SlideShare una empresa de Scribd logo
1 de 4
Descargar para leer sin conexión
ประเภทของมูลและการเก็บรวบรวมข้ อมูล

แบ่ งตามลักษณะของข้ อมูล
                       ถ้าแบ่งข้อมูลตามลักษณะของข้อมูลแล้ว จะแบ่งได้เป็ น 2 ประเภทคือ
                       1. ข้ อมูลเชิ งปริมาณ ( Quantitative Data ) เป็ นข้อมูลที่วดค่าได้วามีค่ามากรื อ
                                                                                  ั       ่
น้อย จึงแสกดงเป็ นตัวเลข เช่น รายได้ อายุ ความสู ง ยอดขายสิ นค้า จานวนสิ นค้า จานวนผูท่ี               ้
สิ ทธิ์ เลือกตั้ง ฯลฯ ซึ่ งแบ่งได้เป็ น 2 แบบ คือ
                          ก. ข้ อมูลแบบไม่ ต่อเนื่อง ( Discrete Data ) หมายถึง ข้อมูลที่มีค่าเป็ น
จานวนเต็มหรื อจานวนนับ เช่น จานวนคน จานวนสิ นค้า จานวนตึก เป็ นต้น ดังนั้นค่าของ
ข้อมูลแบบนี้ อาจเป็ น 0 , 1 , 2, . . .
                   ข. ข้ อมูลแบบต่ อเนื่อง             ( Continuous Data ) หมายถึง ข้อมูลที่มีค่าได้ทุก
ค่าในช่วงที่กาหนดที่มีความหมาย เช่น รายได้ น้ าหนักสิ นค้า ส่ วนสู งของคน ความยาวของโต๊ะ
ฯลฯ
                       2. ข้ อมูลเชิ งคุณภาพ ( Qualitative Data ) หมายถึง ข้อมูลที่ไม่สามารถ
ระบุค่าได้วามากหรื อน้อย มักจะเป็ นข้อความ เช่น ลักษณะของสิ นค้า คุณภาพของสิ นค้า เพศ สี
                 ่
ของขนม เช่น สี เขียว แดง ฟ้ า ฯลฯ
              แบ่ งตามแหล่ งทีมาของข้ อมูล
                                ่
                       ถ้าแบ่งข้อมูลตามแห่ลงที่มา จะแบ่งข้อมูลได้ 2 ชนิด คือ
                       1. ข้ อมูลปฐมภูมิ ( Primary Data ) เป็ นข้อมูลที่ผใช้ หรื อหน่วยงานที่ใช้
                                                                            ู้
เป็ นผูทาการเก็บรวบรวมเอง ซึ่ งอาจจะได้โดยการสัมภาษณ์ ทดลอง หรื อสังเกตการณ์ ข้อมูลปฐม
         ้
ภูมิจะเป็ นข้อมูลที่มีรายละเอียดตรงตามที่ผใช้ตองการ แต่จะเสี ยเวลาและค่าใช้จ่ายมาก และเป็ น
                                                    ู้ ้
ข้อมูลที่ยงไม่ได้ทาการวิเคราะห์
              ั
                2. ข้ อมูลทุติยภูมิ        ( Secondary Data ) เป็ นข้อมูลที่ผใช้ไม่ได้ทาการเก็บเอง
                                                                               ู้
แต่มีผอื่นหรื อหน่วยงานอื่น ๆ ทาการเก็บข้อมูล ผูใช้เป็ นเพียงผูนาข้อมูลมาใช้เท่านั้น จึงเป็ นการ
           ู้                                                ้          ้
ประหยัดเวลาและค่าใช้จ่าย ดังนั้น ข้อมูลทุติยภูมิจึงเป็ นข้อมูลที่ได้วเิ คราะห์ข้ นต้นมาแล้ว การนา
                                                                                    ั
ข้อมูลทุติยภูมิมาใช้บางครั้งจะไม่ตรงกับความต้องการ หรื ออาจไม่มีรายละเอียดเพียงพอ
นอกจากนั้นผูใช้มกจะไม่ทราบถึงข้อผิดพลาดของข้อมูล ซึ่ งมีผลทาให้การสรุ ปอาจจะผิดพลาดได้
                    ้ ั
ผูที่นาข้อมูลทุติยภูมิมาใช้ ควรจะต้องใช้ดวยความระมัดระวัง
   ้                                            ้
                       โดยทัวไปการสิ เคราะห์ขอมูลเพื่อใช้ช่วยในการตัดสิ นใจนั้น มักจะใช้ท้ งข้อมูล
                              ่                   ้                                              ั
ปฐมภูมิและข้อมูลทุติยภูมิ
ขั้นตอนการใช้ สถิติกบงานต่ าง ๆ
                                   ั
                    การที่จะนาหลักเกณฑ์ทางสถิติไปใช้ในการวิเคราะห์ขอมูลเพื่อสรุ ปผลให้ฝ่าย
                                                                         ้
บริ หารใช้ในการตัดสิ นใจ จะต้องมีข้ นตอนดังนี้
                                         ั
           1. การเก็บรวบรวมข้อมูล
           2. การวิเคราะห์ขอมูลและแปรผล
                                 ้
           3. การนาเสนอข้อมูล
