SlideShare una empresa de Scribd logo
1 de 40
Descargar para leer sin conexión
แบบฝึ กเสริมทักษะคณิตศาสตร์
                    ชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 5
            เรื่อง การวิเคราะห์ ข้อมูลเบืองต้ น
                                           ้
                           ชุ ดที่ 4
            การวัดค่ ากลางของข้ อมูล
      n
      Xi
            
     i 1      X
X
          N   N




   w1X1  w 2X2  w 3X3  ...  w NX N
X
        w1  w 2  w 3  ...  w N
                        โดย
              นายปกรณ์ สิทธิ์ อุ่นทรัพย์
          ครู โรงเรียนบ่ อกรุวทยา
                              ิ
 สานักงานเขตพืนที่การศึกษาสุ พรรณบุรี เขต 3
               ้
93



แบบฝึ กเสริมทักษะชุดที่ 4.1



          การวิเคราะห์ ข้อมูลเบืองต้ น
                                ้

                       เรื่อง


            ค่ าเฉลียเลขคณิต
                    ่



                (Arithmetic mean)
94



                                          เกร็ดความรู้

       ค่าเฉลี่ยเลขคณิ ต (Arithmetic mean) ของข้อมูลที่ไม่ได้แจกแจงความถี่ หาได้
                               X1  X 2  X 3  ...  X n
โดยตรงจากข้อมูล คือ
                                          N
     หรื อ ถ้า ให้ X แทน ค่ า เฉลี่ ย เลขคณิ ต N                แทน จ านวนข้อ มู ล และ
 X แทนผลของข้อมูลทั้งหมด
                         n
                         Xi
       จะได้       X   i 1
                                     =    X
                             N             N




                                            ตัวอย่ าง

         จากการตรวจสอบราคาข้าวสารแต่ละยีห้อชนิ ดถุงในห้างสรรพสิ นค้าแห่ งหนึ่ ง
                                               ่
พบว่าราคาข้าวสารเป็ นดังนี้ 159 , 156 , 152 , 157 , 150 , 151 , 149 , 154 จงหาราคา
เฉลี่ยของข้าวสาร ชนิดถุงในห้างสรรพสิ นค้าแห่งนี้
วิธีทา         จากข้อมูลที่ได้จากโจทย์มีขอมูล 8 ตัว หรื อ N = 10
                                          ้
                ดังนั้นราคาข้าวสารเฉลี่ยต่อถึงคิดได้จากสู ตร X  NX
               X   = 159  156  152  157  150  151  149  154
                                                 8
                   = 1228
                        8
                  = 153.50
              ดัง นั้น ราคาเฉลี่ ย ของข้า วสารชนิ ด ถุ ง ในห้า งสรรพสิ น ค้า แห่ ง นี้ คื อ
       153.50 บาท
95



                             แบบฝึ กเสริมทักษะที่ 4.1

5.1.1 จากตารางข้อมูลข้างล่างนี้ ให้นกเรี ยนหาค่าเฉลี่ยเลขคณิ ตโดยเติมข้อความลงใน
                                    ั
        ช่องว่างให้ถูกต้อง
                                      จานวน       ผลบวกของข้อมูล          ค่าเฉลี่ย
 ข้อที่               ข้อมูล          ข้อมูล            ทั้งหมด          เลขคณิ ต
                                        (N)               X              (X)
  Ex. 1, 3, 5, 7, 9, 11                   6 1+3+7+9+11 = 36               36 = 6
                                                                          6
  1.    7, 8, 4, 3, 5
  2.    2, 4, 6, 8
  3.    5, 10, 15, 20, 30
  4.    11, 13, 15, 17, 19
        150, 152, 154, 156, 158, 160
  5.

  6. 0.5, 0.7, 0.9, 0.11, 0.13, 0.15
     22, 24, 26, 28, 30, 32
  7.

        16, 18, 20, 22, 24, 26, 28, 30
  8.

   9. 3, 7, 11, 15, 19
      10, 20, 30, 40, 50, 60, 70
  10.


คะแนนเต็ม 10 คะแนน
96



5.1.2 ให้นกเรี ยนเติมคาตอบลงในช่องว่างแต่ละข้อต่อไปนี้ให้ถูกต้องสมบูรณ์
          ั

ข้อที่ คาถาม                                                    คาตอบ
  1. จงหาค่าเฉลี่ยเลขคณิ ตขากข้อมูลต่อๆไปนี้
            1.1 1, 6, 11, 16, 21                                1.1…………………
            1.2 2, 8, 14, 20                                    1.2…………………
            1.3 10, 15, 20, 25, 30, 35, 40                      1.3…………………
            1.4 120, 122, 124, 126, 128, 130, 132               1.4………………..
  2. ถ้า  X = 20 และ X = 4 จงหา N
  3. ถ้า  X = 780 และ N = 30 แล้ว จงหา X
  4. ถ้า N = 10 , X = 25 จงหา  X
  5. ถ้า x = 32, N = 13 จงหา  X
  6. มูลชุดหนึ่ง คือ 32, 43, 30, 78 ถ้า X ของข้อมูลชุดนี้มี
       ค่าเท่ากับ 47 และ N = 5 จงหาข้อมูลที่ขาดหายไป
  7. ข้อมูลชุดหนึ่งมี 6 จานวน คือ 10, 20, 30, 50, 150 ถ้า
       ค่าเฉลี่ยของข้อมูลชุดนี้มีค่าเท่ากับ 50 จงหาข้อมูลที่
       ขาดหายไป

คะแนนเต็ม 10 คะแนน                                  ต้องซื่ อสัตย์ต่อตนเอง
                                                    ในการทาแบบฝึ กนะ
97



แบบฝึ กเสริมทักษะชุดที่ 4.2



          การวิเคราะห์ ข้อมูลเบืองต้ น
                                ้

                        เรื่อง


   ค่ าเฉลียเลขคณิตถ่ วงนาหนัก
           ่             ้


                                         X
                                               wX
                                              w
98



                                       เกร็ดความรู้
       การหาค่าเฉลี่ยเลขคณิ ตถ่วงน้ าหนัก(weight arithmetic mean) นี้ใช้ในกรณี ขอมูล ้
แต่ละค่ามีความสาคัญไม่เท่ากัน ซึ่งมีวธีการหาดังนี้
                                         ิ
      ให้ w1 , w 2 , w 3 ,..., w N เป็ นความส าคั ญ หรื อน้ าหนั ก ถ่ ว งจากค่ า สั ง เกต
X1 , X 2 , X 3 ,..., X N ตามลาดับแล้ว
                                                                             N
                                                                              w iXi
ค่าเฉลี่ยถ่วงน้ าหนัก คือ X  w1X1  w 2 X 2  w 3X 3  ...  w N X N       i 1
                                       w1  w 2  w 3  ...  w N                N
                                                                                wi
                                                                               i 1

หรื อ เขียนอย่างง่ายๆ ได้ดงนี้
                          ั            X
                                           wX
                                          w


                                          ตัวอย่ าง
          ในการสอบครั้ งหนึ่ ง ครู ให้น้ า หนัก เป็ นหน่ ว ยกิ จ แต่ ล ะวิช าได้แก่ วิช า เคมี
ฟิ สิ กส์ ชีวิทยา และคณิ ตศาสตร์เป็ น 2, 1.5 , 2 และ 2.5 ตามลาดับถ้าวิมลสอบทั้งสี่
วิชาได้คะแนน 65, 70, 80 และ 90 ตามลาดับ จงหาค่าเฉลี่ยเลขคณิ ตของวิมล
นาข้อมูลมาใส่ ตารางได้

                                       คะแนน            น้ าหนัก
                     วิชา
                                        (X )               (w)               wX

                    เคมี                 65                  2             130
                  ฟิ สิ กส์              70                 1.5            105
                  ชีวทยา
                      ิ                  80                  2             160
                คณิ ตศาสตร์              90                 2.5            225
                                                        w = 8           wX = 620
                                 wX
คานวณหาจากสู ตร       X
                                w
                            =   620
                                 8
99



                         = 77.5
      ค่าเฉลี่ยเลขคณิ ตของคะแนนวิมลเท่ากับ 77.5 คะแนน



                              แบบฝึ กเสริมทักษะที่ 4.2


4.2.1 ถ้า w1  3 , w 2  4 , w 3  5 และ X1 =20, X 2 =15 , X 3 =30 แล้วจงหา       X
………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………
4.2.2 ถ้า   w1  2 , w 2  3 , w 3  1 ,   w4  5   และ   X1   =40 ,   X 2 =50, X 3 =   60,
      X 4 = 70 แล้ว จงหา X
………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………
100



4.2.3 ในการสอบวิชาภาษาไทย ภาษาอังกฤษศิลปศึกษาและคอมพิวเตอร์ครู ได้กาหนด
      น้ าหนักของแต่ละวิชาเป็ น 4, 3, 1 และ 5 ตามลาดับปรากฏว่ามานะสอบได้แต่ละ
      วิชาเป็ น 90,80,70 และ 60 ตามลาดับจงหาค่าเฉลี่ยเลขคณิ ตของคะแนนสอบของ
      มานะ
………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………




                                                  มานะสอบภาษาไทย
                                                  และวิชาอืนเสร็จแล้ว
                                                           ่
คะแนนเต็ม 10 คะแนน
                                                   เราไปวัดเพือศึกษา
                                                              ่
                                                  ธรรมะกันบ้ างดีกว่า
                                                          นะ
101




แบบฝึ กเสริมทักษะชุดที่ 4.3




         การวิเคราะห์ ข้อมูลเบืองต้ น
                               ้

                      เรื่อง


     ค่ าเฉลียเลขคณิตรวม
             ่
                               เราลองมาคิดค่าเฉลี่ยรวม
                               ของประชากรทั้งจังหวัดซิ
                                  ว่ามีประมาณเท่าไร
102




                                         เกร็ดความรู้

     การหาค่าเฉลี่ยเลขคณิ ตรวม (combined arithmetic mean) เป็ น การหาค่าเฉลี่ยเลข
คณิ ตจากข้อมูลหลลายชุดที่มีการหาค่าเฉลี่ยเลขคณิ ตไว้แล้ว ซึ่งมีวธีการหาดังนี้
                                                                      ิ
       ถ้า X1 , X 2 , X3 ,..., X k เป็ นค่าเฉลี่ยเลขคณิ ตของข้อมูลชุดที่ 1, 2, 3, … ,k
N , N , N ,…,N เป็ นจานวนค่าจากการสังเกตในข้อมูลชุดที่ 1, 2, 3, … ,k
  1      2    3     K


ตามลาดับ แล้ว

                                          N1 X1  N 2 X 2  N 3 X 3  ...  N k X k
      ค่าเฉลี่ยเลขคณิ ตรวม คือ Xรวม =
                                                N1  N 2  N 3  ...  N k
                                         N
                                          NiXi
                                         i 1
                                            N
                                            Ni
                                           i 1

หรื อ เขียนอย่างง่ายๆ ได้ดงนี้
                          ั          X =
                                           NX
                                      รวม N


                                             ตัวอย่ าง

         ถ้าค่าเฉลี่ยเลขคณิ ตของอายุนกเรี ยนชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 4, 5 และ 6 ของโรงเรี ยน
                                     ั
แห่ งหนึ่งเป็ น 15, 17 และ 19 ตามลาดับและโรงเรี ยนแห่ งนี้มีนกเรี ยนแต่ละชั้นเป็ น
                                                                      ั
80, 70 และ 50 ตามลาดับจงหาค่าเฉลี่ยเลขคณิ ตของอายุของนักเรี ยนทั้งสามชั้น
                                         N1 X1  N 2 X 2  N 3 X 3
โดยคิดคานวณจากสู ตร          X รวม   =       N1  N 2  N 3


        จากโจทย์จะได้   N1  = 80 , N 2 = 70 และ N 3 = 50
                        X1 = 15, X 2 = 17 และ X 3 = 19
                                  (80  15)  (70  17)  (50  19)
         แทนค่า         X รวม =
                                                  80  70  50
103


                                1,200  1,190  950
                            =
                                        200

                         = 16.7
        อายุเฉลี่ยของนักเรี ยนทั้งสามชั้นเท่ากับ 16.7 ปี

                           แบบฝึ กเสริมทักษะที่ 4.3

4.3.1 ถ้า X1 = 10,   X2   = 5 , X 3 = 8 และ N1 = 30, N 2 = 40, N 3 = 60 แล้ว
      จงหา X รวม
………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………
4.3.2 ถ้า   X1= 20, X 2 = 30 , X 3 = 10, X 4 = 5 และ N1 = 30, N 2 = 50, N 3 =70,
      N 4 = 60 จงหา X รวม
………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………
104



4.3.3 นักเรี ยนชั้น ม.5 ของโรงเรี ยนแห่ งหนึ่ งมี 3 ห้องเรี ยน คือ ห้องที่ 1, 2 และ 3 มี
      จานวนนักเรี ยน 40, 44 และ50 ตามลาดับผลการสอบวิชาฟิ สิ กส์ปรากฏว่าคะแนน
      เฉลี่ยห้องที่ 1, 2 และ 3 เป็ น 72, 52 และ 60 ตามลาดับ จงหาคะแนนเฉลี่ยของ
      นักเรี ยน ม.5 ทั้งหมด
………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………

