความเรื่องการบริหารงานตามหลักฆราวาสธรรม ๒
บทความเรื่องการบริหารงานตามหลักฆราวาสธรรม ๒
 
บทความเรื่องการบริหารงานตามหลักฆราวาสธรรม ๒
บทความเรื่องการบริหารงานตามหลักฆราวาสธรรม ๒บทความเรื่องการบริหารงานตามหลักฆราวาสธรรม ๒
บทความเรื่องการบริหารงานตามหลักฆราวาสธรรม ๒
 
บทความเรื่องการบริหารงานตามหลักฆราวาสธรรม ๒
บทความเรื่องการบริหารงานตามหลักฆราวาสธรรม ๒บทความเรื่องการบริหารงานตามหลักฆราวาสธรรม ๒
บทความเรื่องการบริหารงานตามหลักฆราวาสธรรม ๒
 
Tri91 29+สังยุตตนิกาย+สฬายตนวรรค+เล่ม+๔+ภาค+๒
Tri91 29+สังยุตตนิกาย+สฬายตนวรรค+เล่ม+๔+ภาค+๒Tri91 29+สังยุตตนิกาย+สฬายตนวรรค+เล่ม+๔+ภาค+๒
Tri91 29+สังยุตตนิกาย+สฬายตนวรรค+เล่ม+๔+ภาค+๒
 

More from Anchalee BuddhaBucha

โครงร่างวิทยานิพนธ์ ใช้การการสอบขออนุมัติหัวข้อ
โครงร่างวิทยานิพนธ์ ใช้การการสอบขออนุมัติหัวข้อโครงร่างวิทยานิพนธ์ ใช้การการสอบขออนุมัติหัวข้อ
โครงร่างวิทยานิพนธ์ ใช้การการสอบขออนุมัติหัวข้อAnchalee BuddhaBucha
 
โครงร่างวิทยานิพนธ์ อัญชลี จตุรานนUpdate1011
โครงร่างวิทยานิพนธ์   อัญชลี จตุรานนUpdate1011โครงร่างวิทยานิพนธ์   อัญชลี จตุรานนUpdate1011
โครงร่างวิทยานิพนธ์ อัญชลี จตุรานนUpdate1011Anchalee BuddhaBucha
 
ศึกษาความรู้และความเข้าใจในการปฏิบัติวิปัสสนากรรมฐานตามแนวสติปัฏฐาน ๔ ของผู้ป...
ศึกษาความรู้และความเข้าใจในการปฏิบัติวิปัสสนากรรมฐานตามแนวสติปัฏฐาน ๔ ของผู้ป...ศึกษาความรู้และความเข้าใจในการปฏิบัติวิปัสสนากรรมฐานตามแนวสติปัฏฐาน ๔ ของผู้ป...
ศึกษาความรู้และความเข้าใจในการปฏิบัติวิปัสสนากรรมฐานตามแนวสติปัฏฐาน ๔ ของผู้ป...Anchalee BuddhaBucha
 
ภาษาบาลี ชุดที่ ๔ การันต์
ภาษาบาลี ชุดที่ ๔   การันต์ภาษาบาลี ชุดที่ ๔   การันต์
ภาษาบาลี ชุดที่ ๔ การันต์Anchalee BuddhaBucha
 
ภาษาบาลี ชุดที่ ๒ โครงสร้างวจีวิภาค
ภาษาบาลี ชุดที่ ๒   โครงสร้างวจีวิภาคภาษาบาลี ชุดที่ ๒   โครงสร้างวจีวิภาค
ภาษาบาลี ชุดที่ ๒ โครงสร้างวจีวิภาคAnchalee BuddhaBucha
 
ภาษาบาลี ชุดที่ ๑ ความเป็นมาและคุณค่าของภาษาบาลี
ภาษาบาลี ชุดที่ ๑   ความเป็นมาและคุณค่าของภาษาบาลีภาษาบาลี ชุดที่ ๑   ความเป็นมาและคุณค่าของภาษาบาลี
ภาษาบาลี ชุดที่ ๑ ความเป็นมาและคุณค่าของภาษาบาลีAnchalee BuddhaBucha
 
ภาษาบาลี ชุดที่ ๓ นามศัพท์ ลิงค์ วจนะ วิภัตติ
ภาษาบาลี ชุดที่ ๓   นามศัพท์ ลิงค์ วจนะ วิภัตติภาษาบาลี ชุดที่ ๓   นามศัพท์ ลิงค์ วจนะ วิภัตติ
ภาษาบาลี ชุดที่ ๓ นามศัพท์ ลิงค์ วจนะ วิภัตติAnchalee BuddhaBucha
 
ศึกษาความเป็นมา วิธีการเผยแผ่ และอิทธพลขององค์กรพุทธฉือจี้
ศึกษาความเป็นมา วิธีการเผยแผ่ และอิทธพลขององค์กรพุทธฉือจี้ศึกษาความเป็นมา วิธีการเผยแผ่ และอิทธพลขององค์กรพุทธฉือจี้
ศึกษาความเป็นมา วิธีการเผยแผ่ และอิทธพลขององค์กรพุทธฉือจี้Anchalee BuddhaBucha
 
พุทธศาสนาเถรวาทในอินเดีย
พุทธศาสนาเถรวาทในอินเดียพุทธศาสนาเถรวาทในอินเดีย
พุทธศาสนาเถรวาทในอินเดียAnchalee BuddhaBucha
 
พุทธศาสนากับการบริหาร
พุทธศาสนากับการบริหารพุทธศาสนากับการบริหาร
พุทธศาสนากับการบริหารAnchalee BuddhaBucha
 
เปรียบเทียบพุทธปรัชญาและปรัชญาลัทธิครูทั้ง ๖
เปรียบเทียบพุทธปรัชญาและปรัชญาลัทธิครูทั้ง ๖เปรียบเทียบพุทธปรัชญาและปรัชญาลัทธิครูทั้ง ๖
เปรียบเทียบพุทธปรัชญาและปรัชญาลัทธิครูทั้ง ๖Anchalee BuddhaBucha
 
เปรียบเทียบความเชื่อเรื่องความดีความชั่วในศาสนาต่างๆ
เปรียบเทียบความเชื่อเรื่องความดีความชั่วในศาสนาต่างๆเปรียบเทียบความเชื่อเรื่องความดีความชั่วในศาสนาต่างๆ
เปรียบเทียบความเชื่อเรื่องความดีความชั่วในศาสนาต่างๆAnchalee BuddhaBucha
 

More from Anchalee BuddhaBucha (13)

โครงร่างวิทยานิพนธ์ ใช้การการสอบขออนุมัติหัวข้อ
โครงร่างวิทยานิพนธ์ ใช้การการสอบขออนุมัติหัวข้อโครงร่างวิทยานิพนธ์ ใช้การการสอบขออนุมัติหัวข้อ
โครงร่างวิทยานิพนธ์ ใช้การการสอบขออนุมัติหัวข้อ
 
โครงร่างวิทยานิพนธ์ อัญชลี จตุรานนUpdate1011
โครงร่างวิทยานิพนธ์   อัญชลี จตุรานนUpdate1011โครงร่างวิทยานิพนธ์   อัญชลี จตุรานนUpdate1011
โครงร่างวิทยานิพนธ์ อัญชลี จตุรานนUpdate1011
 
ศึกษาความรู้และความเข้าใจในการปฏิบัติวิปัสสนากรรมฐานตามแนวสติปัฏฐาน ๔ ของผู้ป...
ศึกษาความรู้และความเข้าใจในการปฏิบัติวิปัสสนากรรมฐานตามแนวสติปัฏฐาน ๔ ของผู้ป...ศึกษาความรู้และความเข้าใจในการปฏิบัติวิปัสสนากรรมฐานตามแนวสติปัฏฐาน ๔ ของผู้ป...
ศึกษาความรู้และความเข้าใจในการปฏิบัติวิปัสสนากรรมฐานตามแนวสติปัฏฐาน ๔ ของผู้ป...
 
ภาษาบาลี ชุดที่ ๔ การันต์
ภาษาบาลี ชุดที่ ๔   การันต์ภาษาบาลี ชุดที่ ๔   การันต์
ภาษาบาลี ชุดที่ ๔ การันต์
 
ภาษาบาลี ชุดที่ ๒ โครงสร้างวจีวิภาค
ภาษาบาลี ชุดที่ ๒   โครงสร้างวจีวิภาคภาษาบาลี ชุดที่ ๒   โครงสร้างวจีวิภาค
ภาษาบาลี ชุดที่ ๒ โครงสร้างวจีวิภาค
 
ภาษาบาลี ชุดที่ ๑ ความเป็นมาและคุณค่าของภาษาบาลี
ภาษาบาลี ชุดที่ ๑   ความเป็นมาและคุณค่าของภาษาบาลีภาษาบาลี ชุดที่ ๑   ความเป็นมาและคุณค่าของภาษาบาลี
ภาษาบาลี ชุดที่ ๑ ความเป็นมาและคุณค่าของภาษาบาลี
 
ภาษาบาลี ชุดที่ ๓ นามศัพท์ ลิงค์ วจนะ วิภัตติ
ภาษาบาลี ชุดที่ ๓   นามศัพท์ ลิงค์ วจนะ วิภัตติภาษาบาลี ชุดที่ ๓   นามศัพท์ ลิงค์ วจนะ วิภัตติ
ภาษาบาลี ชุดที่ ๓ นามศัพท์ ลิงค์ วจนะ วิภัตติ
 
ศึกษาความเป็นมา วิธีการเผยแผ่ และอิทธพลขององค์กรพุทธฉือจี้
ศึกษาความเป็นมา วิธีการเผยแผ่ และอิทธพลขององค์กรพุทธฉือจี้ศึกษาความเป็นมา วิธีการเผยแผ่ และอิทธพลขององค์กรพุทธฉือจี้
ศึกษาความเป็นมา วิธีการเผยแผ่ และอิทธพลขององค์กรพุทธฉือจี้
 
ภาวนาทีปนี
ภาวนาทีปนีภาวนาทีปนี
ภาวนาทีปนี
 
พุทธศาสนาเถรวาทในอินเดีย
พุทธศาสนาเถรวาทในอินเดียพุทธศาสนาเถรวาทในอินเดีย
พุทธศาสนาเถรวาทในอินเดีย
 
พุทธศาสนากับการบริหาร
พุทธศาสนากับการบริหารพุทธศาสนากับการบริหาร
พุทธศาสนากับการบริหาร
 
เปรียบเทียบพุทธปรัชญาและปรัชญาลัทธิครูทั้ง ๖
เปรียบเทียบพุทธปรัชญาและปรัชญาลัทธิครูทั้ง ๖เปรียบเทียบพุทธปรัชญาและปรัชญาลัทธิครูทั้ง ๖
เปรียบเทียบพุทธปรัชญาและปรัชญาลัทธิครูทั้ง ๖
 
เปรียบเทียบความเชื่อเรื่องความดีความชั่วในศาสนาต่างๆ
เปรียบเทียบความเชื่อเรื่องความดีความชั่วในศาสนาต่างๆเปรียบเทียบความเชื่อเรื่องความดีความชั่วในศาสนาต่างๆ
เปรียบเทียบความเชื่อเรื่องความดีความชั่วในศาสนาต่างๆ
 