         การเก็บรวบรวมข้ อมูล (Data collection )
              เป็ นการเก็บรวบรวมข้อมูลเพื่อนามาวิเคราะห์ ข้อมูลอาจจะประกอบด้วยข้อมูล
ปฐมภูมิและทุติยภูมิ และเป็ นข้อมูลเชิงคุณภาพและเชิงปริ มาณ ในกรณี ที่ตองการใช้ขอมูลปฐม
                                                                             ้        ้
ภูมิ หน่วยงานที่ใช้ตองเก็บรวบรวมข้อมูล ซึ่ งมีวธีการเก็บรวบรวมข้อมูล แบ่งออกเป็ น 2 วิธี
                        ้                            ิ
ดังนี้
               1. การเก็บรวบรวมข้ อมูลจากทะเบียนหรือการบันทึก
                  ในปั จจุบนนี้ องค์กรต่าง ๆ ทั้งรัฐและเอกชน จะมีการจดบันทึกเหตุการณ์ที่เกิดขึ้น
                           ั
 เช่น โรงพยาบาลจะมีการจดบันทึกข้อมูลผูป่วยที่เข้ามารับการรักษา โดยระบุเพศ อายุ ที่อยู่
                                                 ้
ชนิดของโรค กลุ่มเลือด เป็ นต้น โรงงานที่ผลิตสิ นค้าจะมีการจดจานวนสิ นค้าที่มีการผลิตได้ใน
แต่ละวัน ห้างสรรพสิ นค้าจดบันทึกยอดขายของสิ นค้าในแต่ละแผนกทุกวัน หรื อกรมศุลกากร
จะจดบันทึกรายการสิ นค้าส่ งออกทุกวัน ฯลฯ ดังนั้น ผูใช้จะต้องคัดลอกแล้วนามาจัดให้เป็ น
                                                           ้
หมวดหมู่ตามที่ตองการ วิธีน้ ีเป็ นทั้งวิธีที่ประหยัดทั้งเวลาและค่าใช้จ่าย ข้อมูลประเภทนี้จึง
                    ้
นับเป็ นข้อมูลที่มีประโยชน์มาก
         2. การเก็บรวบรวมข้ อมูลโดยการสารวจ
              เป็ นการเก็บรวบรวมข้อมูลจากหน่วยที่สนใจศึกษาโดยตรง เช่น สนใจความ
คิดเห็นของประชาชนที่มีต่อรัฐบาลชุดปั จจุบน หน่วยที่สนใจศึกษา คือ ประชาชนไทยทุกคน
                                                   ั
การสารวจในเรื่ องนี้ คือ การไปสอบถามความคิดเห็น สาหรับวิธีการเก็บรวบรวมข้อมูลโดยการ
สารวจทาได้หลายวิธี คือ สัมภาษณ์ โทรศัพท์ สังเกตการณ์ การวัดค่า เป็ นต้น ซึ่ งจะได้กล่าวถึง
รายละเอียดต่อไป
           การเก็บข้อมูลโดยการสารวจจะต้องมีกรอบตัวอย่าง (Sampling Frame)
โดยที่กรอบตัวอย่าง คือ รายชื่อของทุก ๆ หน่วยในประชากรที่สนใจศึกษา ซึ่ งรายชื่อดังกล่าวนี้
จะได้จากทะเบียนของหน่วยงานต่าง ๆ เช่น ถ้าอยากทราบจากที่ทาการเขตต่าง ๆ ในกทม. หรื อ
สนใจศึกษาเกี่ยวกับธุ รกิจผลิตผลไม้กระป๋ อง ซึ่ งจะหารายชื่อบริ ษทที่ผลิตผลไม้กระป๋ องได้จาก
                                                                   ั
กระทรวงพาณิ ชย์ เป็ นต้น ในกรณี ที่ไม่สามารถหารายชื่อได้ ผูทาการสารวจจะต้องเป็ นผูท่ีทา
                                                             ้                       ้
รายชื่อเหล่านี้ ซึ่ งจะเป็ นการเสี ยเวลาและค่าใช้จ่ายสู งมาก
                                                                 ่
         กรอบตัวอย่างที่ดีจะต้องประกอบด้วยรายชื่อพร้อมทั้งที่อยูของหน่วยที่ตองการศึกษา
                                                                             ้
ครบถ้วน ไม่ซ้ าซ้อนและทันสมัย
         การเก็บรวบรวมข้ อมูลโดยการสารวจ แบ่ งออกเป็ น 2 ประเภท คือ
         ก. การสามะโน ( Census ) หมายถึง การเก็บรวบรวมข้อมูลจากทุก ๆ หน่วยใน
ประชากรที่สนใจศึกษา เช่น สนใจหารายได้เฉลี่ยของคนเชียงใหม่ ประชากรจะหมายถึงคน
                                                                     ่
เชียงใหม่ทุกคน โดยจะต้องมีกรอบตัวอย่างซึ่ งเป็ นรายชื่อพร้อมที่อยูของคนเชียงใหม่ จึงต้องไป
สอบถามคนเชียงใหม่ทุกคนเกี่ยวกับรายได้ ซึ่ งจะทาให้เสี ยเวลาและค่าใช้จ่ายมากและอาจจะได้
ข้อมูลที่ลาสมัย เนื่องจากจะสอบถามคนเชียงใหม่ครบทุกคน ปรากฏว่ารายได้ของกลุ่มแรกที่
          ้
สอบถามอาจจะเปลี่ยนไป ดังนั้น จึงมักไม่นิยมใช้วธีน้ ี ยกเว้นเรื่ องที่สนใจศึกษาจะมีประชากร
                                                      ิ
ขนาดเล็กการสามะโนมีขอดี ข้อเสี ย ดังนี้
                            ้

