SlideShare una empresa de Scribd logo
1 de 29
“สารคดีเป็นงานเขียนที่มแบบแผน เช่นเดียวกับการเขียน
                          ี
ข่าวและบทความ แต่สารคดีมีความยืดหยุ่นและเปิดโอกาส
ให้ผู้เขียนได้ใช้ความคิดสร้างสรรค์ที่จะสรรหาวิธีการ
นําเสนอและวิธีเล่าเรื่องได้มากกว่า”

                             ธัญญา สังขพันธานนท์ (2553)
• ความหมายตามทัศนของนักวรรณกรรม
• ความหมายตามทัศนของนักสื่อสารมวลชน
• ความหมายตามแนวทัศนะใหม่
สารคดี: ความหมายตามทัศนของนักวรรณกรรม

สารคดี คือ วรรณกรรมร้อยแก้วที่มุ่งให้ผู้อ่านได้สาระข้อเท็จจริง ความรู้
และความคิดเห็นเป็นสําคัญ ขณะเดียวกันก็มุ่งให้ผู้อ่านได้รับความ
เพลิดเพลินจากศิลปะการเขียนของผู้แต่งไปพร้อมกันด้วย (สายทิพย์ นุกูล
กิจ, 2543)
สารคดี: ความหมายตามทัศนของนักวรรณกรรม

คุณลักษณะสําคัญ
1. เกี่ยวกับเรื่องจริง หรือเรื่องไม่สมมุติ (non-fiction)
2. มุ่งให้สาระความรู้แก่ผู้อ่านเป็นหลัก ความเพลิดเพลินเป็นรอง
3. นําเสนออย่างมีศิลปะ
สารคดี: ความหมายตามทัศนของนักวรรณกรรม

ประเภท
1. บทความในหนังสือพิมพ์
2. วิชาการ ตําราสาขาต่างๆ
3. ท่องเทียว การไปต่างแดน ให้ความรูและข้อคิดเกี่ยวกับถิ่นฐานเหล่านั้น
          ่                            ้
4. ชีวประวัติ ทั้งชีวประวัติ และอัตชีวประวัติ
5. ความทรงจํา จดหมายเหตุ บันทึก
6. อนุทนิ
สารคดี: ความหมายตามทัศนของนักวรรณกรรม

ประเภท
7. จดหมาย จดหมายโต้ตอบเชิงวิชาการให้ความรู้เรื่องต่างๆ
8. คติธรรม หนังสือแนวสอนจรรยา
9. บทวิจารณ์ต่างๆ ทีมหลักเกณฑ์ทางวิชาการ
                    ่ ี
10. บทสัมภาษณ์ คือข้อความที่เขียนมาจากการสัมภาษณ์บุคคล มีเนื้อหาเป็นสาระ
11. บทอภิปราย บทปาฐกถา การอภิปรายหรือปาฐกถาทีให้ความรู้ ความคิดในเรื่อง
                                                    ่
ใดๆ ก็ตาม
สารคดี: ความหมายตามทัศนของนักสื่อสารมวลชน

เป็นข้อเขียนที่เน้นองค์ประกอบของความสนใจมนุษย์มากกว่าความสด
ของเหตุการณ์ เรื่องที่นํามาเขียนเป็นสารคดีจะเป็นเรื่องราวเกี่ยวกับบุคคล
สถานที่ สิ่งประดิษฐ์ หรือการถ่ายทอดความคิดบางอย่าง วัตถุประสงค์ของ
การเขียนสารคดีมักจะเป็นเพราะความสนใจมากกว่าจะเกิดจากความเร่ง
รีบให้ทันเวลากําหนด (มาลี บุญศิริพันธ์, 2535)
สารคดี: ความหมายตามทัศนของนักสื่อสารมวลชน

สารคดีในความหมายของ feature เป็นส่วนหนึ่งของสารคดีใน
ความหมายทั่วไป หรือ non-fiction และมีจุดเน้นมากกว่าสารคดีทั่วไป มี
ความเด่น สามารถดึงดูดใจผู้อ่านได้มากกว่า

นอกจากนี้แล้วสารคดีในความหมายของสื่อสารมวลชนจะเน้นความแปลก
ความเบาสมอง และความคิดเชิงสร้างสรรค์ของผู้เขียนเป็นสําคัญ
สารคดี: ความหมายตามแนวทัศนะใหม่

“งานเขียนที่เป็นรอยต่อของวิชาการและวรรณกรรม”
เป็นรูปแบบการเขียนและรสชาติการอ่านที่อยู่กึ่งกลางระหว่างสาระความรู้
ทางวิชาการ สุนทรียรสทางอารมณ์แบบวรณกรรม (กองบรรณาธิกาสาร
คดี, 2531)
สารคดี: ความหมายตามแนวทัศนะใหม่

“สารคดี คือ การนําเสนอความจริงอย่างสร้างสรรค์ สารคดีไม่ใช่แบบเรียน
แต่เป็นส่วนหนึ่งของความบันเทิง แต่เป็นความบันเทิงที่ได้สาระ” (ธีรภาพ
โลหิตกุล, 2544)
สารคดี: ความหมายตามแนวทัศนะใหม่
     “งานเขียนที่เป็นรอยต่อของวิชาการและวรรณกรรม”



     วิชาการ           สารคดี      วรรณกรรม
ประเภทของสารคดีแนวทัศนะใหม่
1.   สารคดีรายงานเหตุการณ์
2.   สารคดีชีวิตบุคคล
3.   สารคดีเด็ก
4.   สารคดีท่องเที่ยว
5.   สารคดีเกี่ยวกับธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
6.   สารคดีวิถีชีวิต
7.   สารคดีเกี่ยวกับสตรี
8.   สารคดีรายงานพิเศษ
9.   สารคดีเชิงวิจารณ์
ความนํา                 ความนํา
     ความเชื่อม             ความเชื่อม
      เนื้อเรื่อง             เนื้อเรื่อง
      ความจบ
โครงสร้างการเขียนสารคดี   โครงสร้างการเขียนข่าว
ความนํา                          เนื้อความตอนต้นของเรื่อง มีสวนช่วยเร้า
                                                                                ่
       ห้ อ งนั้ น มี แ สงเพี ย งสลั ว หน้ า โต๊ ะ หมู่ บู ช าเรี ยงใจให้ติดตามเรื่องราวต่อไปป
                                              ความสนใจ ชักจู งรายไปด้ ว ยพระพุ ท ธรู
           ความเชื่อม
หัวกะโหลกผี เครื่องรางของขลังนานาชนิด ธูปาเปรีนจุดวางอยู่ตรงกลางแท่นบูท า
                                              ความนํ เทีย ยบเสมือนหน้าตาของสารคดีบ ช
                                              นั้นๆ
แสงเทียนจุดประกายสว่างวับแวม กลิ่นดอกไม้ผสมกลิ่นธูปควันเทียนระคนอบอวล
             เนื้อเรื่อง
อยู่ทั่วห้อง ชวนให้บรรยากาศขรึมขลังศักดิ์สิทธิ์ .......
             ความจบ
      โครงสร้างการเขียนสารคดี หมอเสน่ห์ ทางออกของความป่วยใจในสังคมเมือง: อรสม สุทธิสาคร
สําหรับบางสถานที่ กาลเวลาได้กัดกร่อนกระทั่งกลืนกินไปเสีย จนบางทีเราก็หลงลืม
              ความนําจรมาประทับรอยเท้าและความทรงจําไว้เมื่อไร
ไปเสียแล้วว่า ได้เคยสัญ
                                             เป็นส่วนทีโยงความสนใจจากความนําไปสู่เนื้อ
                                                        ่
                                             เรื่อง ลักษณะของความเชื่อมจะเป็นข้อความที่
           แต่ความเชื่อ่ ม กาลเวลาจะล่วงเลยมานานเกือบครึ่งชีวิต แต่สมองก็ยังจดจําภาพ
              บางสถานที แม้
                                             มีขนาดสั้นน้อยกว่าความนํา อาจมีประโยค
อดีตได้แม่นยําราวกับมันเพิ่งผ่านไปเมื่อวันวาน
                                             เดียวถึงย่อหน้าเดียว
           ข้าพเจ้้อเรื่อง งลําธารเล็กๆ สายหนึ่งแห่งขุนดอยอินทนนท์ที่แม่ลูกชาวม้งกําลัง
               เนื าหมายถึ
เริงรมย์กับสายน้ํา แล้วส่งเสียงหัวเราะกันคิกคักดังก้องไปในแนวไพร กลายเป็นลํานําบทใหม่ที่
              ความจบยงวิหคนกร้องเสนาะโสต
ไพเราะกลมกลืนไปกับเสี
           ข้าพเจ้าสัญจรมาถึงครั
      โครงสร้างการเขียนสารคดี้งแรกเมื่อเกือบสิบแปดปีมาแล้ว แต่ถึงวันนี้ก็ยังไม่ลืมว่าเมื่อ
27 เมษายน พุทธศักราช 2518 วันที่เมืองไทยมีอุณหภูมิร้อนถึงขีดสุด...