ศึกษาพระสูตรสำคัญของมหายาน

  • 1. เพื่อนำเสนอ พระครูประวิตรวรำนุยุต,ดร. ในรำยวิชำ พระพุทธศำสนำมหำยำน ตำมหลักสูตรปริญญำพุทธศำสตรมหำบัณฑิต มหำวิทยำลัยมหำจุฬำลงกรณรำชวิทยำลัย วิทยำเขตเชียงใหม่ ภำคเรียนที่ ๒ ปีกำรศึกษำ ๒๕๕๕ และเพื่อถวำยเป็นพุทธบูชำ ธรรมบูชำ สังฆบูชำ จัดทำโดย พระอธิกำรสุทิน อตฺตทีโป (เตจ๊ะสำ) นำงสำวอัญชลี จตุรำนน ศึกษำพระสูตรสำคัญ ของพระพุทธศำสนำมหำยำน : วิมลเกียรตินิทเทสสูตร และ ศรีมำลำเทวีสูตร
  • 2. ๑. เพื่อศึกษำถึงลักษณะสำคัญของพระไตรปิฎกมหำยำน ๒. เพื่อศึกษำภำพรวมของพระสูตรสำคัญของมหำยำน ๓. เพื่อศึกษำเนื้อหำโดยสรุปของวิมลเกียรตินิทเทสสูตร และศรีมำลำเทวี สูตร ซึ่งเป็นพระสูตรที่สำคัญและโดดเด่นของมหำยำน ๔. เพื่อวิเครำะห์เปรียบเทียบเนื้อหำของวิมลเกียรตินิทเทสสูตรและศรี มำลำเทวีสูตรกับคำสอนในพุทธศำสนำเถรวำท ๕. เพื่อศึกษำและสรุปแนวคิดในกำรศึกษำพุทธศำสนำมหำยำน วัตถุประสงค์
  • 3. ๑. พระไตรปิฎกมหำยำน ๒. พระสูตรสำคัญของมหำยำน ๓. เนื้อหำโดยสรุปของวิมลเกียรตินิทเทสสูตร ๔. เปรียบเทียบเนื้อหำของวิมลเกียรตินิทเทสสูตรกับคำสอนในพุทธศำสนำ เถรวำท ๕. เนื้อหำโดยสรุปของศรีมำลำเทวีสูตร ๖. เปรียบเทียบเนื้อหำของศรีมำลำเทวีสูตรกับคำสอนในพุทธศำสนำเถร วำท ๗. แนวคิดในกำรศึกษำพุทธศำสนำมหำยำน ๘. บรรณำนุกรม โครงร่ำงเนื้อหำสำระ
  • 4. ๑. พระไตรปิฎกภำษำมคธ หรือบำลี เป็นคัมภีร์ของฝ่ำยเถรวำท (ศรีลังกำ, ไทย, พม่ำ, เขมร และลำว) ๒. พระไตรปิฎกภำษำสันสกฤต เป็นคัมภีร์ฝ่ำยนิกำยมหำยำนและนิกำยสรวำสติ วำทิน (แปลเป็นภำษำจีน และเผยแพร่ต่อออกไป เกำหลี, ญี่ปุ่น และญวน) ๓. พระไตรปิฎกภำษำสันสกฤต เป็นคัมภีร์ฝ่ำยนิกำยมหำยำนเหมือนกัน แต่ ประกำศหนักไปในนิกำยมนตรยำน (แปลเป็นภำษำธิเบต และเผยแพร่ต่อ ออกไป ในมองโกเลีย และมำนจูเรีย) โดยสรุปคือ ในปัจจุบันมี พระไตรปิฎกภำษำบำลี, ภำษำจีน และภำษำธิเบต พระไตรปิฎกในปัจจุบัน พระไตรปิฎกมหำยำน
  • 5. • ได้รวมเอาคติธรรมจากพระไตรปิฎกบาลีและธิเบตไว้ด้วย ไม่จากัดเฉพาะลัทธิมหายานเท่านั้น • จานวนคัมภีร์ในพระไตรปิฎกจีนนี้มีการชาระกันหลายครั้ง จานวนคัมภีร์กับจานวนผูก เปลี่ยนแปลงไม่เท่ากันในแต่ละครั้ง ตัวอย่ำงหมวดพระไตรปิฎกจีนในสมัยรำชวงศ์เหม็ง หมวดอวตังสกะ พระสูตรใหม่สูตรหนึ่งเป็นหัวใจคือ พุทธาวตังสกมหาไวปุลยสูตร ๘๐ ผูก หมวดไวปุลยะ พระสูตรใหญ่ชื่อมหารัตนกูฏสูตร ๑๒๐ ผูก เป็นหัวใจ หมวดปรัชญำ มีพระสูตรใหญ่ ชื่อมหาปรัชญาปารมิตาสูตร ๖๐๐ ผูก หมวดสัทธรรมปุณฑริก มีพระสูตรใหญ่ ชื่อสัทธรรมปุณฑริกสูตร ๘ ผูก หมวดปรินิรวำณ มีพระสูตรใหญ่ ชื่อมหาปรินิรวาณสูตร ๔๐ ผูก พระวินัยลัทธิมหำยำน คงปฏิบัติวินัยบัญญัติตามพระปาฏิโมกข์ ของฝ่ายสาวกยาน แต่เพิ่มโพธิสัตวจริยา ปกรณ์วิเสสต่ำงๆ อีกมากมายจานานนับพันผูก คุณลักษณะของพระไตรปิฎกภำษำจีน พระไตรปิฎกมหำยำน เปรียบเทียบกับแนวคิดของพุทธ ศำสนำเถรวำท พระไตรปิฎกภำษำบำลีของเถร วำทแบ่งเป็น ๓ หมวดคือ พระ วินัย, พระสุตตันตปิฎก และพระ อภิธรรมปิฎก และคงรูปแบบ หมวดหมู่และเนื้อหำไว้ ไม่ว่ำจะ มีกำรชำระกี่ครั้ง
  • 6. ๑.) วัชรปรัชญำปำรมิตำ - เป็นพระสูตรดั้งเดิมที่สุด เป็นมูลฐานทฤษฎีว่าด้วยศูนยตา นิกายเซ็นยกย่อง พระสูตรนี้มาก จะสวดสาธยายในงานพิธีศราทธพรต เช่นการสวดอภิธรรมในฝ่ายเถรวาท ๒.) อวตังสกะสูตร - เชื่อว่าเป็นพระสูตรที่พระพุทธเจ้าทรงสั่งสอนเองในขณะที่พระองค์เข้าสมาธิหรืออยู่ ในสภาพธรรมกาย กล่าวถึงเรื่องของธรรมกาย (กายของพระพุทธเจ้า) ๓.) คัณฑวยุหสูตร - เป็นพระสูตรที่บรรยายการจาริกแสวงโมกษะธรรมของชายหนุ่มคนหนึ่งชื่อ สุธนะ ซึ่งได้กล่าวถึงคาปฏิญาณของสุธนะในการที่ประสงค์ไปเกิดในสุขาวดียุหภพ ๔.) ทศภูมิกสูตร - กล่าวถึงวัชรครรภะโพธิสัตว์ ได้บรรยายถึงข้อปฏิบัติ ที่จะทาให้บุคคลบรรลุความเป็น พระโพธิสัตว์ ๑๐ ประการ ๕.) วิมลเกียรตินิทเทสสูตร – เรื่องราวของวิมลเกียรติโพธิสัตว์ แสดงให้เห็นว่าการจะเป็นพระโพธิสัตว์ และดารงชีวิตตามแบบอย่างพระโพธิสัตว์นั้น ไม่จาเป็นต้องเป็นพระภิกษุก็ได้ พระสูตรสำคัญของมหำยำน
  • 7. ๖.) ศูรำงคมสมำธิสูตร - กล่าวถึงความสาคัญของการบาเพ็ญสมาธิว่า เป็นมูลเหตุให้บรรลุการตรัสรู้ ความเป็นพระโพธิสัตว์และสัจธรรม ๗.) สัทธรรมปุณฑริกสูตร - กล่าวถึงเหตุที่พระองค์ทรงสั่งสอนสรรพสัตว์ด้วยอุบายวิธีต่างๆกัน เนื่อง ด้วยพระมหากรุณาของพระองค์ที่มีต่อสรรพสัตว์ คาสั่งสอนอันแท้จริงของพระตถาคตนั้นมีเพื่อ หนึ่งเดียวเท่านั้นคือเพื่อสรรพสัตว์ ๘.) ศรีมำลำเทวีสูตร - พระพุทธเจ้าได้ทรงตรัสพยากรณ์แห่งหญิงผู้หนึ่งคือ เจ้าหญิงศรีมาลาเทวีและ เจ้าหญิงศรีมาลาเทวีก็ได้ตั้งสัตย์ปฏิญาณไว้ ๑๐ ประการ ๙.) พรหมชำลสูตร - ว่าด้วยวินัยของมหายานทุกนิกาย มีอยู่ ๑๐ ประการ ๑๐.) สุขำวดีวยุหสูตร – ว่าด้วยแนวคิดเรื่องภพหน้า มี ๓ ประการ คือ เกิดในสวรรค์ชั้นดุสิตของพระ ศรีอารย์ เกิดในภูมิตะวันออกของพระอักโษภยะ และเกิดในภูมิตะวันตกของพระอมิตาภะ พระสูตรสำคัญของมหำยำน (ต่อ)
  • 8. • พระสูตรนี้กาเนิดในช่วงปลายพุทธศตวรรษที่ ๕ ไม่ปรากฏชื่อผู้แต่ง พระสูตร • พระนาคารชุน ผู้รจนาอรรถกถามหาปรัชญาปารมิตาสูตร ก็ได้ อ้างอิงข้อความจากวิมลเกียรตินิทเทสสูตรหลายตอน • ต้นฉบับพระสูตรนี้ปัจจุบันหายสาบสูญไปแล้ว แต่มีผู้แปลไว้หลาย สานวน จึงยังคงสืบทอดมาถึงทุกวันนี้ • ในภาษาจีนมีการแปลวิมลเกียรตินิทเทสสูตรไว้ถึง ๗ สานวน แต่ เหลือสืบทอดถึงปัจจุบันเพียง ๓ สานวนเท่านั้น ฉบับที่แปลเป็นไทย โดย อ. เสถียร โพธินันทะ (พ.ศ. ๒๕๐๔) ได้แปลจากฉบับแปลของ พระกุมารชีพ เพราะมีสานวนโวหารไพเราะได้รับการยกย่องว่าเป็น วรรณคดีจีนชั้นสูง ควำมเป็นมำ วิมลเกียรตินิทเทสสูตร เปรียบเทียบกับพุทธ ศำสนำเถรวำท พระสูตรในฝ่ำยเถร วำทคือพุทธพจน์ของ พระพุทธเจ้ำทั้งสิ้น ไม่ มีกำรแต่งเพิ่ม ภำยหลัง