                   ข้อดี                                           ข้อเสี ย
 1. ได้ขอมูลครบถ้วนจากทุกหน่วยในประชากร
        ้                                        1. เสี ยเวลาและค่าใช้จ่ายมาก
                                                 2. ได้ผลช้าไม่ทนต่อความต้องการ
                                                                 ั

         หน่วยงานของรัฐที่ทาสามะโน คือ สานักสถิติแห่งชาติ ซึ่ งทาสามะโนประชากรและ
เคหะซึ่งทาทุก ๆ 10 ปี
 ข. การสารวจด้วยตัวอย่าง (            Sample Survey ) หมายถึง การเก็บรวบรวมข้อมูลจากเพียง
บางส่ วนของประชากร จึงเป็ นการประหยัดเวลาและค่าใช้จ่าย การเลือกตัวอย่างจากประชากรทา
                      ่
ได้หลายวิธี แต่ไม่วาจะใช้วธีใด ก็มีหลักเกณฑ์เพื่อที่จะให้ได้ตวแทนที่ดีของประชากร คาว่า
                             ิ                               ั
ตัวแทนที่ดี หมายถึง ตัวอย่ างที่ถกเลือกมาควรจะประกอบไปด้ วยลักษณะต่ าง ๆ ของประชากร
                                 ู
ครบถ้ วน เช่น การหารายได้เฉลี่ยของประชากรขนาด 3 ล้านคน และถ้าประชากรมีความ
แตกต่างกันมาก คือ ประกอบด้วยคนที่รายได้สูง รายได้ปานกลาง และรายได้ต่า เลือกตัวอย่าง
มา 5,000 คน ผูที่ตกเป็ นตัวอย่างก็ควรประกอบด้วยคนที่มีรายได้สูง ปานกลาง และต่าใน
                 ้
สัดส่ วนเดียวกัน
 ในกรณี ที่ประชากรมีลกษณะที่สนใจคล้ายคลึงกัน เช่นรายได้แตกต่างกันมากนัก ขนาด
                        ั
ของตัวอย่างไม่จาเป็ นต้องมาก แต่ถาประชากรมีลกษณะที่สนใจศึกษาแตกต่างกัน ควรใช้ขนาด
                                   ้           ั
ตัวอย่างใหญ่ เพื่อให้ครบทุกลักษณะของประชากร เมื่อเก็บข้อมูลตัวอย่างแล้ว จะสามารถ
ประมาณค่าของลักษณะประชากรได้ เช่น ประมาณรายได้เฉลี่ยของคนเชียงใหม่ดวยรายเฉลี่ย  ้
ตัวอย่างคนเชียงใหม่
อย่างไรก็ตาม ข้อมูลที่ได้เป็ นข้อมูลคัวอย่างเท่านั้น จึงจะต้องอ้างอิงถึงประชากรโดยใช้
วิธีการทางสถิติ
การสารวจด้วยตัวอย่าง มีขอดี ข้อเสี ย ดังนี้
                          ้

                  ข้อดี                                           ข้อเสี ย
 1. ประหยัดเวลาและค่าใช้จ่าย                  1. เกิดความคลาดเคลื่อนในการสุ่ มตัวอย่าง
 2. ได้ผลการสารวจเร็ ว                        2. ถ้าขนาดตัวอย่างน้อยเกินไปจะทาให้
 3. ข้อมูลจะมีคุณภาพ เนื่องจากปริ มาณงาน         ตัวอย่างไม่เป็ นตัวแทนที่ดีของประชากร
    น้อย จึงสามารถคุมงานได้ทวถึง
                              ั่

Más contenido relacionado

La actualidad más candente

มอค.3คณิตและสถิติในชีวิตประจำวัน ญาติกา
มอค.3คณิตและสถิติในชีวิตประจำวัน ญาติกามอค.3คณิตและสถิติในชีวิตประจำวัน ญาติกา
มอค.3คณิตและสถิติในชีวิตประจำวัน ญาติกาไชยยา มะณี
 
ใบความรู้ เรื่องสถิติ
ใบความรู้ เรื่องสถิติใบความรู้ เรื่องสถิติ
ใบความรู้ เรื่องสถิติพัน พัน
 
เอกสารค่ากลางของข้อมูล
เอกสารค่ากลางของข้อมูลเอกสารค่ากลางของข้อมูล
เอกสารค่ากลางของข้อมูลkrurutsamee
 
ค่ากลางปี
ค่ากลางปีค่ากลางปี
ค่ากลางปีanutree pankulab
 
สถิติเบื้องต้นกลุ่ม 2 สำรอง
สถิติเบื้องต้นกลุ่ม 2 สำรองสถิติเบื้องต้นกลุ่ม 2 สำรอง
สถิติเบื้องต้นกลุ่ม 2 สำรองดา ดาลี่
 
สถิติ ม.6 เรื่องการวิเคราะห์ข้อมูลเบื้องต้น
สถิติ ม.6 เรื่องการวิเคราะห์ข้อมูลเบื้องต้นสถิติ ม.6 เรื่องการวิเคราะห์ข้อมูลเบื้องต้น
สถิติ ม.6 เรื่องการวิเคราะห์ข้อมูลเบื้องต้นParn Parai
 
บทที่ 1 5
บทที่ 1 5บทที่ 1 5
บทที่ 1 5Tonkaow Jb
 
วิชาโปรแกรมสำเร็จรูปทางสถิติเพื่อการวิจัย
วิชาโปรแกรมสำเร็จรูปทางสถิติเพื่อการวิจัยวิชาโปรแกรมสำเร็จรูปทางสถิติเพื่อการวิจัย
วิชาโปรแกรมสำเร็จรูปทางสถิติเพื่อการวิจัยChamada Rinzine
 
การวิเคราะห์ข้อมูลเบื้องต้นคืออะไร
การวิเคราะห์ข้อมูลเบื้องต้นคืออะไรการวิเคราะห์ข้อมูลเบื้องต้นคืออะไร
การวิเคราะห์ข้อมูลเบื้องต้นคืออะไรAomJi Math-ed
 
สถิติและคอมพิวเตอร์ Testing hypothesis
สถิติและคอมพิวเตอร์ Testing hypothesisสถิติและคอมพิวเตอร์ Testing hypothesis
สถิติและคอมพิวเตอร์ Testing hypothesiswilailukseree
 