                                               โศกนาฏกรรมไพรอินทนนท์ร่ําไห้: ธีรภาพ โลหิตกุล
ความนํา              เป็นส่วนสําคัญที่สุด เพราะรวมประเด็นสาระ
                          ทังหมด มีรายละเอียดซับซ้อน
                            ้
     ความเชื่อม           เนื้อเรื่องในสารคดีเป็นส่วนที่รวมเอาสาระ
                          ความรู้ ข้อมูล สีสัน บรรยากาศของสารคดี
      เนื้อเรื่อง
                          ถ่ายทอดออกมาด้วยการบรรยาย พรรณนา
      ความจบ              อธิบาย หรือแทรกคําพูดของบุคคล มาจาก
                          การวางโครงเรื่องอย่างมีเอกภาพ
โครงสร้างการเขียนสารคดี
ความนํา                          เป็นส่วนสุดท้ายของสารคดีไม่ใช่เป็นการสรุป
        แม่ น้ํ า โขงมหานที สี ทั น ดร สายน้ํ าเรืนงอย่าพที่เยิ่ งาใหญ่น ายนีป็ช่ า งมี ภ าพลัให้ษณ์ ที่
                                               สั ่อ ติ ภ างที ข้ ใจกั ส แต่เ ้ นส่วนเสริม ก เกิด
หลากหลายเสียเหลือเกิ่อในความทรงจํา ข้าพเจ้ามิได้เลือกทีใจหลังจากทีอานเนื้อเรืดหู่เลวร้าย
           ความเชืน ม                          ความประทับ ่จะจดจําเฉพาะด้านที่ห ่อง
                                                                               ่่
แต่ความเป็นจริง้อ่ดํา่อง ่ให้บทเรียนในการมองโลกมองชีวิตกัเช่ข้าพเจ้าเช่นนั้น
            เนื   ทีเรื รงอยู                  ทังหมดมาแล้ว บ น การสรุปความจบแบบ
                                                 ้
        แม่น้ําโขง...สักวันข้าพเจ้าจะกลับไปทบทวนบทเรียนกับเขาใหม่... คด เป็นต้น
                                               คาดไม่ถึง จบแบบทิ้งท้ายให้ ิ
              ความจบ
      โครงสร้างการเขียนสารคดี
                                                   บทเรียนแห่งสายน้ํา มหาสีทันดรนที: ธีรภาพ โลหิตกุล
โดยปกติการเขียนมักจะมี 3 ขั้นตอนใหญ่ คือ
1. ขั้นเตรียม (preparing)
2. ขั้นเขียน (writing)
3. ขั้นตรวจแก้ (editing)
การเตรียมการเขียน
1. เตรียมแนวคิด
2. เลือกประเด็นหรือเรื่องที่จะเขียน
3. การเตรียมข้อมูล

       การจัดระเบียบข้อมูล
1. กําหนดจุดเน้น
2. กําหนดแก่นเรื่อง
3. วางโครงเรื่อง
การเตรียมการเขียน             สารคดีอยู่รอบตัวเรา ขอให้เรารู้เกี่ยวกับ
                                      สิงนั้นมากกว่าคนอื่น (กองบรรณาธิ
                                        ่
1. เตรียมแนวคิด                       กาสารคดี, 2531)
2. เลือกประเด็นหรือเรื่องที่จะเขียน
3. การเตรียมข้อมูล                    -สร้างแนวคิดจากการอ่าน
                                      -สร้างแนวคิดจากผู้คน
       การจัดระเบียบข้อมูล
1. กําหนดจุดเน้น
2. กําหนดแก่นเรื่อง
3. วางโครงเรื่อง
การเตรียมการเขียน             ข้อแนะนําในการฝึกสร้างความคิด
1. เตรียมแนวคิด                       -ไม่จาเป็นต้องเป็นบุคคลสําคัญ
                                           ํ
2. เลือกประเด็นหรือเรื่องที่จะเขียน   -สอดแทรกประสบการณ์ส่วนตัว
3. การเตรียมข้อมูล                    -จํากัดขอบเขตความคิดให้แคบ
                                      -จดบันทึกก่อนทีจะลืม พร้อมกับสร้าง
                                                      ่
       การจัดระเบียบข้อมูล            แรงบันดาลใจจากความคิดนั้น
                                      -อย่าลืมคนธรรมดาสามัญ
1. กําหนดจุดเน้น                      -จัดระบบความคิดอย่างเป็นขั้นตอน
2. กําหนดแก่นเรื่อง
3. วางโครงเรื่อง
การเตรียมการเขียน             เขียนเรื่องอะไร?
                                      ประเด็นในการเขียนอาจจะเป็น
1. เตรียมแนวคิด
                                      “ปัญหา” หรือไม่กได้ อาจมาจากความ
                                                      ็
2. เลือกประเด็นหรือเรื่องที่จะเขียน   ประทับใจ ความสะเทือนใจ การยกย่อง
3. การเตรียมข้อมูล                    และต้องการเผยแพร่ หรือการมุงทีจะให้
                                                                    ่ ่
                                      ความรูและข้อมูลที่รอบด้านเกี่ยวกับ
                                               ้
       การจัดระเบียบข้อมูล            เรื่องนั้นๆ
1. กําหนดจุดเน้น
2. กําหนดแก่นเรื่อง
3. วางโครงเรื่อง
การเตรียมการเขียน             หลักในการเลือกประเด็น
1. เตรียมแนวคิด                       -อยูในความสนใจของเรา
                                           ่
2. เลือกประเด็นหรือเรื่องที่จะเขียน   -ถนัดมีความรู้พนฐาน
                                                     ื้
3. การเตรียมข้อมูล                    -ประเด็นไม่กว้างหรือแคบเกินไป
                                      -ไม่เกินกําลัง
       การจัดระเบียบข้อมูล            -เป็นเรื่องแปลกใหม่
                                      -มีผลกระทบต่อสังคมหรือไม่
1. กําหนดจุดเน้น
2. กําหนดแก่นเรื่อง
3. วางโครงเรื่อง
การเตรียมการเขียน             ข้อมูล คือ หัวใจของการเขียนสารคดี
                                      เพราะสารคดีมงเสนอข้อเท็จจริงและ
                                                     ุ่
1. เตรียมแนวคิด                       ความรู้เป็นหลัก สารคดีอยู่บนพืนฐาน
                                                                      ้
2. เลือกประเด็นหรือเรื่องที่จะเขียน   ของข้อเท็จจริง ดังนั้นข้อมูลจึงเป็นสิ่ง
3. การเตรียมข้อมูล                    สําคัญในการเขียนสารคดี

