SlideShare una empresa de Scribd logo
1 de 101
Descargar para leer sin conexión
คูมือการจัดกิจกรรรมการเรียนรู
      รายวิชาเลือก สาระการพัฒนาสังคม



                   อาเซียนศึกษา
                     รหัส สค02015

           จํานวน 3 หนวยกิต (120 ชั่วโมง)
ระดับประถมศึกษา มัธยมศึกษาตอนตน มัธยมศึกษาตอนปลาย




สถาบันพัฒนาการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยภาคเหนือ
  สํานักงานสงเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย
                สํานักงานปลัดกระทรวงศึกษาธิการ
                       กระทรวงศึกษาธิการ
กระทรวงศึกษาธิ การไดป ระกาศใช ห ลั กสูตรการศึ กษานอกระบบระดั บ การศึ กษาขั้ น
พื้นฐาน พุทธศักราช 2551 ซึ่งมีรายละเอียดประกอบดวย หลักการ จุดหมาย โครงสรางหลัก สูตร
กรอบสาระและมาตรฐานการเรียนรู การจัดกระบวนการเรียนรู สื่อการเรียนรู และการวัดประเมินผล
โดยกําหนดสาระวิชาบังคับไว สวนวิชาเลือกใหสถานศึกษาเปนผูดําเนินการพัฒนา แนวทางในการ
พัฒนาหลักสูตรรายวิชาเลือก จะตองนําสาระและมาตรฐานการเรียนรูที่กําหนดไปพั ฒนาหลักสูตรให
สอดคลองกับสภาพปญหา ความตองการของผูเรียน ชุมชน สังคม การพัฒนาหลักสูตรรายวิชาเลือก
จึงมีความสําคัญในการกําหนดทิศทางการเรียนรูใหสอดคลองกับหลักสูตรสถานศึกษาและของผูเรียน
ใหบรรลุมาตรฐานการเรียนรูที่กําหนดไว
                   รัฐมนตรีวาการกระทรวงศึกษาธิการ ไดประกาศใหจัดการเรียนการสอนหลักสูตรอาเซียน
ศึกษา ไวรองรับการกาวสูการเปน ประชาคมอาเซียนของไทยอยางเต็มตัว ในป 2558 ซึ่งจะทําให
ผู เ รี ย นเห็ น ความสํ า คั ญขององค ก รเเห ง นี้ และเข า ใจความเป น “อาเซี ยน” องค ก รเก า เเก แ ละ
มีความสําคัญมากที่สุดสําหรับภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต
            สถาบัน กศน.ภาคเหนือ จึงไดดําเนินการพัฒนารายวิชาเลือ ก หลักสูตรอาเซียนศึกษา
เพื่อสนับสนุนการจัดการเรียนการสอนของ ครู กศน. เพื่อใหผูเรียนไดทราบถึงความเปนมา พัฒนาการ
และความร วมมือ ตางๆ ระหวา งประเทศสมาชิกอาเซี ยน และร ว มกั น เพื่อ การขั บ เคลื่ อ นการเป น
ประชาคมที่เขมแข็งตอไป
          สถาบัน กศน. ภาคเหนือ ขอขอบคุณคณะทํางานทุกทานที่ใหขอคิดเห็นอันเปนประโยชน
ตอการพัฒนาหลักสูตรดังกลาว หวังวาเอกสารรายวิชาเลือกฉบับนี้จะเปนประโยชนตอผูบริหารและครู
กศน. ตามสมควร