คะแนนเต็ม 10 คะแนน
                                              ขอกราบ
                                            คารวะคุณครู
                                             ทีให้ ความรู้
                                               ่
105



แบบฝึ กเสริมทักษะชุดที่ 4.4




         การวิเคราะห์ ข้อมูลเบืองต้ น
                               ้

                      เรื่อง




การหาค่ าเฉลียเลขคณิต
              ่
       ของข้ อมูล
 ที่แจกแจงความถีแล้ว
                  ่
106



                                              เกร็ดความรู้

         การหาค่าเฉลี่ยเลขคณิ ตของข้อมูลที่แจกแจงความถี่หาได้โดยหาผลรวม ของผล
คู ณ ของความถี่ ก ับ จุ ด กึ่ ง กลางชั้น ของแต่ ล ะอัน ตรภาคชั้น หารด้ว ยจ านวนข้อ มู ล
ซึ่งเขียนแทนด้วย
                 f1X1  f 2 X 2  f 3 X 3  ...  f k X k
        X   =
                        f1  f 2  f 3  ....f k
                  k               k
                  fiXi           fiXi
             =   i 1
                     k
                            =    i 1
                                               เมื่อ N เป็ นจานวนค่าจากการสังเกตทั้งหมด
                                        N
                    fi
                   i 1

       หรื อเขียนง่ายๆ ได้ X =               fX   =    fX
                                            f          N




                                            ตัวอย่ างที่ 4.4-1

      ในการสอบวิชาคณิ ตศาสตร์พ้ืนฐานชั้น ม.4/2 จานวน 20 คน ปรากฏได้
คะแนนดังนี้
                 คะแนน                  5       6     7     8     9
             จานวนนักเรี ยน             2       1     7     2     5

        จงหาค่าเฉลี่ยเลขคณิ ตของคะแนนของนักเรี ยนชั้น ม .4/2
107



คิดคานวณโดย ให้ X แทน คะแนนของนักเรี ยน
                 f แทน ความถี่
  จะได้ดงตาราง
        ั
               คะแนน(X) จานวนนักเรี ยน(f)                   fX
                    5             2                         10
                    6             1                          6
                    7             7                         49
                    8             2                         16
                    9             5                         45
                   10             3                         30
                                f = 20                   fX =156


จากสู ตร      X   =     fX    =    fX
                       f           N

                  =   156
                       20
                = 7.8
 ค่าเฉลี่ยเลขคณิ ตของคะแนนของนักเรี ยนชั้น ม 4/2 เท่ากับ 7.8 คะแนน



                              แบบฝึ กเสริมทักษะที่ 4.4

      จงหาค่าเฉลี่ยเลขคณิ ตจากตารางแจกแจงความถี่ได้ต่อไปนี้
จากการสอบวิชาสังคมศึกษา ชั้น ม.3/3 จานวน 30 คน ปรากฏได้คะแนนดังนี้
          คะแนน              5       6        7         8   9
       จานวนนักเรี ยน        6       4       10         8   2
108



จงหาค่าเฉลี่ยเลขคณิ ตของคะแนนของนักเรี ยนชั้น ม .3/3
…………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………

คะแนนเต็ม 10 คะแนน
109



                               ตัวอย่ างที่ 4.4-2

จงหาค่าเฉลี่ยเลขคณิ ตจากตารางแจกแจงความถี่ได้ต่อไปนี้
(กรณี ขอมูลเป็ นอันตรภาคชั้นหรื อจัดเป็ นกลุ่ม)
       ้

            คะแนน       2-4          5-7          8-10      11-13      14-16
            ความถี่      6            4            10         8          2

คิดคานวณโดยมีข้นตอนดังนี้
               ั
         1. หาจุดกึ่งกลางชั้น ( X i ) ของแต่ละอันตรภาคชั้น
         2. หาผลคูณของความถี่แต่ละอันตรภาคชั้นกับจุดกึ่งกลางชั้นของอันตรภาค
            ชั้นเดียวกัน ( f i X i )
         3. หาผลบวกจากค่าที่ได้ในข้อ 2 ของแต่ละอันตรภาคชั้น (  fX )
         4. หา X จากสู ตร X =  fX =  fX
                                           N         f
เมื่อ f แทนความถี่ , N แทนจานวนข้อมูล , X แทนจุดกึ่งกลางของแต่ละอันตรภาคชั้น
แล้ วนำมำสร้ ำงตำรำงดังนี้

                                                จุดกึ่งกลางชั้น
              คะแนน        ความถี่(f)                                    fX
                                                       (X)
                2-4            6                 1.5  4.5               18
                                                           =3
                                                     2
                5-7            4                4.5  7.5                24
                                                           =6
                                                    2
               8-10            10               7.5  10.5               90
                                                           =9
                                                     2
               11-13           8               10.5  13.5               96
                                                           = 12
                                                    2
               14-16           2               13.5  16.5               30
                                                           = 15
                                                    2
                           f = 30                                   fX =258
110



คิดคานวณจากสู ตร    X    =     fX    =    fX
                                N         f
                         =    258
                               30
                         = 8.6



                             แบบฝึ กเสริมทักษะที่ 4.4-2

4.4-2.1 ให้นกเรี ยนหาค่าเฉลี่ยเลขคณิ ตจากตารางแจกแจงความถี่ที่กาหนดให้
            ั

        อายุ       0-5         6-11       12-17   18-23   24-29   30-35
       ความถี่      3           4           3       7       2       1

…………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………
คะแนนเต็ม 10 คะแนน
111



4.4-2.2 ให้นกเรี ยนหาค่าเฉลี่ยเลขคณิ ตจากตารางแจกแจงความถี่ที่กาหนดให้
            ั

            น้ าหนัก   60-62      63-65      66-68     69-71   72-74
            ความถี่      5         18         42        27       8

…………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………
คะแนนเต็ม 10 คะแนน




                               เฉลี่ยแล้วเราทานวันละ
                                 เท่าไรแน่น่าสงสัย
112



                                     ตัวอย่ างที่ 4.4-3

จงหาค่าเฉลี่ยเลขคณิ ตจากตารางแจกแจงความถี่ได้ต่อไปนี้
(กรณี ขอมูลเป็ นอันตรภาคชั้นโดยวิธีทอนค่าของข้อมูล)
       ้

                คะแนน          2-4       5-7       8-10     11-13   14-16
                ความถี่         6         4         10        8       2

การดาเนินการ หาค่าเฉลี่ยเลขคณิ ตของข้อมูลที่แจกแจงความถี่แบบอันอันตรภาคชั้น
               มีข้ นตอนดังนี้
                    ั
    1. จากตารางแจกแจงความถี่ที่กาหนดให้สร้างช่ องว่าง d เพิ่ม โดยให้ d = 0 ที่
       อันตรภาคชั้นที่มีความถี่มากที่สุด ให้ d = -1 , -2,-3 ที่อนตรภาคชั้นที่มีคะแนน
                                                                ั
       น้อยกว่าตามลาดับและให้ d =1, 2, 3 ที่อนตรภาคชั้นที่มีคะแนนมากกว่า
                                                      ั
       ตามลาดับ
    2. หา fd ,  fd ,  f (N) และ I จากตาราง
    3. แทนค่าในสู ตร X = A + (  fd ) I ก็จะได้ X ตามต้องการ
                                        N
        เมื่อ    X    แทน ค่าเฉลี่ยเลขคณิ ต
                 I    แทน ความกว้างของอันตรภาคชั้น
                 f    แทน ความถี่
                N    แทน จานวนข้อมูล
                d    แทน ผลต่างของ
                A    แทน จุดกึ่งกลางชั้นที่มีความถี่มากที่สุด
                X    แทน จุดกึ่งกลางของแต่ละอันตรภาคชั้น
113



                คะแนน          ความถี่ (f)              d            fd
                   2-4             6                    -2          -12
                   5-7             4                    -1           -4
ชั้น A
                  8-10            10                    0            0
                 11-13             8                    1            8
                 14-16             2                    2            4
                                 f =30                            fd =-4


จากสู ตร    X   = A + (  fd ) I
                       N
ในที่น้ ี    A ได้จาก 7.5  10.5   = 9 , I ได้จาก 10.5 – 7.5 = 3 และ N =  f = 30
                           2
                      - 4  
แทนค่า      X = 9+   (3)
                      30  
                = 9+ (-0.4)
                = 8.6




                          เวลาทาแบบฝึ กอย่าลืมเรื่ อง
                           ความสะอาดของงานด้วย
                                   นะครับ
                         งานจะได้ดูเรี ยบร้อยสวยงาม
                              เหมือนมังกรตัวนี้
114



                           แบบฝึ กเสริมทักษะที่ 4.4-3

4.4-3.1     ให้นัก เรี ย นหาค่ า เฉลี่ ย เลขคณิ ต จากตารางแจกแจงความถี่ ที่ ก าหนดให้
          โดยใช้วธีทอนค่าของข้อมูล
                 ิ

               อายุ      10-15     16-21      22-27    28-33     34-39
              ความถี่      3         3         12        8         4

…………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………


                        คะแนนเต็ม 10 คะแนน
                        นะครับตั้งใจทาหน่อย
115



4.4-3.2 ให้นกเรี ยนหาค่าเฉลี่ยเลขคณิ ตจากตารางแจกแจงความถี่ที่กาหนดให้
            ั
        โดยใช้วธีทอนค่าของข้อมูล
                 ิ


                     110 - 114

                                 115 -119

                                             120 -124

                                                          125 -129

                                                                     130 -134

                                                                                135 -137
         อายุ

       ความถี่          2           5          13            3          6          1

…………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………
คะแนนเต็ม 10 คะแนน
                เธอรู ้ไหมว่า การมีกิริยามารยาทที่ดีงาม
                        มีสัมมาคารวะต่อครู ผสอน
                                              ู้
                            ถือว่าเป็ นคนสุ ภาพ
116



แบบฝึ กเสริมทักษะชุดที่ 4.5




        การวิเคราะห์ ข้อมูลเบืองต้ น
                              ้

                        เรื่อง


               มัธยฐาน




                         ตรงนีแหละ
                              ้
              คือค่ าตรงกลางของความสู งเท่ ากับ
                2 คนรวมกันแล้วหารด้ วยสอง
117



                                       เกร็ดความรู้
              มัธยฐาน (Median) เป็ นค่าที่มีตาแหน่งอยูที่ตาแหน่งกึ่งกลางของข้อมูล เมื่อ
                                                         ่
น าข้อ มู ล ดัง กล่ า วมาเรี ย งจากค่ า น้อ ยไปหาค่ า มาก (หรื อจากค่ า มากไปหาค่ า น้อ ย)
ใช้สัญลักษณ์ Mdn แทนมัธยฐาน
              การหามัธยฐานของข้อมูลที่ไม่แจกแจงความถี่มีลาดับขั้นตอนดังนี้
              1. เรี ยงข้อมูลจากน้อยไปหาค่ามาก
              2. หาต าแหน่ ง ของมัธ ยฐาน ถ้า ข้ อ มู ล มี ท้ ัง หมด N        ค่ า จะได้ ว่ า
                 ตาแหน่งของมัธยฐาน = N  1
                                             2
            3. ถ้า N เป็ นจานวนคี่ มัธยฐานจะเท่ากับค่าในข้อมูลที่อยูในตาแหน่ง N  1
                                                                    ่
                                                                                       2
            4. ถ้า N เป็ นจานวนคู่ มัธยฐานจะเท่ากับค่าเฉลี่ยของค่าในข้อมูลซึ่ งอยู่ใน
               ตาแหน่ง N และ N +1
                            2      2




                                           ตัวอย่ าง


4.5.1 จงหามัธยฐานของข้อมูล 2, 6, 4, 8, 12, 10, 14
คิดคานวณได้ ดงนี้ เรี ยงข้อมูลจากค่าน้อยไปหาค่ามากจะได้ 2, 4, 6, 8, 10, 12, 14
             ั
       จะได้ตาแหน่งของมัธยฐาน = N  1
                                               2
                                            7 1
                                       =
                                              2
                                     =4
       มัธยฐาน                                 ่
                                     = ค่าที่อยูในตาแหน่งที่ 4
       เมื่อดูจากข้อมูลที่เรี ยงและดูตาแหน่ง จะได้ 2, 4, 6, 8, 10, 12, 14
                                     = 8
118