       การจัดระเบียบข้อมูล
1. กําหนดจุดเน้น
2. กําหนดแก่นเรื่อง
3. วางโครงเรื่อง
การเตรียมการเขียน             ข้อมูล ได้มาจากไหน
1. เตรียมแนวคิด                       1. ข้อมูลเอกสาร
2. เลือกประเด็นหรือเรื่องที่จะเขียน   2. ข้อมูลภาคสนาม
3. การเตรียมข้อมูล

       การจัดระเบียบข้อมูล
1. กําหนดจุดเน้น
2. กําหนดแก่นเรื่อง
3. วางโครงเรื่อง
การเตรียมการเขียน             ข้อมูล ได้มาอย่างไร
1. เตรียมแนวคิด                       1.   การฟัง
2. เลือกประเด็นหรือเรื่องที่จะเขียน   2.   การอ่าน
3. การเตรียมข้อมูล                    3.   การสังเกต
                                      4.   การสัมภาษณ์
       การจัดระเบียบข้อมูล
1. กําหนดจุดเน้น
2. กําหนดแก่นเรื่อง
3. วางโครงเรื่อง
การเตรียมการเขียน             คือ ประเด็นหลักของเนื้อหาที่ผู้เขียน
                                      ต้องการนําเสนอ
1. เตรียมแนวคิด
2. เลือกประเด็นหรือเรื่องที่จะเขียน
3. การเตรียมข้อมูล

       การจัดระเบียบข้อมูล
1. กําหนดจุดเน้น
2. กําหนดแก่นเรื่อง
3. วางโครงเรื่อง
สารคดี: คนหลังเขืมการเขียน
           การเตรีย ่อน                           เป็นการจัดระบบความคิดและประเด็น
จุดเน้น: ชีวิตความเป็นอยู่ และปัญหาของคนหลังเขืดเน้นให้ละเอียดแยกย่อยลงไป อีก
                                                  ของจุ ่อน
แก่นเรื่อยมแนวคิด างเขื่อนอาจก่อให้เกิดประโยนช์ากับคนกลุ่มอื่น แต่ครวมถึงงเขื่อนซึ่งลําดับ้
1. เตรี ง: การสร้                                 ว่ จะบอกอะไรบ้าง นหลั การจัด เป็นผู
เสียเลือกประเด็นหรือเรื่องที่จะเขียีวิตที่เปลี่ยนไปเสมอน(เน้นความสะเทือยนอะไรก่อน
2. สละต้องประสบชะตากรรมและวิถีช น                 ประเด็ ย่อยๆ ว่าควรเขี นใจ)
โครงเรื่อง : ยมข้อมูล
3. การเตรี                                        หลัง เป็นการกําหนดทิศทางในการเขียน
        1. บทนํา
       การจัิตความเป็บข้อ่ขมูล งเขื่อนก่อนมีการสร้างเขื่อน
        2. ชีวดระเบีย นอยู องคนหลั
        3. ความเป็นมาของเขื่อน (เจ้าปัญหา)
1. กําหนดจุดมูลน่วไปเกี่ยวกับเขื่อน (เจ้าปัญหา)
              เน้
        4. ข้อ ทั
2. กําหนดแก่นเรืการของทางการกับคนหลังเขื่อน
        5. การจัด ่อง
3. วางโครงเรื่อง
        6. ปัญหาของคนหลังเขื่อน (จัดสรรที่ดิน, ดิน, สิ่งแวดล้อม, การคมนาคม)
        7. สรุป หรือจบเรื่อง คนหลังเขื่อน ชีวิตที่ยังมืดมนและรอการแก้ไข

Más contenido relacionado

La actualidad más candente

หน่วยที่ 3 การเขียนเรื่องจากคำที่กำหนดให้
หน่วยที่ 3  การเขียนเรื่องจากคำที่กำหนดให้หน่วยที่ 3  การเขียนเรื่องจากคำที่กำหนดให้
หน่วยที่ 3 การเขียนเรื่องจากคำที่กำหนดให้ขนิษฐา ทวีศรี
 
ติวก่อนสอบ ม.2
ติวก่อนสอบ ม.2ติวก่อนสอบ ม.2
ติวก่อนสอบ ม.2ssuser456899
 
สรุปเนื้อหาภาษาไทย..ม.ต้น
สรุปเนื้อหาภาษาไทย..ม.ต้นสรุปเนื้อหาภาษาไทย..ม.ต้น
สรุปเนื้อหาภาษาไทย..ม.ต้นTook Took Rachataporn
 
แบบสอบถามความพึงพอใจ
แบบสอบถามความพึงพอใจแบบสอบถามความพึงพอใจ
แบบสอบถามความพึงพอใจDuangnapa Inyayot
 
การคายน้ำและการแลกเปลี่ยนแก๊ส
การคายน้ำและการแลกเปลี่ยนแก๊สการคายน้ำและการแลกเปลี่ยนแก๊ส
การคายน้ำและการแลกเปลี่ยนแก๊สThanyamon Chat.
 
Resume ประวัติส่วนตัวสมัคร ครูเอกพลศึกษา
Resume ประวัติส่วนตัวสมัคร ครูเอกพลศึกษาResume ประวัติส่วนตัวสมัคร ครูเอกพลศึกษา
Resume ประวัติส่วนตัวสมัคร ครูเอกพลศึกษาMontree Dangreung
 
โวหารภาพพจน์
โวหารภาพพจน์โวหารภาพพจน์
โวหารภาพพจน์krubuatoom
 
ทรัพยากรพลังงาน
ทรัพยากรพลังงานทรัพยากรพลังงาน
ทรัพยากรพลังงานratanapornwichadee
 
สมุดเล่มเล็ก
สมุดเล่มเล็กสมุดเล่มเล็ก
สมุดเล่มเล็กGed Gis
 
การศึกษารายกรณี ครูธัญญา ซื่อตรง
การศึกษารายกรณี ครูธัญญา ซื่อตรงการศึกษารายกรณี ครูธัญญา ซื่อตรง
การศึกษารายกรณี ครูธัญญา ซื่อตรงKru Tew Suetrong
 
แบบฝึกทักษะการเขียนเรียงความ
แบบฝึกทักษะการเขียนเรียงความแบบฝึกทักษะการเขียนเรียงความ
แบบฝึกทักษะการเขียนเรียงความsripayom
 
ใบงานที่ 3.3 เรื่อง เค้าโครงของโครงงาน
ใบงานที่ 3.3 เรื่อง เค้าโครงของโครงงานใบงานที่ 3.3 เรื่อง เค้าโครงของโครงงาน
ใบงานที่ 3.3 เรื่อง เค้าโครงของโครงงานThanawut Rattanadon
 