  • 9. พระพุทธเจ้ำ - ตรัสกับรัตนกูฏบุตรคฤหบดีว่า วิสุทธิเกษตรแห่งพระโพธิสัตว์ก็อยู่ในสรรพ สัตว์ทั้งปวง เพราะว่าพระโพธิสัตว์ย่อมบาเพ็ญหิตานุหิตประโยชน์โปรดสรรพสัตว์ จึงจะ สามารถสาเร็จซึ่งพุทธเกษตรได้ เปรียบเหมือนการสร้างปราสาทที่ต้องอาศัยแผ่นดิน พระสำรีบุตร - เกิดปริวิตกว่า เหตุใดพุทธเกษตรของพระพุทธเจ้าจึงไม่บริสุทธ์สะอาด พระพุทธเจ้ำ - ทรงอธิบายว่าพุทธเกษตรของพระองค์แท้จริงแล้วบริสุทธิ์สะอาด แต่บุคคล มีจิตสูงต่าไม่เสมอกัน จึงเห็นว่าไม่บริสุทธิ์สะอาด จากนั้นพระพุทธเจ้าก็ทรงแสดงฤทธิ์ให้ เห็นความงดงามอลังการของพุทธเกษตรของท่าน เมื่อนั้นรัตนกูฏพร้อมด้วยบุตรคฤหบดีอีก ๕๐๕ คน ต่างก็บรรลุธรรมกษานติ และมี ๘,๔๐๐ คนต่างตั้งจิตมุ่งสาเร็จพระอนุตตรสัมมาสัมโพธิญาณ ปริเฉทที่ ๑ พระพุทธเกษตรวรรค วิมลเกียรตินิทเทสสูตร
  • 10. ปริเฉทที่ ๑ พระพุทธเกษตรวรรค วิมลเกียรตินิทเทสสูตร เปรียบเทียบกับแนวคิดของพุทธศำสนำเถรวำท • เถรวาทไม่มีเรื่องของพุทธเกษตร เชื่อว่าโลกและจักรวาลเป็นเรื่องของ ธรรมชาติ ไม่ได้บริสุทธิ์ผุดผ่องปราศจากมลทิน แต่เป็นไปตามธรรมชาติ • ในเถรวาทเมื่อมีการแสดงธรรมจบ มักจะจบเรื่องด้วยการกล่าวว่าผู้ได้ฟัง ธรรมเกิดดวงตารู้แจ้งเห็นธรรม บรรลุธรรมขั้นใด แต่มหายานจะจบด้วยว่า ผู้ ได้ฟังธรรมเกิดจิตมุ่งต่อพระอนุตรสัมมาสัมโพธิญาณ
  • 11. • กล่าวถึงคฤหบดีผู้หนึ่ง ชื่อวิมลเกียรติ เป็นผู้แตกฉานในธรรม มีฌานและอภิญญาเป็นเลิศ มีจิตบริสุทธิ์สะอาด ดาเนินตามมหายานปฏิปทาโดยไม่แปรผัน • วันหนึ่งท่ำนวิมลเกียรติสำแดงตนว่ำบังเกิดอำพำธ ชนทั้งหลายไปเยี่ยมไข้ ท่านวิมล เกียรติจึงแสดงธรรมว่าร่างกายนี้เป็นของไม่เที่ยง ปราศจากแก่นสาร เป็นที่ประชุมของโรค จึง ไม่ควรหลงใหลเพลิดเพลินในกายนี้แต่ให้ยินดีในพุทธสรีระ คือพระธรรมกายอันเกิดจากศีล สมาธิ ปัญญา วิมุตติ วิมุตติญาณทัสสนะ เมตตา กรุณา มุทิตา อุเบกขา ทาน ศีล ขันติ โสรัจ จะ วิริยะ ฌาน วิมุตติ สมาธิ พหูสูต ปัญญาแลปวงบารมีธรรม ๓๗ • ผู้มาเยี่ยมไข้ทั้งหลายก็บังเกิดจิตปณิธานในพระอนุตตรสัมมาสัมโพธิญาณโดยถ้วนหน้า ปริเฉทที่ ๒ อุปำยโกศลวรรค วิมลเกียรตินิทเทสสูตร
  • 12. ปริเฉทที่ ๒ อุปำยโกศลวรรค วิมลเกียรตินิทเทสสูตร เปรียบเทียบกับแนวคิดของพุทธศำสนำเถรวำท • เถรวาทก็สอนว่า “ร่างกายนี้เป็นของไม่เที่ยง ปราศจากแก่นสาร เป็นที่ประชุมของโรค จึงไม่ควรหลงใหลเพลิดเพลินในกายนี้” แต่ไม่ได้สอนว่า “ให้ยินดีในพุทธสรีระ คือ พระธรรมกายอันเกิดจากศีล สมาธิ ปัญญา.....” แต่จะสอนให้ละความยึดมั่นในกาย เพื่อความหลุดพ้น
  • 13. พระพุทธเจ้าทรงมีพระดารัสให้พระสาวกท่านต่างๆไปเยี่ยมไข้ท่านวิมลเกียรติ แต่ไม่มีท่านใดอยาก ไป เพราะคิดว่าตนไม่คู่ควรในการไปเยี่ยมท่านวิมลเกียรติ โดยมีเรื่องเล่าประสบการณ์ของแต่ละ ท่านดังนี้(ยกตัวอย่างเพียงบางท่าน) พระสำรีบุตร ท่านวิมลเกียรติเคยแสดงธรรมให้ท่านฟังเรื่องการนั่งสมาธิว่าไม่จาเป็นต้องกระทาอาการนั่ง แต่ควร ทาการไม่ปรากฏกายใจในภพทั้ง ๓ จิตไม่ยึดติดในกายใจ หรือยึดติดในภายนอก สามารถอบรมใน โพธิปักขิยธรรม ๓๗ ได้ ไม่ต้องตัดกิเลส แต่สามารถเข้านิพพานได้ นี้คือการนั่งสมาธิ พระโมคคัลลำนะ ครั้งหนึ่งขณะท่านกาลังแสดงธรรมให้คฤหบดีฟัง ท่านวิมลเกียรติได้มากล่าวว่าการแสดงธรรมไม่ ควรเป็นเช่นนั้น เพราะธรรมนั้นไม่มีสัตว์ บุคคล อดีต อนาคต เป็นสุญญตา เปรียบเทียบไม่ได้ จึงไม่ มีอะไรจะแสดงได้ ต้องตั้งจิตให้ได้เช่นนี้จิตมีมหากรุณา สดุดีลัทธิมหายาน ไม่ละขาดจากพระไตร รัตน์ เช่นนี้จึงควรจะแสดงธรรม ปริเฉทที่ ๓ สำวกวรรค วิมลเกียรตินิทเทสสูตร
  • 14. ปริเฉทที่ ๓ สำวกวรรค วิมลเกียรตินิทเทสสูตร เปรียบเทียบกับแนวคิดของพุทธศำสนำเถรวำท • เถรวาทจะยกย่องพระอรหันตสาวกว่าเป็นผู้มีเกียรติ มีปัญญา โดยเฉพาะเอตทัคคะ ในด้านต่างๆ • เถรวาทไม่มีเรื่องการไม่ต้องตัดกิเลส แต่สามารถเข้านิพพานได้ คาสอนของเถรวาท การเข้าสู่นิพพาน คือการหมดแล้วซึ่งกิเลส • มหายานมีแนวคิดเชิงปรัชญา เช่น การกล่าวว่า “ธรรมนั้นไม่มีสัตว์ บุคคล อดีต อนาคต เป็นสุญญตา เปรียบเทียบไม่ได้ จึงไม่มีอะไรจะแสดงได้” ฝ่ายเถรวาทเห็นว่า การแสดงธรรม คือการแสดงความจริงให้ผู้ที่ยังมีอวิชชาได้พิจารณา • มหายานจะมีการสอนให้สดุดีลัทธิมหายาน แทรกอยู่ในพระสูตรเป็นระยะ เถรวาท เน้นการสดุดีพระพุทธเจ้า และ พระธรรม เป็นหลัก
  • 15. พระมหำกัสสปะ ครั้งหนึ่งขณะท่านเที่ยวจาริกบิณฑบาตคามละแวกบ้านคนยากจน ท่านวิมลเกียรติได้มากล่าวว่าท่านมีจิตเมตตากรุณาไม่แผ่ไพศาล เพราะละเลยบ้านคนร่ารวย มาโปรดแต่คนยากจน แท้จริงแล้วควรโปรดสัตว์ทั้งปวงได้เท่ากัน หลังจากนั้นพระมหากัสสปะก็ไม่เทศน์ให้คนมุ่งต่อพระนิพพานอีก แต่ให้มุ่งต่อพุทธภูมิเท่านั้น พระสุภูติ ครั้งหนึ่งท่านวิมลเกียรติได้ใส่บาตรท่านจนเต็มบาตร และกล่าวว่าหากท่านสามารถเห็นถึงความ จริงว่า ธรรมทั้งหลายเสมอกันหมด จึงสมควรที่จะนาอาหารเหล่านี้ไปฉันได้ การเห็นธรรมทั้งหลาย เสมอกันหมดคือไม่ต้องตัดกิเลส แต่ไม่อยู่ร่วมกับกิเลส ไม่ฟังธรรมพระพุทธเจ้า แต่ฟังธรรมจากลัทธิ ครูทั้ง ๖ ได้ เมื่อนั้นก็มีเทวบุตร ๒๐๐ องค์ได้ธรรมจักษุอันบริสุทธิ์ ปริเฉทที่ ๓ สำวกวรรค วิมลเกียรตินิทเทสสูตร
  • 16. ปริเฉทที่ ๓ สำวกวรรค วิมลเกียรตินิทเทสสูตร เปรียบเทียบกับแนวคิดของพุทธศำสนำเถรวำท • เถรวาทก็มีคาสอนเรื่องการเมตตาโดยไม่มีประมาณเช่นกัน • เถรวาทมุ่งเทศน์เพื่อให้คนมุ่งต่อพระนิพพาน แต่มหายานจะเน้นให้คนมุ่งพุทธภูมิ • เถรวาทสอนให้ลดละกิเลส ฟังธรรมจากพระพุทธเจ้า เพื่อให้มีความเห็นชอบ แต่ มหายานสอนว่าไม่ต้องตัดกิเลส แต่ไม่อยู่ร่วมกับกิเลส ไม่ฟังธรรมพระพุทธเจ้า แต่ฟัง ธรรมจากลัทธิครูทั้ง ๖ ได้ คือเห็นทุกอย่างเสมอกัน • มหายานจะจบการแสดงธรรมแต่ละครั้งว่ามีผู้ได้ธรรมจักษุอันบริสุทธิ์ คือมีจิตมุ่งต่อ พุทธภูมิ แต่เถรวาทจบด้วยการที่ผู้ฟังบรรลุธรรม ทั้งนี้เนื่องมาจากเป้ าหมายที่แตกต่าง กัน