                                                               (นายประเสริฐ หอมดี)
                                                       ผูอํานวยการ สถาบัน กศน. ภาคเหนือ
                                                                 มิถุนายน 2554
คํานํา
สารบัญ
คําอธิบายรายวิชาอาเซียนศึกษา               1
รายละเอียด คําอธิบายรายวิชาอาเซียนศึกษา    3
รายวิชาอาเซียนศึกษา                        7
แผนการจัดการเรียนรู รายวิชาอาเซียนศึกษา   11
ใบความรู ที่ 1-14                         26
ใบงาน ที่ 1-11                             83
บรรณานุกรม
คณะผูจัดทํา
กฎบัตรอาเชียน (ASEAN Charter) เอกสารเผยแพรและสื่อประชาสัมพันธ กรมอาเซียน กระทรวง
        การต า งประเทศ (ออนไล น ). เข า ถึ ง ได จ าก :http://www.mfa.go.th/asean/
        asean_web/media/aseanMiniBook.pdf (วันที่คนขอมูล : 22 พฤษภาคม 2554).
กฏบัตรอาเซียน (ASEAN Charter) หมวดที่ 4 โครงสรางองคกรของอาเซีย น เอกสารเผยแพร
        และประชาสัมพั น ธ กรมอาเซียน กระทรวงการต างประเทศ(ออนไลน ). เข าถึ งได จ าก
        :http://aseansummit.mfa.go.th/15/thai/PDF/ASEAN_Charter_TH+EN.pdf        (วั น ที่
        คนขอมูล : 21 พฤษภาคม 2554).
การรวมตั ว ทางเศรษฐกิ จ ของอาเซี ย น เอกสารเผยแพร อ อนไลน กรมอาเซี ย น กระทรวง
       การตางประเทศ (ออนไลน). เขาถึงไดจ าก www.mfa.go.th/asean/asean_web/docs/
       asean_economy.doc (วันที่คนขอมูล : 21 พฤษภาคม 2554).
ข อมู ล ทั่ ว ไปของอาเชี ย น. (ออนไลน). เข าถึ งได จ าก : http://www.mfa.go.th/web/1694.php
               เว็บไซตกองอาเชียน กระทรวงตางประเทศ (วันที่คนขอมูล : 27 พฤษภาคม 2554)
ขอมูล ประเทศและเขตเศรษฐกิจ , จับตาเอเซี ยตะวันออก East Asia Watch เขาถึ งไดจ าก :
               http://www.eastasiawatch.in.th/information.php (วั นที่ คน ข อมู ล : 21 พฤษภาคม
               2554)
เขตการคาเสรีอาเซียน (ASEAN Free Trade Area: AFTA) เอกสารเผยแพรออนไลน ศูนยศึกษา
               ความร ว มมื อ ระหว า งประเทศ มหาวิ ท ยาลั ย ธรรมศาสตร ICSC : International
               Cooperation Study Center (ออนไลน). เขาถึงไดจาก :http://www.apecthai.org/2008/
               upload/5870AFTA (วันที่คนขอมูล : 12 พฤษภาคม 2554).
ขอมูลทั่วไปของประชาคมสังคมและวัฒนธรรมอาเซียน กรมอาเซียน กระทรวงการตางประเทศ
               (ออนไลน ). เข า ถึง ได จ าก : http://www.mfa.go.th/web/3020.php?sid=4153 (วั น ที่
               คนขอมูล :15 พฤษภาคม 2554).
ความรวมมือดานการเมืองและความมั่นคงของอาเซียน เอกสารเผยแพรออนไลน กรมอาเซียน
        กระทรวงการต า งประเทศ (ออนไลน ). เข า ถึ ง ได จ าก : www.mfa.go.th/asean
        /asean_web/docs/611.doc (วันที่คนขอมูล : 21 พฤษภาคม 2554).
ความมั่นคงในกรอบของการประชุม อาเซี ยนวาด วยความร ว มมื อดานการเมื องและความ
         มั่นคงในภูมิภาคเอเชีย-แปซิฟก (ASEAN Regional Forum – ARF) เอกสารเผยแพร
         ออนไลน ศูน ยศึกษาความร วมมือ ระหวางประเทศ มหาวิ ทยาลั ยธรรมศาสตร ICSC :
         International Cooperation Study Center (ออนไลน). เข าถึ งไดจ าก :http://www.
         apecthai.org/2008/upload/836ARF.pdf (วันที่คนขอมูล : 21 พฤษภาคม 2554).
ความรว มมือดานการลงทุน (ASEAN Investment Area: AIA) เอกสารเผยแพรออนไลน ศูนย
         ศึกษาความร วมมื อระหวางประเทศ มหาวิ ทยาลัยธรรมศาสตร ICSC : International
         Cooperation Study Center (ออนไลน). เขาถึงไดจาก :http://www.apecthai.org/2008/
         upload/9558AIA.pdf (วันที่คนขอมูล : 12 พฤษภาคม 2554).
ความรว มมือดานอุตสาหกรรม(ASEAN Industrial Cooperation Scheme: AICO) เอกสาร
         เผยแพรอ อนไลน ศู น ยศึก ษาความร ว มมื อ ระหว า งประเทศ มหาวิท ยาลั ยธรรมศาสตร
         ICSC : International Cooperation Study Center (ออนไลน). เขาถึงไดจาก :http://www.
         apecthai.org/2008/upload/5306AICO.pdf (วันที่คนขอมูล : 12 พฤษภาคม 2554).
ความรวมมือดานขนสงของอาเซียน (ASEAN Transport Cooperation) เอกสารเผยแพรออนไลน
        ศูนยศึกษาความรวมมือระหวางประเทศ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร ICSC : International
        Cooperation Study Center (ออนไลน). เขาถึงไดจาก :http://www.apecthai.org/2008/
        upload/3058Transportation.pdf (วันที่คนขอมูล : 13 พฤษภาคม 2554).
ความรวมมือดานพลังงานในอาเซียน (ASEAN Energy Cooperation) เอกสารเผยแพรออนไลน
        ศูนยศึกษาความรวมมือระหวางประเทศ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร ICSC : International
        Cooperation Study Center (ออนไลน). เขาถึงไดจ าก :ttp://www.apecthai.org/2008/
        upload/999Energy.pdf (วันที่คนขอมูล : 12 พฤษภาคม 2554).
ความรว มมือดานการทองเที่ยวในกรอบอาเซียนและอาเซียน + 3 เอกสารเผยแพรออนไลน
         ศูนยศึกษาความรวมมือระหวางประเทศ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร ICSC : International
         Cooperation Study Center (ออนไลน). เขาถึงไดจาก :http://www.apecthai.org/2008/
         upload/3052Tourism.pdf (วันที่คนขอมูล : 12 พฤษภาคม 2554).
ความรวมมือของอาเซียนดาน Functional Cooperation เอกสารเผยแพรออนไลน ศูนยศึก ษา
         ความร ว มมื อ ระหว า งประเทศ มหาวิ ท ยาลั ย ธรรมศาสตร ICSC : International
         Cooperation Study Center (ออนไลน). เขาถึงไดจาก :http://www.apecthai.org/2008/
         upload/1298Overview.pdf (วันที่คนขอมูล : 21 พฤษภาคม 2554).
ประโยชน ที่ ไ ทยได รั บ จากการเข า ร ว มกลุ ม อาเซี ย น. (ออนไลน ). เข า ถึ ง ได จ าก :
       http://www.mfa.go.th หนั งสื อ “มารูจักอาเซี ย นกั น เถอะโดยกรมอาเซี ยน กระทรวง
       การตางประเทศ (วันที่คนขอมูล : 23 พฤษภาคม 2554).
ประชาคมอาเซียน (ASEAN Community) เอกสารเผยแพรและสื่ อ ประชาสัมพัน ธ กรมอาเซียน
       กระทรวงการต า งประเทศ (ออนไลน ). เข า ถึ ง ได จ าก : http://www.mfa.go.th/
       internet/document/1808.doc) (วันที่คนขอมูล : 30 พฤษภาคม 2554)
ประชาคมการเมื อ งและความมั่ นคงอาเซี ย น บทความเว็ บ ไซต กรมอาเซี ยน กระทรวงการ
       ตางประเทศ (ออนไลน). เขาถึงไดจาก : http://www.mfa.go.th/web/3020.php?sid=4051
       (วันที่คนขอมูล : 21 พฤษภาคม 2554).
ประชาคมสังคมและวัฒนธรรมอาเซียน บทความเว็บไซต กรมอาเซียน กระทรวงการตางประเทศ
       (ออนไลน). เขาถึงไดจาก :http://www.mfa.go.th/web/3020.php?sid=4053 (วัน ที่คน
       ขอมูล : 28 พฤษภาคม 2554).
มารูจักอาเซียนกันเถอะ เอกสารเผยแพร กรมอาเชียน กระทรวงการตางประเทศ (ออนไลน). เขาถึง
           ได จ าก : http://www.mfa.go.th/web/1694.php เ ว็ บ ไ ซ ต ก องอ าเ ชี ย น ก ระ ท รว ง
           ตางประเทศ (วันที่คนขอมูล : 27 พฤษภาคม 2554).
มารูจักอาเซียนกันเถอะ เอกสารเผยแพรและสื่อประชาสัมพันธออนไลน กรมอาเซียน กระทรวงการ
           ต างประเทศ (ออนไลน ). เข า ถึ ง ได จ าก :http://www.mfa.go.th/asean/ asean_web/
           edia/asean_book.pdf (วันที่คนขอมูล : 30 พฤษภาคม 2554).
(ออนไลน ). เขา ถึ งได จ าก : http://www.mfa.go.th/web/3020.php?sid=4052      (วัน ที่ค น ขอ มู ล :
          29 พฤษภาคม 2554).
เอกสาร “ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน” ฉบับประชาชน โดยกรมเจรจาการคาระหวางประเทศ
         กระทรวงพาณิชย.
Brunei, Wikipedia the free encyclopedia (http://en.wikipedia.org/wiki/Brunei)
Combodia, Wikipedia the free encyclopedia (http://en.wikipedia.org/wiki/Cambodia)
Indonesia, Wikipedia the free encyclopedia (http://en.wikipedia.org/wiki/Indonesia)
List of countries and outlying territories by total area http://en.wikipedia.org/wiki/List_of_
          countries_and_outlying_territories_by_total_area
List of countries by population http://en.wikipedia.org/wiki/List_of_countries_by_ population
Laos, Wikipedia the free encyclopedia (http://en.wikipedia.org/wiki/Laos)
Malaysia, Wikipedia the free encyclopedia (http://en.wikipedia.org/wiki/Malaysia)
Myanmar, Wikipedia the free encyclopedia (http://en.wikipedia.org/wiki/Myanmar)
Philippines, Wikipedia the free encyclopedia (http://en.wikipedia.org/wiki/Philippines)
The Founding of ASEAN เว็บไซตอ ยางเปน ทางการของ ASEAN The Official Website of the
        Association of South East Asian Nations เข าถึงไดจ าก : http://www.asean.org
        (วันที่คนขอมูล : 21 พฤษภาคม 2554).
Thailand, Wikipedia the free encyclopedia (http://en.wikipedia.org/wiki/Thailand)
Singapore, Wikipedia the free encyclopedia (http://en.wikipedia.org/wiki/Singapore)
Vietnam, Wikipedia the free encyclopedia (http://en.wikipedia.org/wiki/Vietnam)
ที่ปรึกษา
            นายประเสริฐ หอมดี          ผูอํานวยการสถาบัน กศน. ภาคเหนือ
            นางนาถยา ผิวมั่นกิจ        รองผูอํานวยการสถาบัน กศน. ภาคเหนือ
            นางสาวสุดใจ บุตรอากาศ      ครูเชี่ยวชาญ สถาบัน กศน. ภาคเหนือ
ผูเขียน
            นางณิชากร เมตาภรณ         ครูชํานาญการพิเศษ สถาบัน กศน.ภาคเหนือ
            นางสาวอรวรีย ฟองจันทร    ครูชํานาญการพิเศษ สถาบัน กศน. ภาคเหนือ
            นางสาวนัชรี อุมบางตลาด    ครูชํานาญการ สถาบัน กศน. ภาคเหนือ
            นางสาวสุวิชชา อินหนองฉาง   ครูอาสาฯ ศูนย กศน.อําเภอสันทราย จ.เชียงใหม
ผูเรียบเรียงใบความรู
             นางณิชากร เมตาภรณ        ครูชํานาญการพิเศษ สถาบัน กศน.ภาคเหนือ
             นางสาวนัชรี อุมบางตลาด   ครูชํานาญการ สถาบัน กศน. ภาคเหนือ
บรรณาธิการ
         นางสาวจิราพร จันทรขาว        ครูชํานาญการพิเศษ โรงเรียนลําปางกัลยาณี จ.ลําปาง
ผูรับผิดชอบโครงการ
            นางสาวพิมพาพร อินทจักร    ครูเชี่ยวชาญ สถาบัน กศน.ภาคเหนือ
            นางณิชากร เมตาภรณ         ครูชํานาญการพิเศษ สถาบัน กศน.ภาคเหนือ
ผูพิมพ/รูปเลม
             นางมุกดา ภูตาสืบ          เจาหนาที่ สถาบัน กศน.ภาคเหนือ
             นางสาวปยนุช ภูมิศรี      เจาหนาที่ สถาบัน กศน.ภาคเหนือ
ออกแบบปก
       นางสาวนัชรี อุมบางตลาด         ครูชํานาญการ สถาบัน กศน. ภาคเหนือ
พิมพที่
            สถาบัน กศน.ภาคเหนือ
คําอธิบายรายวิชา อาเซียนศึกษา รหัส สค02015
                                สาระการพัฒนาสังคม
              ระดับประถมศึกษา มัธยมศึกษาตอนตน มัธยมศึกษาตอนปลาย
                         จํานวน 3 หนวยกิต ( 120 ชั่วโมง )

มาตรฐานการเรียนรู
         มาตรฐานที่ 5.1 มีค วามรูความเขา ใจ และตระหนั กถึ งความสํ าคั ญเกี่ ยวกั บ ภูมิศาสตร
ประวัติศาสตร เศรษฐศาสตร การเมือง การปกครอง สามารถนํามาปรับใชในการดํารงชีวิต

ผลการเรียนรูที่คาดหวัง
          1. อธิบายขอมูลเกี่ยวกับความเปนมาและพัฒนาการของอาเซียนในเรื่องประวัติ วัตถุประสงค
การกอตั้งอาเซียน
          2. ระบุประเทศกลุมสมาชิกอาเซียน
          3. อธิบายความสําคัญของประชาคมอาเซียนและกฎบัตรอาเซียน (ASEAN Charter)
          4. สรุปผลงานของกลุมอาเซียน 3 ดาน คือ ความรวมมือในดานการเมืองและความมันคง   ่
ของอาเซียน ความรวมมือของอาเซียนในดานเศรษฐกิจ และความรวมมือดานสังคมและวัฒนธรรม
          5. วิเคราะหปญหาและอุปสรรคจากผลงานของกลุมอาเซียนในดานตางๆ
          6. อธิบายแนวทางการดําเนินงานเพื่อนําไปสูการเปน ประชาคมเศรษฐกิจ อาเซียน (ASEAN
Economic Community) : AEC
          7. อธิบายการกําเนิดการจัดตั้งเขตการคาเสรีอาเซียน (ASEAN Free Trade Area) : AFTA
          8. บอกประโยชนที่ประเทศไทยไดรับในการเปนสมาชิกของกลุมอาเซียน

ศึกษาและฝกทักษะ
        1. ความเปนมาและพัฒนาการของอาเซียนในเรื่องประวัติ วัตถุประสงคการกอตั้งอาเซียน
        2. ประเทศกลุมสมาชิกอาเซียน
        3. ความสําคัญของประชาคมอาเซียนและกฎบัตรอาเซียน (ASEAN Charter)
        4. ผลงานของกลุมอาเซียน 3 ดาน คือ ความรวมมือ ในดานการเมือ งและความมั่น คงของ
อาเซียน ความรวมมือของอาเซียนในดานเศรษฐกิจ และความรวมมือดานสังคมและวัฒนธรรม
        5. ปญหาและอุปสรรคจากผลงานของกลุมอาเซียนในดานตางๆ
        6. แนวทางการดํ า เนิ น งานเพื่ อ นํ า ไปสู ก ารเป น ประชาคมเศรษฐกิ จ อาเซี ย น (ASEAN
Economic Community) : AEC

                             รายวิชาเลือก อาเซียนศึกษา หนา 1
7. การกําเนิดการจัดตั้งเขตการคาเสรีอาเซียน (ASEAN Free Trade Area) : AFTA
         8. ประโยชนที่ประเทศไทยไดรับในการเปนสมาชิกของกลุมอาเซียน

การจัดประสบการณการเรียนรู
         1. จัดกลุมอภิปรายในเนื้อหาที่เกี่ยวของ
         2. เชิญนักวิช าการผูรูมาใหความรู เกี่ยวกั บประโยชนแ ละผลกระทบที่ เกิด ตอ ประเทศและ
ประชาชน
         3. จัดทําโครงการนิทรรศการฐานความรู
         4. ศึกษาดูงานในโรงเรียนประจําจังหวัดที่นํารองการเรียนหลักสูตรอาเซียนศึกษา
         5. ศึกษาจากเอกสารและสื่อทุกประเภทที่เกี่ยวของ เว็บไซต ของกรมอาเซียน กระทรวงการ
ตางประเทศ (www.mfa.go.th) และ (www.14thaseansummit.org) และเว็ บไซต ของสํานักงาน
เลขาธิการอาเซียน (www.aseansec.org) ฯลฯ
         6. ศึกษาจาก VCD ของกรมอาเซียน กระทรวงการตางประเทศ
         7. ศึกษาจากรายการโทรทัศน รายการ วิถีอาเซีย น (ASEAN Way) จากไทยทีวีสีชอง 3
ทุกวันเสาร เวลาประมาณ 05.45 น.