(M5) แบบทดสอบหลังเรียน เรื่อง มหาเวสสันดรชาดก กัณฑ์มัทรี
(M5) แบบทดสอบหลังเรียน เรื่อง มหาเวสสันดรชาดก กัณฑ์มัทรี(M5) แบบทดสอบหลังเรียน เรื่อง มหาเวสสันดรชาดก กัณฑ์มัทรี
(M5) แบบทดสอบหลังเรียน เรื่อง มหาเวสสันดรชาดก กัณฑ์มัทรีSivagon Soontong
 
งานนำเสนอลิลิตเตลงพ่าย
งานนำเสนอลิลิตเตลงพ่ายงานนำเสนอลิลิตเตลงพ่าย
งานนำเสนอลิลิตเตลงพ่ายSantichon Islamic School
 
โวหารในการเขียน
โวหารในการเขียนโวหารในการเขียน
โวหารในการเขียนkrubuatoom
 

La actualidad más candente (20)

หน่วยที่ 3 การเขียนเรื่องจากคำที่กำหนดให้
หน่วยที่ 3  การเขียนเรื่องจากคำที่กำหนดให้หน่วยที่ 3  การเขียนเรื่องจากคำที่กำหนดให้
หน่วยที่ 3 การเขียนเรื่องจากคำที่กำหนดให้
 
ติวก่อนสอบ ม.2
ติวก่อนสอบ ม.2ติวก่อนสอบ ม.2
ติวก่อนสอบ ม.2
 
สรุปเนื้อหาภาษาไทย..ม.ต้น
สรุปเนื้อหาภาษาไทย..ม.ต้นสรุปเนื้อหาภาษาไทย..ม.ต้น
สรุปเนื้อหาภาษาไทย..ม.ต้น
 
การเทียบสระภาษาไทยอังกฤษ
การเทียบสระภาษาไทยอังกฤษการเทียบสระภาษาไทยอังกฤษ
การเทียบสระภาษาไทยอังกฤษ
 
คำอุทาน
คำอุทานคำอุทาน
คำอุทาน
 
แบบสอบถามความพึงพอใจ
แบบสอบถามความพึงพอใจแบบสอบถามความพึงพอใจ
แบบสอบถามความพึงพอใจ
 
การคายน้ำและการแลกเปลี่ยนแก๊ส
การคายน้ำและการแลกเปลี่ยนแก๊สการคายน้ำและการแลกเปลี่ยนแก๊ส
การคายน้ำและการแลกเปลี่ยนแก๊ส
 
Resume ประวัติส่วนตัวสมัคร ครูเอกพลศึกษา
Resume ประวัติส่วนตัวสมัคร ครูเอกพลศึกษาResume ประวัติส่วนตัวสมัคร ครูเอกพลศึกษา
Resume ประวัติส่วนตัวสมัคร ครูเอกพลศึกษา
 
คำนำ
คำนำคำนำ
คำนำ
 
โวหารภาพพจน์
โวหารภาพพจน์โวหารภาพพจน์
โวหารภาพพจน์
 
ทรัพยากรพลังงาน
ทรัพยากรพลังงานทรัพยากรพลังงาน
ทรัพยากรพลังงาน
 
สมุดเล่มเล็ก
สมุดเล่มเล็กสมุดเล่มเล็ก
สมุดเล่มเล็ก
 
การศึกษารายกรณี ครูธัญญา ซื่อตรง
การศึกษารายกรณี ครูธัญญา ซื่อตรงการศึกษารายกรณี ครูธัญญา ซื่อตรง
การศึกษารายกรณี ครูธัญญา ซื่อตรง
 
แบบฝึกทักษะการเขียนเรียงความ
แบบฝึกทักษะการเขียนเรียงความแบบฝึกทักษะการเขียนเรียงความ
แบบฝึกทักษะการเขียนเรียงความ
 
คำบุพบท
คำบุพบทคำบุพบท
คำบุพบท
 
1 ธรรมชาติและพลังของภาษาไทย(5-34)
1 ธรรมชาติและพลังของภาษาไทย(5-34)1 ธรรมชาติและพลังของภาษาไทย(5-34)
1 ธรรมชาติและพลังของภาษาไทย(5-34)
 
ใบงานที่ 3.3 เรื่อง เค้าโครงของโครงงาน
ใบงานที่ 3.3 เรื่อง เค้าโครงของโครงงานใบงานที่ 3.3 เรื่อง เค้าโครงของโครงงาน
ใบงานที่ 3.3 เรื่อง เค้าโครงของโครงงาน
 
(M5) แบบทดสอบหลังเรียน เรื่อง มหาเวสสันดรชาดก กัณฑ์มัทรี
(M5) แบบทดสอบหลังเรียน เรื่อง มหาเวสสันดรชาดก กัณฑ์มัทรี(M5) แบบทดสอบหลังเรียน เรื่อง มหาเวสสันดรชาดก กัณฑ์มัทรี
(M5) แบบทดสอบหลังเรียน เรื่อง มหาเวสสันดรชาดก กัณฑ์มัทรี
 
งานนำเสนอลิลิตเตลงพ่าย
งานนำเสนอลิลิตเตลงพ่ายงานนำเสนอลิลิตเตลงพ่าย
งานนำเสนอลิลิตเตลงพ่าย
 
โวหารในการเขียน
โวหารในการเขียนโวหารในการเขียน
โวหารในการเขียน
 

Destacado

ตัวอย่างใบลาป่วย
ตัวอย่างใบลาป่วยตัวอย่างใบลาป่วย
ตัวอย่างใบลาป่วยhgh for sale guide
 
บทที่ 3 หลักการอ่าน
บทที่ 3 หลักการอ่านบทที่ 3 หลักการอ่าน
บทที่ 3 หลักการอ่านAj.Mallika Phongphaew
 
รายงานทางวิชาการเรื่อง หัวใจชายหนุ่ม
รายงานทางวิชาการเรื่อง หัวใจชายหนุ่มรายงานทางวิชาการเรื่อง หัวใจชายหนุ่ม
รายงานทางวิชาการเรื่อง หัวใจชายหนุ่มGuntima NaLove
 
ใบความรู้ที่ 3 การเขียนจดหมายกิจธุระ
ใบความรู้ที่ 3 การเขียนจดหมายกิจธุระใบความรู้ที่ 3 การเขียนจดหมายกิจธุระ
ใบความรู้ที่ 3 การเขียนจดหมายกิจธุระJoice Naka
 
ใบลาป่วยลากิจนักเรียนนักศึกษา
ใบลาป่วยลากิจนักเรียนนักศึกษาใบลาป่วยลากิจนักเรียนนักศึกษา
ใบลาป่วยลากิจนักเรียนนักศึกษาPiyarerk Bunkoson
 

Destacado (9)

ใบลา
ใบลาใบลา
ใบลา
 
การอ่านจับใจความสำคัญ
การอ่านจับใจความสำคัญการอ่านจับใจความสำคัญ
การอ่านจับใจความสำคัญ
 
ตัวอย่างใบลาป่วย
ตัวอย่างใบลาป่วยตัวอย่างใบลาป่วย
ตัวอย่างใบลาป่วย
 
ใบลาป่วยลากิจ
ใบลาป่วยลากิจใบลาป่วยลากิจ
ใบลาป่วยลากิจ
 
จดหมาย
จดหมายจดหมาย
จดหมาย
 
บทที่ 3 หลักการอ่าน
บทที่ 3 หลักการอ่านบทที่ 3 หลักการอ่าน
บทที่ 3 หลักการอ่าน
 
รายงานทางวิชาการเรื่อง หัวใจชายหนุ่ม
รายงานทางวิชาการเรื่อง หัวใจชายหนุ่มรายงานทางวิชาการเรื่อง หัวใจชายหนุ่ม
รายงานทางวิชาการเรื่อง หัวใจชายหนุ่ม
 