  • 17. พระอุบำลี ครั้งหนึ่งมีภิกษุสองรูปประพฤติผิดพระวินัยบัญญัติ และมาขอให้ท่านช่วยตัดวิมติกังขาเพื่อให้พ้น จากอาบัติ ท่านวิมลเกียรติได้มากล่าวว่าควรจะสอนให้ดับโทษที่สมุฏฐานโดยตรงดีกว่า เพราะเมื่อ จิตผ่องแผ้ว สัตว์ก็ย่อมชื่อว่าเป็นผู้ผ่องแผ้วก็ธรรมชาติแห่งจิตนั้น เมื่อจิตหลุดพ้นจากอาสวกิเลส จิต ก็จะปราศจากความเศร้าหมอง ผู้ที่เข้าถึงสถานะความจริงอย่างนี้จึงชื่อว่าเป็นผู้ปฏิบัติพระวินัย พระอำนนท์ ครั้งหนึ่งท่านได้ออกบิณฑบาตเพื่อหาน้านมโคมารักษาอาการอาพาธของพระพุทธเจ้า เมื่อท่านวิมล เกียรติมาพบเข้า ก็กล่าวว่าพระวรกายของพระพุทธองค์นั้นเป็นวัชรกายสิทธิ มีสรรพบาปโทษละได้ ขาดแล้วโดยสิ้นเชิง เป็นที่ประชุมแห่งสรรพกุศลธรรมทั้งปวง ย่อมไม่มีอาการอาพาธ เพียงแต่สาแดง อาการอาพาธเพื่อโปรดสัตว์เท่านั้น ปริเฉทที่ ๓ สำวกวรรค วิมลเกียรตินิทเทสสูตร
  • 18. ปริเฉทที่ ๓ สำวกวรรค วิมลเกียรตินิทเทสสูตร เปรียบเทียบกับแนวคิดของพุทธศำสนำเถรวำท • มหายานมีแนวคิดว่าบุญและบาปเท่ากัน ผู้เข้าถึงความจริงจะเห็นทุกอย่างเสมอกัน แต่ เถรวาทสอนให้รักษาศีลตามสถานะของตน เพราะศีลเป็นบาทฐานในการสร้างสมาธิและ ปัญญา • มหายานเชื่อว่าพระวรกายของพระพุทธองค์นั้นเป็นวัชรกายสิทธิ บริสุทธิ์ผุดผ่อง ย่อมไม่มีอาการอาพาธ เพียงแต่สาแดงอาการอาพาธ เพื่อโปรดสัตว์เท่านั้น แต่เถรวาทสอนว่าพระวรกายของพระพุทธเจ้า ก็อยู่ภายใต้กฏไตรลักษณ์และทุกข์แห่งขันธ์ ๕ เช่นกัน • ในปริเฉทนี้แสดงให้เห็นว่าพระอรหันต์ทั้งหลายรวมถึงเอตทัคคะด้านต่างๆ ด้อยปัญญา กว่าท่านวิมลเกียรติ แต่ในเถรวาทจะยกย่องพระอรหันต์ว่าเป็นผู้มีปัญญา หมดกิเลส
  • 19. พระพุทธเจ้าทรงมีพระดารัสให้พระโพธิสัตว์องค์ต่างๆไปเยี่ยมไข้ท่านวิมลเกียรติ แต่ไม่มีองค์ใดอยากไป เพราะคิดว่าตนไม่คู่ควรในการไปเยี่ยมท่านวิมลเกียรติ โดยมีเรื่องเล่าประสบการณ์ของแต่ละองค์ดังนี้(ยกตัวอย่างเพียงบางท่าน) พระเมตไตรยโพธิสัตว์ ครั้งหนึ่งเมื่อท่านกาลังแสดงธรรมว่าด้วยปฏิปทาแห่งนิวรรตนิยภูมิแก่ดุสิตเทวราช พร้อมทั้งเทวบริษัทอยู่ เมื่อนั้นท่านวิมลเกียรติได้มาบอกท่านว่า การที่ท่านได้รับ พุทธพยากรณ์ว่าอีกเพียงชาติเดียว ท่านก็จักได้ตรัสรู้พระอนุตตรสัมมาสัมโพธิ ญาณนั้น ท่านจะถือเอาอดีตชาติ อนาคตชาติ หรือปัจจุบันชาติ ถ้าเป็นอดีตชาติก็ ชื่อว่าล่วงลับไปแล้ว หากเป็นอนาคตชาติก็ยังเป็นธรรมที่ยังไม่มาถึง หรือหากเป็น ปัจจุบันชาติ ก็ปราศจากสภาวะความดารงตั้งมั่นอยู่ได้ หรือหากกล่าวว่าได้รับ พุทธพยากรณ์ในความเกิดขึ้นหรือดับไปแห่ง ตถตา โดยความจริงแล้ว ตถตา ย่อม ไม่มีความเกิดขึ้นหรือดับไป ปริเฉทที่ ๔ โพธิสัตววรรค วิมลเกียรตินิทเทสสูตร
  • 20. ปริเฉทที่ ๔ โพธิสัตววรรค วิมลเกียรตินิทเทสสูตร เปรียบเทียบกับแนวคิดของพุทธศำสนำเถรวำท • มหายานเอาเรื่องการที่พระเมตไตรยโพธิสัตว์ได้รับพุทธพยากรณ์ว่าอีกเพียงชาติเดียวก็ จักได้ตรัสรู้พระอนุตตรสัมมาสัมโพธิญาณ มากล่าวถึงในมุมของปรัชญาเปรียบเปรยกับคา สอนของมหายานเรื่องอนัตตา และตถตา แต่ในเถรวาทพุทธพยากรณ์เรื่องนี้เป็นข้อเท็จจริง จากการพยากรณ์ของพระพุทธเจ้าว่า “อีกชาติเดียว” พระเมตไตรยโพธิสัตว์จะได้ตรัสรู้ ไม่ได้มีคาสอนแนวปรัชญาแฝงในพุทธพยากรณ์ดังเช่นมหายาน
  • 21. พระประภำลังกำรกุมำร ท่านได้ถามว่า “ท่านคฤหบดีมาแต่ไหน” ท่านวิมลเกียรติตอบว่า “ผมมาแต่ธรรมมณฑล” ธรรมมณฑลนั้น คือ จิตที่ตั้งไว้ตรง คือการปฏิบัติธรรม คือจิตที่ลึกซึ้ง คือโพธิจิต คือทานบริจาค คือสีลสังวร คือขันติ คือ วิริยะ คือฌานสมาธิ คือปัญญา คือเมตตา คือกรุณา คือมุทิตา คืออุเบกขา คืออภินิหาร คือวิมุตติ คืออุ ปาย คือสังคหวัตถุ ๔ คือพหูสูต คือ...............ฯลฯ สุทัตตะ บุตรคฤหบดี ครั้งหนึ่งท่านได้จัดงานกุศลบาเพ็ญมหาทานบริจาคแก่สมณะ พราหมณ์ นักบวชนอกศาสนา คนยากจน คนวรรณะต่า เมื่อนั้นท่านวิมลเกียรติได้มากล่าวว่ามหาทานสันนิบาตไม่ควรทาเช่นนี้แต่ควรทาธรรมทาน สันนิบาตมากกว่า นั่นคือทานที่ไม่มีอดีต ไม่มีอนาคตในกาลเดียว บูชาสักการะในสรรพสัตว์ได้ทั่วถึง มี ความตรัสรู้เป็นที่ตั้ง มีเมตตา กรุณา มุทิตา อุเบกขาในจิต ยังทานบารมี ขันติบารมี ฌานบารมี ปัญญา บารมี สังคหวัตถุธรรม สรรพกุศลธรรม และโพธิปักขิยธรรมให้เกิดขึ้น จึงจะชื่อว่าเป็นบุญเขตอันประเสริฐ ปริเฉทที่ ๔ โพธิสัตววรรค วิมลเกียรตินิทเทสสูตร
  • 22. ปริเฉทที่ ๔ โพธิสัตววรรควิมลเกียรตินิทเทสสูตร เปรียบเทียบกับแนวคิดของพุทธศำสนำเถรวำท • ธรรมมณฑล เป็นศัพท์เฉพาะในมหายาน หมายความรวมถึงธรรมทั้งหลายในมหายาน ศัพท์นี้ไม่มีในเถรวาท เถรวาทจะสอนธรรมแต่ละหัวข้อตามกาลที่เหมาะสม และมี คาอธิบายธรรมแต่ละหัวข้อ ว่าคืออะไร ปฏิบัติเพื่ออะไรอย่างชัดเจน เน้นความเป็นเหตุ เป็นผล • “ทาน” ในเถรวาทมีอามิสทาน, อภัยทาน, วิทยาทาน และธรรมทาน เป็นการบาเพ็ญ บารมีประเภทหนึ่ง ส่วนในมหายานสอนถึงทานที่ไม่มีอดีต ไม่มีอนาคต บูชาสรรพสัตว์ได้ ทั่วถึง มีการตรัสรู้เป็นที่ตั้ง นั่นคือเน้นเป้ าหมายคือให้มุ่งพุทธภูมิ แต่ในมหายาน ทาน ก็เป็นหนึ่งในบารมีที่ต้องบาเพ็ญเช่นกัน
  • 23. พระพุทธเจ้าจึงทรงดารัสให้พระมัญชุศรีโพธิสัตว์ไปเยี่ยมไข้ท่านวิมลเกียรติ ท่านก็ขอรับพระพุทธ บัญชาและเดินทางไปเยี่ยมท่านวิมลเกียรติพร้อมผู้ติดตามมากมาย ทั้งเหล่าเทพ เทวดา ท้าวพรหม ทั้งหลาย พระสาวก และพระโพธิสัตว์ทั้งหลาย ท่านวิมลเกียรติทราบว่าพระมัญชุศรีโพธิสัตว์จะมาเยี่ยม ก็ใช้ฤทธิ์บันกาลให้เคหาสน์ของตนเป็น เคหาสน์ว่างเปล่า ปราศจากสิ่งประดับตกแต่ง บริวารใดๆ พระมัญชุศรีโพธิสัตว์ - ถามถึงก็ถามถึงอาการป่วยไข้ ท่ำนวิมลเกียรติ - เพราะเหตุที่สรรพสัตว์เจ็บป่วยท่านจึงต้องเจ็บป่วย ถ้าหากสรรพสัตว์พ้นจาก ความเจ็บป่วย ความเจ็บป่วยของท่านก็ย่อมดับสูญไปเอง จึงกล่าวได้ว่าเหตุแห่งอาพาธของพระ โพธิสัตว์นั้น มีพระมหากรุณาเป็นสมุฏฐานนั่นเอง ปริเฉทที่ ๕ คิลำนปุจฉำวรรค วิมลเกียรตินิทเทสสูตร
  • 24. ปริเฉทที่ ๕ คิลำนปุจฉำวรรค วิมลเกียรตินิทเทสสูตร เปรียบเทียบกับแนวคิดของพุทธศำสนำเถรวำท • เถรวาทไม่ค่อยมีการกล่าวถึงการแสดงฤทธิ์ของผู้อื่นนอกเหนือไปจากพระพุทธเจ้าและ พระสาวก • เถรวาทเน้นสอนถึงทุกข์แห่งขันธ์ ๕ การเจ็บป่วยเป็นความทุกข์จากการมีขันธ์ ๕ แต่ มหายานแสดงว่าการเจ็บป่วยของพระโพธิสัตว์ เกิดจากการที่สรรพสัตว์ยังเจ็บป่วยอยู่ (มองได้ในอีกมุมด้วยว่า เป็นการเปรียบเปรยว่าพระโพธิสัตว์จะยังทนทุกข์อยู่ เพื่อ ช่วยเหลือสรรพสัตว์ทั้งปวง)