การวัดและประเมินผล
       1. สังเกตพฤติกรรมระหวางการเรียนรู
       2. วัดความรูจากการทํากิจกรรมในใบงาน
       3. การวัดผลสัมฤทธิ์ปลายภาค




                              รายวิชาเลือก อาเซียนศึกษา หนา 2
รายละเอียด คําอธิบายรายวิชา อาเซียนศึกษา รหัส สค02015
                                  สาระการพัฒนาสังคม
               ระดับประถมศึกษา มัธยมศึกษาตอนตน มัธยมศึกษาตอนปลาย
                           จํานวน 3 หนวยกิต (120 ชั่วโมง)

มาตรฐานที่ 5.1 มีความรูความเขาใจ และตระหนักถึงความสําคัญเกี่ยวกับภูมิศาสตร ประวัติศาสตร
      เศรษฐศาสตร การเมือง การปกครอง สามารถนํามาปรับใชในการดํารงชีวิต

                                                                                       เวลา
 ที่    หัวเรื่อง              ตัวชี้วัด                        เนื้อหา
                                                                                     (ชั่วโมง)
 1 พัฒนาการ     1.1 บอกประวัติความเปนมาของ        1.1 ความเปนมาของอาเซียน              15
   อาเซียน          อาเซียน (ASEAN) ได
                1.2 เขาใจวัตถุประสงคในการ        1.2 วัตถุประสงคในการกอตั้งและ
                    กอตั้งประเทศสมาชิก                ประเทศสมาชิกอาเซียน
                    อาเซียน (ASEAN)
                1.3 บอกความหมายและความ             1.3 ความหมาย ความสําคัญ ของ
                    สําคัญของประชาคม                   ประชาคมอาเซียนและกฎบัตร
                    อาเซียนและกฎบัตรอาเซียน            อาเซียน (ASEAN Charter)
                    (ASEAN Charter) ได
 2 ผลงานของ 2.1 บอกโครงสรางและกลไกการ             2.1 โครงสรางและกลไกการ              30
   กลุมอาเซียน     ดําเนินงานของอาเซียนได             ดําเนินงานของอาเซียน
                                                        - ที่ประชุมสุดยอดอาเซียน
                                                          (ASEAN Summit)
                                                        - คณะมนตรีประสานงาน
                                                          อาเซียน (ASEAN
                                                          Coordinating Councils :
                                                          ACCs)
                                                        - คณะมนตรีประชาคม
                                                          อาเซียน (ASEAN
                                                          Community Councils)


                            รายวิชาเลือก อาเซียนศึกษา หนา 3
เวลา
ที่   หัวเรื่อง               ตัวชี้วัด                       เนื้อหา
                                                                                    (ชั่วโมง)

                                                      - องคกรระดับรัฐมนตรี
                                                         อาเซียนเฉพาะสาขา
                                                         (ASEAN Sectoral
                                                         Ministerials Bodies)
                                                      - เลขาธิการอาเซียนและสํานัก
                                                         เลขาธิการอาเซียน
                                                         (Secretary-General of
                                                         ASEAN and ASEAN
                                                         Secretariat)
                                                      - คณะกรรมการผูแทนถาวร
                                                         ประจําอาเซียน(Committee
                                                         of Permanent
                                                         Representatives of
                                                         ASEAN)
                                                      - สํานักงานอาเซียนแหงชาติ
                                                         หรือกรมอาเซียน (ASEAN
                                                         National Secretariat)
                                                      - องคกรสิทธิมนุษยชน
                                                         อาเซียน (ASEAN Human
                                                         Rights Body)
                                                      - มูลนิธิอาเซียน (ASEAN
                                                         Foundation)
                  2.2 บอกความสําคัญในการ          2.2 ความสําคัญในการรวมมือ
                      รวมมือของอาเซียน ทั้ง 3        ของอาเซียน ทั้ง 3 ดาน
                      ดานได                         - ดานการเมืองและความ
                      - ดานการเมืองและความ              มั่นคง
                         มั่นคง                       - ดานเศรษฐกิจ
                      - ดานเศรษฐกิจ                   - ดานสังคมและวัฒนธรรม

                           รายวิชาเลือก อาเซียนศึกษา หนา 4
เวลา
ที่   หัวเรื่อง              ตัวชี้วัด                       เนื้อหา
                                                                                  (ชั่วโมง)
                      - ดานสังคมและวัฒนธรรม
                  2.3 สรุปผลจากการประชุมกลุม 2.3 ผลจากการประชุมอาเซียนใน
                      อาเซียนในรอบปที่ผานมา     รอบปที่ผานมา
                  2.4 อธิบาย สรุปปญหาและ     2.4 ปญหาและอุปสรรคที่สําคัญ
                      อุปสรรคที่สําคัญของ         ของอาเซียน
                      อาเซียนได

3 ประชาคม      3.1 บอกความหมายและ                3.1 ความหมายและวัตถุประสงค         20
  เศรษฐกิจ         วัตถุประสงคของประชาคม            ของประชาคมเศรษฐกิจ
  อาเซียน          เศรษฐกิจอาเซียน (AEC) ได         อาเซียน (AEC)
  (ASEAN       3.2 อธิบายเปาหมายของ             3.2 เปาหมายของประชาคม
  Economic         ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน            เศรษฐกิจอาเซียน (AEC)
  Community) :     (AEC) ได
  AEC          3.3 อธิบายแนวทางการ               3.3 แนวทางการดําเนินงานเพื่อ
                   ดําเนินงาน เพื่อนําไปสูการ       นําไปสูการเปน AEC
                   เปน AEC ได
               3.4 บอกประโยชนที่ประเทศไทย       3.4 ประโยชนที่ประเทศไทยไดรับ
                   ไดรับจากการเขารวม AEC          จากการเขารวมประชาคม
                                                     เศรษฐกิจอาเซียน (AEC)

4 การกําเนิดการ 4.1 บอกประวัติความเปนมา 4.1 ความหมาย ความสําคัญ                     20
  จัดตั้งเขต        ความสําคัญ และ               และวัตถุประสงคของ AFTA
  การคาเสรี        วัตถุประสงคของ AFTA ได
  อาเซียน       4.2 เห็นคุณคาและประโยชนที่ 4.2 ประโยชนที่ประเทศไทยไดรับ
  (ASEAN Free       ประเทศไทยเขารวมเขต         จากการเขารวมเขตการคาเสรี
  Trade Area) :     การคาเสรี อาเซียน (AFTA)    อาเซียน (AFTA)
  AFTA




                          รายวิชาเลือก อาเซียนศึกษา หนา 5
เวลา
ที่   หัวเรื่อง              ตัวชี้วัด                       เนื้อหา
                                                                                   (ชั่วโมง)
5 ประโยชนที่     5.1 มีความรูความเขาใจใน      5.1 ทิศทางสังคมไทยตอการ              35
  ประเทศไทย           ทิศทางสังคมไทยตอการ           เปลี่ยนแปลงสูสังคมอาเซียน
  ไดรับในการ         เปลี่ยนแปลงสูสังคมอาเซียน     ในดาน
  เปนสมาชิก          ในดานตางๆ                    - ความรวมมือทางการเมือง
  ของกลุม                                           - ความรวมมือทางเศรษฐกิจ
  อาเซียน                                            - ความรวมมือเฉพาะดาน
                  5.2 เห็นคุณคาและประโยชนที่ 5.2 ประโยชนที่ไทยไดรับในการ
                      ประเทศไทยไดรับในการเปน       รวมกลุมอาเซียน
                      สมาชิกของกลุมอาเซียน          - การแกปญหาความยากจน
                                                     - การสงเสริมการทองเที่ยว
                                                     - การอนุรักษสิ่งแวดลอม
                                                     - การแพรระบาดของ
                                                       โรคติดตอ
                                                     - การแกปญหาการคา
                                                       ยาเสพติด
                                                     - การจัดการการเกิดภัยพิบัติ
                                                     - การปกปองสิทธิสตรี
                                                     - การแกปญหาการกอการราย
                                                       ขามชาติ




                          รายวิชาเลือก อาเซียนศึกษา หนา 6
รายวิชา อาเซียนศึกษา รหัส สค02015
                                 สาระการพัฒนาสังคม
               ระดับประถมศึกษา มัธยมศึกษาตอนตน มัธยมศึกษาตอนปลาย
                          จํานวน 3 หนวยกิต ( 120 ชั่วโมง)

ความเปนมา
          กระทรวงศึกษาธิการ โดยสํานักงานเลขาธิการสภาการศึกษา ไดทําการวิจัยการพัฒนาดาน
กฎหมายรองรับการเปดเสรีทางการศึกษา และกระทรวงศึกษาธิการยังไดมีนโยบายชัดเจนในการพัฒนา
การศึกษา เพื่อรองรับ การเป น ประชาคมอาเซียนรวมกัน ซึ่งจะต องพั ฒนาทั้งในดา นการศึกษา ดา น
วัฒนธรรม และวิถีชีวิตความเปนอยู ดังนั้นในสวนของสํานักงาน กศน. จึงไดมอบหมายใหสถาบัน กศน.
ภาคเหนือพัฒนาหลักสูตรอาเซียนศึกษา เพื่อใหผูเรียนไดท ราบถึงความเปนมา พัฒนาการ และความ
รวมมือตางๆ ระหวางประเทศสมาชิกอาเซียน ซึ่งจะชวยใหทราบถึงความสําคัญขององคกรเเหงนี้ และ
เขาใจความเปน “อาเซียน” องคกรเกาเเกและมีความสําคัญมากที่สุดสําหรับภูมิภาคเอเชียตะวันออก
เฉียงใต และรวมกันเพื่อการขับเคลื่อนการเปนประชาคมที่เขมแข็งตอไป