ใบความรู้ที่ 3 การเขียนจดหมายกิจธุระ
ใบความรู้ที่ 3 การเขียนจดหมายกิจธุระใบความรู้ที่ 3 การเขียนจดหมายกิจธุระ
ใบความรู้ที่ 3 การเขียนจดหมายกิจธุระ
 
ใบลาป่วยลากิจนักเรียนนักศึกษา
ใบลาป่วยลากิจนักเรียนนักศึกษาใบลาป่วยลากิจนักเรียนนักศึกษา
ใบลาป่วยลากิจนักเรียนนักศึกษา
 

Similar a การเขียนบทสารคดี-01

หน่วยที่ 7 การเขียนย่อหน้าเนื้อเรื่อง
หน่วยที่ 7 การเขียนย่อหน้าเนื้อเรื่องหน่วยที่ 7 การเขียนย่อหน้าเนื้อเรื่อง
หน่วยที่ 7 การเขียนย่อหน้าเนื้อเรื่องขนิษฐา ทวีศรี
 
หลักสูตรท้องถิ่นภาษาอังกฤษ
หลักสูตรท้องถิ่นภาษาอังกฤษหลักสูตรท้องถิ่นภาษาอังกฤษ
หลักสูตรท้องถิ่นภาษาอังกฤษBhayubhong
 
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการเขียน 7.1
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการเขียน 7.1ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการเขียน 7.1
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการเขียน 7.1Yota Bhikkhu
 
การพัฒนาการเรียนการสอนประวัติศาสตร์ โครงงาน
การพัฒนาการเรียนการสอนประวัติศาสตร์ โครงงานการพัฒนาการเรียนการสอนประวัติศาสตร์ โครงงาน
การพัฒนาการเรียนการสอนประวัติศาสตร์ โครงงานteacherhistory
 
PPTออมไว้ใส่ถุงแดง
PPTออมไว้ใส่ถุงแดง PPTออมไว้ใส่ถุงแดง
PPTออมไว้ใส่ถุงแดง KruBowbaro
 
ทรัพยากรสารสนเทศ
ทรัพยากรสารสนเทศทรัพยากรสารสนเทศ
ทรัพยากรสารสนเทศอิ่' เฉิ่ม
 
I 30291 หน่วย1 เรื่อง 3 ทรัพยากรสารสนเทศ
I 30291  หน่วย1 เรื่อง 3 ทรัพยากรสารสนเทศI 30291  หน่วย1 เรื่อง 3 ทรัพยากรสารสนเทศ
I 30291 หน่วย1 เรื่อง 3 ทรัพยากรสารสนเทศK-Vi Wijittra
 
วิเคราะห์หลักสูตรไทย55
วิเคราะห์หลักสูตรไทย55วิเคราะห์หลักสูตรไทย55
วิเคราะห์หลักสูตรไทย55Nun'Top Lovely LoveLove
 
Introduction to Educational Media Production
Introduction to Educational Media ProductionIntroduction to Educational Media Production
Introduction to Educational Media ProductionRachabodin Suwannakanthi
 
จดหมาย
จดหมายจดหมาย
จดหมายkroonoi06
 
4 การอ่านอย่างมีประสิทธิภาพ(108-147)
4 การอ่านอย่างมีประสิทธิภาพ(108-147)4 การอ่านอย่างมีประสิทธิภาพ(108-147)
4 การอ่านอย่างมีประสิทธิภาพ(108-147)อัมพร ศรีพิทักษ์
 
5 การฟังและการดูอย่างมีประสิทธิภาพ(154-183)
5 การฟังและการดูอย่างมีประสิทธิภาพ(154-183)5 การฟังและการดูอย่างมีประสิทธิภาพ(154-183)
5 การฟังและการดูอย่างมีประสิทธิภาพ(154-183)อัมพร ศรีพิทักษ์
 
เรื่องการเขียนจดหมาย
เรื่องการเขียนจดหมายเรื่องการเขียนจดหมาย
เรื่องการเขียนจดหมายjiratt
 
หนังสืออ้างอิง...
หนังสืออ้างอิง...หนังสืออ้างอิง...
หนังสืออ้างอิง...krujee
 

Similar a การเขียนบทสารคดี-01 (20)

Script 05 2
Script 05 2Script 05 2
Script 05 2
 
หน่วยที่ 7 การเขียนย่อหน้าเนื้อเรื่อง
หน่วยที่ 7 การเขียนย่อหน้าเนื้อเรื่องหน่วยที่ 7 การเขียนย่อหน้าเนื้อเรื่อง
หน่วยที่ 7 การเขียนย่อหน้าเนื้อเรื่อง
 
Mainidea
MainideaMainidea
Mainidea
 
หลักสูตรท้องถิ่นภาษาอังกฤษ
หลักสูตรท้องถิ่นภาษาอังกฤษหลักสูตรท้องถิ่นภาษาอังกฤษ
หลักสูตรท้องถิ่นภาษาอังกฤษ
 
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการเขียน 7.1
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการเขียน 7.1ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการเขียน 7.1
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการเขียน 7.1
 
การพัฒนาการเรียนการสอนประวัติศาสตร์ โครงงาน
การพัฒนาการเรียนการสอนประวัติศาสตร์ โครงงานการพัฒนาการเรียนการสอนประวัติศาสตร์ โครงงาน
การพัฒนาการเรียนการสอนประวัติศาสตร์ โครงงาน
 
PPTออมไว้ใส่ถุงแดง
PPTออมไว้ใส่ถุงแดง PPTออมไว้ใส่ถุงแดง
PPTออมไว้ใส่ถุงแดง
 
ทรัพยากรสารสนเทศ
ทรัพยากรสารสนเทศทรัพยากรสารสนเทศ
ทรัพยากรสารสนเทศ
 
I 30291 หน่วย1 เรื่อง 3 ทรัพยากรสารสนเทศ
I 30291  หน่วย1 เรื่อง 3 ทรัพยากรสารสนเทศI 30291  หน่วย1 เรื่อง 3 ทรัพยากรสารสนเทศ
I 30291 หน่วย1 เรื่อง 3 ทรัพยากรสารสนเทศ
 
วิเคราะห์หลักสูตรไทย55
วิเคราะห์หลักสูตรไทย55วิเคราะห์หลักสูตรไทย55
วิเคราะห์หลักสูตรไทย55
 
Introduction to Educational Media Production
Introduction to Educational Media ProductionIntroduction to Educational Media Production
Introduction to Educational Media Production
 
จดหมาย
จดหมายจดหมาย
จดหมาย
 
Is2ขั้นตอนการเขียรายงาน
Is2ขั้นตอนการเขียรายงานIs2ขั้นตอนการเขียรายงาน
Is2ขั้นตอนการเขียรายงาน
 
เรียงความ
เรียงความเรียงความ
เรียงความ
 
การอ่านวรรณคดี ม.๕[1]
การอ่านวรรณคดี ม.๕[1]การอ่านวรรณคดี ม.๕[1]
การอ่านวรรณคดี ม.๕[1]
 
4 การอ่านอย่างมีประสิทธิภาพ(108-147)
4 การอ่านอย่างมีประสิทธิภาพ(108-147)4 การอ่านอย่างมีประสิทธิภาพ(108-147)
4 การอ่านอย่างมีประสิทธิภาพ(108-147)
 
NT'55 Nationnal Test
NT'55 Nationnal TestNT'55 Nationnal Test
NT'55 Nationnal Test
 
5 การฟังและการดูอย่างมีประสิทธิภาพ(154-183)
5 การฟังและการดูอย่างมีประสิทธิภาพ(154-183)5 การฟังและการดูอย่างมีประสิทธิภาพ(154-183)
5 การฟังและการดูอย่างมีประสิทธิภาพ(154-183)
 
เรื่องการเขียนจดหมาย
เรื่องการเขียนจดหมายเรื่องการเขียนจดหมาย
เรื่องการเขียนจดหมาย
 
หนังสืออ้างอิง...
หนังสืออ้างอิง...หนังสืออ้างอิง...
หนังสืออ้างอิง...
 