  • 25. พระมัญชุศรีโพธิสัตว์ - เหตุใดเคหาสน์ของท่านจึงว่างเปล่าจากบริวาร ท่ำนวิมลเกียรติ - แม้แต่พระพุทธเกษตรแห่งพระสัมพุทธเจ้าทั้งหลาย ก็มีสภาพว่างเปล่าดุจกัน ความที่ปราศจากวิกัลป์ ปะในความว่างเปล่านั่นเอง จึงเป็นสุญญตา จักหาสุญญตาได้จากทิฏฐิ ๖๒ จักหาทิฏฐิ ๖๒ ได้ในวิมุตติภาพแห่งพระสัมมาสัมพุทธเจ้าทั้งปวง และวิมุตติภาพแห่ง พระสัมพุทธเจ้าทั้งปวงก็หาได้จากสรรพสัตว์ ดังนั้นแม้หมู่มารทั้งหลายก็ถือว่าเป็นบริวาร เพราะหมู่ มารทั้งปวงยินดีในการเวียนว่ายตายเกิด พระโพธิสัตว์ก็ย่อมไม่หวั่นเกรงในการเวียนว่ายตายเกิด เช่นกัน ปริเฉทที่ ๕ คิลำนปุจฉำวรรค วิมลเกียรตินิทเทสสูตร
  • 26. ปริเฉทที่ ๕ คิลำนปุจฉำวรรค วิมลเกียรตินิทเทสสูตร เปรียบเทียบกับแนวคิดของพุทธศำสนำเถรวำท • เถรวาทไม่มีเรื่องของพุทธเกษตร • แนวคิดของเถรวาทกับมหายานเหมือนกันในเรื่องความกรุณาอันไม่มีประมาณ และ ความไม่หวาดกลัวที่จะต้องเวียนว่ายตายเกิดของพระโพธิสัตว์
  • 27. พระมัญชุศรีโพธิสัตว์ - ถามถึงอาการอาพาธของท่านวิมลเกียรติ ว่ามีลักษณะอย่างไร ท่ำนวิมลเกียรติ - อาการอาพาธนี้ปราศจากลักษณะอันจักพึงเห็นได้ เพราะจะว่าเกิดขึ้นกับกายก็ มิใช่ เพราะห่างไกลจากกายลักษณะ จะเกิดขึ้นกับจิตก็มิใช้ เพราะจิตนั้นเป็นดุจมายา ไม่ใช่เกิดที่ มหาภูตรูป ๔ คือ ปฐวีมหาภูต อาโปมหาภูตเตโชมหาภูต วาโยมหาภูต แต่ว่าอาพาธสมุฏฐานแห่ง ปวงสัตว์ ย่อมเกิดมาจากมหาภูตรูป ๔ เมื่อสรรพสัตว์ยังอาพาธอยู่ตราบใด พระโพธิสัตว์ก็ยังต้อง อาพาธอยู่ตราบนั้น ปริเฉทที่ ๕ คิลำนปุจฉำวรรค วิมลเกียรตินิทเทสสูตร
  • 28. ปริเฉทที่ ๕ คิลำนปุจฉำวรรค วิมลเกียรตินิทเทสสูตร เปรียบเทียบกับแนวคิดของพุทธศำสนำเถรวำท • ในพระสูตรนี้กล่าวเปรียบเปรยอาการอาพาธของท่านวิมลเกียรติในแง่ปรัชญา ไม่ใช่การ อาพาธของร่างกายหรือจิต แต่แนวคิดของเถรวาทจะสอนอย่างตรงไปตรงมา เมื่อพูดถึง การเจ็บป่วยก็คือชี้ให้เห็นถึงทุกข์ของกายและจิต
  • 29. พระมัญชุศรีโพธิสัตว์ - พระโพธิสัตว์ผู้ไปเยี่ยมเยียนพระโพธิสัตว์ผู้อาพาธอยู่ พึงควรปลอบโยนให้ โอวาทอย่างไร ท่ำนวิมลเกียรติ - พึงให้โอวาทถึงความอนิจจัง ทุกขัง อนัตตาแห่งสรีระแต่อย่ากล่าวให้เกิดความ รังเกียจเอือมระอาในสรีระ อย่ากล่าวให้เกิดความยินดีในพระนิพพาน แต่ให้กล่าวให้เกิดวิริยะในการ โปรดสรรพสัตว์ เพื่อยังพระโพธิสัตว์ผู้อาพาธนั้นให้มีธรรมปีติเกิดขึ้น พระมัญชุศรีโพธิสัตว์ – พระโพธิสัตว์ผู้อาพาธอยู่จักพึงฝึกฝนอบรมจิตใจอย่างไร ท่ำนวิมลเกียรติ - พึงมนสิการในใจว่าความเจ็บป่วยนี้ล้วนมีสมุฏฐานปัจจัยจากวิกัลปสัญญาและ อาสวกิเลสในอดีตชาติ โดยความจริงแล้วไม่มีผู้ที่เจ็บป่วย เพราะสรีระเป็นเพียงที่ประชุมของมหาภูตรูป ๔ จึงควรละอหังการความยึดถือว่า “ตัวฉัน” ละมมังการ ความยึดถือว่า “ของของฉัน” เมื่อเห็นดังนั้น สรรพอาพาธก็ย่อมไปปราศสิ้น คงมีเหลือแต่สุญญตาพาธ และพึงนึกถึงสรรพสัตว์ทั้งหลายและยังมหา กรุณาจิตให้บังเกิดขึ้น ปริเฉทที่ ๕ คิลำนปุจฉำวรรค วิมลเกียรตินิทเทสสูตร
  • 30. ปริเฉทที่ ๕ คิลำนปุจฉำวรรค วิมลเกียรตินิทเทสสูตร เปรียบเทียบกับแนวคิดของพุทธศำสนำเถรวำท • มหายานก็สอนเรื่องของไตรลักษณ์แห่งสรีระ แต่ไม่ให้เกิดความเอือมระอาในสรีระ และ ความยินดีในพระนิพพาน แต่มุ่งให้เกิดวิริยะในการโปรดสรรพสัตว์ ทั้งนี้ก็เนื่องด้วย เป้ าหมายต้องการให้คนตั้งจิตเป็นพระโพธิสัตว์ ไม่ใช่บรรลุนิพพาน • มหายานก็มีการสอนให้ละตัวฉัน ของฉัน เช่นกัน แต่เป็นไปเพื่อการสร้างมหากรุณาจิต ไม่ใช่เป็นไปเพื่อความหลุดพ้นดังเช่นเถรวาท
  • 31. ท่ำนวิมลเกียรติ - พระโพธิสัตว์แม้ตั้งอยู่ในชาติ ชรา มรณะ แต่ก็ไม่ได้แปดเปื้อนด้วยมลทินเหล่านั้น แม้ตั้งอยู่ใน นิพพาน แต่ก็ไม่ดับขันธปรินิพพาน มีความรอบรู้แทงตลอด ในจิตเจตสิกธรรมแห่งมวลสัตว์ชีพได้ แม้จักบาเพ็ญตามฉฬ ภิญญา แต่ก็ไม่ยังอาสวะให้หมดจดสิ้นเชิงเลยทีเดียว แม้ จักปฏิบัติในอัปปมัญญาจตุพรหมวิหาร ๔ แต่ก็ไม่มีความ ปรารถนาที่จักไปอุบัติในพรหมโลก นี่คือจริยาแห่งพระ โพธิสัตว์ เมื่อท่านวิมลเกียรติกล่าวจบ เทพบุตร ๘๐๐ องค์ที่ติดตาม พระมัญชุศรีโพธิสัตว์มา ก็ได้ตั้งจิตมุ่งต่อพระโพธิญาณแล ปริเฉทที่ ๕ คิลำนปุจฉำวรรค วิมลเกียรตินิทเทสสูตร
  • 32. ปริเฉทที่ ๕ คิลำนปุจฉำวรรค วิมลเกียรตินิทเทสสูตร เปรียบเทียบกับแนวคิดของพุทธศำสนำเถรวำท • แนวคิดเกี่ยวกับพระโพธิสัตว์ของมหายานและเถรวาทเหมือนกันในเรื่องที่ว่าพระโพธิสัตว์ คือผู้ที่ยังวนเวียนอยู่ในชาติ ชรา มรณะ แต่ไม่แปดเปื้อนด้วยมลทินเหล่านั้น เพราะข้อง เกี่ยวอยู่ด้วยมหากรุณาในการโปรดสัตว์
  • 33. พระสำรีบุตร - เกิดมนสิการขึ้นว่า พระโพธิสัตว์บริษัทกับพระมหาสาวกบริษัทจานวนมากขนาดนี้ จักนั่งด้วยอาสนะใดหนอ ท่ำนวิมลเกียรติ - ท่านมา ณ สถานที่นี้เพื่อแสวงหาธรรม หรือมาเพื่อแสวงหาอาสนะ ผู้แสวงหา ธรรมนั้น ย่อมไม่ละโมบติดใจในสรีระหรือชีวิต ย่อมเป็นผู้ไม่แสวงหารูป เวทนา สัญญา สังขาร วิญญาณ.......ฯลฯ....... ย่อมไม่แสวงหาในการกาหนดรู้ทุกข์ ละสมุทัยทาให้แจ้งในนิโรธ เจริญใน มรรค ก็เพราะว่า ธรรมนั้นย่อมปราศจากปปัญจธรรม หากกล่าวว่ามีตัวตนเป็นผู้กาหนดรู้ทุกข์ละ สมุทัย ทาให้แจ้งในนิโรธ เจริญในมรรคไซร้ ย่อมชื่อว่าเป็นปปัญจธรรมหาชื่อว่าเป็นการแสวงหา ธรรมไม่ (เมื่อกล่าวจบ มีเทพบุตร ๕๐๐ องค์ บรรลุธรรมจักษุอันบริสุทธิ์) ปริเฉทที่ ๖ อจินไตยวรรค วิมลเกียรตินิทเทสสูตร
  • 34. ปริเฉทที่ ๖ อจินไตยวรรค วิมลเกียรตินิทเทสสูตร เปรียบเทียบกับแนวคิดของพุทธศำสนำเถรวำท • ในฝ่ายเถรวาท พระอรหันต์เป็นผู้หมดซึ่งกิเลส และมีปัญญามาก จะไม่มีเรื่องราวที่พระ อรหันต์แสดงอาการละโมบโลภมาก และโดนติเตียนจากผู้อื่นดังเช่นในพระสูตรของ มหายาน
  • 35. ท่ำนวิมลเกียรติ – พุทธเกษตรใดที่มีสิงหาสนะอันอุดมวิเศษสมบูรณ์ พระมัญชุศรีโพธิสัตว์ - สุเมรุลักษณะ ของพระสุเมรุประทีปราชาตถาคตพระพุทธเจ้า ผู้มีพระ วรกายสูงถึง ๘๔,๐๐๐ โยชน์ สิงหาสนะที่ประทับก็สูง ๘๔,๐๐๐ โยชน์ สมบูรณ์ด้วยสรรพคุณา ลังการอย่างยอดเยี่ยม ท่านวิมลเกียรติจึงบันดาลฤทธิ์ ทูลขอประทานสิงหบัลลังก์จากพระสุคตเจ้าพระองค์นั้น มาไว้ใน เคหาสน์ของท่าน โดยเคหาสน์ของท่านก็สามารถบรรจุสิงหบัลลังก์สูง ๘๔,๐๐๐ โยชน์ จานวน จานวน ๓๒,๐๐๐ อันได้ ปริเฉทที่ ๖ อจินไตยวรรค วิมลเกียรตินิทเทสสูตร