หลักการ
          เปนรายวิชาเลือก สาระการพัฒนาสังคม ที่สามารถใหผูเรียนเลือกเรียนไดตามความสนใจ

จุดประสงครายวิชา เพื่อใหผูเรียน
          1. รูโครงสรางของอาเซียน ประวัติความเปนมาของอาเซียน และเขาใจวัตถุประสงคของการ
               
กอตั้งประเทศสมาชิกอาเซียน
          2. บอกความสําคัญของประชาคมอาเซียนและกฎบัตรอาเซียน
          3. บอกความสําคัญของผลงานของกลุมอาเซียน 3 ดาน คือ ความรวมมือในดานการเมือง
และความมันคงของอาเซียน ความรวมมือของอาเซียนในดานเศรษฐกิจ และความรวมมือดานสังคม
            ่
และวัฒนธรรม
          4. สรุปผลจากการประชุมกลุมอาเซียนในรอบปที่ผานมา
          5. อธิบายและสรุปปญหาและอุปสรรคที่สําคัญของอาเซียนไดบอกความหมาย เปาหมาย
และแนวทางการดําเนินงานเพื่อนําไปสูการเปนของประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน (AEC)
          6. บอกประวัติความเปนมา ความสําคัญ และวัตถุประสงคของ AFTA
          7. มีความรูความเขาใจในทิศทางสังคมไทยตอการเปลี่ยนแปลงสูสังคมอาเซียนในดานตางๆ
          8. เห็นคุณคาและประโยชนที่ประเทศไทยไดรับจากการเขารวมกลุมอาเซียน

                             รายวิชาเลือก อาเซียนศึกษา หนา 7
ระยะเวลาเรียนและจํานวนหนวยกิต
       จํานวน 120 ชั่วโมง 3 หนวยกิต

โครงสรางเนื้อหาหลักสูตร
        หลักสูตรอาเซียนศึกษา ประกอบดวยเนื้อหาจํานวน 5 เรื่อง โดยแยกเปนเนื้อหาดังตอไปนี้
        1. พัฒนาการอาเซียน
        2. ผลงานของกลุมอาเซียน
        3. ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน (ASEAN Economic Community) : AEC
        4. การกําเนิดการจัดตั้งเขตการคาเสรีอาเซียน (ASEAN Free Trade Area) : AFTA
        5. ประโยชนที่ประเทศไทยไดรับในการเปนสมาชิกของกลุมอาเซียน

รายละเอียดเนื้อหา
         1. พัฒนาการอาเซียน
            1.1 ความเปนมาของอาเซียน
            1.2 วัตถุประสงคในการกอตั้งและประเทศสมาชิกอาเซียน
            1.3 ความหมาย ความสํ าคั ญของประชาคมอาเซี ยนและกฎบั ตรอาเซี ย น (ASEAN
Charter)
         2. ผลงานของกลุมอาเซียน
            2.1 โครงสรางและกลไกการดําเนินงานของอาเซียน
                - ที่ประชุมสุดยอดอาเซียน (ASEAN Summit)
                - คณะมนตรีประสานงานอาเซียน (ASEAN Coordinating Councils : ACCs)
                - คณะมนตรีประชาคมอาเซียน (ASEAN Community Councils)
                - องคกรระดับรัฐมนตรีอาเซียนเฉพาะสาขา (ASEAN Sectoral Ministerials Bodies)
                - เลขาธิการอาเซียนและสํานักเลขาธิการอาเซียน (Secretary-General of ASEAN
                  and ASEAN Secretariat)
                - คณะกรรมการผู แ ทนถาวรประจํ า อาเซี ย น (Committee of Permanent
                  Representatives of ASEAN)
                - สํานักงานอาเซียนแหงชาติ หรือกรมอาเซียน (ASEAN National Secretariat)
                - องคกรสิทธิมนุษยชนอาเซียน (ASEAN Human Rights Body)
                - มูลนิธิอาเซียน (ASEAN Foundation)


                             รายวิชาเลือก อาเซียนศึกษา หนา 8
2.2 ความสําคัญในการรวมมือของอาเซียน 3 ดาน คือ
                - ดานการเมืองและความมั่นคง
                - ดานเศรษฐกิจ
                - ดานสังคมและวัฒนธรรม
            2.3 ผลจากการประชุมอาเซียนในรอบปที่ผานมา
            2.4 ปญหาและอุปสรรคที่สําคัญของอาเซียน
         3. ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน (ASEAN Economic Community) : AEC
            3.1 ความหมายและวัตถุประสงคของประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน (AEC)
            3.2 เปาหมายของประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน (AEC)
            3.3 แนวทางการดําเนินงานเพื่อนําไปสูการเปน AEC
            3.4 ประโยชนที่ประเทศไทยไดรับจากการเขารวมประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน (AEC)
         4. การกําเนิดการจัดตั้งเขตการคาเสรีอาเซียน (ASEAN Free Trade Area) : AFTA
            4.1 ความหมาย ความสําคัญ และวัตถุประสงคของ AFTA
            4.2 ประโยชนที่ประเทศไทยไดรับจากการเขารวมเขตการคาเสรีอาเซียน (AFTA)
         5. ประโยชนที่ประเทศไทยไดรับในการเปนสมาชิกของกลุมอาเซียน
            5.1 ทิศทางสังคมไทยตอการเปลี่ยนแปลงสูสังคมอาเซียนในดาน
                - ความรวมมือทางการเมือง
                - ความรวมมือทางเศรษฐกิจ
                - ความรวมมือเฉพาะดาน เชน แรงงาน เด็กและเยาวชน ยาเสพติด
            5.2 ประโยชนที่ประเทศไทยไดรับจากการเขารวมกลุมอาเซียน

กระบวนการเรียนรู
         การจั ดกระบวนการเรี ยนรู ตามหลั กสู ตรการศึ กษานอกระบบระดั บ การศึ กษาขั้ น พื้ น ฐาน
พุทธศักราช 2551 มุงพัฒนาใหผูเรียนมีความรูความสามารถในการเรียนรู โดยเนนพัฒนาทักษะการ
แสวงหาความรู ประยุก ตใ ชความรู และสรา งองค ความรูสํ าหรับ ตนเอง ชุมชนและสั งคม ซึ่งกําหนด
รูปแบบการจัดกระบวนการเรียนรู ดังนี้
         1. กําหนดสภาพหัวขอเนื้อหาของหลักสูตรที่กําหนด
         2. แสวงหาขอมูลและจัดการเรียนรูที่เชื่อมโยงความรูใหมกับความรูเดิม
         3. ประเมินผลการเรียนรู โดยใหมีการประเมิน ทบทวนแกไขขอบกพรอง




                             รายวิชาเลือก อาเซียนศึกษา หนา 9
สื่อและแหลงการเรียนรู
        1. ใบงาน / ใบความรู
        2. นักวิชาการ / ผูรู
        3. เอกสาร
        4. VCD ของกรมอาเซียน กระทรวงการตางประเทศ
        5. เว็บไซตที่เกี่ยวของกับอาเซียน
           - กรมอาเซียน กระทรวงการตางประเทศ (www.mfa.go.th/asean)
           - สํานักงานเลขาธิการอาเซียน (www.aseansec.org)
           - สมาคมอาเซียน-ประเทศไทย (www.aseanthailand.org)
           - วิกิพีเ ดีย สารานุกรมเสรี ออนไลน - สมาคมประชาชาติ แหงเอเชียตะวัน ออกเฉียงใต
             (th.wikipedia.org/wiki/Asean)
        6. หองสมุดประชาชนในชุมชน
        7. รายการโทรทัศน รายการ วิถีอ าเซียน (ASEAN Way) จากไทยทีวีสีชอง 3 ทุกวันเสาร
เวลาประมาณ 05.45 น.

การวัดผลประเมินผล
         1. ใบงาน
         2. การเขารวมกิจกรรมกลุม
         3. การนําเสนอผลงานจากการคนควา




                           รายวิชาเลือก อาเซียนศึกษา หนา 10
แผนการจัดการเรียนรู รายวิชา อาเซียนศึกษา รหัส สค02015
                                                          สาระการพัฒนาสังคม
                                      ระดับประถมศึกษา มัธยมศึกษาตอนตน มัธยมศึกษาตอนปลาย
                                                    จํานวน 3 หนวยกิต (120 ชั่วโมง)
                                                                                              สื่อ / วัสดุ / อุปกรณ / จํานวน      การวัด
ที่ หัวเรื่อง         ตัวชี้วัด              เนื้อหา              กิจกรรมการเรียนรู
                                                                                                    แหลงเรียนรู      ชั่วโมง ประเมินผล
1 พัฒนาการ 1.1 บอกประวัติความ 1.1 ความเปนมาของ 1. ครูสนทนารวมกับผูเรียน 1. ใบความรูที่ 1 เรื่อง ความ                  10 1. สังเกตจากการ
   อาเซียน        เปนมาของอาเซียน       อาเซียน (ASEAN)       เรื่อง ความเปนมาของ            เปนมาและวัตถุประสงค             มีสวนรวม
                  (ASEAN) ได                                  อาเซียน                         ในการกอตั้งอาเซียน            2. การนําเสนอ
              1.2 เขาใจวัตถุประสงค 1.2 วัตถุประสงคในการ 2. ครูใหผูเรียนศึกษาใบความรู 2. VCD เรื่องราวเกี่ยวกับ             ของกลุม
                  ในการกอตั้ง           กอตั้งและประเทศ      ที่ 1 เรื่อง ความเปนมาและ อาเซียน                             3. การสรุปใบ
                  ประเทศสมาชิก           สมาชิกอาเซียน         วัตถุประสงคของการกอตั้ง 3. ใบงานที่ 1 เรื่อง ความ               งาน
                  อาเซียน                (ASEAN)               อาเซียน                         เปนมาและวัตถุประสงค
                  (ASEAN)ได                                3. ครูใหผูเรียนสรุป ความ         ของอาเซียน
                                                               เปนมาและวัตถุประสงค 4. ใบความรูที่ 2 เรื่อง
                                                                                                          