Más de Apida Runvat

คำศัพท์ด้านการตัดต่อภาพ
คำศัพท์ด้านการตัดต่อภาพคำศัพท์ด้านการตัดต่อภาพ
คำศัพท์ด้านการตัดต่อภาพApida Runvat
 
การวิเคราะห์ Scene, Shot
การวิเคราะห์ Scene, Shotการวิเคราะห์ Scene, Shot
การวิเคราะห์ Scene, ShotApida Runvat
 
ตัวอย่างวิเคราะห์ Scene/Shot
ตัวอย่างวิเคราะห์ Scene/Shotตัวอย่างวิเคราะห์ Scene/Shot
ตัวอย่างวิเคราะห์ Scene/ShotApida Runvat
 
6 เทคโนโลยีการแสดงผลและการจัดเก็บข้อมูล
6 เทคโนโลยีการแสดงผลและการจัดเก็บข้อมูล6 เทคโนโลยีการแสดงผลและการจัดเก็บข้อมูล
6 เทคโนโลยีการแสดงผลและการจัดเก็บข้อมูลApida Runvat
 
5 digital representation
5 digital representation5 digital representation
5 digital representationApida Runvat
 
3 multimedia apply
3 multimedia apply3 multimedia apply
3 multimedia applyApida Runvat
 
2 multimedia property
2 multimedia property2 multimedia property
2 multimedia propertyApida Runvat
 
การจัดองค์ประกอบศิลป์ Copy
การจัดองค์ประกอบศิลป์    Copyการจัดองค์ประกอบศิลป์    Copy
การจัดองค์ประกอบศิลป์ CopyApida Runvat
 

Más de Apida Runvat (11)

Adobe encoredvd
Adobe encoredvdAdobe encoredvd
Adobe encoredvd
 
คำศัพท์ด้านการตัดต่อภาพ
คำศัพท์ด้านการตัดต่อภาพคำศัพท์ด้านการตัดต่อภาพ
คำศัพท์ด้านการตัดต่อภาพ
 
Camera technique
Camera techniqueCamera technique
Camera technique
 
การวิเคราะห์ Scene, Shot
การวิเคราะห์ Scene, Shotการวิเคราะห์ Scene, Shot
การวิเคราะห์ Scene, Shot
 
ตัวอย่างวิเคราะห์ Scene/Shot
ตัวอย่างวิเคราะห์ Scene/Shotตัวอย่างวิเคราะห์ Scene/Shot
ตัวอย่างวิเคราะห์ Scene/Shot
 
6 เทคโนโลยีการแสดงผลและการจัดเก็บข้อมูล
6 เทคโนโลยีการแสดงผลและการจัดเก็บข้อมูล6 เทคโนโลยีการแสดงผลและการจัดเก็บข้อมูล
6 เทคโนโลยีการแสดงผลและการจัดเก็บข้อมูล
 
5 digital representation
5 digital representation5 digital representation
5 digital representation
 
3 multimedia apply
3 multimedia apply3 multimedia apply
3 multimedia apply
 
2 multimedia property
2 multimedia property2 multimedia property
2 multimedia property
 
1 multimedia
1 multimedia1 multimedia
1 multimedia
 
การจัดองค์ประกอบศิลป์ Copy
การจัดองค์ประกอบศิลป์    Copyการจัดองค์ประกอบศิลป์    Copy
การจัดองค์ประกอบศิลป์ Copy
 