  • 36. ปริเฉทที่ ๖ อจินไตยวรรค วิมลเกียรตินิทเทสสูตร เปรียบเทียบกับแนวคิดของพุทธศำสนำเถรวำท • ในฝ่ายเถรวาทไม่มีการพูดถึงพุทธเกษตรอันงดงามของ พระพุทธเจ้าองค์อื่น และไม่มีการแสดงอิทธิฤทธิ์ของบุคคลอื่นๆ นอกจากพระพุทธเจ้าและพระสาวกบางรูปเท่านั้น
  • 37. พระสำรีบุตร - เหตุใดเคหาสน์ของท่าน รวมถึงนครเวสาลี จึงรองรับอาสนะสูงใหญ่จานวนมากได้ ขนาดนี้ ท่ำนวิมลเกียรติ - พระพุทธเจ้าทุกพระองค์ และทั้งพระโพธิสัตว์ทั้งหลาย ตั้งอยู่ในวิมุตติธรรมชื่อ อจินไตย แม้ความสูงใหญ่แห่งขุนเขาพระสุเมรุก็ยังอาจสามารถนาเอามาบรรจุไว้ในเมล็ดพันธุ์ผัก เมล็ดหนึ่งได้อย่างพอดี สามารถยังน้าในมหาสมุทรทั้ง ๔ ให้เข้าไปบรรจุอยู่ในขุมรูโลมาขุมหนึ่งได้ พระมหำกัสสป - พระสาวกทั้งหลายผู้ได้สดับธรรมทวารแห่งวิมุตติอันเป็นอจินไตยนี้ย่อมมิอาจจัก เข้าใจได้ เพราะไม่ได้ตั้งจิตมุ่งต่อพระอนุตตรสัมมาสัมโพธิญาณ (เมื่อกล่าวจบลง ก็มีเทพบุตร ๓๒,๐๐๐ องค์ ตั้งจิตมุ่งต่อพระอนุตตรสัมมาสัมโพธิญาณ) ปริเฉทที่ ๖ อจินไตยวรรค วิมลเกียรตินิทเทสสูตร
  • 39. พระมัญชุศรีโพธิสัตว์ - พระโพธิสัตว์ พึงเพ่งพิจารณาสรรพสัตว์โดยประการอย่างไร ท่ำนวิมลเกียรติ - พึงเพ่งพิจารณาสรรพสัตว์โดยอาการพิจารณาแลดูซึ่งมายาบุรุษอันตนนิมิตขึ้น เปรียบด้วยผู้มีปัญญาแลดูซึ่งเงาดวงจันทร์ในท้องน้า เปรียบด้วยการแลดูฉายาแห่งตนในกระจก .......ฯลฯ....... พระมัญชุศรีโพธิสัตว์ - การเพ่งพิจารณาสรรพสัตว์เป็นเมตตาจริยาอย่างไร ท่ำนวิมลเกียรติ - การเปรียบเทียบนี้เป็นการแสดงภาวะตรงกันข้ามทั้งนั้น เป็นเรื่องที่เป็นไปไม่ได้ นั่นคือไม่สามารถถือเอาความเป็นตัวตนในสัตว์ในบุคคลได้ และพึงดาเนินเมตตาปฏิปทาด้วยการ แสดงสมธรรม คือ ธรรมซึ่งยังกาละทั้ง ๓ ให้เสมอกัน.....ฯลฯ..... พึงดาเนินเมตตาปฏิปทาด้วยการ ยังความสันติสุขให้เกิดมีขึ้นในสรรพสัตว์ คือยังสัตว์เหล่านั้นให้ได้รับสันติรสแห่งพระพุทธองค์ ปริเฉทที่ ๗ สรรพสัตว์วิทรรศนะวรรค วิมลเกียรตินิทเทสสูตร
  • 40. ปริเฉทที่ ๗ สรรพสัตว์วิทรรศนะวรรค วิมลเกียรตินิทเทสสูตร เปรียบเทียบกับแนวคิดของพุทธศำสนำเถรวำท • มหายานเน้นการพิจารณาทุกสิ่งให้มีความเสมอกัน เพื่อให้เกิดมหากรุณาจิตสูงสุด เถร วาทก็สอนให้มีความกรุณาเช่นกัน แต่เน้นให้พิจารณาทุกสิ่งตามความเป็นจริง
  • 41. เมื่อนั้นมีเทพธิดาองค์หนึ่งสาแดงองค์ให้ปรากฏ และได้โปรยทิพยบุปผาบูชา ทิพยบุปผานี้ไม่ติด สรีระของพระโพธิสัตว์ทั้งหลาย แต่กลับติดแน่นบนสรีระของพระมหาสาวก พระสารีบุตรพยายาม สลัดทิพยบุปผา เทพธิดำ - เหตุใดท่านจึงพยายามสลัดทิพยบุปผา พระสำรีบุตร – เพราะสมณศากยบุตรไม่สมควรต่อการมีบุปผชาติมาประดับให้ผิดธรรมวินัย เทพธิดา - ธรรมดาดอกไม้ย่อมไม่มีจิตมาคิดว่าชอบธรรมไม่ชอบธรรม มีแต่ท่านที่มาเกิดวิกัลป สัญญาขึ้นเอง ชื่อว่าเป็นผู้ประพฤติไม่สมควรแก่ธรรม พระสำรีบุตร – เธอมาอยู่ที่เคหาสน์นี้นานเท่าใดแล้ว เทพธิดำ - เวลานั้นย่อมพ้นทางแห่งบัญญัติโวหาร คาพูดและตัวอักษรย่อมเป็นลักษณะแห่งวิมุตติ เพราะว่าในวิมุตตินั้นย่อมไม่มีภายใน ภายนอก หรือท่ามกลาง อักษรก็ไม่อยู่ในภายในภายนอกหรือ ท่ามกลาง ปริเฉทที่ ๗ สรรพสัตว์วิทรรศนะวรรค วิมลเกียรตินิทเทสสูตร
  • 42. ปริเฉทที่ ๗ สรรพสัตว์วิทรรศนะวรรค วิมลเกียรตินิทเทสสูตร เปรียบเทียบกับแนวคิดของพุทธศำสนำเถรวำท • เถรวาทเน้นสอนให้ประพฤติตนอยู่ในวินัยอันควร เพราะพระพุทธเจ้าทรงบัญญัติวินัยแต่ ละข้อมาด้วยเหตุอันสมควร แต่มหายานมุ่งสอนในแนวปรัชญา ซึ่งบางครั้งก็ให้ละวางข้อ วินัย • มหายานแสดงคาสอนส่วนมากในแง่ของปรัชญา เช่นการบอกเวลาก็บอกว่าคาพูดอยู่ เหนือบัญญัติแห่งโวหาร ทุกสิ่งเป็นวิมุตติ เถรวาทเน้นเรื่องของเหตุและผล มีที่ไปที่มาของ คาสอนแต่ละเรื่องอย่างชัดเจน
  • 43. พระสำรีบุตร - เธอปรารถนายานใดในยานทั้ง ๓ เทพธิดำ - หากต้องแสดงธรรมโปรดบุคคลผู้มีนิสัยเหมาะแก่สาวกยาน ก็จะสาแดงตนเป็นพระ สาวก ถ้าจะต้องแสดงปฏิจจสมุปบาทธรรมโปรดสัตว์ ก็จะสาแดงตนเป็นพระปัจเจกโพธิ และถ้า ต้องอาศัยมหากรุณาในการโปรดสรรพสัตว์ ก็จะสาแดงตนเป็นพระโพธิสัตว์ในมหายาน พระสำรีบุตร - เหตุใดจึงไม่เปลี่ยนสภาวะความเป็นหญิงเสีย เทพธิดำ - แท้จริงแล้วสภาวะความเป็นหญิงหรือชายไม่มีจริง เช่นเดียวกับธรรมทั้งหลายที่มิได้ ตั้งอยู่กาหนดแน่นอน ณ ที่ใดที่หนึ่ง เช่นเดียวกับการบรรลุพระอนุตตรสัมมาสัมโพธิญาณ ก็ย่อมไม่ อยู่ในฐานะที่เป็นไปได้ เพราะว่าพระอนุตตรสัมมาสัมโพธิญาณนั้น เป็นธรรมปราศจากที่ตั้ง เหตุ ฉะนั้นแลจึงไม่มีผู้จักบรรลุ กล่าวคือมิได้มีความยึดถือว่ามีสภาวะอันจักพึงบรรลุเมื่อปราศจากความ ยึดถือ จึงชื่อว่าได้สาเร็จพระโพธิญาณโดยแท้จริง ปริเฉทที่ ๗ สรรพสัตว์วิทรรศนะวรรค วิมลเกียรตินิทเทสสูตร
  • 44. ปริเฉทที่ ๗ สรรพสัตว์วิทรรศนะวรรค วิมลเกียรตินิทเทสสูตร เปรียบเทียบกับแนวคิดของพุทธศำสนำเถรวำท • เถรวาทไม่มีเรื่อง ยาน ๓ (สาวกยาน, อรหันตยาน, โพธิ สัตวยาน) มีเพียงเป้ าหมายแห่งการพ้นทุกข์ • ในเถรวาทผู้ที่ตั้งจิตมุ่งสิ่งใด ก็จะแน่วแน่แสดงตนในรูปแบบ นั้นเพียงแบบเดียว ไม่มีการแสดงตนเป็นทั้งพระสาวก, พระ ปัจเจกโพธิ และพระโพธิสัตว์ในบุคคลคนเดียว • มหายานแสดงว่าภาวะแห่งความเป็นหญิงหรือชายไม่มีจริง แต่ในเถรวาท ความเป็นหญิงหรือชาย เป็นสภาวะหนึ่ง ซึ่งมี เหตุในการเป็นเช่นนั้นๆ
  • 45. พระมัญชุศรีโพธิสัตว์ - โพธิสัตว์จักพึงบรรลุเข้าถึงพระพุทธภูมิโดยประการใด ท่ำนวิมลเกียรติ - พระโพธิสัตว์จักพึงบรรลุเข้าถึงพระพุทธภูมิเมื่อสามารถดาเนินปฏิปทาอัน ตรงกันข้ามกับปฏิปทาเพื่อบรรลุพระพุทธภูมิ นั่นคือสามารถบาเพ็ญโพธิจริยา ในท่ามกลางปัญ จานันตริยภูมิ (นรก) ได้ สามารถบังเกิดในอบายภูมิได้ ท่ำนวิมลเกียรติ - ธรรมอะไรหนอ ชื่อว่าตถาคตพีชะ พระมัญชุศรีโพธิสัตว์ - พระตถาคตพีชะนี้คือสรีรกายนี้คืออวิชชา ภวตัณหา คือโลภะ โทสะ โมหะ คือวิปลาส ๔ และนิวรณ์ ๕ คือสฬายตนะ ๖ วิญญาณธาตุ ๗ มิจฉัตตะ ๘ สรุปความว่ามิจฉาทิฐิ ๖๒ กับปวงกิเลสล้วนเป็นพระพุทธพีชะได้ทั้งสิ้น นั่นคือกิเลสในสรรพสัตว์ทั้งหลายนั่นเอง เป็นเหตุ ให้มีผู้ตั้งความปรารถนาเป็นพระพุทธเจ้า เพื่อเปลื้องทุกข์ภัยให้แก่สรรพสัตว์ ปริเฉทที่ ๘ พุทธภูมิวรรค วิมลเกียรตินิทเทสสูตร