                                                               ของการกอตั้งอาเซียน ลง         ประเทศสมาชิกอาเซียนใน
                                                               ในใบงานที่ 1                    ปจจุบัน
                                                            4. ครูและผูเรียนสรุปเรื่องการ 5. ใบงาน ที่ 2 เรื่องประเทศ
                                                               กอตั้งและสมาชิกอาเซียน         สมาชิกอาเซียนในปจจุบัน
                                                               และเปด VCD เกี่ยวกับ       6. เว็บไซต

                                                    รายวิชาเลือก อาเซียนศึกษา หนา 11
สื่อ / วัสดุ / อุปกรณ /   จํานวน       การวัด
ที่   หัวเรื่อง         ตัวชี้วัด             เนื้อหา                 กิจกรรมการเรียนรู
                                                                                                  แหลงเรียนรู        ชั่วโมง     ประเมินผล
                                                          อาเซียน
                                                      5 . ครูแบงกลุมใหผูเรียน
                                                          คนควาหาประเทศที่เปน
                                                          สมาชิกในอาเซียนใน
                                                          ปจจุบันวา มีกี่ประเทศ
                                                          อะไรบาง ลงในใบงานที่ 2
                                                      6. ใหแตละกลุมออกมา
                                                          นําเสนอ
                                                      7. ครูสรุปพรอมกับผูเรียนและ
                                                          แจกใบความรู ที่ 2 เรื่อง
                                                          ประเทศสมาชิกอาเซียนใน
                                                          ปจจุบัน
                  1.3 บอกความหมาย 1.3 ความหมาย        1. ครูสนทนากับผูเรียนถึง     1. ใบความรู ที่ 3 เรื่อง            5       1. การสังเกตจาก
                      และความสําคัญ   ความสําคัญของ       ความหมายของประชาคม            ประชาคมอาเซียน และ                          การมีสวนรวม
                      ของอาเซียนและ   ประชาคมอาเซียน      อาเซียนและกฎบัตร              กฎบัตรอาเซียน                            2. การนําเสนอ
                      กฎบัตรอาเซียน   และกฎบัตรอาเซียน อาเซียน                      2. ใบงาน ที่ 3 เรื่อง                           ของกลุม
                      (ASEAN Charter) (ASEAN Charter) 2. ครูแบงกลุมใหผูเรียน        ความหมายของคําวา                        3. การสรุปใบ


                                                        รายวิชาเลือก อาเซียนศึกษา หนา 12
สื่อ / วัสดุ / อุปกรณ / จํานวน      การวัด
ที่   หัวเรื่อง         ตัวชี้วัด       เนื้อหา                 กิจกรรมการเรียนรู
                                                                                                แหลงเรียนรู      ชั่วโมง ประเมินผล
                  ได                                         คนควาหาความหมายของ         กฎบัตรอาเซียน และ                 งาน
                                                              คําวา กฎบัตรอาเซียน และ ความสําคัญของกฎบัตร
                                                              ความสําคัญของกฎบัตร          อาเซียน
                                                              อาเซียน แลวสรุปผลลงใน 3. เว็บไซต
                                                              ใบงานที่ 3
                                                           3. ใหแตละกลุมออกมา
                                                              นําเสนอ
                                                           4. ครูและผูเรียนสรุปรวมกัน
                                                              พรอมแจกใบความรูที่ 3
                                                              เรื่องประชาคมอาเซียนและ
                                                              กฎบัตรอาเซียน (ASEAN
                                                              Charter)
2 ผลงานของ 2.1 บอกโครงสรางและ 2.1 โครงสรางและกลไก        1. ครูสนทนา เรื่องโครงสราง 1. ใบความรู ที่ 4 เรื่อง       5 1. การสังเกตจาก
  กลุมอาเซียน  กลไกการ             การดําเนินงานของ          และกลไกของอาเซียน            โครงสรางและกลไกการ               การมีสวนรวม
                ดําเนินงานของ       อาเซียน                   สถานที่ตั้งสํานักงาน         ดําเนินงานของอาเซียน           2. การนําเสนอ
                อาเซียนได          - ที่ประชุมสุดยอด         เลขาธิการอาเซียน และ 2. เว็บไซต                               ของกลุม
                                      อาเซียน (ASEAN          ผูดํารงตําแหนงเลขาธิการ                                   3.การสรุปใบงาน


                                                  รายวิชาเลือก อาเซียนศึกษา หนา 13
สื่อ / วัสดุ / อุปกรณ /   จํานวน     การวัด
ที่   หัวเรื่อง   ตัวชี้วัด      เนื้อหา                 กิจกรรมการเรียนรู
                                                                                        แหลงเรียนรู        ชั่วโมง   ประเมินผล
                                Summit)
                              - คณะมนตรี        2. ครูกับผูเรียนสรุปรวมกันและ
                                ประสานงาน          แจกใบความรูที่ 4 เรื่อง
                                อาเซียน (ASEAN โครงสรางและกลไกการ
                                Coordinating       ดําเนินงานของอาเซียน
                                Councils :
                                ACCs)
                              - คณะมนตรี
                                ประชาคมอาเซียน
                                (ASEAN
                                Community
                                Councils)
                              - องคกรระดับ
                                รัฐมนตรีอาเซียน
                                เฉพาะสาขา
                                (ASEAN
                                Sectoral


                                           รายวิชาเลือก อาเซียนศึกษา หนา 14
สื่อ / วัสดุ / อุปกรณ /   จํานวน     การวัด
ที่   หัวเรื่อง   ตัวชี้วัด      เนื้อหา                 กิจกรรมการเรียนรู
                                                                                     แหลงเรียนรู        ชั่วโมง   ประเมินผล
                                 Ministerials
                                 Bodies)
                              - เลขาธิการอาเซียน
                                 และสํานัก
                                 เลขาธิการอาเซียน
                                 (Secretary-
                                 General of
                                 ASEAN and
                                 ASEAN
                                 Secretariat)
                              - คณะกรรมการ
                                 ผูแทนถาวรประจํา
                                 อาเซียน
                                 (Committee of
                                 Permanent
                                 Representatives
                                 of ASEAN)


                                           รายวิชาเลือก อาเซียนศึกษา หนา 15
สื่อ / วัสดุ / อุปกรณ /    จํานวน       การวัด
ที่   หัวเรื่อง         ตัวชี้วัด            เนื้อหา                 กิจกรรมการเรียนรู
                                                                                                   แหลงเรียนรู         ชั่วโมง     ประเมินผล

                                           - สํานักงานอาเซียน
                                              แหงชาติ หรือกรม
                                              อาเซียน (ASEAN
                                              National
                                              Secretariat)
                                           - องคกรสิทธิ
                                              มนุษยชนอาเซียน
                                              (ASEAN Human
                                              Rights Body)
                                           - มูลนิธิอาเซียน
                                              (ASEAN
                                              Foundation)
                  2.2 บอกความสําคัญใน 2.2 ความสําคัญในการ 1. ครูอธิบายถึงความสําคัญ        1. ใบความรู ที่ 5 เรื่อง       15      1. การสังเกตจาก
                       การรวมมือของ       รวมมือของอาเซียน และความรวมมือของ                ความรวมมือในดาน                       การมีสวนรวม
                       อาเซียน ทั้ง 3 ดาน ในดาน              อาเซียนทั้ง 3 ดาน             การเมืองและความมันคง   ่             2. การนําเสนอ
                       ได                 - ดานการเมืองและ                                  ของอาเซียน                              ของกลุม


                                                       รายวิชาเลือก อาเซียนศึกษา หนา 16
สื่อ / วัสดุ / อุปกรณ /      จํานวน       การวัด
ที่   หัวเรื่อง   ตัวชี้วัด      เนื้อหา                 กิจกรรมการเรียนรู
                                                                                              แหลงเรียนรู           ชั่วโมง     ประเมินผล
                                ความมั่นคง
                              - ดานเศรษฐกิจ        2. ครูแจกใบความรู               2. ใบความรู ที่ 6 เรื่อง ความ             3. การสรุป
                              - ดานสังคมและ           - ใบความรูที่ 5 เรื่อง ความ
                                                                                        รวมมือของอาเซียนใน                       ใบงาน
                                วัฒนธรรม                 รวมมือในดานการเมือง           ดานเศรษฐกิจ
                                                         และความมั่งคงของ            3. ใบความรู ที่ 7 เรื่อง ความ
                                                         อาเซียน                         รวมมือดานสังคมและ
                                                       - ใบความรู ที่ 6 เรื่อง          วัฒนธรรม
                                                         ความรวมมือของอาเซียน       4. ใบงาน ที่ 4 เรื่อง ความ
                                                         ในดานเศรษฐกิจ                  รวมมือของอาเซียนใน
                                                       - ใบความรู ที่ 7 เรื่อง          ดานตางๆ
                                                         ความรวมมือดานสังคม        5. เว็บไซต
                                                         และวัฒนธรรม
                                                    3. แบงกลุมผูเรียน และให
                                                       เลือกศึกษากลุมละ 1 ดาน
                                                       แลวบันทึกลงใบงานที่ 4
                                                    4. แตละกลุมนําเสนอ
                                                    5. ครูเเละผูเรียนสรุปรวมกัน


                                           รายวิชาเลือก อาเซียนศึกษา หนา 17
สื่อ / วัสดุ / อุปกรณ /     จํานวน       การวัด
ที่   หัวเรื่อง          ตัวชี้วัด             เนื้อหา                 กิจกรรมการเรียนรู
                                                                                                     แหลงเรียนรู          ชั่วโมง     ประเมินผล