การเขียนบทสารคดี-01

  • 1.
  • 2. “สารคดีเป็นงานเขียนที่มแบบแผน เช่นเดียวกับการเขียน ี ข่าวและบทความ แต่สารคดีมีความยืดหยุ่นและเปิดโอกาส ให้ผู้เขียนได้ใช้ความคิดสร้างสรรค์ที่จะสรรหาวิธีการ นําเสนอและวิธีเล่าเรื่องได้มากกว่า” ธัญญา สังขพันธานนท์ (2553)
  • 4. สารคดี: ความหมายตามทัศนของนักวรรณกรรม สารคดี คือ วรรณกรรมร้อยแก้วที่มุ่งให้ผู้อ่านได้สาระข้อเท็จจริง ความรู้ และความคิดเห็นเป็นสําคัญ ขณะเดียวกันก็มุ่งให้ผู้อ่านได้รับความ เพลิดเพลินจากศิลปะการเขียนของผู้แต่งไปพร้อมกันด้วย (สายทิพย์ นุกูล กิจ, 2543)
  • 5. สารคดี: ความหมายตามทัศนของนักวรรณกรรม คุณลักษณะสําคัญ 1. เกี่ยวกับเรื่องจริง หรือเรื่องไม่สมมุติ (non-fiction) 2. มุ่งให้สาระความรู้แก่ผู้อ่านเป็นหลัก ความเพลิดเพลินเป็นรอง 3. นําเสนออย่างมีศิลปะ
  • 6. สารคดี: ความหมายตามทัศนของนักวรรณกรรม ประเภท 1. บทความในหนังสือพิมพ์ 2. วิชาการ ตําราสาขาต่างๆ 3. ท่องเทียว การไปต่างแดน ให้ความรูและข้อคิดเกี่ยวกับถิ่นฐานเหล่านั้น ่ ้ 4. ชีวประวัติ ทั้งชีวประวัติ และอัตชีวประวัติ 5. ความทรงจํา จดหมายเหตุ บันทึก 6. อนุทนิ
  • 7. สารคดี: ความหมายตามทัศนของนักวรรณกรรม ประเภท 7. จดหมาย จดหมายโต้ตอบเชิงวิชาการให้ความรู้เรื่องต่างๆ 8. คติธรรม หนังสือแนวสอนจรรยา 9. บทวิจารณ์ต่างๆ ทีมหลักเกณฑ์ทางวิชาการ ่ ี 10. บทสัมภาษณ์ คือข้อความที่เขียนมาจากการสัมภาษณ์บุคคล มีเนื้อหาเป็นสาระ 11. บทอภิปราย บทปาฐกถา การอภิปรายหรือปาฐกถาทีให้ความรู้ ความคิดในเรื่อง ่ ใดๆ ก็ตาม
  • 8. สารคดี: ความหมายตามทัศนของนักสื่อสารมวลชน เป็นข้อเขียนที่เน้นองค์ประกอบของความสนใจมนุษย์มากกว่าความสด ของเหตุการณ์ เรื่องที่นํามาเขียนเป็นสารคดีจะเป็นเรื่องราวเกี่ยวกับบุคคล สถานที่ สิ่งประดิษฐ์ หรือการถ่ายทอดความคิดบางอย่าง วัตถุประสงค์ของ การเขียนสารคดีมักจะเป็นเพราะความสนใจมากกว่าจะเกิดจากความเร่ง รีบให้ทันเวลากําหนด (มาลี บุญศิริพันธ์, 2535)
  • 9. สารคดี: ความหมายตามทัศนของนักสื่อสารมวลชน สารคดีในความหมายของ feature เป็นส่วนหนึ่งของสารคดีใน ความหมายทั่วไป หรือ non-fiction และมีจุดเน้นมากกว่าสารคดีทั่วไป มี ความเด่น สามารถดึงดูดใจผู้อ่านได้มากกว่า นอกจากนี้แล้วสารคดีในความหมายของสื่อสารมวลชนจะเน้นความแปลก ความเบาสมอง และความคิดเชิงสร้างสรรค์ของผู้เขียนเป็นสําคัญ
  • 11. สารคดี: ความหมายตามแนวทัศนะใหม่ “สารคดี คือ การนําเสนอความจริงอย่างสร้างสรรค์ สารคดีไม่ใช่แบบเรียน แต่เป็นส่วนหนึ่งของความบันเทิง แต่เป็นความบันเทิงที่ได้สาระ” (ธีรภาพ โลหิตกุล, 2544)
  • 12. สารคดี: ความหมายตามแนวทัศนะใหม่ “งานเขียนที่เป็นรอยต่อของวิชาการและวรรณกรรม” วิชาการ สารคดี วรรณกรรม
  • 13. ประเภทของสารคดีแนวทัศนะใหม่ 1. สารคดีรายงานเหตุการณ์ 2. สารคดีชีวิตบุคคล 3. สารคดีเด็ก 4. สารคดีท่องเที่ยว 5. สารคดีเกี่ยวกับธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม 6. สารคดีวิถีชีวิต 7. สารคดีเกี่ยวกับสตรี 8. สารคดีรายงานพิเศษ 9. สารคดีเชิงวิจารณ์
  • 14. ความนํา ความนํา ความเชื่อม ความเชื่อม เนื้อเรื่อง เนื้อเรื่อง ความจบ โครงสร้างการเขียนสารคดี โครงสร้างการเขียนข่าว
  • 15. ความนํา เนื้อความตอนต้นของเรื่อง มีสวนช่วยเร้า ่ ห้ อ งนั้ น มี แ สงเพี ย งสลั ว หน้ า โต๊ ะ หมู่ บู ช าเรี ยงใจให้ติดตามเรื่องราวต่อไปป ความสนใจ ชักจู งรายไปด้ ว ยพระพุ ท ธรู ความเชื่อม หัวกะโหลกผี เครื่องรางของขลังนานาชนิด ธูปาเปรีนจุดวางอยู่ตรงกลางแท่นบูท า ความนํ เทีย ยบเสมือนหน้าตาของสารคดีบ ช นั้นๆ แสงเทียนจุดประกายสว่างวับแวม กลิ่นดอกไม้ผสมกลิ่นธูปควันเทียนระคนอบอวล เนื้อเรื่อง อยู่ทั่วห้อง ชวนให้บรรยากาศขรึมขลังศักดิ์สิทธิ์ ....... ความจบ โครงสร้างการเขียนสารคดี หมอเสน่ห์ ทางออกของความป่วยใจในสังคมเมือง: อรสม สุทธิสาคร
  • 16. สําหรับบางสถานที่ กาลเวลาได้กัดกร่อนกระทั่งกลืนกินไปเสีย จนบางทีเราก็หลงลืม ความนําจรมาประทับรอยเท้าและความทรงจําไว้เมื่อไร ไปเสียแล้วว่า ได้เคยสัญ เป็นส่วนทีโยงความสนใจจากความนําไปสู่เนื้อ ่ เรื่อง ลักษณะของความเชื่อมจะเป็นข้อความที่ แต่ความเชื่อ่ ม กาลเวลาจะล่วงเลยมานานเกือบครึ่งชีวิต แต่สมองก็ยังจดจําภาพ บางสถานที แม้ มีขนาดสั้นน้อยกว่าความนํา อาจมีประโยค อดีตได้แม่นยําราวกับมันเพิ่งผ่านไปเมื่อวันวาน เดียวถึงย่อหน้าเดียว ข้าพเจ้้อเรื่อง งลําธารเล็กๆ สายหนึ่งแห่งขุนดอยอินทนนท์ที่แม่ลูกชาวม้งกําลัง เนื าหมายถึ เริงรมย์กับสายน้ํา แล้วส่งเสียงหัวเราะกันคิกคักดังก้องไปในแนวไพร กลายเป็นลํานําบทใหม่ที่ ความจบยงวิหคนกร้องเสนาะโสต ไพเราะกลมกลืนไปกับเสี ข้าพเจ้าสัญจรมาถึงครั โครงสร้างการเขียนสารคดี้งแรกเมื่อเกือบสิบแปดปีมาแล้ว แต่ถึงวันนี้ก็ยังไม่ลืมว่าเมื่อ 27 เมษายน พุทธศักราช 2518 วันที่เมืองไทยมีอุณหภูมิร้อนถึงขีดสุด... โศกนาฏกรรมไพรอินทนนท์ร่ําไห้: ธีรภาพ โลหิตกุล
  • 17. ความนํา เป็นส่วนสําคัญที่สุด เพราะรวมประเด็นสาระ ทังหมด มีรายละเอียดซับซ้อน ้ ความเชื่อม เนื้อเรื่องในสารคดีเป็นส่วนที่รวมเอาสาระ ความรู้ ข้อมูล สีสัน บรรยากาศของสารคดี เนื้อเรื่อง ถ่ายทอดออกมาด้วยการบรรยาย พรรณนา ความจบ อธิบาย หรือแทรกคําพูดของบุคคล มาจาก การวางโครงเรื่องอย่างมีเอกภาพ โครงสร้างการเขียนสารคดี