สถิติและคอมพิวเตอร์ 1
สถิติและคอมพิวเตอร์ 1สถิติและคอมพิวเตอร์ 1
สถิติและคอมพิวเตอร์ 1wilailukseree
 
สถิติและข้อมูล
สถิติและข้อมูลสถิติและข้อมูล
สถิติและข้อมูลpeesartwit
 

La actualidad más candente (20)

บทเรียน1 สถิติ
บทเรียน1  สถิติบทเรียน1  สถิติ
บทเรียน1 สถิติ
 
มอค.3คณิตและสถิติในชีวิตประจำวัน ญาติกา
มอค.3คณิตและสถิติในชีวิตประจำวัน ญาติกามอค.3คณิตและสถิติในชีวิตประจำวัน ญาติกา
มอค.3คณิตและสถิติในชีวิตประจำวัน ญาติกา
 
ใบความรู้ เรื่องสถิติ
ใบความรู้ เรื่องสถิติใบความรู้ เรื่องสถิติ
ใบความรู้ เรื่องสถิติ
 
เอกสารค่ากลางของข้อมูล
เอกสารค่ากลางของข้อมูลเอกสารค่ากลางของข้อมูล
เอกสารค่ากลางของข้อมูล
 
ค่ากลางปี
ค่ากลางปีค่ากลางปี
ค่ากลางปี
 
สถิติเบื้องต้นกลุ่ม 2 สำรอง
สถิติเบื้องต้นกลุ่ม 2 สำรองสถิติเบื้องต้นกลุ่ม 2 สำรอง
สถิติเบื้องต้นกลุ่ม 2 สำรอง
 
test
testtest
test
 
sta
stasta
sta
 
วิจัย1
วิจัย1วิจัย1
วิจัย1
 
สถิติ ม.6 เรื่องการวิเคราะห์ข้อมูลเบื้องต้น
สถิติ ม.6 เรื่องการวิเคราะห์ข้อมูลเบื้องต้นสถิติ ม.6 เรื่องการวิเคราะห์ข้อมูลเบื้องต้น
สถิติ ม.6 เรื่องการวิเคราะห์ข้อมูลเบื้องต้น
 
บทที่ 1 5
บทที่ 1 5บทที่ 1 5
บทที่ 1 5
 
วิชาโปรแกรมสำเร็จรูปทางสถิติเพื่อการวิจัย
วิชาโปรแกรมสำเร็จรูปทางสถิติเพื่อการวิจัยวิชาโปรแกรมสำเร็จรูปทางสถิติเพื่อการวิจัย
วิชาโปรแกรมสำเร็จรูปทางสถิติเพื่อการวิจัย
 
การวิเคราะห์ข้อมูลเบื้องต้นคืออะไร
การวิเคราะห์ข้อมูลเบื้องต้นคืออะไรการวิเคราะห์ข้อมูลเบื้องต้นคืออะไร
การวิเคราะห์ข้อมูลเบื้องต้นคืออะไร
 
สถิติและคอมพิวเตอร์ Testing hypothesis
สถิติและคอมพิวเตอร์ Testing hypothesisสถิติและคอมพิวเตอร์ Testing hypothesis
สถิติและคอมพิวเตอร์ Testing hypothesis
 
75 สถิติและการวิเคราะห์ข้อมูล ตอนที่2_แนวโน้มเข้าสู่ส่วนกลาง1
75 สถิติและการวิเคราะห์ข้อมูล ตอนที่2_แนวโน้มเข้าสู่ส่วนกลาง175 สถิติและการวิเคราะห์ข้อมูล ตอนที่2_แนวโน้มเข้าสู่ส่วนกลาง1
75 สถิติและการวิเคราะห์ข้อมูล ตอนที่2_แนวโน้มเข้าสู่ส่วนกลาง1
 
82 สถิติและการวิเคราะห์ข้อมูล ตอนที่9_การกระจายสัมพัทธ์
82 สถิติและการวิเคราะห์ข้อมูล ตอนที่9_การกระจายสัมพัทธ์82 สถิติและการวิเคราะห์ข้อมูล ตอนที่9_การกระจายสัมพัทธ์
82 สถิติและการวิเคราะห์ข้อมูล ตอนที่9_การกระจายสัมพัทธ์
 
สถิติ เบื้องต้น ตอนที่1
สถิติ เบื้องต้น ตอนที่1สถิติ เบื้องต้น ตอนที่1
สถิติ เบื้องต้น ตอนที่1
 
06
0606
06
 
สถิติและคอมพิวเตอร์ 1
สถิติและคอมพิวเตอร์ 1สถิติและคอมพิวเตอร์ 1
สถิติและคอมพิวเตอร์ 1
 
สถิติและข้อมูล
สถิติและข้อมูลสถิติและข้อมูล
สถิติและข้อมูล
 

Similar a Data

บทที่ 1 ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับสารสนเทศ
บทที่ 1 ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับสารสนเทศบทที่ 1 ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับสารสนเทศ
บทที่ 1 ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับสารสนเทศchushi1991
 
สถิติเบื้องต้นกลุ่ม 2 สำรอง
สถิติเบื้องต้นกลุ่ม 2 สำรองสถิติเบื้องต้นกลุ่ม 2 สำรอง
สถิติเบื้องต้นกลุ่ม 2 สำรองดา ดาลี่
 
สาระน่ารู้เทคโนโลยีสารสนเทศ
สาระน่ารู้เทคโนโลยีสารสนเทศสาระน่ารู้เทคโนโลยีสารสนเทศ
สาระน่ารู้เทคโนโลยีสารสนเทศKaii Eiei
 