                  2.3 สรุปผลจากการ 2.3 ผลจากการประชุม 1. ครูมอบหมายใหแตละกลุม             1. ใบงาน ที่ 5 เรื่อง สรุปผล     5       1. การสังเกตจาก
                      ประชุมกลุม       อาเซียนในรอบปที่    คนควาเรื่องการประชุม              การประชุมอาเซียนในรอบ                   การมีสวนรวม
                      อาเซียนในรอบปที่ ผานมา               อาเซียน ในรอบปที่ผานมา            ปที่ผานมา                          2. การนําเสนอ
                      ผานมาได                              และบันทึกผลลงในใบงาน            2. เว็บไซต                                 ของกลุม
                                                             ที่ 5                                                                    3. การสรุป
                                                          2. ครูและผูเรียนสรุปรวมกันวา                                                ใบงาน
                                                             ประเทศไทยไดรับ
                                                             ผลกระทบอะไรบาง
                  2.4 อธิบายและสรุป 2.4 ปญหาและอุปสรรค 1. ครูใหผูเรียนรวมกันสนทนา        1. ใบความรู ที่ 8 เรื่อง        5       1. การสังเกตจาก
                      ปญหาและอุปสรรค   ที่สําคัญของ         ถึงปญหาและอุปสรรคที่               ปญหาและอุปสรรคที่                      การมีสวนรวม
                      ที่สําคัญของ      อาเซียน              สําคัญของอาเซียน วามี              สําคัญของอาเซียน                     2. การนําเสนอ
                      อาเซียนได                             ปญหาอะไรบาง                   2. ใบงาน ที่ 6 เรื่อง ปญหา                 ของกลุม
                                                          2. ครูแจกใบความรู ที่ 8 เรื่อง        และอุปสรรคที่สําคัญของ               3. การสรุป
                                                             ปญหาและอุปสรรคที่                  อาเซียน                                 ใบงาน
                                                             สําคัญของอาเซียน                3. เว็บไซต
                                                             ใหผูเรียนศึกษา


                                                         รายวิชาเลือก อาเซียนศึกษา หนา 18
สื่อ / วัสดุ / อุปกรณ /   จํานวน       การวัด
ที่   หัวเรื่อง      ตัวชี้วัด             เนื้อหา                 กิจกรรมการเรียนรู
                                                                                               แหลงเรียนรู        ชั่วโมง     ประเมินผล

                                                    3. ผูเรียนบันทึกลงใน
                                                       ใบงานที่ 8
                                                    4. ครูและผูเรียนรวมกันสรุปถึง
                                                       ปญหาและวิเคราะหรวมกัน
                                                       วาจะมีเเนวทางเเกไข
                                                       อยางไร
3 ประชาคม 3.1 บอกความหมาย 3.1 ความหมายและ           1. ครูพูดคุยถึงประชาคม          1. ใบความรู ที่ 9 เรื่อง         3       1. การสังเกตจาก
  เศรษฐกิจ      และวัตถุประสงค     วัตถุประสงคของ    เศรษฐกิจอาเซียน วา              ความหมายและ                              การมีสวนรวม
  อาเซียน       ของประชาคม          ประชาคมเศรษฐกิจ หมายถึงอะไร โดย                     วัตถุประสงคของ                       2. การนําเสนอ
  (ASEAN        เศรษฐกิจอาเซียน     อาเซียน (AEC)      ยกตัวอยางเรื่อง ของการ          ประชาคมเศรษฐกิจ                          ของกลุม
  Economic      (AEC) ได       3.2 เปาหมายของ        ลงทุน การผลิต การขนสง           อาเซียน (AEC)                         3. การสรุป
  Communit) 3.2 อธิบายเปาหมาย      ประชาคมเศรษฐกิจ การตลาด เเละการบริการ 2. ใบความรู ที่ 10 เรื่อง                             ใบงาน
  : AEC         ของประชาคม          อาเซียน (AEC)   2. ครูสอบถามผูเรียนถึงการ          เปาหมายของประชาคม
                เศรษฐกิจอาเซียน                        ประกอบอาชีพวามีใครบาง เศรษฐกิจอาเซียน (AEC)
                (AEC) ได                              ที่เกี่ยวของกับเรื่องที่ครู 3. เว็บไซต
                                                       กลาวมา


                                                     รายวิชาเลือก อาเซียนศึกษา หนา 19
สื่อ / วัสดุ / อุปกรณ /      จํานวน       การวัด
ที่   หัวเรื่อง          ตัวชี้วัด             เนื้อหา                 กิจกรรมการเรียนรู
                                                                                                           แหลงเรียนรู           ชั่วโมง     ประเมินผล
                                                                  3. ครูกับผูเรียนรวมกันสรุปถึง
                                                                     ความหมายวัตถุประสงค
                                                                     และ เปาหมายของ
                                                                     ประชาคมเศรษฐกิจ
                                                                     อาเซียน พรอมกับแจก
                                                                     ใบความรู ที่ 9 เรื่อง
                                                                     ความหมายและวัตถุ
                                                                     ประสงคของประชาคม
                                                                     เศรษฐกิจอาเซียน (AEC)
                                                                     และใบความรู ที10 เรื่อง
                                                                                       ่
                                                                     เปาหมายของประชาคม
                                                                     เศรษฐกิจอาเซียน (AEC)
                  3.3 อธิบายแนวทางการ 3.3 แนวทางการ               1. ครูสนทนากับผูเรียนถึง       1. ใบงาน ที่ 7 เรื่อง แนว          12      1. การสังเกตจาก
                      ดําเนินงานเพื่อ     ดําเนินงานเพื่อ            สถานการณการผลิตสินคา ทางการแกไขผลผลิต                                   การมีสวนรวม
                      นําไปสูการเปน     นําไปสูการเปน            ทางการเกษตรในกลุม               ทางการเกษตร                            2. การนําเสนอ
                      (AEC) ได           AEC                        อาเซียนที่เหมือนกับ          2. ใบความรู ที่ 11 เรื่อง แนว                ของกลุม
                                                                     ประเทศไทย เชน ขาว              ทางการดําเนินงานเพื่อ                  3. การสรุป


                                                         รายวิชาเลือก อาเซียนศึกษา หนา 20
สื่อ / วัสดุ / อุปกรณ /   จํานวน     การวัด
ที่   หัวเรื่อง   ตัวชี้วัด   เนื้อหา                 กิจกรรมการเรียนรู
                                                                                            แหลงเรียนรู        ชั่วโมง   ประเมินผล
                                                     ผลิตภัณฑ มันสําปะหลัง            นําไปสูการเปน AEC                 ใบงาน
                                                     น้ํามันปาลม เมล็ดกาแฟ        3. เว็บไซต
                                                     ฯลฯ
                                                 2. รวมกันวิเคราะหและหา
                                                     แนวทางการพัฒนาและ
                                                     แกไขเพื่อใหสามารถนําไปสู
                                                     เวทีการแขงขันทางดานการ
                                                     สงออก
                                                 3. ครูแจกใบงาน ที่ 7 เรื่อง
                                                     แนวทางการแกไขผลผลิต
                                                     ทางการเกษตร
                                                 4. ครูสรุปรวมกับผูเรียนพรอม
                                                     ทั้งแจกใบความรู ที่ 11
                                                     เรื่อง แนวทางการ
                                                     ดําเนินงานเพื่อนําไปสูการ
                                                     เปน AEC



                                        รายวิชาเลือก อาเซียนศึกษา หนา 21
สื่อ / วัสดุ / อุปกรณ / จํานวน            การวัด
ที่   หัวเรื่อง          ตัวชี้วัด                เนื้อหา                 กิจกรรมการเรียนรู
                                                                                                       แหลงเรียนรู        ชั่วโมง      ประเมินผล
                  3.4 บอกประโยชนที่      3.4 ประโยชนที่ประเทศ 1. ครูและผูเรียนสนทนาถึง 1. ใบความรู ที่ 12 เรื่อง            5     1. การสังเกต
                      ประเทศไทยไดรับ          ไทยไดรับจากการ     ประโยชนทประเทศไทยจะ
                                                                               ี่                ประโยชนที่ประเทศไทย                    จากการมี
                      จากการเขารวม           เขารวมประชาคม     ไดรับจากการเขารวม          ไดรับจากการเขารวม                    สวนรวม
                      ประชาคมเศรษฐกิจ          เศรษฐกิจอาเซียน     ประชาคมเศรษฐกิจ               ประชาคมเศรษฐกิจ                      2. การนําเสนอ
                      อาเซียน (AEC) ได        (AEC)               อาเซียน (AEC)                 อาเซียน (AEC)                           ของกลุม
                                                                2. ครูมอบหมายใหผูเรียน     2. ใบงาน ที่ 8 เรื่อง ประโยชน           3. การสรุป
                                                                   ศึกษาคนควาเพิ่มเติม สรุป ที่ประเทศไทยจะไดรับจาก                    ใบงาน
                                                                   ลงในใบงานที่ 8                การเขารวมประชาคม
                                                                3. ครูแจก ใบความรู ที่ 12       เศรษฐกิจอาเซียน (AEC)
                                                                   เรื่อง ประโยชนที่ประเทศ 3. เว็บไซต
                                                                   ไทยไดรับจากการเขารวม
                                                                   ประชาคมเศรษฐกิจ
                                                                   อาเซียน (AEC)
4 การกําเนิด 4.1 บอกประวัติความ           4.1 ความหมาย ความ 1. ครูมอบหมายใหผูเรียน         1. ใบความรู ที่ 13ประวัติ        20     1. การสังเกตจาก
  การจัดตั้ง      เปนมา ความ                  สําคัญและ           คนควาหาความหมาย             ความเปนมา วัตถุประสงค                 การมีสวนรวม
  เขตการ          สําคัญ และวัตถุ              วัตถุประสงคของ     ความสําคัญ วัตถุประสงค       และประโยชนที่ไทยไดรับ              2. การนําเสนอ
  การคาเสรี      ประสงคของ AFTA              AFTA                และประโยชนของ AFTA ที่ จากการเขารวม AFTA                           ของกลุม