  • 46. ปริเฉทที่ ๘ พุทธภูมิวรรค วิมลเกียรตินิทเทสสูตร เปรียบเทียบกับแนวคิดของพุทธศำสนำเถรวำท • มหายานสอนว่าจะบรรลุพุทธภูมิเมื่อดาเนินปฏิปทาอันตรงกันข้ามกับปฏิปทาเพื่อบรรลุ พระพุทธภูมิ (คาดว่าเป็นแนวปรัชญาแสดงถึงการไม่ยึดถืออะไร) แต่เถรวาทสอนแนว ทางการบาเพ็ญบารมีเพื่อการบรรลุพุทธภูมิ หากทาตรงข้าม ก็ย่อมได้รับผลลัพธ์ตรงข้าม • หากมองในมุมของเถรวาท คาว่า “กิเลสในสรรพสัตว์ทั้งหลายนั่นเอง เป็นเหตุให้มีผู้ตั้ง ความปรารถนาเป็นพระพุทธเจ้า” ก็มีส่วนที่เข้ากันกับเถรวาทส่วนหนึ่ง แต่ในภาพรวมแล้ว มีอีกหลายปัจจัยที่ทาให้บุคคลหนึ่งตั้งความปรารถนาจะเป็นพระพุทธเจ้า
  • 47. พระสัพพัตถทิสมำนกำย - วงศาคณาญาติ และบริวารของท่านเป็นใคร ยวดยานพาหนะของท่าน อยู่ที่ไหน ท่ำนวิมลเกียรติ - พระโพธิสัตว์มีปรัชญาเป็นมารดา มีอุปายะเป็นบิดา อันพระผู้นาทางพ้นทุกข์แก่ ส่าสัตว์ มีปีติในพระธรรมมาเป็นคู่เคียง มีจิตที่เปี่ยมด้วยเมตตากรุณาเป็นบุตรสาว เอาความ ซื่อสัตย์สุจริตใจเป็นบุตรชาย มีสุญญาตาเป็นเรือนอาศัย เอาสรรพสัตว์เป็นศิษย์ มีโพธิปักขิยธรรม เป็นกัลยาณมิตร มีอภิญญา ๕ เป็นช้างม้าที่ไปได้เร็ว มีมหายานธรรมเป็นยวดยาน ท่านยังกล่าวว่าท่านบูชาพระพุทธเจ้าทั้งหลายโดยมิได้เกิดวิกัลปสัญญาว่าพระพุทธเจ้าทั้งหลายกับ ตนเองแตกต่างกัน สามารถสาแดงตนเป็นประการต่างๆอย่างไม่แบ่งแยก เพื่อการโปรดสรรพสัตว์ให้ ตั้งจิตมุ่งมั่นต่อพระโพธิญาณ ปริเฉทที่ ๘ พุทธภูมิวรรค วิมลเกียรตินิทเทสสูตร
  • 48. ปริเฉทที่ ๘ พุทธภูมิวรรค วิมลเกียรตินิทเทสสูตร เปรียบเทียบกับแนวคิดของพุทธศำสนำเถรวำท • จากส่วนนี้แสดงให้เห็นชัดเจนว่ามหายานเน้นคาสอนในแง่ปรัชญา จากที่กล่าวว่า มหายานมีปรัชญาเป็นมารดา แต่เถรวาทจะแยกออกมาจากปรัชญา เพราะนาเสนอใน เรื่องที่เป็นสัจจะ และมีเหตุมีผลรองรับชัดเจน • ในพระสูตรนี้ได้แสดงเรื่องการบูชาพระพุทธเจ้าทั้งหลายโดยมิได้เกิดวิกัลปสัญญาว่า พระพุทธเจ้าทั้งหลายกับตนเองแตกต่างกัน แต่ฝ่ายเถรวาทจะบูชาพระพุทธเจ้าเพราะ พระองค์บริสุทธิ์จากกิเลส มีปัญญา กรุณาสูงสุด ต่างกับบุคคลทั่วไป
  • 49. ท่ำนวิมลเกียรติ - พระโพธิสัตว์จักเข้าไปสู่อไทฺวตธรรมทวาร คือประตูแห่งความไม่เป็นคู่อย่างไร (พระโพธิสัตว์ทั้งหลายให้ความเห็นต่างๆมากมาย ยกเป็นตัวอย่างดังนี้) พระธรรมอิศวรโพธิสัตว์ - “ความเกิดและความดับ ชื่อว่าเป็นธรรมคู่แต่เนื้อแท้สิ่งทั้งปวง ปราศจากความเกิดขึ้น เมื่อเป็นดังนี้จึงไม่มีอะไรดับไป ผู้ใดได้ลุถึงอนุตปาทธรรมกษานติดังกล่าว จึงชื่อว่าเข้าสู่อไทฺวตธรรมทวาร” พระศรีหัตถโพธิสัตว์ - “จิตพระโพธิสัตว์ จิตพระอรหันตสาวก ชื่อว่าเป็นธรรมคู่ ผู้ใดพิจารณาเห็น ภาวะแห่งจิตว่าเป็นสุญญตา เป็นมายา ปราศจากแก่นสาร เนื้อแท้ไม่มีอะไร ที่เป็นจิตพระโพธิสัตว์ ฤาจิตพระอรหันตสาวก จึงชื่อว่าเข้าสู่อไทฺวตธรรมทวาร” พระปุสสโพธิสัตว์ - “กุศล อกุศล ชื่อว่าเป็นธรรมคู่ ผู้ใดไม่เกิดความรู้สึกยึดถือก่อเกิดกุศลฤาอกุศล รู้แจ้งเห็นจริง เข้าถึงอัปปณิหิตธรรม จึงชื่อว่าเข้าสู่อไทฺวตธรรมทวาร” ปริเฉทที่ ๙ อไทฺวตธรรมทวำรวรรค วิมลเกียรตินิทเทสสูตร
  • 50. พระสิงหรำชำโพธิสัตว์ - “บาป บุญ ชื่อว่าเป็นธรรมคู่ ผู้ใดรู้แจ้งเนื้อแท้ภาวะแห่งบาปมิได้ผิด แปลกจากบุญเลย ใช้วชิรปัญญาเข้าไปตัดความติดแน่นในลักษณะแบ่งแยกเสียได้ ไม่มีผู้ถูกผูกพัน ฤาไม่มีผู้หลุดพ้น จึงเข้าสู่อไทฺวตธรรมทวาร” พระคุณครรภโพธิสัตว์ - “ผู้บรรลุกับธรรมที่บรรลุ ชื่อว่าเป็นธรรมคู่ ผู้ใดรู้แจ้งว่า เนื้อแท้ปราศจาก ผู้บรรลุกับธรรมที่บรรลุ เมื่อเป็นเช่นนี้ก็ย่อมไม่มีสิ่งอันพึงยึดถือฤาสิ่งอันพึงละใด ๆ เมื่อไม่มีการยึด และไม่มีการละ จึงชื่อว่าเข้าสู่อไทฺวตธรรมทวาร” พระมัญชุศรีโพธิสัตว์ - “ในธรรมทั้งหลาย เมื่อปราศจากคาพูด ปราศจากโวหาร ปราศจากการ แสดง ปราศจากความคิดรู้คานึง พ้นจากการปุจฉาวิสัชนา นั้นคือการเข้าสู่อไทฺวตธรรมทวาร” ท่ำนวิมลเกียรติ - (นิ่งเงียบ ไม่เอ่ยวาจาใดๆ เป็นการแสดงความเห็น) เพื่อแสดงว่าเมื่อปราศจาก อักขรโวหารวจนบัญญัติใดๆ จึงนับว่าเป็นการเข้าเข้าสู่อไทฺวตธรรมทวารวิถีโดยแท้จริง ปริเฉทที่ ๙ อไทฺวตธรรมทวำรวรรค วิมลเกียรตินิทเทสสูตร
  • 51. ปริเฉทที่ ๙ อไทฺวตธรรมทวำรวรรค วิมลเกียรตินิทเทสสูตร เปรียบเทียบกับแนวคิดของพุทธศำสนำเถรวำท • มหายานเน้นสอนว่าทุกสิ่งเสมอกัน สิ่งที่เป็นคู่กันเช่นกุศลและอกุศล จิตพระอรหันต์และ จิตพระโพธิสัตว์ ล้วนเป็นคู่กัน แท้จริงแล้วทุกอย่างเสมอกัน แต่เถรวาทสอนความแตกต่าง ของสิ่งที่เป็นคู่กัน จะละทั้งคู่เช่นละทั้งกุศลและอกุศลก็ต่อเมื่อบรรลุถึงนิพพาน แต่ระหว่าง ทางแห่งการบาเพ็ญบารมี ก็ต้องเลือกฝ่ายกุศล และละอกุศล
  • 52. พระสำรีบุตร - วิตกว่าเวลานี้เป็นใกล้เพลแล้ว บรรดาพระโพธิสัตว์ทั้งหลายจะแสวงอาหารบริโภค ได้ ณ ที่ใด ท่ำนวิมลเกียรติ - เหตุใดท่านจึงมาจานงหวังต่อการขบฉันในการสดับพระสัทธรรมนี้และนิมนต์ให้ ท่านรอสักครู่และจะนาภัตตาหารอันไม่เคยมีมาก่อนมาถวาย และเข้าฌานสมาบัติ บันดาลให้ชนทั้งหลายได้เห็นพหุสุคันธพุทธเกษตร มีพระพุทธเจ้าพระนามว่า พระสุคันโธปจิตตถาคต ทุกสิ่งในโลกธาตุนี้ล้วนมีกลิ่นหอมอบอวล และเนรมิตพระโพธิสัตว์ผู้มีฤทธิ์ มากขึ้นมา สั่งให้นิรมิตพระโพธิสัตว์ไปทูลขอทิพยสุทธาโภชน์จากพระสุคันโธปจิตตถาคต เพื่อนาไป ให้บุคคลผู้ยินดีในหินธรรมได้บริโภคอาหารนี้แล้ว บังเกิดจิตปณิธานมุ่งต่อพระโพธิญาณ ปริเฉทที่ ๑๐ สุคันโธปจิตพุทธวรรค วิมลเกียรตินิทเทสสูตร