ใบความรู้ที่ 5 เรื่อง ข้อมูล สารสนเทศ และการประมวลผล
ใบความรู้ที่  5 เรื่อง ข้อมูล สารสนเทศ และการประมวลผลใบความรู้ที่  5 เรื่อง ข้อมูล สารสนเทศ และการประมวลผล
ใบความรู้ที่ 5 เรื่อง ข้อมูล สารสนเทศ และการประมวลผลเทวัญ ภูพานทอง
 
นพรัตน์ เสตะกลัพม์
นพรัตน์ เสตะกลัพม์นพรัตน์ เสตะกลัพม์
นพรัตน์ เสตะกลัพม์filjerpark
 
บทที่ 1
บทที่ 1บทที่ 1
บทที่ 1Janova Kknd
 
ข้อมูลสานสนเทศ
ข้อมูลสานสนเทศข้อมูลสานสนเทศ
ข้อมูลสานสนเทศnattapas33130
 
ใบความรู้เรื่อง ข้อมูลและสารสนเทศ
ใบความรู้เรื่อง ข้อมูลและสารสนเทศใบความรู้เรื่อง ข้อมูลและสารสนเทศ
ใบความรู้เรื่อง ข้อมูลและสารสนเทศPraphaphun Kaewmuan
 
Myun dao22
Myun dao22Myun dao22
Myun dao22MyunDao
 
Myun dao22
Myun dao22Myun dao22
Myun dao22MyunDao
 
ธันยพร นกศิริ ม409 เลขที่2
ธันยพร นกศิริ ม409 เลขที่2ธันยพร นกศิริ ม409 เลขที่2
ธันยพร นกศิริ ม409 เลขที่2Hitsuji12
 
ข้อมูลและสารสนเทศ
ข้อมูลและสารสนเทศข้อมูลและสารสนเทศ
ข้อมูลและสารสนเทศKewalin Kaewwijit
 
ข้อมูลและสารสนเทศ
ข้อมูลและสารสนเทศข้อมูลและสารสนเทศ
ข้อมูลและสารสนเทศkachornchit_maprang
 
ข้อมูลและสารสนเทศ
ข้อมูลและสารสนเทศข้อมูลและสารสนเทศ
ข้อมูลและสารสนเทศkachornchit_maprang
 
ข้อมูลและสารสนเทศ
ข้อมูลและสารสนเทศข้อมูลและสารสนเทศ
ข้อมูลและสารสนเทศkachornchit_maprang
 

Similar a Data (20)

บทที่ 1 ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับสารสนเทศ
บทที่ 1 ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับสารสนเทศบทที่ 1 ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับสารสนเทศ
บทที่ 1 ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับสารสนเทศ
 
สถิติเบื้องต้นกลุ่ม 2 สำรอง
สถิติเบื้องต้นกลุ่ม 2 สำรองสถิติเบื้องต้นกลุ่ม 2 สำรอง
สถิติเบื้องต้นกลุ่ม 2 สำรอง
 
สาระน่ารู้เทคโนโลยีสารสนเทศ
สาระน่ารู้เทคโนโลยีสารสนเทศสาระน่ารู้เทคโนโลยีสารสนเทศ
สาระน่ารู้เทคโนโลยีสารสนเทศ
 
ใบความรู้ที่ 5 เรื่อง ข้อมูล สารสนเทศ และการประมวลผล
ใบความรู้ที่  5 เรื่อง ข้อมูล สารสนเทศ และการประมวลผลใบความรู้ที่  5 เรื่อง ข้อมูล สารสนเทศ และการประมวลผล
ใบความรู้ที่ 5 เรื่อง ข้อมูล สารสนเทศ และการประมวลผล
 
นพรัตน์ เสตะกลัพม์
นพรัตน์ เสตะกลัพม์นพรัตน์ เสตะกลัพม์
นพรัตน์ เสตะกลัพม์
 
บทที่ 1
บทที่ 1บทที่ 1
บทที่ 1
 
ข้อมูลสานสนเทศ
ข้อมูลสานสนเทศข้อมูลสานสนเทศ
ข้อมูลสานสนเทศ
 
ใบความรู้เรื่อง ข้อมูลและสารสนเทศ
ใบความรู้เรื่อง ข้อมูลและสารสนเทศใบความรู้เรื่อง ข้อมูลและสารสนเทศ
ใบความรู้เรื่อง ข้อมูลและสารสนเทศ
 
Myun dao22
Myun dao22Myun dao22
Myun dao22
 
Myun dao22
Myun dao22Myun dao22
Myun dao22
 
ข้อมูลและสารสนเทศ
ข้อมูลและสารสนเทศข้อมูลและสารสนเทศ
ข้อมูลและสารสนเทศ
 
ธันยพร นกศิริ ม409 เลขที่2
ธันยพร นกศิริ ม409 เลขที่2ธันยพร นกศิริ ม409 เลขที่2
ธันยพร นกศิริ ม409 เลขที่2
 
แนวการสอบ ม.4
แนวการสอบ ม.4แนวการสอบ ม.4
แนวการสอบ ม.4
 
บทที่ 2
บทที่ 2บทที่ 2
บทที่ 2
 
Dataandit
DataanditDataandit
Dataandit
 
ข้อมูลและสารสนเทศ
ข้อมูลและสารสนเทศข้อมูลและสารสนเทศ
ข้อมูลและสารสนเทศ
 
งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1
 
ข้อมูลและสารสนเทศ
ข้อมูลและสารสนเทศข้อมูลและสารสนเทศ
ข้อมูลและสารสนเทศ
 
ข้อมูลและสารสนเทศ
ข้อมูลและสารสนเทศข้อมูลและสารสนเทศ
ข้อมูลและสารสนเทศ
 
ข้อมูลและสารสนเทศ
ข้อมูลและสารสนเทศข้อมูลและสารสนเทศ
ข้อมูลและสารสนเทศ
 

Más de Aon Narinchoti

บทคัดย่อ
บทคัดย่อบทคัดย่อ
บทคัดย่อAon Narinchoti
 
รายละเอียดชุมนุมคณิตศาสตร์ออนไลน์
รายละเอียดชุมนุมคณิตศาสตร์ออนไลน์รายละเอียดชุมนุมคณิตศาสตร์ออนไลน์
รายละเอียดชุมนุมคณิตศาสตร์ออนไลน์Aon Narinchoti
 