                                                            รายวิชาเลือก อาเซียนศึกษา หนา 22
อาเซียนศึกษา
อาเซียนศึกษา
อาเซียนศึกษา
อาเซียนศึกษา
อาเซียนศึกษา
อาเซียนศึกษา
อาเซียนศึกษา
อาเซียนศึกษา
อาเซียนศึกษา
อาเซียนศึกษา
อาเซียนศึกษา
อาเซียนศึกษา
อาเซียนศึกษา
อาเซียนศึกษา
อาเซียนศึกษา
อาเซียนศึกษา
อาเซียนศึกษา
อาเซียนศึกษา
อาเซียนศึกษา
อาเซียนศึกษา
อาเซียนศึกษา
อาเซียนศึกษา
อาเซียนศึกษา
อาเซียนศึกษา
อาเซียนศึกษา
อาเซียนศึกษา
อาเซียนศึกษา
อาเซียนศึกษา
อาเซียนศึกษา
อาเซียนศึกษา
อาเซียนศึกษา
อาเซียนศึกษา
อาเซียนศึกษา
อาเซียนศึกษา
อาเซียนศึกษา
อาเซียนศึกษา
อาเซียนศึกษา
อาเซียนศึกษา
อาเซียนศึกษา
อาเซียนศึกษา
อาเซียนศึกษา
อาเซียนศึกษา
อาเซียนศึกษา
อาเซียนศึกษา
อาเซียนศึกษา
อาเซียนศึกษา
อาเซียนศึกษา
อาเซียนศึกษา
อาเซียนศึกษา
อาเซียนศึกษา
อาเซียนศึกษา
อาเซียนศึกษา
อาเซียนศึกษา
อาเซียนศึกษา
อาเซียนศึกษา
อาเซียนศึกษา
อาเซียนศึกษา
อาเซียนศึกษา
อาเซียนศึกษา
อาเซียนศึกษา
อาเซียนศึกษา
อาเซียนศึกษา
อาเซียนศึกษา
อาเซียนศึกษา
อาเซียนศึกษา
อาเซียนศึกษา
อาเซียนศึกษา
อาเซียนศึกษา
อาเซียนศึกษา
อาเซียนศึกษา
อาเซียนศึกษา

Más contenido relacionado

La actualidad más candente

สังคมศึกษา ม.ต้น สค21001
สังคมศึกษา ม.ต้น สค21001สังคมศึกษา ม.ต้น สค21001
สังคมศึกษา ม.ต้น สค21001Thidarat Termphon
 
การพัฒนอาชีพให้มีความมั่่นคง ม.ปลาย อช31003
การพัฒนอาชีพให้มีความมั่่นคง ม.ปลาย อช31003การพัฒนอาชีพให้มีความมั่่นคง ม.ปลาย อช31003
การพัฒนอาชีพให้มีความมั่่นคง ม.ปลาย อช31003Thidarat Termphon
 
แผนพัฒนาตนเองตำแหน่งรองผู้อำนวยการสถานศึกษา
แผนพัฒนาตนเองตำแหน่งรองผู้อำนวยการสถานศึกษาแผนพัฒนาตนเองตำแหน่งรองผู้อำนวยการสถานศึกษา
แผนพัฒนาตนเองตำแหน่งรองผู้อำนวยการสถานศึกษาNontaporn Pilawut
 
ข้อสอบทักษะการเรียนรู้ กศน.ปลาย
ข้อสอบทักษะการเรียนรู้ กศน.ปลายข้อสอบทักษะการเรียนรู้ กศน.ปลาย
ข้อสอบทักษะการเรียนรู้ กศน.ปลายpeter dontoom
 
โครงงานเพื่อพัฒนาทักษะการเรียนรู้ ม.ต้น ทร 02006
โครงงานเพื่อพัฒนาทักษะการเรียนรู้ ม.ต้น ทร 02006โครงงานเพื่อพัฒนาทักษะการเรียนรู้ ม.ต้น ทร 02006
โครงงานเพื่อพัฒนาทักษะการเรียนรู้ ม.ต้น ทร 02006Thidarat Termphon
 
หน่วยที่ 3 เศรษฐกิจพอเพียงกับการพัฒนาเศรษฐกิจไทย
หน่วยที่ 3 เศรษฐกิจพอเพียงกับการพัฒนาเศรษฐกิจไทยหน่วยที่ 3 เศรษฐกิจพอเพียงกับการพัฒนาเศรษฐกิจไทย
หน่วยที่ 3 เศรษฐกิจพอเพียงกับการพัฒนาเศรษฐกิจไทยPaew Tongpanya
 
การพัฒนาตนอง ชุมชน สังคม ม.ปลาย สค31003
การพัฒนาตนอง ชุมชน สังคม ม.ปลาย สค31003การพัฒนาตนอง ชุมชน สังคม ม.ปลาย สค31003
การพัฒนาตนอง ชุมชน สังคม ม.ปลาย สค31003Thidarat Termphon
 
2ใบกิจกรรม
2ใบกิจกรรม2ใบกิจกรรม
2ใบกิจกรรมkrupornpana55
 
หน่วยที่-4 สหกรณ์และการรวมกลุ่มเพื่อพัฒนาชุมชนของไทย
หน่วยที่-4 สหกรณ์และการรวมกลุ่มเพื่อพัฒนาชุมชนของไทยหน่วยที่-4 สหกรณ์และการรวมกลุ่มเพื่อพัฒนาชุมชนของไทย
หน่วยที่-4 สหกรณ์และการรวมกลุ่มเพื่อพัฒนาชุมชนของไทยPaew Tongpanya
 
Eฎภาษาไทย ม.ต้น พท21001
Eฎภาษาไทย ม.ต้น พท21001Eฎภาษาไทย ม.ต้น พท21001
Eฎภาษาไทย ม.ต้น พท21001Thidarat Termphon
 
ศิลปศึกษา ม.ต้น ทช.21003
ศิลปศึกษา ม.ต้น ทช.21003ศิลปศึกษา ม.ต้น ทช.21003
ศิลปศึกษา ม.ต้น ทช.21003Thidarat Termphon
 
เทคโนโลยีชีวภาพ
เทคโนโลยีชีวภาพเทคโนโลยีชีวภาพ
เทคโนโลยีชีวภาพpeter dontoom
 
Casestudy การศึกษารายกรณี
Casestudy การศึกษารายกรณีCasestudy การศึกษารายกรณี
Casestudy การศึกษารายกรณีrewat Chitthaing
 
สุขศึกษา พลศึกษา ม.ต้น ทช21002
สุขศึกษา พลศึกษา ม.ต้น ทช21002สุขศึกษา พลศึกษา ม.ต้น ทช21002
สุขศึกษา พลศึกษา ม.ต้น ทช21002Thidarat Termphon
 
ทักษะการเรียนรู้ ม.ต้น ทร21001
ทักษะการเรียนรู้ ม.ต้น ทร21001ทักษะการเรียนรู้ ม.ต้น ทร21001
ทักษะการเรียนรู้ ม.ต้น ทร21001Thidarat Termphon
 
โครงงานน้ำยาปรับผ้านุ่ม
โครงงานน้ำยาปรับผ้านุ่มโครงงานน้ำยาปรับผ้านุ่ม
โครงงานน้ำยาปรับผ้านุ่มeeii
 
ภาษาไทย ม.ปลาย พท31001
ภาษาไทย ม.ปลาย พท31001ภาษาไทย ม.ปลาย พท31001
ภาษาไทย ม.ปลาย พท31001Thidarat Termphon
 
ตอบปัญหาอาเซียน
ตอบปัญหาอาเซียนตอบปัญหาอาเซียน
ตอบปัญหาอาเซียนYosiri
 
โครงงานวิชา Is2
โครงงานวิชา Is2โครงงานวิชา Is2
โครงงานวิชา Is2LeoBlack1017
 
ทักษะการเรียนรู้ ม.ต้น ทร21001
ทักษะการเรียนรู้ ม.ต้น ทร21001ทักษะการเรียนรู้ ม.ต้น ทร21001
ทักษะการเรียนรู้ ม.ต้น ทร21001Thidarat Termphon
 

La actualidad más candente (20)

สังคมศึกษา ม.ต้น สค21001
สังคมศึกษา ม.ต้น สค21001สังคมศึกษา ม.ต้น สค21001
สังคมศึกษา ม.ต้น สค21001
 
การพัฒนอาชีพให้มีความมั่่นคง ม.ปลาย อช31003
การพัฒนอาชีพให้มีความมั่่นคง ม.ปลาย อช31003การพัฒนอาชีพให้มีความมั่่นคง ม.ปลาย อช31003
การพัฒนอาชีพให้มีความมั่่นคง ม.ปลาย อช31003
 
แผนพัฒนาตนเองตำแหน่งรองผู้อำนวยการสถานศึกษา
แผนพัฒนาตนเองตำแหน่งรองผู้อำนวยการสถานศึกษาแผนพัฒนาตนเองตำแหน่งรองผู้อำนวยการสถานศึกษา
แผนพัฒนาตนเองตำแหน่งรองผู้อำนวยการสถานศึกษา
 
ข้อสอบทักษะการเรียนรู้ กศน.ปลาย
ข้อสอบทักษะการเรียนรู้ กศน.ปลายข้อสอบทักษะการเรียนรู้ กศน.ปลาย
ข้อสอบทักษะการเรียนรู้ กศน.ปลาย
 
โครงงานเพื่อพัฒนาทักษะการเรียนรู้ ม.ต้น ทร 02006
โครงงานเพื่อพัฒนาทักษะการเรียนรู้ ม.ต้น ทร 02006โครงงานเพื่อพัฒนาทักษะการเรียนรู้ ม.ต้น ทร 02006
โครงงานเพื่อพัฒนาทักษะการเรียนรู้ ม.ต้น ทร 02006
 
หน่วยที่ 3 เศรษฐกิจพอเพียงกับการพัฒนาเศรษฐกิจไทย
หน่วยที่ 3 เศรษฐกิจพอเพียงกับการพัฒนาเศรษฐกิจไทยหน่วยที่ 3 เศรษฐกิจพอเพียงกับการพัฒนาเศรษฐกิจไทย
หน่วยที่ 3 เศรษฐกิจพอเพียงกับการพัฒนาเศรษฐกิจไทย
 
การพัฒนาตนอง ชุมชน สังคม ม.ปลาย สค31003
การพัฒนาตนอง ชุมชน สังคม ม.ปลาย สค31003การพัฒนาตนอง ชุมชน สังคม ม.ปลาย สค31003
การพัฒนาตนอง ชุมชน สังคม ม.ปลาย สค31003
 
2ใบกิจกรรม
2ใบกิจกรรม2ใบกิจกรรม
2ใบกิจกรรม
 
หน่วยที่-4 สหกรณ์และการรวมกลุ่มเพื่อพัฒนาชุมชนของไทย
หน่วยที่-4 สหกรณ์และการรวมกลุ่มเพื่อพัฒนาชุมชนของไทยหน่วยที่-4 สหกรณ์และการรวมกลุ่มเพื่อพัฒนาชุมชนของไทย
หน่วยที่-4 สหกรณ์และการรวมกลุ่มเพื่อพัฒนาชุมชนของไทย
 