4.5.2 จงหาค่ามัธยฐานจากข้อมูล 1, 7, 5, 11, 13, 15, 17
คิดคานวณได้ ดงนี้ เรี ยงข้อมูลจากค่าน้อยไปหาค่ามาก จะได้ 1, 5, 7, 9, 11, 13, 15, 17
             ั
       จะได้ตาแหน่งของมัธยฐาน = N  1
                                           2
                                        8 1
                                    =
                                          2
                                       = 4.5
          มัธยฐาน = ค่าเฉลี่ยของค่าในข้อมูลตาแหน่งที่ 4 และที่ 5
        เมื่อดูจากข้อมูลที่เรี ยงและดูตาแหน่งจะได้ 1, 5, 7, 9, 11, 13, 15, 17
                                        9  11
                                   =
                                          2
                                   = 10
        คุณธรรม
       พืนฐาน 9
          ้
         ประการ
                                                           โดยเรามาเริ่มต้ น
     เราต้ องช่ วยกัน
                                                           ตั้งแต่ ทบ้านเรา
                                                                    ี่
       รักษาความ
                                                           ก่อนใช่ ไหมครับ
          สะอาด
119



                        แบบฝึ กเสริมทักษะที่ 4.5-1
        จากตารางข้อมูลข้างล่างนี้ให้นกเรี ยนหาค่ามัธยฐานโดยเติมข้อความลงใน
                                     ั
ช่องว่างให้ถูกต้อง
                                             หา
                              จานวน
                                          ตาแหน่ง เรี ยงข้อมูลและดู ค่ามัธยฐาน
ข้อที่         ข้อมูล         ข้อมูล
                                (N)
                                            ของ       ตาแหน่งมัธยฐาน    (Mdn)
                                          มัธยฐาน
 Ex. 5, 3, 1, 7, 11, 9            6
                                     2
                                        6  1 = 3.5  1,3, 5, 7, 9, 11
                                                                     2
                                                                       57 = 6


 1.  12, 18, 20, 14, 16, 10
     5, 13, 9, 17, 21, 29,
  2.
     25
  3. 7, 9, 13, 15, 11, 5, 3
  4. 62, 51, 70, 68, 54, 80
     150, 155, 145, 160,
  5.
     152, 149, 170, 156
     23, 27, 31, 20, 18, 30,
  6.
     42, 36, 30, 42
     10, 13, 2, 19, 17, 11,
  7.
     25, 35
     30, 28, 16, 18, 20, 22,
  8.
     24, 26
  9. 11, 3, 7, 19, 15
     60, 20, 70, 40, 50, 10,
 10.
     30

                                              คะแนนเต็ม 10 คะแนน นะครับ
120




                                            ตัวอย่ าง
จากแผนภาพต้น-ใบ แสดงข้อมูล ซึ่งเป็ นความสู ง (เซนติเมตร) ของนักเรี ยนชั้น ม.5/6
                จงหามัธยฐาน
                     13     8977
                     14     34556
                     15     58132114
                    16      1 32
หาคาตอบได้ ดังนี้ เรี ยงข้อมูลในแผนภาพต้น-ใบ โดยเรี ยงจากค่าน้อยไปหาค่ามาก ดังนี้
                                               ความถี่ (f) ความถี่สะสม
                     13      7789                     4            4
                     14      34 556                   5            9
   ่
อยูในต้น-ใบชั้ นนี้  15      111 23458                8           17
                     16      123                      3           20
                                              รวม 20
ตาแหน่งของมัธยฐาน = N  1
                                 2
                             20  1
                        =
                               2
                        = 10.5
    มัธยฐาน           = ค่าเฉลี่ยของค่าในข้อมูลตาแหน่งที่ 10 และที่ 11
                        = 151  151
                                  2
                        = 151

          ข้ อสังเกต
                                               ่                      ่
       1. ค่ามัธยฐานอาจจะเป็ นค่าที่ปรากฏอยูในข้อมูลชุดนั้นหรื อไม่อยูในข้อมูลชุดนั้นก็ได้
       2. ค่ามัธยฐานเหมาะที่จะนามาใช้เป็ นค่ากลางของข้อมูลเมื่อข้อมูลนั้นๆ มีค่าใดค่าหนึ่งหรื อหลายๆ ค่า
          ซึ่งสูงหรื อต่ากว่าอื่นๆอย่างผิดปกติ
121



                        แบบฝึ กเสริมทักษะที่ 4.5-2

จงหาค่ามัธยฐานจากแผนภาพ ต้น – ใบ ข้างล่างนี้
        1        35401
        2        8576
        3        966574210
        4        864732

…………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………
……………………………………………………………
 คะแนนเต็ม 10 คะแนน เธอทาได้กี่คะแนนจ๊ะ
122




                                  เกร็ดความรู้

         ความสัมพันธ์ระหว่างค่ามัธยฐานกับ ค่าควอร์ไทล์ เดไซล์ และเปอร์เซ็นไทล์
เราจะพบว่าตาแหน่งและค่าของข้อมูล จะมีค่าเท่ากันดังนี้
         มัธยฐาน จะมีตาแหน่งและมีค่าเท่ากับ Q 2  D5  P50 ซึ่งเป็ นค่าตาแหน่ง
กึ่งกลางของข้อมูล เมื่อนาข้อมูลมาเรี ยงลาดับ จากน้อยไปมาก หรื อ จากมากไปน้อย


                                   ตัวอย่ าง

จากข้อมูลความสู งที่วดได้มีดงนี้ 159 , 156 , 152 , 157 , 150 , 151 , 149 , 154
                        ั       ั
              จงหาตาแหน่งของ Q 2 , D5 , P50 และมัธยฐาน
                      ่
จากข้อมูลจะเห็นได้วามีจานวนข้อมูล 8 ตัว หาการวัดตาแหน่งควอร์ไทล์ เดไซล์ เปอร์
เซ็นไทล์ และมัธยฐาน ได้ดงนี้  ั
              ขั้นที่ 1 เรี ยงข้อมูลจากน้อยไปหามากจะได้
              149, 150, 151, 152, 154, 156, 157, 159
              ขั้นที่ 2 หาตาแหน่งที่ของควอร์ไทล์ที่ 2 เดไซล์ที่ 5 เปอร์เซ็นไทล์
และมัธยฐาน ดังนี้
                     2
              Q2      (8  1)
                     4
                 =   18
                      4
                 = 4.5
                      5
              D5       (8  1)
                     10
                 =    45
                      10
                 = 4.5
123


                        50
               P50        (8  1)
                       100
                   =    450
                       100
                   = 4.5

และ มัธยฐาน        
                       1
                         (8  1)
                       2
                   =    9
                        2
                  = 4.5
สังเกตเห็นว่า ตาแหน่งของ Q 2  D5  P50  มัธยฐาน = 4.5

ขั้นที่ 3 หาค่าควอร์ไทล์ที่ 2 เดไซล์ที่ 5 เปอร์เซ็นไทล์ที่ 50 และมัธยฐานได้ดงนี้
                                                                            ั
มีค่าตาแหน่งที่ 4.5 จากข้อมูลที่เรี ยงแล้ว 149, 150, 151, 152, 154, 156, 157, 159
            จะได้ = 152+ (154  152)  50 
                                          
                                          100 
                 = 152 + 1
                 = 153



                                           สรุ ปแล้วความสัมพันธ์
                                      ระหว่างค่าควอร์ ไทล์ เดไซล์
                                       เปอร์เซ็นไทล์ และมัธยฐาน
                                     จะมีตาแหน่งตรงกลางเท่ากัน
124



                                  แบบฝึ กเสริมทักษะชุดที่ 4.5-3

       จงเติมข้อมูลเกี่ยวกับ ความสัมพันธ์ระหว่าง ควอร์ไทล์ เดไซล์ เปอร์เซ็นไทล์
และมัธยฐานในตารางข้างล่างนี้ให้สมบูรณ์
                                จานวน ตาแหน่งของ
                                                             ค่าของ Q 2 , D5 , P50
ข้อที่        ข้อมูล            ข้อมูล Q 2 , D5 , P50
                                          และมัธยฐาน            และมัธยฐาน
                                  (N)
 ตัว 150, 152, 155, 157,           8      8 1
                                                4.5          152  50(155152)
                                                                        100
                                            2
อย่าง 150, 160, 161, 145                                          = 153.5

 1    11, 14, 14, 15, 19, 20,
      21, 24, 26, 42

 2    20, 35, 150, 80, 10, 9,
      36

 3    26, 25, 48, 57, 60, 68,
      73, 85, 90, 92, 94

 4    2, 6, 8, 12, 15, 20, 22,
      30, 40, 41, 18, 12

 5    9, 14, 6, 8, 12 ,5 ,8, 8,
      6, 11, 12, 18, 17


        คะแนนเต็ม 10 คะแนน
125



แบบฝึ กเสริมทักษะชุดที่ 4.6



         การวิเคราะห์ ข้อมูลเบืองต้ น
                               ้

                       เรื่อง


               ฐานนิยม
126



                                   เกร็ดความรู้
           ฐานนิ ยม (Mode) เป็ นค่ากลางของข้อมูล ซึ่ งจะเป็ นข้อมูลที่มีความถี่สูงสุ ด
ของข้อมูลชุดนั้น

                                     ตัวอย่ าง

4.6.1 จงหาฐานนิยมของขนาดรองเท้าของนักเรี ยนจานวน 17 คน ซึ่งมีขนาด 3, 4, 4, 5,
     5, 5, 5, 6, 6, 6, 6, 6, 6, 6, 7, 7, 8 ตามลาดับ
หาฐานนิยม ของขนาดรองเท้าของนักเรี ยนทั้ง 17 คน คือ ขนาด 6 เพราะมีรองเท้าขนาด
     6 มาก ที่สุด คือ 7 คน กล่าวคือ นักเรี ยนส่ วนใหญ่ใช้รองเท้าขนาด 6

4.6.2 ชนิดของผักที่มีคนซื้อในตลาดแห่งหนึ่งในช่วงเวลา 8.00 – 9.00 น. เป็ นดังนี้

                     ชนิดของผัก                          ความถี่
                     ผักกาดขาว                             30
                     ผักกวางตุง้                           25
                       ผักคะน้า                            29
                        ผักบุง
                             ้                             32
                      กะหล่าปลี                            18
                       แตงกวา                              41
       จงหาฐานนิยมของการซื้อผักดังกล่าวนี้

หาฐานนิยม ของการซื้อผักในตลาดแห่งนี้ในช่วงเวลา 8.00 – 9.00 น. คือ แตงกวา เพราะ
      มีความถี่ในการซื้ อมากที่สุด คือ 41 คน กล่าวคือ คนส่ วนใหญ่ซ้ื อแตงกวาใน
      ช่วงเวลา 8.00 – 9.00 น
127



                              แบบฝึ กเสริมทักษะที่ 4.6
คาชี้แจง ให้นกเรี ยนเติมคาลงในช่องว่างแต่ละข้อต่อไปนี้ให้ถูกต้องสมบูรณ์
             ั

                                              ข้อมูลที่มีความถี่
ข้อที่            ข้อมูลที่กาหนดให้                                   ฐานนิยม
                                                 มากที่สุด
 Ex.     4, 6, 6, 7, 8, 7, 7,10                      7                     7
 Ex.     2, 5, 5, 6, 7, 8, 8, 12                    5, 8                  5, 8
 Ex.     3, 7, 11, 15, 19, 23                       ไม่มี                 ไม่มี
 1.      10, 12, 14, 16, 18, 20
 2.      5, 10, 10, 20, 30, 10, 40
 3.      62, 54, 70, 68, 54, 80
 4.      150, 155, 145, 160, 152, 149, 170
 5.      23, 27, 31, 20, 18, 31, 42, 23
 6.      12, 13, 13, 13, 17, 18, 17, 20, 17
 7.      80, 40, 60, 80, 100, 120
 8.      23, 22, 22, 25, 26, 22, 27
 9.          12 0 5 1 2 4 6
             13 1 2 5 5 6 6 7 7
             14 5 0 1 1 3 3 4 4 4
             14 9 8 7 6