ส่งตีพิมพ์ มสธ
ส่งตีพิมพ์ มสธส่งตีพิมพ์ มสธ
ส่งตีพิมพ์ มสธAon Narinchoti
 
Lxt6 sonvyqi20150807080936
Lxt6 sonvyqi20150807080936Lxt6 sonvyqi20150807080936
Lxt6 sonvyqi20150807080936Aon Narinchoti
 
ตารางฟังก์ชันตรีโกณมิติ
ตารางฟังก์ชันตรีโกณมิติตารางฟังก์ชันตรีโกณมิติ
ตารางฟังก์ชันตรีโกณมิติAon Narinchoti
 
การใช้หลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
การใช้หลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงการใช้หลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
การใช้หลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงAon Narinchoti
 
คำอธิบายรายวิชา
คำอธิบายรายวิชาคำอธิบายรายวิชา
คำอธิบายรายวิชาAon Narinchoti
 
อัตราส่วนคะแนน
อัตราส่วนคะแนนอัตราส่วนคะแนน
อัตราส่วนคะแนนAon Narinchoti
 

Más de Aon Narinchoti (20)

บทคัดย่อ
บทคัดย่อบทคัดย่อ
บทคัดย่อ
 
Prob
ProbProb
Prob
 
Event
EventEvent
Event
 
Sample space
Sample spaceSample space
Sample space
 
Random experiment
Random experimentRandom experiment
Random experiment
 
His brob
His brobHis brob
His brob
 
รายละเอียดชุมนุมคณิตศาสตร์ออนไลน์
รายละเอียดชุมนุมคณิตศาสตร์ออนไลน์รายละเอียดชุมนุมคณิตศาสตร์ออนไลน์
รายละเอียดชุมนุมคณิตศาสตร์ออนไลน์
 
Wordpress
WordpressWordpress
Wordpress
 
ส่งตีพิมพ์ มสธ
ส่งตีพิมพ์ มสธส่งตีพิมพ์ มสธ
ส่งตีพิมพ์ มสธ
 
Lxt6 sonvyqi20150807080936
Lxt6 sonvyqi20150807080936Lxt6 sonvyqi20150807080936
Lxt6 sonvyqi20150807080936
 
Know5
Know5Know5
Know5
 
ตารางฟังก์ชันตรีโกณมิติ
ตารางฟังก์ชันตรีโกณมิติตารางฟังก์ชันตรีโกณมิติ
ตารางฟังก์ชันตรีโกณมิติ
 
Know4
Know4Know4
Know4
 
Know3
Know3Know3
Know3
 
Know2
Know2Know2
Know2
 
Know1
Know1Know1
Know1
 
การใช้หลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
การใช้หลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงการใช้หลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
การใช้หลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
 