  • 53. ปริเฉทที่ ๑๐ สุคันโธปจิตพุทธวรรค วิมลเกียรตินิทเทสสูตร เปรียบเทียบกับแนวคิดของพุทธศำสนำเถรวำท • มหายานมีการนาเสนอถึงอาการของผู้มีกิเลสของพระอรหันต์ แต่เถรวาทจะแสดงถึง อาการหมดกิเลสของพระอรหันต์ • มหายานมีการนาเสนอในเชิงว่าไม่ควรยินดีในหินธรรม (ซึ่งคือการมุ่งหวังนิพพาน) แต่ เถรวาทมีเป้ าหมายสูงสุดก็คือนิพพานนั่นเอง (แสดงให้เห็นความแตกต่างของเป้ าหมาย อย่างชัดเจน) อย่างไรก็ตามทางเถรวาทไม่มีท่าทีขัดแย้งต่อผู้ที่มีจิตมุ่งเป็นพระโพธิสัตว์
  • 54. พระโพธิสัตว์นิรมิตได้เหาะไปทูลขอทิพยสุทธาโภชน์จากพระสุคันโธปจิตตถาคต เมื่อนั้นพระ โพธิสัตว์ ๙ ล้านองค์ในที่แห่งนั้นก็ปรารถนาจะไปเยี่ยมเยือนดินแดนสหโลกธาตุ เพื่อเข้าเฝ้ าพระ ศากยมุนีพุทธะและเยี่ยมท่านวิมลเกียรติ พระสุคันโธปจิตตถาคตทรงอนุญาติและทรงมีพุทธบรรหารให้พระโพธิสัตว์ทั้งหลายรวมกลิ่นหอม ในสรีรกายอย่าให้ขจรเฟื่องฟุ้ ง เพราะจะเป็นเหตุให้สรรพสัตว์ในสหโลกธาตุบังเกิดฉันทราคะต่อ กลิ่นนั้นได้ และเตือนมิให้ดูแคลนต่อพระโพธิสัตว์เหล่านั้นว่ามีสรีระด้อยกว่า เพราะการจะแสดง พระสัทธรรมโปรดปรานบรรดาผู้ยินดีต่อหินธรรม พระพุทธเจ้าย่อมจะไม่สาแดงพุทธเกษตรของ พระองค์ให้ให้บริสุทธิ์หมดจดวิเศษ ปริเฉทที่ ๑๐ สุคันโธปจิตพุทธวรรค วิมลเกียรตินิทเทสสูตร
  • 55. ปริเฉทที่ ๑๐ สุคันโธปจิตพุทธวรรค วิมลเกียรตินิทเทสสูตร เปรียบเทียบกับแนวคิดของพุทธศำสนำเถรวำท • เถรวาทไม่มีการกล่าวถึงรายละเอียดของพระพุทธเจ้าในโลกอื่น แต่มหายานมีการ กล่าวถึงพระพุทธเจ้าและพุทธเกษตรอื่นๆแทรกไว้ในคาสอน • มหายานเชื่อว่าโลกธาตุนี้ไม่บริสุทธิ์ผุดผ่องเพราะพระพุทธเจ้าดลบันดาลให้เป็นเช่นนั้น เพื่อโปรดสัตว์ผู้ยินดีในหินธรรม แต่เถรวาทเชื่อว่าโลกเป็นไปโดยธรรมชาติ ความละเอียด บริสุทธิ์จะต่างกันไปในแต่ละภพภูมิ เช่น นรก โลก และ สวรรค์
  • 56. เมื่อนั้นนิรมิตพระโพธิสัตว์พร้อมด้วยพระโพธิสัตว์ ๙ ล้านองค์ก็เหาะมาถึงสหโลกธาตุพร้อมด้วย ทิพยโภชน์กลิ่นหอมอบอวล ท่ำนวิมลเกียรติ - (กล่าวกับพระสาวก) อย่าได้ขบฉันด้วยจิตที่มีภูมิขีดคั่นจากัด (จิตที่ตั้งอยู่ในภูมิ พระอรหันตสาวก ซึ่งในทัศนะของฝ่ายมหายานเห็นว่ายังแคบ) มิฉะนั้นแล้วจะไม่สามารถย่อย อาหารนี้ได้เลย พระสำวก - อาหารเพียงเท่านี้จะเพียงพอได้อย่างไร ท่ำนวิมลเกียรติ - อย่าได้ทาคุณธรรมเพียงเล็กน้อย ปัญญาเพียงเล็กน้อยของภูมิพระสาวกมาหยั่ง ประมาณพระคุณาภินิหารของพระตถาคตเจ้าเลย แม้น้าในมหาสมุทรทั้ง ๔ จะเหือดแห้งไป ทิพยวิสุ ทธาหารนี้ก็จะไม่หมดไป ปริเฉทที่ ๑๐ สุคันโธปจิตพุทธวรรค วิมลเกียรตินิทเทสสูตร
  • 57. ปริเฉทที่ ๑๐ สุคันโธปจิตพุทธวรรค วิมลเกียรตินิทเทสสูตร เปรียบเทียบกับแนวคิดของพุทธศำสนำเถรวำท • พระสูตรนี้แสดงชัดเจนถึงมุมมองของมหายานต่อพระอรหันต์ ว่ามีความคับแคบ ด้อย ปัญญา ในเถรวาทพระอรหันต์คือบุคคลผู้ควรบูชา หมดกิเลส และมีปัญญารู้แจ้งเห็นจริง
  • 58. ท่ำนวิมลเกียรติ - พระสุคันโธปจิตตถาคตเจ้าทรงแสดงพระธรรมบรรยายอย่างไร พระโพธิสัตว์แห่งพหุสุคันธเกษตร - พระองค์มิได้อาศัยอักขรโวหารบัญญัติใดๆ มาแสดงพระสัทธรรม แต่ทรงอาศัยสรรพสุคันธชาติเป็นปัจจัย ชักนาให้เหล่าเทพและมนุษย์ตั้งอยู่ในศีล พระโพธิสัตว์แห่งพหุสุคันธเกษตร – พระศากยมุนีตถาคตเจ้าทรงแสดงพระธรรมบรรยายอย่างไร ท่ำนวิมลเกียรติ - สรรพสัตว์ในโลกธาตุแห่งนี้มีนิสัยหยาบกระด้างยากแก่การอบรมสั่งสอน พระศากย มุนีพระพุทธเจ้า จึงต้องตรัสแสดงธรรมอันกล้าแข็ง เพื่อฝึกข่มสัตว์เหล่านั้นให้ราบคาบ เช่นเรื่องนิรยคติ ดิรัจฉานคติ เปรตคติ ทุจริต ๓ และผลแห่งทุจริต ๓ ศีลและผลแห่งการทุศีล มิจฉาปฏิปทา และสัมมา ปฏิปทา เป็นต้น พระโพธิสัตว์ในโลกธาตุนี้แม้บาเพ็ญหิตานุหิตจริยาต่อสัตว์ทั้งหลายเพียงชาติเดียวก็ยังประเสริฐกว่า พระโพธิสัตว์ที่บาเพ็ญโพธิจริยาในโลกธาตุอื่นหลายร้อยหลายพันกัลป์ เพราะได้บาเพ็ญบารมีมาก ปริเฉทที่ ๑๐ สุคันโธปจิตพุทธวรรค วิมลเกียรตินิทเทสสูตร
  • 59. ปริเฉทที่ ๑๐ สุคันโธปจิตพุทธวรรค วิมลเกียรตินิทเทสสูตร เปรียบเทียบกับแนวคิดของพุทธศำสนำเถรวำท • มหายานนาเสนอว่าพระพุทธเจ้าทรงจาเป็นต้องสอนธรรมอันกล้าแข็งให้มนุษย์ในโลกนี้ เพราะมนุษย์ในโลกธาตุนี้เป็นผู้มีนิสัยหยาบกระด้าง แต่ในเถรวาทเชื่อว่าธรรมะที่ พระพุทธเจ้าทรงสอนคือสัจธรรมอันเป็นอกาลิโก ไม่จากัดกาล สถานที่ เป็นจริงในทุกกาล ทุกสถานที่
  • 60. ท่านวิมลเกียรติได้นามหาชนทั้งหลาย มีพระมัญชุศรีโพธิสัตว์ พระโพธิสัตว์จากโลกธาตุอื่น เทพ พรหมทั้งหลาย รวมถึงพระสาวกพร้อมด้วยสิงหาสนบัลลังก์ทั้งหมด ประดิษฐานบนฝ่าหัตถ์ขวาของ ท่าน แล้วไปเฝ้ าพระตถาคตเจ้า พระพุทธเจ้ำ - สารีบุตรคิดเห็นอย่างไรเมื่อได้เห็นอภินิหารของท่านวิมลเกียรติ พระสำรีบุตร - สิ่งเหล่านี้เป็นอจินไตย สุดที่ความคิดของท่านจะหยั่งทราบไปถึงได้ พระอำนนท์ - กลิ่นหอมอันอบอวลนี้เป็นกลิ่นอะไร พระพุทธเจ้ำ - กลิ่นสรีระของพระโพธิสัตว์ พระสำรีบุตร - สรีระของตัวท่านก็มีกลิ่นสุคันธชาติติดมา เพราะท่านได้ฉันทิพยโภชน์ที่ท่านวิมล เกียรตินามาให้ (ไม่ใช้คาว่าถวาย) ปริเฉทที่ ๑๑ โพธิสัตว์จริยำวรรค วิมลเกียรตินิทเทสสูตร
  • 61. ปริเฉทที่ ๑๑ โพธิสัตว์จริยำวรรค วิมลเกียรตินิทเทสสูตร เปรียบเทียบกับแนวคิดของพุทธศำสนำเถรวำท • มหายานมีการแสดงถึงอิทธิฤทธิ์ของพระโพธิสัตว์อยู่เนืองๆ แต่ไม่มีการอธิบายถึงเหตุ แห่งอิทธิฤทธิ์นั้น ในเถรวาทเมื่อมีการกล่าวถึงการใช้ฤทธิ์ของพระสาวกรูปใด จะมีการ นาเสนอโยงไปถึงเหตุแห่งการได้มาซึ่งฤทธิ์นั้น เช่น บาเพ็ญเพียรมาอย่างไร จึงได้ทิพยจักษุ เป็นต้น
  • 62. พระอำนนท์ - สุคันธชาติจะตั้งอยู่นานเพียงใด ท่ำนวิมลเกียรติ - จนกว่าอาหารนี้จะย่อยไปหมด โอชะแห่งอาหารนี้จะดารงอยู่จนถึงเมื่อพระ สาวกรูปนั้นบรรลุภูมิธรรมในขั้นสูงขึ้นจากเดิม กล่าวคืออานุภาพแห่งโอสถนั้นจะดารงอยู่ตราบ เท่าที่พิษโรคยังเหลือมีอยู่ในสรีระนั่นเอง พระอำนนท์ - อัศจรรย์ใจว่าทิพยสุคันธาหารนี้สามารถทาหน้าที่บาเพ็ญพุทธกรณียกิจได้อย่างดี ยิ่ง พระพุทธเจ้ำ - พุทธเกษตรแต่ละแห่ง ก็ได้ใช้สิ่งต่างๆกันทาหน้าที่บาเพ็ญพุทธกรณียกิจ เช่นอาศัย รังสิโยภาสแห่งพระพุทธเจ้า อาศัยหมู่พระโพธิสัตว์ อาศัยบุรุษนิรมิต อาศัยต้นพระศรีมหาโพธิ พฤกษ์ เป็นต้น ปริเฉทที่ ๑๑ โพธิสัตว์จริยำวรรค วิมลเกียรตินิทเทสสูตร