 10.
          ชนิด มะม่วง มะขาม มะยม มะนาว

          ความถี่ 2       8     12      11


คะแนนเต็ม 10 คะแนน
128



       แบบฝึ กเสริมทักษะชุดที่ 4.7



                 การวิเคราะห์ ข้อมูลเบืองต้ น
                                       ้

                              เรื่อง


ข้ อสั งเกตและหลักเกณฑ์ ที่สาคัญ
    ในการใช้ ค่ากลางชนิดต่ างๆ

  จะใช้ค่ากลาง
  แบบใดดีนะ
     ถึงจะ
   เหมาะสม
129



                                     เกร็ดความรู้
       การจัดค่ากลางข้อมูล ควรเลือกใช้ให้เหมาะสมกับข้อมูลและวัตถุประสงค์ของ
การใช้ ซึ่งควรจะศึกษาถึงข้อดีและข้อเสี ยของค่ากลางแต่ละชนิดประกอบด้วย
      ข้อ สั ง เกตและหลัก เกณฑ์ท่ี ส าคัญ ในการใช้ค่ า เฉลี่ ย เลขคณิ ต มัธ ยฐาน และ
ฐานนิยม มีดงนี้ั
    1. ค่าเฉลี่ยเลขคณิ ตเป็ นค่ากลางที่ได้จากกานาทุกๆ ค่าของข้อมูลมาเฉลี่ย มัธยฐาน
        เป็ นค่ า กลางที่ ใช้ ต าแหน่ ง ที่ ข องข้อมู ล และฐานนิ ยมเป็ นค่ า กลางที่ ได้จาก
        ข้อมูลที่มีความถี่มากที่สุด
    2. ถ้าในจานวนทั้งหมดมีขอมูลบางค่ าที่ มีค่าสู งหรื อต่ ากว่าข้อมูลอื่ นๆ มากจะมี
                                    ้
        ผลกระทบต่อค่าเฉลี่ยเลขคณิ ตแต่จะไม่มีผลกระทบต่อมัธยฐานหรื อฐานนิยม
    3. มัธ ยฐานและฐานนิ ย มใช้ เ มื่ อ ต้อ งการทราบค่ า กลางของข้อ มู ล ทั้ง หมด
        โดยประมาณและรวดเร็ว
    4. ค่ า เฉลี่ ย เลขคณิ ต ไม่ ส ามารถหาได้ใ นกรณี ก ารแจกแจงความถี่ ข องข้อ มู ล มี
        อันตรภาคชั้น ชั้นใดชั้นหนึ่งเป็ นอันตรภาคชันช่วงเปิ ด แต่สามารถหามัธยฐาน
        และฐานนิยมได้
    5. การแจกแจงความถี่ ที่ มี ค วามกว้า งแต่ ล ะอัน ตรภาคชั้น ไม่ เ ท่ า กัน จะท าให้
        ค่าเฉลี่ยเลขคณิ ตหรื อฐานนิยมคลาดเคลื่อน แต่จะไม่กระทบต่อมัธยฐาน
    6. ข้อมู ลประเภทคุ ณภาพจะหาฐานนิ ยมได้ แต่ ไม่ สามารถหาค่ าเฉลี่ ยเลขคณิ ต
        หรื อมัธยฐานได้

                                                                      เรามาช่วยกันดู
                                                                      ข้อดีขอเสี ยของ
                                                                            ้
                                                                         รถคันนี้ซิ
130



                                     ตัวอย่ าง

        จากข้อมูล ชุดหนึ่ง 1, 12, 74, 23, 32 ควรใช้ค่ากลางอะไรจึงจะเหมาะสม
เราสามารถ พิจารณาจากข้อมูลแล้วพบว่าความแตกต่างของข้อมูลมีมา จึงไม่เหมาะที่
จะใช้ค่าเฉลี่ยเลขคณิ ต และพบว่าไม่มีขอมูลซ้ ากันและมีขอมูลจานวนน้อยจึงไม่เหมาะ
                                        ้               ้
ใช้ฐานนิยม ดังนั้นค่ากลางที่เหมาะสมที่สุด คือ มัธยฐาน


                           แบบฝึ กเสริมทักษะที่ 4.7-1

คาชี้ แจง      ให้นกเรี ยนพิจารณาว่ามูลที่กาหนดให้เหมาะกับค่ากลางชนิดใด แล้วเติม
                   ั
            คาตอบลงในช่องว่างแต่ละข้อต่อไปนี้ให้ถูกต้องสมบูรณ์

ข้อที่                ข้อมูลที่กาหนดให้                  ค่ากลางที่เหมาะสม
 1.      2,7,9,30,80
 2.      ข้อมูลเกี่ยวกับเบอร์รองเท้าของนักเรี ยน
 3.      ข้อมูลเกี่ยวกับสถิติของนักเรี ยนแยกตามเพศ
 4.      เงินของครู ในโรงเรี ยนมัธยมศึกษาแห่งหนึ่ง
 5.      คะแนนสอบวิชาคณิ ตศาสตร์ของนักเรี ยน ม.4/2
 6.      ความสู งของนักเรี ยนชั้น ม 5/2
 7.      สถานภาพของพนักงานบริ ษทแห่งหนึ่ง
                                       ั
 8.      อาชีพของผูปกครองนักเรี ยน
                      ้
 9.      ชื่อของมหาวิทยาลัย
10.      ครู หญิงที่อายุเกิน 40 ปี

คะแนนเต็ม 10 คะแนน
131



                            แบบฝึ กเสริมทักษะที่ 4.7-2

          ให้นักเรี ยนบอกข้อดี และข้อเสี ยของค่ าเฉลี่ ยเลขคณิ ต มัธยฐาน และฐานนิ ยม
มีดงนี้
   ั

  ชนิดของค่ากลาง
                                 ข้อดี                                ข้อเสี ย
      ของข้อมูล
  ค่าเฉลี่ยเลขคณิ ต 1. หา ง่ า ยอา จจะ ใ ช้ เ ค รื่ อง   1. ใช้ ก ับ ข้อ มู ล เชิ ง ปริ มาณ
         (X )          คิดเลขช่วยในการคานวณได้              เท่านั้น
                    2. …………………………                        2. …………………………
                       …………………………                           …………………………
                    3. …………………………                        3. …………………………
                       …………………………                           …………………………
       มัธยฐาน      1. …………………………                        1. …………………………
        (Mid)          …………………………                           …………………………
                    2. …………………………                        2. …………………………
                       …………………………                           …………………………
                                                         3. …………………………
                                                            …………………………
          ฐานนิยม
                       1. …………………………                     1. ……………………………
          (Mode)
                       ……………………………                       ………………………………
                       2. …………………………                     2.……………………………
                       …………………………..                      ………………………………
                       3……………………………                      3……………………………
                       ……………………………                       ………………………………
คะแนนเต็ม 10 คะแนน

Más contenido relacionado

La actualidad más candente

เลขยกกำลังม.4
เลขยกกำลังม.4เลขยกกำลังม.4
เลขยกกำลังม.4KruGift Girlz
 
การแยกตัวประกอบของพหุนาม
การแยกตัวประกอบของพหุนามการแยกตัวประกอบของพหุนาม
การแยกตัวประกอบของพหุนามChitpol Kamthep
 
อนุกรมเลขคณิต
อนุกรมเลขคณิตอนุกรมเลขคณิต
อนุกรมเลขคณิตaoynattaya
 
สรุปสูตร ม.3
สรุปสูตร ม.3สรุปสูตร ม.3
สรุปสูตร ม.3krutew Sudarat
 
บทบาทหน้าที่ของรัฐบาลในการพัฒนาประเทศ
บทบาทหน้าที่ของรัฐบาลในการพัฒนาประเทศบทบาทหน้าที่ของรัฐบาลในการพัฒนาประเทศ
บทบาทหน้าที่ของรัฐบาลในการพัฒนาประเทศSuwannaphum Charoensiri
 
รากที่สอง
รากที่สองรากที่สอง
รากที่สองSuputtra Panam
 
แบบทดสอบ การเขียน ป.3
แบบทดสอบ การเขียน ป.3แบบทดสอบ การเขียน ป.3
แบบทดสอบ การเขียน ป.3Khunnawang Khunnawang
 
แนวข้อสอบ
แนวข้อสอบแนวข้อสอบ
แนวข้อสอบprapasun
 
การพิมพ์ข้อสอบให้สวยงาม ดูดีแบบมืออาชีพ
การพิมพ์ข้อสอบให้สวยงาม ดูดีแบบมืออาชีพการพิมพ์ข้อสอบให้สวยงาม ดูดีแบบมืออาชีพ
การพิมพ์ข้อสอบให้สวยงาม ดูดีแบบมืออาชีพNoTe Tumrong
 
ชุดการสอนที่ 4 เรื่อง เส้นขนานและรูปสามเหลี่ยม
ชุดการสอนที่ 4 เรื่อง เส้นขนานและรูปสามเหลี่ยมชุดการสอนที่ 4 เรื่อง เส้นขนานและรูปสามเหลี่ยม
ชุดการสอนที่ 4 เรื่อง เส้นขนานและรูปสามเหลี่ยมวิเชียร กีรติศักดิ์กุล
 
แบบฝึกทักษะแคลคูลัสเบื้องต้น สว.กจ
แบบฝึกทักษะแคลคูลัสเบื้องต้น สว.กจแบบฝึกทักษะแคลคูลัสเบื้องต้น สว.กจ
แบบฝึกทักษะแคลคูลัสเบื้องต้น สว.กจชัชชญา ช่างเจริญ
 
โจทย์ปัญหาร้อยละเกี่ยวกับกำไร ขาดทุน
โจทย์ปัญหาร้อยละเกี่ยวกับกำไร ขาดทุนโจทย์ปัญหาร้อยละเกี่ยวกับกำไร ขาดทุน
โจทย์ปัญหาร้อยละเกี่ยวกับกำไร ขาดทุนNok Yupa
 
เทคนิคการสอน กระบวนการกลุ่ม
เทคนิคการสอน  กระบวนการกลุ่มเทคนิคการสอน  กระบวนการกลุ่ม
เทคนิคการสอน กระบวนการกลุ่มJunya Punngam
 
ใบงาน4 ค่าสัมบูรณ์
ใบงาน4 ค่าสัมบูรณ์ใบงาน4 ค่าสัมบูรณ์
ใบงาน4 ค่าสัมบูรณ์kanjana2536
 
การเท่ากัน
การเท่ากันการเท่ากัน
การเท่ากันAon Narinchoti
 
การคูณพหุนามด้วยพหุนาม
การคูณพหุนามด้วยพหุนามการคูณพหุนามด้วยพหุนาม
การคูณพหุนามด้วยพหุนามkroojaja
 

La actualidad más candente (20)

เลขยกกำลังม.4
เลขยกกำลังม.4เลขยกกำลังม.4
เลขยกกำลังม.4
 
การแยกตัวประกอบของพหุนาม
การแยกตัวประกอบของพหุนามการแยกตัวประกอบของพหุนาม
การแยกตัวประกอบของพหุนาม
 
การวัดผลประเมินผลการเรียนรู้
การวัดผลประเมินผลการเรียนรู้การวัดผลประเมินผลการเรียนรู้
การวัดผลประเมินผลการเรียนรู้
 
อนุกรมเลขคณิต
อนุกรมเลขคณิตอนุกรมเลขคณิต
อนุกรมเลขคณิต
 
สรุปสูตร ม.3
สรุปสูตร ม.3สรุปสูตร ม.3
สรุปสูตร ม.3
 
ความคล้าย
ความคล้ายความคล้าย
ความคล้าย
 
บทบาทหน้าที่ของรัฐบาลในการพัฒนาประเทศ
บทบาทหน้าที่ของรัฐบาลในการพัฒนาประเทศบทบาทหน้าที่ของรัฐบาลในการพัฒนาประเทศ
บทบาทหน้าที่ของรัฐบาลในการพัฒนาประเทศ
 
รากที่สอง
รากที่สองรากที่สอง
รากที่สอง
 
แบบทดสอบ การเขียน ป.3
แบบทดสอบ การเขียน ป.3แบบทดสอบ การเขียน ป.3
แบบทดสอบ การเขียน ป.3
 
แนวข้อสอบ
แนวข้อสอบแนวข้อสอบ
แนวข้อสอบ
 
การพิมพ์ข้อสอบให้สวยงาม ดูดีแบบมืออาชีพ
การพิมพ์ข้อสอบให้สวยงาม ดูดีแบบมืออาชีพการพิมพ์ข้อสอบให้สวยงาม ดูดีแบบมืออาชีพ
การพิมพ์ข้อสอบให้สวยงาม ดูดีแบบมืออาชีพ
 
ชุดการสอนที่ 4 เรื่อง เส้นขนานและรูปสามเหลี่ยม
ชุดการสอนที่ 4 เรื่อง เส้นขนานและรูปสามเหลี่ยมชุดการสอนที่ 4 เรื่อง เส้นขนานและรูปสามเหลี่ยม
ชุดการสอนที่ 4 เรื่อง เส้นขนานและรูปสามเหลี่ยม
 
สมดุลกล2
สมดุลกล2สมดุลกล2
สมดุลกล2
 
ความสำคัญของพระมหากษัตริย์ต่อชาติไทย
ความสำคัญของพระมหากษัตริย์ต่อชาติไทยความสำคัญของพระมหากษัตริย์ต่อชาติไทย
ความสำคัญของพระมหากษัตริย์ต่อชาติไทย
 
แบบฝึกทักษะแคลคูลัสเบื้องต้น สว.กจ
แบบฝึกทักษะแคลคูลัสเบื้องต้น สว.กจแบบฝึกทักษะแคลคูลัสเบื้องต้น สว.กจ
แบบฝึกทักษะแคลคูลัสเบื้องต้น สว.กจ
 
โจทย์ปัญหาร้อยละเกี่ยวกับกำไร ขาดทุน
โจทย์ปัญหาร้อยละเกี่ยวกับกำไร ขาดทุนโจทย์ปัญหาร้อยละเกี่ยวกับกำไร ขาดทุน
โจทย์ปัญหาร้อยละเกี่ยวกับกำไร ขาดทุน
 
เทคนิคการสอน กระบวนการกลุ่ม
เทคนิคการสอน  กระบวนการกลุ่มเทคนิคการสอน  กระบวนการกลุ่ม
เทคนิคการสอน กระบวนการกลุ่ม
 