Climometer
ClimometerClimometer
Climometer
 
คำอธิบายรายวิชา
คำอธิบายรายวิชาคำอธิบายรายวิชา
คำอธิบายรายวิชา
 
อัตราส่วนคะแนน
อัตราส่วนคะแนนอัตราส่วนคะแนน
อัตราส่วนคะแนน
 

Data

  • 1. ประเภทของมูลและการเก็บรวบรวมข้ อมูล แบ่ งตามลักษณะของข้ อมูล ถ้าแบ่งข้อมูลตามลักษณะของข้อมูลแล้ว จะแบ่งได้เป็ น 2 ประเภทคือ 1. ข้ อมูลเชิ งปริมาณ ( Quantitative Data ) เป็ นข้อมูลที่วดค่าได้วามีค่ามากรื อ ั ่ น้อย จึงแสกดงเป็ นตัวเลข เช่น รายได้ อายุ ความสู ง ยอดขายสิ นค้า จานวนสิ นค้า จานวนผูท่ี ้ สิ ทธิ์ เลือกตั้ง ฯลฯ ซึ่ งแบ่งได้เป็ น 2 แบบ คือ ก. ข้ อมูลแบบไม่ ต่อเนื่อง ( Discrete Data ) หมายถึง ข้อมูลที่มีค่าเป็ น จานวนเต็มหรื อจานวนนับ เช่น จานวนคน จานวนสิ นค้า จานวนตึก เป็ นต้น ดังนั้นค่าของ ข้อมูลแบบนี้ อาจเป็ น 0 , 1 , 2, . . . ข. ข้ อมูลแบบต่ อเนื่อง ( Continuous Data ) หมายถึง ข้อมูลที่มีค่าได้ทุก ค่าในช่วงที่กาหนดที่มีความหมาย เช่น รายได้ น้ าหนักสิ นค้า ส่ วนสู งของคน ความยาวของโต๊ะ ฯลฯ 2. ข้ อมูลเชิ งคุณภาพ ( Qualitative Data ) หมายถึง ข้อมูลที่ไม่สามารถ ระบุค่าได้วามากหรื อน้อย มักจะเป็ นข้อความ เช่น ลักษณะของสิ นค้า คุณภาพของสิ นค้า เพศ สี ่ ของขนม เช่น สี เขียว แดง ฟ้ า ฯลฯ แบ่ งตามแหล่ งทีมาของข้ อมูล ่ ถ้าแบ่งข้อมูลตามแห่ลงที่มา จะแบ่งข้อมูลได้ 2 ชนิด คือ 1. ข้ อมูลปฐมภูมิ ( Primary Data ) เป็ นข้อมูลที่ผใช้ หรื อหน่วยงานที่ใช้ ู้ เป็ นผูทาการเก็บรวบรวมเอง ซึ่ งอาจจะได้โดยการสัมภาษณ์ ทดลอง หรื อสังเกตการณ์ ข้อมูลปฐม ้ ภูมิจะเป็ นข้อมูลที่มีรายละเอียดตรงตามที่ผใช้ตองการ แต่จะเสี ยเวลาและค่าใช้จ่ายมาก และเป็ น ู้ ้ ข้อมูลที่ยงไม่ได้ทาการวิเคราะห์ ั 2. ข้ อมูลทุติยภูมิ ( Secondary Data ) เป็ นข้อมูลที่ผใช้ไม่ได้ทาการเก็บเอง ู้ แต่มีผอื่นหรื อหน่วยงานอื่น ๆ ทาการเก็บข้อมูล ผูใช้เป็ นเพียงผูนาข้อมูลมาใช้เท่านั้น จึงเป็ นการ ู้ ้ ้ ประหยัดเวลาและค่าใช้จ่าย ดังนั้น ข้อมูลทุติยภูมิจึงเป็ นข้อมูลที่ได้วเิ คราะห์ข้ นต้นมาแล้ว การนา ั ข้อมูลทุติยภูมิมาใช้บางครั้งจะไม่ตรงกับความต้องการ หรื ออาจไม่มีรายละเอียดเพียงพอ นอกจากนั้นผูใช้มกจะไม่ทราบถึงข้อผิดพลาดของข้อมูล ซึ่ งมีผลทาให้การสรุ ปอาจจะผิดพลาดได้ ้ ั ผูที่นาข้อมูลทุติยภูมิมาใช้ ควรจะต้องใช้ดวยความระมัดระวัง ้ ้ โดยทัวไปการสิ เคราะห์ขอมูลเพื่อใช้ช่วยในการตัดสิ นใจนั้น มักจะใช้ท้ งข้อมูล ่ ้ ั ปฐมภูมิและข้อมูลทุติยภูมิ
  • 2. ขั้นตอนการใช้ สถิติกบงานต่ าง ๆ ั การที่จะนาหลักเกณฑ์ทางสถิติไปใช้ในการวิเคราะห์ขอมูลเพื่อสรุ ปผลให้ฝ่าย ้ บริ หารใช้ในการตัดสิ นใจ จะต้องมีข้ นตอนดังนี้ ั 1. การเก็บรวบรวมข้อมูล 2. การวิเคราะห์ขอมูลและแปรผล ้ 3. การนาเสนอข้อมูล การเก็บรวบรวมข้ อมูล (Data collection ) เป็ นการเก็บรวบรวมข้อมูลเพื่อนามาวิเคราะห์ ข้อมูลอาจจะประกอบด้วยข้อมูล ปฐมภูมิและทุติยภูมิ และเป็ นข้อมูลเชิงคุณภาพและเชิงปริ มาณ ในกรณี ที่ตองการใช้ขอมูลปฐม ้ ้ ภูมิ หน่วยงานที่ใช้ตองเก็บรวบรวมข้อมูล ซึ่ งมีวธีการเก็บรวบรวมข้อมูล แบ่งออกเป็ น 2 วิธี ้ ิ ดังนี้ 1. การเก็บรวบรวมข้ อมูลจากทะเบียนหรือการบันทึก ในปั จจุบนนี้ องค์กรต่าง ๆ ทั้งรัฐและเอกชน จะมีการจดบันทึกเหตุการณ์ที่เกิดขึ้น ั เช่น โรงพยาบาลจะมีการจดบันทึกข้อมูลผูป่วยที่เข้ามารับการรักษา โดยระบุเพศ อายุ ที่อยู่ ้ ชนิดของโรค กลุ่มเลือด เป็ นต้น โรงงานที่ผลิตสิ นค้าจะมีการจดจานวนสิ นค้าที่มีการผลิตได้ใน แต่ละวัน ห้างสรรพสิ นค้าจดบันทึกยอดขายของสิ นค้าในแต่ละแผนกทุกวัน หรื อกรมศุลกากร จะจดบันทึกรายการสิ นค้าส่ งออกทุกวัน ฯลฯ ดังนั้น ผูใช้จะต้องคัดลอกแล้วนามาจัดให้เป็ น ้ หมวดหมู่ตามที่ตองการ วิธีน้ ีเป็ นทั้งวิธีที่ประหยัดทั้งเวลาและค่าใช้จ่าย