  • 18. ความนํา เป็นส่วนสุดท้ายของสารคดีไม่ใช่เป็นการสรุป แม่ น้ํ า โขงมหานที สี ทั น ดร สายน้ํ าเรืนงอย่าพที่เยิ่ งาใหญ่น ายนีป็ช่ า งมี ภ าพลัให้ษณ์ ที่ สั ่อ ติ ภ างที ข้ ใจกั ส แต่เ ้ นส่วนเสริม ก เกิด หลากหลายเสียเหลือเกิ่อในความทรงจํา ข้าพเจ้ามิได้เลือกทีใจหลังจากทีอานเนื้อเรืดหู่เลวร้าย ความเชืน ม ความประทับ ่จะจดจําเฉพาะด้านที่ห ่อง ่่ แต่ความเป็นจริง้อ่ดํา่อง ่ให้บทเรียนในการมองโลกมองชีวิตกัเช่ข้าพเจ้าเช่นนั้น เนื ทีเรื รงอยู ทังหมดมาแล้ว บ น การสรุปความจบแบบ ้ แม่น้ําโขง...สักวันข้าพเจ้าจะกลับไปทบทวนบทเรียนกับเขาใหม่... คด เป็นต้น คาดไม่ถึง จบแบบทิ้งท้ายให้ ิ ความจบ โครงสร้างการเขียนสารคดี บทเรียนแห่งสายน้ํา มหาสีทันดรนที: ธีรภาพ โลหิตกุล
  • 19. โดยปกติการเขียนมักจะมี 3 ขั้นตอนใหญ่ คือ 1. ขั้นเตรียม (preparing) 2. ขั้นเขียน (writing) 3. ขั้นตรวจแก้ (editing)
  • 20. การเตรียมการเขียน 1. เตรียมแนวคิด 2. เลือกประเด็นหรือเรื่องที่จะเขียน 3. การเตรียมข้อมูล การจัดระเบียบข้อมูล 1. กําหนดจุดเน้น 2. กําหนดแก่นเรื่อง 3. วางโครงเรื่อง
  • 21. การเตรียมการเขียน สารคดีอยู่รอบตัวเรา ขอให้เรารู้เกี่ยวกับ สิงนั้นมากกว่าคนอื่น (กองบรรณาธิ ่ 1. เตรียมแนวคิด กาสารคดี, 2531) 2. เลือกประเด็นหรือเรื่องที่จะเขียน 3. การเตรียมข้อมูล -สร้างแนวคิดจากการอ่าน -สร้างแนวคิดจากผู้คน การจัดระเบียบข้อมูล 1. กําหนดจุดเน้น 2. กําหนดแก่นเรื่อง 3. วางโครงเรื่อง
  • 22. การเตรียมการเขียน ข้อแนะนําในการฝึกสร้างความคิด 1. เตรียมแนวคิด -ไม่จาเป็นต้องเป็นบุคคลสําคัญ ํ 2. เลือกประเด็นหรือเรื่องที่จะเขียน -สอดแทรกประสบการณ์ส่วนตัว 3. การเตรียมข้อมูล -จํากัดขอบเขตความคิดให้แคบ -จดบันทึกก่อนทีจะลืม พร้อมกับสร้าง ่ การจัดระเบียบข้อมูล แรงบันดาลใจจากความคิดนั้น -อย่าลืมคนธรรมดาสามัญ 1. กําหนดจุดเน้น -จัดระบบความคิดอย่างเป็นขั้นตอน 2. กําหนดแก่นเรื่อง 3. วางโครงเรื่อง
  • 23. การเตรียมการเขียน เขียนเรื่องอะไร? ประเด็นในการเขียนอาจจะเป็น 1. เตรียมแนวคิด “ปัญหา” หรือไม่กได้ อาจมาจากความ ็ 2. เลือกประเด็นหรือเรื่องที่จะเขียน ประทับใจ ความสะเทือนใจ การยกย่อง 3. การเตรียมข้อมูล และต้องการเผยแพร่ หรือการมุงทีจะให้ ่ ่ ความรูและข้อมูลที่รอบด้านเกี่ยวกับ ้ การจัดระเบียบข้อมูล เรื่องนั้นๆ 1. กําหนดจุดเน้น 2. กําหนดแก่นเรื่อง 3. วางโครงเรื่อง
  • 24. การเตรียมการเขียน หลักในการเลือกประเด็น 1. เตรียมแนวคิด -อยูในความสนใจของเรา ่ 2. เลือกประเด็นหรือเรื่องที่จะเขียน -ถนัดมีความรู้พนฐาน ื้ 3. การเตรียมข้อมูล -ประเด็นไม่กว้างหรือแคบเกินไป -ไม่เกินกําลัง การจัดระเบียบข้อมูล -เป็นเรื่องแปลกใหม่ -มีผลกระทบต่อสังคมหรือไม่ 1. กําหนดจุดเน้น 2. กําหนดแก่นเรื่อง 3. วางโครงเรื่อง
  • 25. การเตรียมการเขียน ข้อมูล คือ หัวใจของการเขียนสารคดี เพราะสารคดีมงเสนอข้อเท็จจริงและ ุ่ 1. เตรียมแนวคิด ความรู้เป็นหลัก สารคดีอยู่บนพืนฐาน ้ 2. เลือกประเด็นหรือเรื่องที่จะเขียน ของข้อเท็จจริง ดังนั้นข้อมูลจึงเป็นสิ่ง 3. การเตรียมข้อมูล สําคัญในการเขียนสารคดี การจัดระเบียบข้อมูล 1. กําหนดจุดเน้น 2. กําหนดแก่นเรื่อง 3. วางโครงเรื่อง
  • 26. การเตรียมการเขียน ข้อมูล ได้มาจากไหน 1. เตรียมแนวคิด 1. ข้อมูลเอกสาร 2. เลือกประเด็นหรือเรื่องที่จะเขียน 2. ข้อมูลภาคสนาม 3. การเตรียมข้อมูล การจัดระเบียบข้อมูล 1. กําหนดจุดเน้น 2. กําหนดแก่นเรื่อง 3. วางโครงเรื่อง
  • 27. การเตรียมการเขียน ข้อมูล ได้มาอย่างไร 1. เตรียมแนวคิด 1. การฟัง 2. เลือกประเด็นหรือเรื่องที่จะเขียน 2. การอ่าน 3. การเตรียมข้อมูล 3. การสังเกต 4. การสัมภาษณ์ การจัดระเบียบข้อมูล 1. กําหนดจุดเน้น 2. กําหนดแก่นเรื่อง 3. วางโครงเรื่อง
  • 28. การเตรียมการเขียน คือ ประเด็นหลักของเนื้อหาที่ผู้เขียน ต้องการนําเสนอ 1. เตรียมแนวคิด 2. เลือกประเด็นหรือเรื่องที่จะเขียน 3. การเตรียมข้อมูล การจัดระเบียบข้อมูล 1. กําหนดจุดเน้น 2. กําหนดแก่นเรื่อง 3. วางโครงเรื่อง
  • 29. สารคดี: คนหลังเขืมการเขียน การเตรีย ่อน เป็นการจัดระบบความคิดและประเด็น จุดเน้น: ชีวิตความเป็นอยู่ และปัญหาของคนหลังเขืดเน้นให้ละเอียดแยกย่อยลงไป อีก ของจุ ่อน แก่นเรื่อยมแนวคิด างเขื่อนอาจก่อให้เกิดประโยนช์ากับคนกลุ่มอื่น แต่ครวมถึงงเขื่อนซึ่งลําดับ้ 1. เตรี ง: การสร้ ว่ จะบอกอะไรบ้าง นหลั การจัด เป็นผู เสียเลือกประเด็นหรือเรื่องที่จะเขียีวิตที่เปลี่ยนไปเสมอน(เน้นความสะเทือยนอะไรก่อน 2. สละต้องประสบชะตากรรมและวิถีช น ประเด็ ย่อยๆ ว่าควรเขี นใจ) โครงเรื่อง : ยมข้อมูล 3. การเตรี หลัง เป็นการกําหนดทิศทางในการเขียน 1. บทนํา การจัิตความเป็บข้อ่ขมูล งเขื่อนก่อนมีการสร้างเขื่อน 2. ชีวดระเบีย นอยู องคนหลั 3. ความเป็นมาของเขื่อน (เจ้าปัญหา) 1. กําหนดจุดมูลน่วไปเกี่ยวกับเขื่อน (เจ้าปัญหา) เน้ 4. ข้อ ทั 2. กําหนดแก่นเรืการของทางการกับคนหลังเขื่อน 5. การจัด ่อง 3. วางโครงเรื่อง 6. ปัญหาของคนหลังเขื่อน (จัดสรรที่ดิน, ดิน, สิ่งแวดล้อม, การคมนาคม) 7. สรุป หรือจบเรื่อง คนหลังเขื่อน ชีวิตที่ยังมืดมนและรอการแก้ไข