ใบงาน4 ค่าสัมบูรณ์
ใบงาน4 ค่าสัมบูรณ์ใบงาน4 ค่าสัมบูรณ์
ใบงาน4 ค่าสัมบูรณ์
 
การเท่ากัน
การเท่ากันการเท่ากัน
การเท่ากัน
 
การคูณพหุนามด้วยพหุนาม
การคูณพหุนามด้วยพหุนามการคูณพหุนามด้วยพหุนาม
การคูณพหุนามด้วยพหุนาม
 

Destacado (8)

ใบงาน 3.1 3.2
ใบงาน 3.1 3.2ใบงาน 3.1 3.2
ใบงาน 3.1 3.2
 
Statistics 04
Statistics 04Statistics 04
Statistics 04
 
Set
SetSet
Set
 
02
0202
02
 
Lecture 010 sequence-series ลำดับและอนุกรม
Lecture 010 sequence-series ลำดับและอนุกรมLecture 010 sequence-series ลำดับและอนุกรม
Lecture 010 sequence-series ลำดับและอนุกรม
 
Reasoning
ReasoningReasoning
Reasoning
 
ตรรกศาสตร์เบื้องต้น
ตรรกศาสตร์เบื้องต้นตรรกศาสตร์เบื้องต้น
ตรรกศาสตร์เบื้องต้น
 
82 สถิติและการวิเคราะห์ข้อมูล ตอนที่9_การกระจายสัมพัทธ์
82 สถิติและการวิเคราะห์ข้อมูล ตอนที่9_การกระจายสัมพัทธ์82 สถิติและการวิเคราะห์ข้อมูล ตอนที่9_การกระจายสัมพัทธ์
82 สถิติและการวิเคราะห์ข้อมูล ตอนที่9_การกระจายสัมพัทธ์
 

Similar a 6 statistic

ใบความรู้ที่ 1
ใบความรู้ที่ 1ใบความรู้ที่ 1
ใบความรู้ที่ 1vichian09
 
สื่อการสอนวิชาคณิตศาสตร์ลองทำ
สื่อการสอนวิชาคณิตศาสตร์ลองทำสื่อการสอนวิชาคณิตศาสตร์ลองทำ
สื่อการสอนวิชาคณิตศาสตร์ลองทำฟองเพียร ใจติ๊บ
 
ค่ากลางของข้อมูลม.6
ค่ากลางของข้อมูลม.6ค่ากลางของข้อมูลม.6
ค่ากลางของข้อมูลม.6KruGift Girlz
 
ข้อสอบคณิตศาสตร์ 7 วิชาสามัญ ปี 2557
ข้อสอบคณิตศาสตร์ 7 วิชาสามัญ ปี 2557ข้อสอบคณิตศาสตร์ 7 วิชาสามัญ ปี 2557
ข้อสอบคณิตศาสตร์ 7 วิชาสามัญ ปี 2557jjrrwnd
 
exam57
exam57exam57
exam57sarwsw
 
Factoring of polynomials2
Factoring of polynomials2Factoring of polynomials2
Factoring of polynomials2Aon Narinchoti
 
บทที่ 1 ลำดับและอนุกรม
บทที่ 1 ลำดับและอนุกรมบทที่ 1 ลำดับและอนุกรม
บทที่ 1 ลำดับและอนุกรมsawed kodnara
 
แบบฝึกทักษะเมทริกซ์ เล่ม 1 ระบบสมการเชิงเส้น เผยแพร่
แบบฝึกทักษะเมทริกซ์ เล่ม 1 ระบบสมการเชิงเส้น เผยแพร่แบบฝึกทักษะเมทริกซ์ เล่ม 1 ระบบสมการเชิงเส้น เผยแพร่
แบบฝึกทักษะเมทริกซ์ เล่ม 1 ระบบสมการเชิงเส้น เผยแพร่Chon Chom
 

Similar a 6 statistic (20)

7 statistic
7 statistic7 statistic
7 statistic
 
ใบความรู้ที่ 1
ใบความรู้ที่ 1ใบความรู้ที่ 1
ใบความรู้ที่ 1
 
สื่อการสอนวิชาคณิตศาสตร์ลองทำ
สื่อการสอนวิชาคณิตศาสตร์ลองทำสื่อการสอนวิชาคณิตศาสตร์ลองทำ
สื่อการสอนวิชาคณิตศาสตร์ลองทำ
 
Statistic1
Statistic1Statistic1
Statistic1
 
19 จำนวนจริง ตอนที่6_เทคนิคการแก้อสมการ
19 จำนวนจริง ตอนที่6_เทคนิคการแก้อสมการ19 จำนวนจริง ตอนที่6_เทคนิคการแก้อสมการ
19 จำนวนจริง ตอนที่6_เทคนิคการแก้อสมการ
 
57 submath
57 submath57 submath
57 submath
 
112
112112
112
 
Math9
Math9Math9
Math9
 
ค่ามาตรฐาน
ค่ามาตรฐานค่ามาตรฐาน
ค่ามาตรฐาน
 
ค่ากลางของข้อมูลม.6
ค่ากลางของข้อมูลม.6ค่ากลางของข้อมูลม.6
ค่ากลางของข้อมูลม.6
 
ข้อสอบคณิตศาสตร์ 7 วิชาสามัญ ปี 2557
ข้อสอบคณิตศาสตร์ 7 วิชาสามัญ ปี 2557ข้อสอบคณิตศาสตร์ 7 วิชาสามัญ ปี 2557
ข้อสอบคณิตศาสตร์ 7 วิชาสามัญ ปี 2557
 
math
mathmath
math
 
exam57
exam57exam57
exam57
 
Factoring of polynomials2
Factoring of polynomials2Factoring of polynomials2
Factoring of polynomials2
 
83 สถิติและการวิเคราะห์ข้อมูล ตอนที่10_คะแนนมาตรฐาน
83 สถิติและการวิเคราะห์ข้อมูล ตอนที่10_คะแนนมาตรฐาน83 สถิติและการวิเคราะห์ข้อมูล ตอนที่10_คะแนนมาตรฐาน
83 สถิติและการวิเคราะห์ข้อมูล ตอนที่10_คะแนนมาตรฐาน
 
69 การนับและความน่าจะเป็น ตอนที่4_ทฤษฎีบททวินาม
69 การนับและความน่าจะเป็น ตอนที่4_ทฤษฎีบททวินาม69 การนับและความน่าจะเป็น ตอนที่4_ทฤษฎีบททวินาม
69 การนับและความน่าจะเป็น ตอนที่4_ทฤษฎีบททวินาม
 
บทที่ 1 ลำดับและอนุกรม
บทที่ 1 ลำดับและอนุกรมบทที่ 1 ลำดับและอนุกรม
บทที่ 1 ลำดับและอนุกรม
 
Chapter5 descriptive statistic
Chapter5 descriptive statisticChapter5 descriptive statistic
Chapter5 descriptive statistic
 
แบบฝึกทักษะเมทริกซ์ เล่ม 1 ระบบสมการเชิงเส้น เผยแพร่
แบบฝึกทักษะเมทริกซ์ เล่ม 1 ระบบสมการเชิงเส้น เผยแพร่แบบฝึกทักษะเมทริกซ์ เล่ม 1 ระบบสมการเชิงเส้น เผยแพร่
แบบฝึกทักษะเมทริกซ์ เล่ม 1 ระบบสมการเชิงเส้น เผยแพร่
 
Epi info unit09
Epi info unit09Epi info unit09
Epi info unit09
 

Más de Aon Narinchoti

บทคัดย่อ
บทคัดย่อบทคัดย่อ
บทคัดย่อAon Narinchoti
 
รายละเอียดชุมนุมคณิตศาสตร์ออนไลน์
รายละเอียดชุมนุมคณิตศาสตร์ออนไลน์รายละเอียดชุมนุมคณิตศาสตร์ออนไลน์
รายละเอียดชุมนุมคณิตศาสตร์ออนไลน์Aon Narinchoti
 
ส่งตีพิมพ์ มสธ
ส่งตีพิมพ์ มสธส่งตีพิมพ์ มสธ
ส่งตีพิมพ์ มสธAon Narinchoti
 
Lxt6 sonvyqi20150807080936
Lxt6 sonvyqi20150807080936Lxt6 sonvyqi20150807080936
Lxt6 sonvyqi20150807080936Aon Narinchoti
 
ตารางฟังก์ชันตรีโกณมิติ
ตารางฟังก์ชันตรีโกณมิติตารางฟังก์ชันตรีโกณมิติ
ตารางฟังก์ชันตรีโกณมิติAon Narinchoti
 
การใช้หลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
การใช้หลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงการใช้หลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
การใช้หลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงAon Narinchoti
 
คำอธิบายรายวิชา
คำอธิบายรายวิชาคำอธิบายรายวิชา
คำอธิบายรายวิชาAon Narinchoti
 
อัตราส่วนคะแนน
อัตราส่วนคะแนนอัตราส่วนคะแนน
อัตราส่วนคะแนนAon Narinchoti
 

Más de Aon Narinchoti (20)

บทคัดย่อ
บทคัดย่อบทคัดย่อ
บทคัดย่อ
 
Prob
ProbProb
Prob
 
Event
EventEvent
Event
 
Sample space
Sample spaceSample space
Sample space
 
Random experiment
Random experimentRandom experiment
Random experiment
 
His brob
His brobHis brob
His brob
 
รายละเอียดชุมนุมคณิตศาสตร์ออนไลน์
รายละเอียดชุมนุมคณิตศาสตร์ออนไลน์รายละเอียดชุมนุมคณิตศาสตร์ออนไลน์
รายละเอียดชุมนุมคณิตศาสตร์ออนไลน์
 
Wordpress
WordpressWordpress
Wordpress
 
ส่งตีพิมพ์ มสธ
ส่งตีพิมพ์ มสธส่งตีพิมพ์ มสธ
ส่งตีพิมพ์ มสธ
 
Lxt6 sonvyqi20150807080936
Lxt6 sonvyqi20150807080936Lxt6 sonvyqi20150807080936
Lxt6 sonvyqi20150807080936
 
Know5
Know5Know5
Know5
 
ตารางฟังก์ชันตรีโกณมิติ
ตารางฟังก์ชันตรีโกณมิติตารางฟังก์ชันตรีโกณมิติ
ตารางฟังก์ชันตรีโกณมิติ
 
Know4
Know4Know4
Know4
 
Know3
Know3Know3
Know3
 
Know2
Know2Know2
Know2
 
Know1
Know1Know1
Know1
 
การใช้หลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
การใช้หลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงการใช้หลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
การใช้หลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
 