ข้อมูลประเภทนี้จึง ้ นับเป็ นข้อมูลที่มีประโยชน์มาก 2. การเก็บรวบรวมข้ อมูลโดยการสารวจ เป็ นการเก็บรวบรวมข้อมูลจากหน่วยที่สนใจศึกษาโดยตรง เช่น สนใจความ คิดเห็นของประชาชนที่มีต่อรัฐบาลชุดปั จจุบน หน่วยที่สนใจศึกษา คือ ประชาชนไทยทุกคน ั การสารวจในเรื่ องนี้ คือ การไปสอบถามความคิดเห็น สาหรับวิธีการเก็บรวบรวมข้อมูลโดยการ สารวจทาได้หลายวิธี คือ สัมภาษณ์ โทรศัพท์ สังเกตการณ์ การวัดค่า เป็ นต้น ซึ่ งจะได้กล่าวถึง รายละเอียดต่อไป การเก็บข้อมูลโดยการสารวจจะต้องมีกรอบตัวอย่าง (Sampling Frame) โดยที่กรอบตัวอย่าง คือ รายชื่อของทุก ๆ หน่วยในประชากรที่สนใจศึกษา ซึ่ งรายชื่อดังกล่าวนี้ จะได้จากทะเบียนของหน่วยงานต่าง ๆ เช่น ถ้าอยากทราบจากที่ทาการเขตต่าง ๆ ในกทม. หรื อ สนใจศึกษาเกี่ยวกับธุ รกิจผลิตผลไม้กระป๋ อง ซึ่ งจะหารายชื่อบริ ษทที่ผลิตผลไม้กระป๋ องได้จาก ั
  • 3. กระทรวงพาณิ ชย์ เป็ นต้น ในกรณี ที่ไม่สามารถหารายชื่อได้ ผูทาการสารวจจะต้องเป็ นผูท่ีทา ้ ้ รายชื่อเหล่านี้ ซึ่ งจะเป็ นการเสี ยเวลาและค่าใช้จ่ายสู งมาก ่ กรอบตัวอย่างที่ดีจะต้องประกอบด้วยรายชื่อพร้อมทั้งที่อยูของหน่วยที่ตองการศึกษา ้ ครบถ้วน ไม่ซ้ าซ้อนและทันสมัย การเก็บรวบรวมข้ อมูลโดยการสารวจ แบ่ งออกเป็ น 2 ประเภท คือ ก. การสามะโน ( Census ) หมายถึง การเก็บรวบรวมข้อมูลจากทุก ๆ หน่วยใน ประชากรที่สนใจศึกษา เช่น สนใจหารายได้เฉลี่ยของคนเชียงใหม่ ประชากรจะหมายถึงคน ่ เชียงใหม่ทุกคน โดยจะต้องมีกรอบตัวอย่างซึ่ งเป็ นรายชื่อพร้อมที่อยูของคนเชียงใหม่ จึงต้องไป สอบถามคนเชียงใหม่ทุกคนเกี่ยวกับรายได้ ซึ่ งจะทาให้เสี ยเวลาและค่าใช้จ่ายมากและอาจจะได้ ข้อมูลที่ลาสมัย เนื่องจากจะสอบถามคนเชียงใหม่ครบทุกคน ปรากฏว่ารายได้ของกลุ่มแรกที่ ้ สอบถามอาจจะเปลี่ยนไป ดังนั้น จึงมักไม่นิยมใช้วธีน้ ี ยกเว้นเรื่ องที่สนใจศึกษาจะมีประชากร ิ ขนาดเล็กการสามะโนมีขอดี ข้อเสี ย ดังนี้ ้ ข้อดี ข้อเสี ย 1. ได้ขอมูลครบถ้วนจากทุกหน่วยในประชากร ้ 1. เสี ยเวลาและค่าใช้จ่ายมาก 2. ได้ผลช้าไม่ทนต่อความต้องการ ั หน่วยงานของรัฐที่ทาสามะโน คือ สานักสถิติแห่งชาติ ซึ่ งทาสามะโนประชากรและ เคหะซึ่งทาทุก ๆ 10 ปี ข. การสารวจด้วยตัวอย่าง ( Sample Survey ) หมายถึง การเก็บรวบรวมข้อมูลจากเพียง บางส่ วนของประชากร จึงเป็ นการประหยัดเวลาและค่าใช้จ่าย การเลือกตัวอย่างจากประชากรทา ่ ได้หลายวิธี แต่ไม่วาจะใช้วธีใด ก็มีหลักเกณฑ์เพื่อที่จะให้ได้ตวแทนที่ดีของประชากร คาว่า ิ ั ตัวแทนที่ดี หมายถึง ตัวอย่ างที่ถกเลือกมาควรจะประกอบไปด้ วยลักษณะต่ าง ๆ ของประชากร ู ครบถ้ วน เช่น การหารายได้เฉลี่ยของประชากรขนาด 3 ล้านคน และถ้าประชากรมีความ แตกต่างกันมาก คือ ประกอบด้วยคนที่รายได้สูง รายได้ปานกลาง และรายได้ต่า เลือกตัวอย่าง มา 5,000 คน ผูที่ตกเป็ นตัวอย่างก็ควรประกอบด้วยคนที่มีรายได้สูง ปานกลาง และต่าใน ้ สัดส่ วนเดียวกัน ในกรณี ที่ประชากรมีลกษณะที่สนใจคล้ายคลึงกัน เช่นรายได้แตกต่างกันมากนัก ขนาด ั ของตัวอย่างไม่จาเป็ นต้องมาก แต่ถาประชากรมีลกษณะที่สนใจศึกษาแตกต่างกัน ควรใช้ขนาด ้ ั ตัวอย่างใหญ่ เพื่อให้ครบทุกลักษณะของประชากร เมื่อเก็บข้อมูลตัวอย่างแล้ว จะสามารถ
  • 4. ประมาณค่าของลักษณะประชากรได้ เช่น ประมาณรายได้เฉลี่ยของคนเชียงใหม่ดวยรายเฉลี่ย ้ ตัวอย่างคนเชียงใหม่ อย่างไรก็ตาม ข้อมูลที่ได้เป็ นข้อมูลคัวอย่างเท่านั้น จึงจะต้องอ้างอิงถึงประชากรโดยใช้ วิธีการทางสถิติ การสารวจด้วยตัวอย่าง มีขอดี ข้อเสี ย ดังนี้ ้ ข้อดี ข้อเสี ย 1. ประหยัดเวลาและค่าใช้จ่าย 1. เกิดความคลาดเคลื่อนในการสุ่ มตัวอย่าง 2. ได้ผลการสารวจเร็ ว 2. ถ้าขนาดตัวอย่างน้อยเกินไปจะทาให้ 3. ข้อมูลจะมีคุณภาพ เนื่องจากปริ มาณงาน ตัวอย่างไม่เป็ นตัวแทนที่ดีของประชากร น้อย จึงสามารถคุมงานได้ทวถึง ั่