Climometer
ClimometerClimometer
Climometer
 
คำอธิบายรายวิชา
คำอธิบายรายวิชาคำอธิบายรายวิชา
คำอธิบายรายวิชา
 
อัตราส่วนคะแนน
อัตราส่วนคะแนนอัตราส่วนคะแนน
อัตราส่วนคะแนน
 

6 statistic

  • 1. แบบฝึ กเสริมทักษะคณิตศาสตร์ ชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 5 เรื่อง การวิเคราะห์ ข้อมูลเบืองต้ น ้ ชุ ดที่ 4 การวัดค่ ากลางของข้ อมูล n  Xi  i 1 X X N N w1X1  w 2X2  w 3X3  ...  w NX N X w1  w 2  w 3  ...  w N โดย นายปกรณ์ สิทธิ์ อุ่นทรัพย์ ครู โรงเรียนบ่ อกรุวทยา ิ สานักงานเขตพืนที่การศึกษาสุ พรรณบุรี เขต 3 ้
  • 2. 93 แบบฝึ กเสริมทักษะชุดที่ 4.1 การวิเคราะห์ ข้อมูลเบืองต้ น ้ เรื่อง ค่ าเฉลียเลขคณิต ่ (Arithmetic mean)
  • 3. 94 เกร็ดความรู้ ค่าเฉลี่ยเลขคณิ ต (Arithmetic mean) ของข้อมูลที่ไม่ได้แจกแจงความถี่ หาได้ X1  X 2  X 3  ...  X n โดยตรงจากข้อมูล คือ N หรื อ ถ้า ให้ X แทน ค่ า เฉลี่ ย เลขคณิ ต N แทน จ านวนข้อ มู ล และ  X แทนผลของข้อมูลทั้งหมด n  Xi จะได้ X i 1 = X N N ตัวอย่ าง จากการตรวจสอบราคาข้าวสารแต่ละยีห้อชนิ ดถุงในห้างสรรพสิ นค้าแห่ งหนึ่ ง ่ พบว่าราคาข้าวสารเป็ นดังนี้ 159 , 156 , 152 , 157 , 150 , 151 , 149 , 154 จงหาราคา เฉลี่ยของข้าวสาร ชนิดถุงในห้างสรรพสิ นค้าแห่งนี้ วิธีทา จากข้อมูลที่ได้จากโจทย์มีขอมูล 8 ตัว หรื อ N = 10 ้ ดังนั้นราคาข้าวสารเฉลี่ยต่อถึงคิดได้จากสู ตร X  NX X = 159  156  152  157  150  151  149  154 8 = 1228 8 = 153.50 ดัง นั้น ราคาเฉลี่ ย ของข้า วสารชนิ ด ถุ ง ในห้า งสรรพสิ น ค้า แห่ ง นี้ คื อ 153.50 บาท
  • 4. 95 แบบฝึ กเสริมทักษะที่ 4.1 5.1.1 จากตารางข้อมูลข้างล่างนี้ ให้นกเรี ยนหาค่าเฉลี่ยเลขคณิ ตโดยเติมข้อความลงใน ั ช่องว่างให้ถูกต้อง จานวน ผลบวกของข้อมูล ค่าเฉลี่ย ข้อที่ ข้อมูล ข้อมูล ทั้งหมด เลขคณิ ต (N)  X (X) Ex. 1, 3, 5, 7, 9, 11 6 1+3+7+9+11 = 36 36 = 6 6 1. 7, 8, 4, 3, 5 2. 2, 4, 6, 8 3. 5, 10, 15, 20, 30 4. 11, 13, 15, 17, 19 150, 152, 154, 156, 158, 160 5. 6. 0.5, 0.7, 0.9, 0.11, 0.13, 0.15 22, 24, 26, 28, 30, 32 7. 16, 18, 20, 22, 24, 26, 28, 30 8. 9. 3, 7, 11, 15, 19 10, 20, 30, 40, 50, 60, 70 10. คะแนนเต็ม 10 คะแนน
  • 5. 96 5.1.2 ให้นกเรี ยนเติมคาตอบลงในช่องว่างแต่ละข้อต่อไปนี้ให้ถูกต้องสมบูรณ์ ั ข้อที่ คาถาม คาตอบ 1. จงหาค่าเฉลี่ยเลขคณิ ตขากข้อมูลต่อๆไปนี้ 1.1 1, 6, 11, 16, 21 1.1………………… 1.2 2, 8, 14, 20 1.2………………… 1.3 10, 15, 20, 25, 30, 35, 40 1.3………………… 1.4 120, 122, 124, 126, 128, 130, 132 1.4……………….. 2. ถ้า  X = 20 และ X = 4 จงหา N 3. ถ้า  X = 780 และ N = 30 แล้ว จงหา X 4. ถ้า N = 10 , X = 25 จงหา  X 5. ถ้า x = 32, N = 13 จงหา  X 6. มูลชุดหนึ่ง คือ 32, 43, 30, 78 ถ้า X ของข้อมูลชุดนี้มี ค่าเท่ากับ 47 และ N = 5 จงหาข้อมูลที่ขาดหายไป 7. ข้อมูลชุดหนึ่งมี 6 จานวน คือ 10, 20, 30, 50, 150 ถ้า ค่าเฉลี่ยของข้อมูลชุดนี้มีค่าเท่ากับ 50 จงหาข้อมูลที่ ขาดหายไป คะแนนเต็ม 10 คะแนน ต้องซื่ อสัตย์ต่อตนเอง ในการทาแบบฝึ กนะ
  • 6. 97 แบบฝึ กเสริมทักษะชุดที่ 4.2 การวิเคราะห์ ข้อมูลเบืองต้ น ้ เรื่อง ค่ าเฉลียเลขคณิตถ่ วงนาหนัก ่ ้ X  wX w
  • 7. 98 เกร็ดความรู้ การหาค่าเฉลี่ยเลขคณิ ตถ่วงน้ าหนัก(weight arithmetic mean) นี้ใช้ในกรณี ขอมูล ้ แต่ละค่ามีความสาคัญไม่เท่ากัน ซึ่งมีวธีการหาดังนี้ ิ ให้ w1 , w 2 , w 3 ,..., w N เป็ นความส าคั ญ หรื อน้ าหนั ก ถ่ ว งจากค่ า สั ง เกต X1 , X 2 , X 3 ,..., X N ตามลาดับแล้ว N  w iXi ค่าเฉลี่ยถ่วงน้ าหนัก คือ X  w1X1  w 2 X 2  w 3X 3  ...  w N X N  i 1 w1  w 2  w 3  ...  w N N  wi i 1 หรื อ เขียนอย่างง่ายๆ ได้ดงนี้ ั X  wX w ตัวอย่ าง ในการสอบครั้ งหนึ่ ง ครู ให้น้ า หนัก เป็ นหน่ ว ยกิ จ แต่ ล ะวิช าได้แก่ วิช า เคมี ฟิ สิ กส์ ชีวิทยา และคณิ ตศาสตร์เป็ น 2, 1.5 , 2 และ 2.5 ตามลาดับถ้าวิมลสอบทั้งสี่ วิชาได้คะแนน 65, 70, 80 และ 90 ตามลาดับ จงหาค่าเฉลี่ยเลขคณิ ตของวิมล นาข้อมูลมาใส่ ตารางได้ คะแนน น้ าหนัก วิชา (X ) (w) wX เคมี 65 2 130 ฟิ สิ กส์ 70 1.5 105 ชีวทยา ิ 80 2 160 คณิ ตศาสตร์ 90 2.5 225 w = 8  wX = 620  wX คานวณหาจากสู ตร X w = 620 8
  • 8. 99 = 77.5  ค่าเฉลี่ยเลขคณิ ตของคะแนนวิมลเท่ากับ 77.5 คะแนน แบบฝึ กเสริมทักษะที่ 4.2 4.2.1 ถ้า w1  3 , w 2  4 , w 3  5 และ X1 =20, X 2 =15 , X 3 =30 แล้วจงหา X ……………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………… 4.2.2 ถ้า w1  2 , w 2  3 , w 3  1 , w4  5 และ X1 =40 , X 2 =50, X 3 = 60, X 4 = 70 แล้ว จงหา X ……………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………
  • 9. 100 4.2.3 ในการสอบวิชาภาษาไทย ภาษาอังกฤษศิลปศึกษาและคอมพิวเตอร์ครู ได้กาหนด น้ าหนักของแต่ละวิชาเป็ น 4, 3, 1 และ 5 ตามลาดับปรากฏว่ามานะสอบได้แต่ละ วิชาเป็ น 90,80,70 และ 60 ตามลาดับจงหาค่าเฉลี่ยเลขคณิ ตของคะแนนสอบของ มานะ ……………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………… มานะสอบภาษาไทย และวิชาอืนเสร็จแล้ว ่ คะแนนเต็ม 10 คะแนน เราไปวัดเพือศึกษา ่ ธรรมะกันบ้ างดีกว่า นะ
  • 10. 101 แบบฝึ กเสริมทักษะชุดที่ 4.3 การวิเคราะห์ ข้อมูลเบืองต้ น ้ เรื่อง ค่ าเฉลียเลขคณิตรวม ่ เราลองมาคิดค่าเฉลี่ยรวม ของประชากรทั้งจังหวัดซิ ว่ามีประมาณเท่าไร
  • 11. 102 เกร็ดความรู้ การหาค่าเฉลี่ยเลขคณิ ตรวม (combined arithmetic mean) เป็ น การหาค่าเฉลี่ยเลข คณิ ตจากข้อมูลหลลายชุดที่มีการหาค่าเฉลี่ยเลขคณิ ตไว้แล้ว ซึ่งมีวธีการหาดังนี้ ิ ถ้า X1 , X 2 , X3 ,..., X k เป็ นค่าเฉลี่ยเลขคณิ ตของข้อมูลชุดที่ 1, 2, 3, … ,k N , N , N ,…,N เป็ นจานวนค่าจากการสังเกตในข้อมูลชุดที่ 1, 2, 3, … ,k 1 2 3 K ตามลาดับ แล้ว N1 X1  N 2 X 2  N 3 X 3  ...  N k X k ค่าเฉลี่ยเลขคณิ ตรวม คือ Xรวม = N1  N 2  N 3  ...  N k N  NiXi i 1  N  Ni i 1 หรื อ เขียนอย่างง่ายๆ ได้ดงนี้ ั X =  NX รวม N ตัวอย่ าง ถ้าค่าเฉลี่ยเลขคณิ ตของอายุนกเรี ยนชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 4, 5 และ 6 ของโรงเรี ยน ั แห่ งหนึ่งเป็ น 15, 17 และ 19 ตามลาดับและโรงเรี ยนแห่ งนี้มีนกเรี ยนแต่ละชั้นเป็ น ั 80, 70 และ 50 ตามลาดับจงหาค่าเฉลี่ยเลขคณิ ตของอายุของนักเรี ยนทั้งสามชั้น N1 X1  N 2 X 2  N 3 X 3 โดยคิดคานวณจากสู ตร X รวม = N1  N 2  N 3 จากโจทย์จะได้ N1 = 80 , N 2 = 70 และ N 3 = 50 X1 = 15, X 2 = 17 และ X 3 = 19 (80  15)  (70  17)  (50  19) แทนค่า X รวม = 80  70  50
  • 12. 103 1,200  1,190  950 = 200 = 16.7  อายุเฉลี่ยของนักเรี ยนทั้งสามชั้นเท่ากับ 16.7 ปี แบบฝึ กเสริมทักษะที่ 4.3 4.3.1 ถ้า X1 = 10, X2 = 5 , X 3 = 8 และ N1 = 30, N 2 = 40, N 3 = 60 แล้ว จงหา X รวม ……………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………… 4.3.2 ถ้า X1= 20, X 2 = 30 , X 3 = 10, X 4 = 5 และ N1 = 30, N 2 = 50, N 3 =70, N 4 = 60 จงหา X รวม ……………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………
  • 13. 104 4.3.3 นักเรี ยนชั้น ม.5 ของโรงเรี ยนแห่ งหนึ่ งมี 3 ห้องเรี ยน คือ ห้องที่ 1, 2 และ 3 มี จานวนนักเรี ยน 40, 44 และ50 ตามลาดับผลการสอบวิชาฟิ สิ กส์ปรากฏว่าคะแนน เฉลี่ยห้องที่ 1, 2 และ 3 เป็ น 72, 52 และ 60 ตามลาดับ จงหาคะแนนเฉลี่ยของ นักเรี ยน ม.5 ทั้งหมด ……………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………… คะแนนเต็ม 10 คะแนน ขอกราบ คารวะคุณครู ทีให้ ความรู้ ่
  • 14. 105 แบบฝึ กเสริมทักษะชุดที่ 4.4 การวิเคราะห์ ข้อมูลเบืองต้ น ้ เรื่อง การหาค่ าเฉลียเลขคณิต ่ ของข้ อมูล ที่แจกแจงความถีแล้ว ่
  • 15. 106 เกร็ดความรู้ การหาค่าเฉลี่ยเลขคณิ ตของข้อมูลที่แจกแจงความถี่หาได้โดยหาผลรวม ของผล คู ณ ของความถี่ ก ับ จุ ด กึ่ ง กลางชั้น ของแต่ ล ะอัน ตรภาคชั้น หารด้ว ยจ านวนข้อ มู ล ซึ่งเขียนแทนด้วย f1X1  f 2 X 2  f 3 X 3  ...  f k X k X = f1  f 2  f 3  ....f k k k  fiXi  fiXi = i 1 k = i 1 เมื่อ N เป็ นจานวนค่าจากการสังเกตทั้งหมด N  fi i 1 หรื อเขียนง่ายๆ ได้ X =  fX =  fX f N ตัวอย่ างที่ 4.4-1 ในการสอบวิชาคณิ ตศาสตร์พ้ืนฐานชั้น ม.4/2 จานวน 20 คน ปรากฏได้ คะแนนดังนี้ คะแนน 5 6 7 8 9 จานวนนักเรี ยน 2 1 7 2 5 จงหาค่าเฉลี่ยเลขคณิ ตของคะแนนของนักเรี ยนชั้น ม .4/2
  • 16. 107 คิดคานวณโดย ให้ X แทน คะแนนของนักเรี ยน f แทน ความถี่ จะได้ดงตาราง ั คะแนน(X) จานวนนักเรี ยน(f) fX 5 2 10 6 1 6 7 7 49 8 2 16 9 5 45 10 3 30  f = 20  fX =156 จากสู ตร X =  fX =  fX f N = 156 20 = 7.8  ค่าเฉลี่ยเลขคณิ ตของคะแนนของนักเรี ยนชั้น ม 4/2 เท่ากับ 7.8 คะแนน แบบฝึ กเสริมทักษะที่ 4.4 จงหาค่าเฉลี่ยเลขคณิ ตจากตารางแจกแจงความถี่ได้ต่อไปนี้ จากการสอบวิชาสังคมศึกษา ชั้น ม.3/3 จานวน 30 คน ปรากฏได้คะแนนดังนี้ คะแนน 5 6 7 8 9 จานวนนักเรี ยน 6 4 10 8 2
  • 17. 108 จงหาค่าเฉลี่ยเลขคณิ ตของคะแนนของนักเรี ยนชั้น ม .3/3 ………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………… คะแนนเต็ม 10 คะแนน
  • 18. 109 ตัวอย่ างที่ 4.4-2 จงหาค่าเฉลี่ยเลขคณิ ตจากตารางแจกแจงความถี่ได้ต่อไปนี้ (กรณี ขอมูลเป็ นอันตรภาคชั้นหรื อจัดเป็ นกลุ่ม) ้ คะแนน 2-4 5-7 8-10 11-13 14-16 ความถี่ 6 4 10 8 2 คิดคานวณโดยมีข้นตอนดังนี้ ั 1. หาจุดกึ่งกลางชั้น ( X i ) ของแต่ละอันตรภาคชั้น 2. หาผลคูณของความถี่แต่ละอันตรภาคชั้นกับจุดกึ่งกลางชั้นของอันตรภาค ชั้นเดียวกัน ( f i X i ) 3. หาผลบวกจากค่าที่ได้ในข้อ 2 ของแต่ละอันตรภาคชั้น (  fX ) 4. หา X จากสู ตร X =  fX =  fX N f เมื่อ f แทนความถี่ , N แทนจานวนข้อมูล , X แทนจุดกึ่งกลางของแต่ละอันตรภาคชั้น แล้ วนำมำสร้ ำงตำรำงดังนี้ จุดกึ่งกลางชั้น คะแนน ความถี่(f) fX (X) 2-4 6 1.5  4.5 18 =3 2 5-7 4 4.5  7.5 24 =6 2 8-10 10 7.5  10.5 90 =9 2 11-13 8 10.5  13.5 96 = 12 2 14-16 2 13.5  16.5 30 = 15 2  f = 30  fX =258
  • 19. 110 คิดคานวณจากสู ตร X =  fX =  fX N f = 258 30 = 8.6 แบบฝึ กเสริมทักษะที่ 4.4-2 4.4-2.1 ให้นกเรี ยนหาค่าเฉลี่ยเลขคณิ ตจากตารางแจกแจงความถี่ที่กาหนดให้ ั อายุ 0-5 6-11 12-17 18-23 24-29 30-35 ความถี่ 3 4 3 7 2 1 ………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………… คะแนนเต็ม 10 คะแนน
  • 20. 111 4.4-2.2 ให้นกเรี ยนหาค่าเฉลี่ยเลขคณิ ตจากตารางแจกแจงความถี่ที่กาหนดให้ ั น้ าหนัก 60-62 63-65 66-68 69-71 72-74 ความถี่ 5 18 42 27 8 ………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………… คะแนนเต็ม 10 คะแนน เฉลี่ยแล้วเราทานวันละ เท่าไรแน่น่าสงสัย
  • 21. 112 ตัวอย่ างที่ 4.4-3 จงหาค่าเฉลี่ยเลขคณิ ตจากตารางแจกแจงความถี่ได้ต่อไปนี้ (กรณี ขอมูลเป็ นอันตรภาคชั้นโดยวิธีทอนค่าของข้อมูล) ้ คะแนน 2-4 5-7 8-10 11-13 14-16 ความถี่ 6 4 10 8 2 การดาเนินการ หาค่าเฉลี่ยเลขคณิ ตของข้อมูลที่แจกแจงความถี่แบบอันอันตรภาคชั้น มีข้ นตอนดังนี้ ั 1. จากตารางแจกแจงความถี่ที่กาหนดให้สร้างช่ องว่าง d เพิ่ม โดยให้ d = 0 ที่ อันตรภาคชั้นที่มีความถี่มากที่สุด ให้ d = -1 , -2,-3 ที่อนตรภาคชั้นที่มีคะแนน ั น้อยกว่าตามลาดับและให้ d =1, 2, 3 ที่อนตรภาคชั้นที่มีคะแนนมากกว่า ั ตามลาดับ 2. หา fd ,  fd ,  f (N) และ I จากตาราง 3. แทนค่าในสู ตร X = A + (  fd ) I ก็จะได้ X ตามต้องการ N เมื่อ X แทน ค่าเฉลี่ยเลขคณิ ต I แทน ความกว้างของอันตรภาคชั้น f แทน ความถี่ N แทน จานวนข้อมูล d แทน ผลต่างของ A แทน จุดกึ่งกลางชั้นที่มีความถี่มากที่สุด X แทน จุดกึ่งกลางของแต่ละอันตรภาคชั้น
  • 22. 113 คะแนน ความถี่ (f) d fd 2-4 6 -2 -12 5-7 4 -1 -4 ชั้น A 8-10 10 0 0 11-13 8 1 8 14-16 2 2 4  f =30  fd =-4 จากสู ตร X = A + (  fd ) I N ในที่น้ ี A ได้จาก 7.5  10.5 = 9 , I ได้จาก 10.5 – 7.5 = 3 และ N =  f = 30 2  - 4   แทนค่า X = 9+   (3)  30   = 9+ (-0.4) = 8.6 เวลาทาแบบฝึ กอย่าลืมเรื่ อง ความสะอาดของงานด้วย นะครับ งานจะได้ดูเรี ยบร้อยสวยงาม เหมือนมังกรตัวนี้
  • 23. 114 แบบฝึ กเสริมทักษะที่ 4.4-3 4.4-3.1 ให้นัก เรี ย นหาค่ า เฉลี่ ย เลขคณิ ต จากตารางแจกแจงความถี่ ที่ ก าหนดให้ โดยใช้วธีทอนค่าของข้อมูล ิ อายุ 10-15 16-21 22-27 28-33 34-39 ความถี่ 3 3 12 8 4 ………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………… คะแนนเต็ม 10 คะแนน นะครับตั้งใจทาหน่อย
  • 24. 115 4.4-3.2 ให้นกเรี ยนหาค่าเฉลี่ยเลขคณิ ตจากตารางแจกแจงความถี่ที่กาหนดให้ ั โดยใช้วธีทอนค่าของข้อมูล ิ 110 - 114 115 -119 120 -124 125 -129 130 -134 135 -137 อายุ ความถี่ 2 5 13 3 6 1 ………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………… คะแนนเต็ม 10 คะแนน เธอรู ้ไหมว่า การมีกิริยามารยาทที่ดีงาม มีสัมมาคารวะต่อครู ผสอน ู้ ถือว่าเป็ นคนสุ ภาพ
  • 25. 116 แบบฝึ กเสริมทักษะชุดที่ 4.5 การวิเคราะห์ ข้อมูลเบืองต้ น ้ เรื่อง มัธยฐาน ตรงนีแหละ ้ คือค่ าตรงกลางของความสู งเท่ ากับ 2 คนรวมกันแล้วหารด้ วยสอง
  • 26. 117 เกร็ดความรู้ มัธยฐาน (Median) เป็ นค่าที่มีตาแหน่งอยูที่ตาแหน่งกึ่งกลางของข้อมูล เมื่อ ่ น าข้อ มู ล ดัง กล่ า วมาเรี ย งจากค่ า น้อ ยไปหาค่ า มาก (หรื อจากค่ า มากไปหาค่ า น้อ ย) ใช้สัญลักษณ์ Mdn แทนมัธยฐาน การหามัธยฐานของข้อมูลที่ไม่แจกแจงความถี่มีลาดับขั้นตอนดังนี้ 1. เรี ยงข้อมูลจากน้อยไปหาค่ามาก 2. หาต าแหน่ ง ของมัธ ยฐาน ถ้า ข้ อ มู ล มี ท้ ัง หมด N ค่ า จะได้ ว่ า ตาแหน่งของมัธยฐาน = N  1 2 3. ถ้า N เป็ นจานวนคี่ มัธยฐานจะเท่ากับค่าในข้อมูลที่อยูในตาแหน่ง N  1 ่ 2 4. ถ้า N เป็ นจานวนคู่ มัธยฐานจะเท่ากับค่าเฉลี่ยของค่าในข้อมูลซึ่ งอยู่ใน ตาแหน่ง N และ N +1 2 2 ตัวอย่ าง 4.5.1 จงหามัธยฐานของข้อมูล 2, 6, 4, 8, 12, 10, 14 คิดคานวณได้ ดงนี้ เรี ยงข้อมูลจากค่าน้อยไปหาค่ามากจะได้ 2, 4, 6, 8, 10, 12, 14 ั จะได้ตาแหน่งของมัธยฐาน = N  1 2 7 1 = 2 =4  มัธยฐาน ่ = ค่าที่อยูในตาแหน่งที่ 4 เมื่อดูจากข้อมูลที่เรี ยงและดูตาแหน่ง จะได้ 2, 4, 6, 8, 10, 12, 14 = 8
  • 27. 118 4.5.2 จงหาค่ามัธยฐานจากข้อมูล 1, 7, 5, 11, 13, 15, 17 คิดคานวณได้ ดงนี้ เรี ยงข้อมูลจากค่าน้อยไปหาค่ามาก จะได้ 1, 5, 7, 9, 11, 13, 15, 17 ั จะได้ตาแหน่งของมัธยฐาน = N  1 2 8 1 = 2 = 4.5  มัธยฐาน = ค่าเฉลี่ยของค่าในข้อมูลตาแหน่งที่ 4 และที่ 5 เมื่อดูจากข้อมูลที่เรี ยงและดูตาแหน่งจะได้ 1, 5, 7, 9, 11, 13, 15, 17 9  11 = 2 = 10 คุณธรรม พืนฐาน 9 ้ ประการ โดยเรามาเริ่มต้ น เราต้ องช่ วยกัน ตั้งแต่ ทบ้านเรา ี่ รักษาความ ก่อนใช่ ไหมครับ สะอาด
  • 28. 119 แบบฝึ กเสริมทักษะที่ 4.5-1 จากตารางข้อมูลข้างล่างนี้ให้นกเรี ยนหาค่ามัธยฐานโดยเติมข้อความลงใน ั ช่องว่างให้ถูกต้อง หา จานวน ตาแหน่ง เรี ยงข้อมูลและดู ค่ามัธยฐาน ข้อที่ ข้อมูล ข้อมูล (N) ของ ตาแหน่งมัธยฐาน (Mdn) มัธยฐาน Ex. 5, 3, 1, 7, 11, 9 6 2 6  1 = 3.5 1,3, 5, 7, 9, 11 2 57 = 6 1. 12, 18, 20, 14, 16, 10 5, 13, 9, 17, 21, 29, 2. 25 3. 7, 9, 13, 15, 11, 5, 3 4. 62, 51, 70, 68, 54, 80 150, 155, 145, 160, 5. 152, 149, 170, 156 23, 27, 31, 20, 18, 30, 6. 42, 36, 30, 42 10, 13, 2, 19, 17, 11, 7. 25, 35 30, 28, 16, 18, 20, 22, 8. 24, 26 9. 11, 3, 7, 19, 15 60, 20, 70, 40, 50, 10, 10. 30 คะแนนเต็ม 10 คะแนน นะครับ
  • 29. 120 ตัวอย่ าง จากแผนภาพต้น-ใบ แสดงข้อมูล ซึ่งเป็ นความสู ง (เซนติเมตร) ของนักเรี ยนชั้น ม.5/6 จงหามัธยฐาน 13 8977 14 34556 15 58132114 16 1 32 หาคาตอบได้ ดังนี้ เรี ยงข้อมูลในแผนภาพต้น-ใบ โดยเรี ยงจากค่าน้อยไปหาค่ามาก ดังนี้ ความถี่ (f) ความถี่สะสม 13 7789 4 4 14 34 556 5 9 ่ อยูในต้น-ใบชั้ นนี้ 15 111 23458 8 17 16 123 3 20 รวม 20 ตาแหน่งของมัธยฐาน = N  1 2 20  1 = 2 = 10.5  มัธยฐาน = ค่าเฉลี่ยของค่าในข้อมูลตาแหน่งที่ 10 และที่ 11 = 151  151 2 = 151 ข้ อสังเกต ่ ่ 1. ค่ามัธยฐานอาจจะเป็ นค่าที่ปรากฏอยูในข้อมูลชุดนั้นหรื อไม่อยูในข้อมูลชุดนั้นก็ได้ 2. ค่ามัธยฐานเหมาะที่จะนามาใช้เป็ นค่ากลางของข้อมูลเมื่อข้อมูลนั้นๆ มีค่าใดค่าหนึ่งหรื อหลายๆ ค่า ซึ่งสูงหรื อต่ากว่าอื่นๆอย่างผิดปกติ
  • 30. 121 แบบฝึ กเสริมทักษะที่ 4.5-2 จงหาค่ามัธยฐานจากแผนภาพ ต้น – ใบ ข้างล่างนี้ 1 35401 2 8576 3 966574210 4 864732 ………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………… …………………………………………………………… คะแนนเต็ม 10 คะแนน เธอทาได้กี่คะแนนจ๊ะ
  • 31. 122 เกร็ดความรู้ ความสัมพันธ์ระหว่างค่ามัธยฐานกับ ค่าควอร์ไทล์ เดไซล์ และเปอร์เซ็นไทล์ เราจะพบว่าตาแหน่งและค่าของข้อมูล จะมีค่าเท่ากันดังนี้ มัธยฐาน จะมีตาแหน่งและมีค่าเท่ากับ Q 2  D5  P50 ซึ่งเป็ นค่าตาแหน่ง กึ่งกลางของข้อมูล เมื่อนาข้อมูลมาเรี ยงลาดับ จากน้อยไปมาก หรื อ จากมากไปน้อย ตัวอย่ าง จากข้อมูลความสู งที่วดได้มีดงนี้ 159 , 156 , 152 , 157 , 150 , 151 , 149 , 154 ั ั จงหาตาแหน่งของ Q 2 , D5 , P50 และมัธยฐาน ่ จากข้อมูลจะเห็นได้วามีจานวนข้อมูล 8 ตัว หาการวัดตาแหน่งควอร์ไทล์ เดไซล์ เปอร์ เซ็นไทล์ และมัธยฐาน ได้ดงนี้ ั ขั้นที่ 1 เรี ยงข้อมูลจากน้อยไปหามากจะได้ 149, 150, 151, 152, 154, 156, 157, 159 ขั้นที่ 2 หาตาแหน่งที่ของควอร์ไทล์ที่ 2 เดไซล์ที่ 5 เปอร์เซ็นไทล์ และมัธยฐาน ดังนี้ 2 Q2  (8  1) 4 = 18 4 = 4.5 5 D5  (8  1) 10 = 45 10 = 4.5
  • 32. 123 50 P50  (8  1) 100 = 450 100 = 4.5 และ มัธยฐาน  1 (8  1) 2 = 9 2 = 4.5 สังเกตเห็นว่า ตาแหน่งของ Q 2  D5  P50  มัธยฐาน = 4.5 ขั้นที่ 3 หาค่าควอร์ไทล์ที่ 2 เดไซล์ที่ 5 เปอร์เซ็นไทล์ที่ 50 และมัธยฐานได้ดงนี้ ั มีค่าตาแหน่งที่ 4.5 จากข้อมูลที่เรี ยงแล้ว 149, 150, 151, 152, 154, 156, 157, 159 จะได้ = 152+ (154  152)  50     100  = 152 + 1 = 153 สรุ ปแล้วความสัมพันธ์ ระหว่างค่าควอร์ ไทล์ เดไซล์ เปอร์เซ็นไทล์ และมัธยฐาน จะมีตาแหน่งตรงกลางเท่ากัน
  • 33. 124 แบบฝึ กเสริมทักษะชุดที่ 4.5-3 จงเติมข้อมูลเกี่ยวกับ ความสัมพันธ์ระหว่าง ควอร์ไทล์ เดไซล์ เปอร์เซ็นไทล์ และมัธยฐานในตารางข้างล่างนี้ให้สมบูรณ์ จานวน ตาแหน่งของ ค่าของ Q 2 , D5 , P50 ข้อที่ ข้อมูล ข้อมูล Q 2 , D5 , P50 และมัธยฐาน และมัธยฐาน (N) ตัว 150, 152, 155, 157, 8 8 1  4.5 152  50(155152) 100 2 อย่าง 150, 160, 161, 145 = 153.5 1 11, 14, 14, 15, 19, 20, 21, 24, 26, 42 2 20, 35, 150, 80, 10, 9, 36 3 26, 25, 48, 57, 60, 68, 73, 85, 90, 92, 94 4 2, 6, 8, 12, 15, 20, 22, 30, 40, 41, 18, 12 5 9, 14, 6, 8, 12 ,5 ,8, 8, 6, 11, 12, 18, 17 คะแนนเต็ม 10 คะแนน
  • 34. 125 แบบฝึ กเสริมทักษะชุดที่ 4.6 การวิเคราะห์ ข้อมูลเบืองต้ น ้ เรื่อง ฐานนิยม
  • 35. 126 เกร็ดความรู้ ฐานนิ ยม (Mode) เป็ นค่ากลางของข้อมูล ซึ่ งจะเป็ นข้อมูลที่มีความถี่สูงสุ ด ของข้อมูลชุดนั้น ตัวอย่ าง 4.6.1 จงหาฐานนิยมของขนาดรองเท้าของนักเรี ยนจานวน 17 คน ซึ่งมีขนาด 3, 4, 4, 5, 5, 5, 5, 6, 6, 6, 6, 6, 6, 6, 7, 7, 8 ตามลาดับ หาฐานนิยม ของขนาดรองเท้าของนักเรี ยนทั้ง 17 คน คือ ขนาด 6 เพราะมีรองเท้าขนาด 6 มาก ที่สุด คือ 7 คน กล่าวคือ นักเรี ยนส่ วนใหญ่ใช้รองเท้าขนาด 6 4.6.2 ชนิดของผักที่มีคนซื้อในตลาดแห่งหนึ่งในช่วงเวลา 8.00 – 9.00 น. เป็ นดังนี้ ชนิดของผัก ความถี่ ผักกาดขาว 30 ผักกวางตุง้ 25 ผักคะน้า 29 ผักบุง ้ 32 กะหล่าปลี 18 แตงกวา 41 จงหาฐานนิยมของการซื้อผักดังกล่าวนี้ หาฐานนิยม ของการซื้อผักในตลาดแห่งนี้ในช่วงเวลา 8.00 – 9.00 น. คือ แตงกวา เพราะ มีความถี่ในการซื้ อมากที่สุด คือ 41 คน กล่าวคือ คนส่ วนใหญ่ซ้ื อแตงกวาใน ช่วงเวลา 8.00 – 9.00 น
  • 36. 127 แบบฝึ กเสริมทักษะที่ 4.6 คาชี้แจง ให้นกเรี ยนเติมคาลงในช่องว่างแต่ละข้อต่อไปนี้ให้ถูกต้องสมบูรณ์ ั ข้อมูลที่มีความถี่ ข้อที่ ข้อมูลที่กาหนดให้ ฐานนิยม มากที่สุด Ex. 4, 6, 6, 7, 8, 7, 7,10 7 7 Ex. 2, 5, 5, 6, 7, 8, 8, 12 5, 8 5, 8 Ex. 3, 7, 11, 15, 19, 23 ไม่มี ไม่มี 1. 10, 12, 14, 16, 18, 20 2. 5, 10, 10, 20, 30, 10, 40 3. 62, 54, 70, 68, 54, 80 4. 150, 155, 145, 160, 152, 149, 170 5. 23, 27, 31, 20, 18, 31, 42, 23 6. 12, 13, 13, 13, 17, 18, 17, 20, 17 7. 80, 40, 60, 80, 100, 120 8. 23, 22, 22, 25, 26, 22, 27 9. 12 0 5 1 2 4 6 13 1 2 5 5 6 6 7 7 14 5 0 1 1 3 3 4 4 4 14 9 8 7 6 10. ชนิด มะม่วง มะขาม มะยม มะนาว ความถี่ 2 8 12 11 คะแนนเต็ม 10 คะแนน
  • 37. 128 แบบฝึ กเสริมทักษะชุดที่ 4.7 การวิเคราะห์ ข้อมูลเบืองต้ น ้ เรื่อง ข้ อสั งเกตและหลักเกณฑ์ ที่สาคัญ ในการใช้ ค่ากลางชนิดต่ างๆ จะใช้ค่ากลาง แบบใดดีนะ ถึงจะ เหมาะสม
  • 38. 129 เกร็ดความรู้ การจัดค่ากลางข้อมูล ควรเลือกใช้ให้เหมาะสมกับข้อมูลและวัตถุประสงค์ของ การใช้ ซึ่งควรจะศึกษาถึงข้อดีและข้อเสี ยของค่ากลางแต่ละชนิดประกอบด้วย ข้อ สั ง เกตและหลัก เกณฑ์ท่ี ส าคัญ ในการใช้ค่ า เฉลี่ ย เลขคณิ ต มัธ ยฐาน และ ฐานนิยม มีดงนี้ั 1. ค่าเฉลี่ยเลขคณิ ตเป็ นค่ากลางที่ได้จากกานาทุกๆ ค่าของข้อมูลมาเฉลี่ย มัธยฐาน เป็ นค่ า กลางที่ ใช้ ต าแหน่ ง ที่ ข องข้อมู ล และฐานนิ ยมเป็ นค่ า กลางที่ ได้จาก ข้อมูลที่มีความถี่มากที่สุด 2. ถ้าในจานวนทั้งหมดมีขอมูลบางค่ าที่ มีค่าสู งหรื อต่ ากว่าข้อมูลอื่ นๆ มากจะมี ้ ผลกระทบต่อค่าเฉลี่ยเลขคณิ ตแต่จะไม่มีผลกระทบต่อมัธยฐานหรื อฐานนิยม 3. มัธ ยฐานและฐานนิ ย มใช้ เ มื่ อ ต้อ งการทราบค่ า กลางของข้อ มู ล ทั้ง หมด โดยประมาณและรวดเร็ว 4. ค่ า เฉลี่ ย เลขคณิ ต ไม่ ส ามารถหาได้ใ นกรณี ก ารแจกแจงความถี่ ข องข้อ มู ล มี อันตรภาคชั้น ชั้นใดชั้นหนึ่งเป็ นอันตรภาคชันช่วงเปิ ด แต่สามารถหามัธยฐาน และฐานนิยมได้ 5. การแจกแจงความถี่ ที่ มี ค วามกว้า งแต่ ล ะอัน ตรภาคชั้น ไม่ เ ท่ า กัน จะท าให้ ค่าเฉลี่ยเลขคณิ ตหรื อฐานนิยมคลาดเคลื่อน แต่จะไม่กระทบต่อมัธยฐาน 6. ข้อมู ลประเภทคุ ณภาพจะหาฐานนิ ยมได้ แต่ ไม่ สามารถหาค่ าเฉลี่ ยเลขคณิ ต หรื อมัธยฐานได้ เรามาช่วยกันดู ข้อดีขอเสี ยของ ้ รถคันนี้ซิ
  • 39. 130 ตัวอย่ าง จากข้อมูล ชุดหนึ่ง 1, 12, 74, 23, 32 ควรใช้ค่ากลางอะไรจึงจะเหมาะสม เราสามารถ พิจารณาจากข้อมูลแล้วพบว่าความแตกต่างของข้อมูลมีมา จึงไม่เหมาะที่ จะใช้ค่าเฉลี่ยเลขคณิ ต และพบว่าไม่มีขอมูลซ้ ากันและมีขอมูลจานวนน้อยจึงไม่เหมาะ ้ ้ ใช้ฐานนิยม ดังนั้นค่ากลางที่เหมาะสมที่สุด คือ มัธยฐาน แบบฝึ กเสริมทักษะที่ 4.7-1 คาชี้ แจง ให้นกเรี ยนพิจารณาว่ามูลที่กาหนดให้เหมาะกับค่ากลางชนิดใด แล้วเติม ั คาตอบลงในช่องว่างแต่ละข้อต่อไปนี้ให้ถูกต้องสมบูรณ์ ข้อที่ ข้อมูลที่กาหนดให้ ค่ากลางที่เหมาะสม 1. 2,7,9,30,80 2. ข้อมูลเกี่ยวกับเบอร์รองเท้าของนักเรี ยน 3. ข้อมูลเกี่ยวกับสถิติของนักเรี ยนแยกตามเพศ 4. เงินของครู ในโรงเรี ยนมัธยมศึกษาแห่งหนึ่ง 5. คะแนนสอบวิชาคณิ ตศาสตร์ของนักเรี ยน ม.4/2 6. ความสู งของนักเรี ยนชั้น ม 5/2 7. สถานภาพของพนักงานบริ ษทแห่งหนึ่ง ั 8. อาชีพของผูปกครองนักเรี ยน ้ 9. ชื่อของมหาวิทยาลัย 10. ครู หญิงที่อายุเกิน 40 ปี คะแนนเต็ม 10 คะแนน
  • 40. 131 แบบฝึ กเสริมทักษะที่ 4.7-2 ให้นักเรี ยนบอกข้อดี และข้อเสี ยของค่ าเฉลี่ ยเลขคณิ ต มัธยฐาน และฐานนิ ยม มีดงนี้ ั ชนิดของค่ากลาง ข้อดี ข้อเสี ย ของข้อมูล ค่าเฉลี่ยเลขคณิ ต 1. หา ง่ า ยอา จจะ ใ ช้ เ ค รื่ อง 1. ใช้ ก ับ ข้อ มู ล เชิ ง ปริ มาณ (X ) คิดเลขช่วยในการคานวณได้ เท่านั้น 2. ………………………… 2. ………………………… ………………………… ………………………… 3. ………………………… 3. ………………………… ………………………… ………………………… มัธยฐาน 1. ………………………… 1. ………………………… (Mid) ………………………… ………………………… 2. ………………………… 2. ………………………… ………………………… ………………………… 3. ………………………… ………………………… ฐานนิยม 1. ………………………… 1. …………………………… (Mode) …………………………… ……………………………… 2. ………………………… 2.…………………………… ………………………….. ……………………………… 3…………………………… 3…………………………… …………………………… ……………………………… คะแนนเต็ม 10 คะแนน