Eฎภาษาไทย ม.ต้น พท21001
Eฎภาษาไทย ม.ต้น พท21001Eฎภาษาไทย ม.ต้น พท21001
Eฎภาษาไทย ม.ต้น พท21001
 
ศิลปศึกษา ม.ต้น ทช.21003
ศิลปศึกษา ม.ต้น ทช.21003ศิลปศึกษา ม.ต้น ทช.21003
ศิลปศึกษา ม.ต้น ทช.21003
 
เทคโนโลยีชีวภาพ
เทคโนโลยีชีวภาพเทคโนโลยีชีวภาพ
เทคโนโลยีชีวภาพ
 
Casestudy การศึกษารายกรณี
Casestudy การศึกษารายกรณีCasestudy การศึกษารายกรณี
Casestudy การศึกษารายกรณี
 
สุขศึกษา พลศึกษา ม.ต้น ทช21002
สุขศึกษา พลศึกษา ม.ต้น ทช21002สุขศึกษา พลศึกษา ม.ต้น ทช21002
สุขศึกษา พลศึกษา ม.ต้น ทช21002
 
ทักษะการเรียนรู้ ม.ต้น ทร21001
ทักษะการเรียนรู้ ม.ต้น ทร21001ทักษะการเรียนรู้ ม.ต้น ทร21001
ทักษะการเรียนรู้ ม.ต้น ทร21001
 
โครงงานน้ำยาปรับผ้านุ่ม
โครงงานน้ำยาปรับผ้านุ่มโครงงานน้ำยาปรับผ้านุ่ม
โครงงานน้ำยาปรับผ้านุ่ม
 
ภาษาไทย ม.ปลาย พท31001
ภาษาไทย ม.ปลาย พท31001ภาษาไทย ม.ปลาย พท31001
ภาษาไทย ม.ปลาย พท31001
 
ตอบปัญหาอาเซียน
ตอบปัญหาอาเซียนตอบปัญหาอาเซียน
ตอบปัญหาอาเซียน
 
โครงงานวิชา Is2
โครงงานวิชา Is2โครงงานวิชา Is2
โครงงานวิชา Is2
 
ทักษะการเรียนรู้ ม.ต้น ทร21001
ทักษะการเรียนรู้ ม.ต้น ทร21001ทักษะการเรียนรู้ ม.ต้น ทร21001
ทักษะการเรียนรู้ ม.ต้น ทร21001
 

Destacado

รายงานอาเซียน
รายงานอาเซียนรายงานอาเซียน
รายงานอาเซียนChucshwal's MK
 
แผนการสอนอาเซียนศึกษา ป.4-6
แผนการสอนอาเซียนศึกษา ป.4-6แผนการสอนอาเซียนศึกษา ป.4-6
แผนการสอนอาเซียนศึกษา ป.4-6sompriaw aums
 
รูปแบบการเขียนรายงานโครงงาน 5 บท
รูปแบบการเขียนรายงานโครงงาน 5 บทรูปแบบการเขียนรายงานโครงงาน 5 บท
รูปแบบการเขียนรายงานโครงงาน 5 บทAekapoj Poosathan
 

Destacado (7)

กำเนิดอาเซียน1
กำเนิดอาเซียน1กำเนิดอาเซียน1
กำเนิดอาเซียน1
 
รายงานอาเซียน
รายงานอาเซียนรายงานอาเซียน
รายงานอาเซียน
 
สารบัญ
สารบัญสารบัญ
สารบัญ
 
แผนการสอนอาเซียนศึกษา ป.4-6
แผนการสอนอาเซียนศึกษา ป.4-6แผนการสอนอาเซียนศึกษา ป.4-6
แผนการสอนอาเซียนศึกษา ป.4-6
 
00 ต้นฉบับ แผน อาเซียนศึกษา ม.4 6
00 ต้นฉบับ แผน อาเซียนศึกษา ม.4 600 ต้นฉบับ แผน อาเซียนศึกษา ม.4 6
00 ต้นฉบับ แผน อาเซียนศึกษา ม.4 6
 
คำนำ
คำนำคำนำ
คำนำ
 
รูปแบบการเขียนรายงานโครงงาน 5 บท
รูปแบบการเขียนรายงานโครงงาน 5 บทรูปแบบการเขียนรายงานโครงงาน 5 บท
รูปแบบการเขียนรายงานโครงงาน 5 บท
 

Similar a อาเซียนศึกษา

Kick off nrct
Kick off nrctKick off nrct
Kick off nrctrattapol
 
Policy Brief 2/2562 เสริมสร้างบทบาทไทยในประชาคมอาเซียน: บทเรียนจาก ASEANTOM
Policy Brief 2/2562 เสริมสร้างบทบาทไทยในประชาคมอาเซียน: บทเรียนจาก ASEANTOMPolicy Brief 2/2562 เสริมสร้างบทบาทไทยในประชาคมอาเซียน: บทเรียนจาก ASEANTOM
Policy Brief 2/2562 เสริมสร้างบทบาทไทยในประชาคมอาเซียน: บทเรียนจาก ASEANTOMKlangpanya
 
การเตรียมความพร้อมของห้องสมุดสู่ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน
การเตรียมความพร้อมของห้องสมุดสู่ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียนการเตรียมความพร้อมของห้องสมุดสู่ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน
การเตรียมความพร้อมของห้องสมุดสู่ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียนAkarimA SoommarT
 
สามทศวรรษห้องสมุดเคลื่อนที่
สามทศวรรษห้องสมุดเคลื่อนที่สามทศวรรษห้องสมุดเคลื่อนที่
สามทศวรรษห้องสมุดเคลื่อนที่S-ruthai
 
โครงการเพื่อขับเคลื่อนงานเด็กและเยาวชนแบบบูรณาการระดับจังอุบลราชธานี
โครงการเพื่อขับเคลื่อนงานเด็กและเยาวชนแบบบูรณาการระดับจังอุบลราชธานีโครงการเพื่อขับเคลื่อนงานเด็กและเยาวชนแบบบูรณาการระดับจังอุบลราชธานี
โครงการเพื่อขับเคลื่อนงานเด็กและเยาวชนแบบบูรณาการระดับจังอุบลราชธานีMr-Dusit Kreachai
 
ประชาคมอาเซียน
ประชาคมอาเซียนประชาคมอาเซียน
ประชาคมอาเซียนSaran Yuwanna
 
ภาคใต้กับประชาคมอาเซียน
ภาคใต้กับประชาคมอาเซียนภาคใต้กับประชาคมอาเซียน
ภาคใต้กับประชาคมอาเซียนTeeranan
 

Similar a อาเซียนศึกษา (20)

อาเซียน1
อาเซียน1อาเซียน1
อาเซียน1
 
อาเซียน1
อาเซียน1อาเซียน1
อาเซียน1
 
Tee
TeeTee
Tee
 
V 300
V 300V 300
V 300
 
V 265
V 265V 265
V 265
 
Kick off nrct
Kick off nrctKick off nrct
Kick off nrct
 
V 268
V 268V 268
V 268
 
Policy Brief 2/2562 เสริมสร้างบทบาทไทยในประชาคมอาเซียน: บทเรียนจาก ASEANTOM
Policy Brief 2/2562 เสริมสร้างบทบาทไทยในประชาคมอาเซียน: บทเรียนจาก ASEANTOMPolicy Brief 2/2562 เสริมสร้างบทบาทไทยในประชาคมอาเซียน: บทเรียนจาก ASEANTOM
Policy Brief 2/2562 เสริมสร้างบทบาทไทยในประชาคมอาเซียน: บทเรียนจาก ASEANTOM
 
การเตรียมความพร้อมของห้องสมุดสู่ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน
การเตรียมความพร้อมของห้องสมุดสู่ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียนการเตรียมความพร้อมของห้องสมุดสู่ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน
การเตรียมความพร้อมของห้องสมุดสู่ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน
 
สามทศวรรษห้องสมุดเคลื่อนที่
สามทศวรรษห้องสมุดเคลื่อนที่สามทศวรรษห้องสมุดเคลื่อนที่
สามทศวรรษห้องสมุดเคลื่อนที่
 
V 275
V 275V 275
V 275
 
โครงการเพื่อขับเคลื่อนงานเด็กและเยาวชนแบบบูรณาการระดับจังอุบลราชธานี
โครงการเพื่อขับเคลื่อนงานเด็กและเยาวชนแบบบูรณาการระดับจังอุบลราชธานีโครงการเพื่อขับเคลื่อนงานเด็กและเยาวชนแบบบูรณาการระดับจังอุบลราชธานี
โครงการเพื่อขับเคลื่อนงานเด็กและเยาวชนแบบบูรณาการระดับจังอุบลราชธานี
 
NSTDA Newsletter ปีที่ 9 ฉบับที่ 1 ประจำเดือนเมษายน 2566
NSTDA Newsletter ปีที่ 9 ฉบับที่ 1 ประจำเดือนเมษายน 2566NSTDA Newsletter ปีที่ 9 ฉบับที่ 1 ประจำเดือนเมษายน 2566
NSTDA Newsletter ปีที่ 9 ฉบับที่ 1 ประจำเดือนเมษายน 2566
 
Mix1
Mix1Mix1
Mix1
 
ประชาคมอาเซียน
ประชาคมอาเซียนประชาคมอาเซียน
ประชาคมอาเซียน
 
ประชาคมอาเซียน
ประชาคมอาเซียนประชาคมอาเซียน
ประชาคมอาเซียน
 
ภาคใต้กับประชาคมอาเซียน
ภาคใต้กับประชาคมอาเซียนภาคใต้กับประชาคมอาเซียน
ภาคใต้กับประชาคมอาเซียน
 
V 264
V 264V 264
V 264
 
V 301
V 301V 301
V 301
 
V 263
V 263V 263
V 263
 

Más de Art Nan

รวงรัตน์
รวงรัตน์รวงรัตน์
รวงรัตน์Art Nan
 
Unit1 paklang new2
Unit1 paklang new2Unit1 paklang new2
Unit1 paklang new2Art Nan
 
บทคัดย่อพ..(1)
บทคัดย่อพ..(1)บทคัดย่อพ..(1)
บทคัดย่อพ..(1)Art Nan
 
เล่มที่1
เล่มที่1เล่มที่1
เล่มที่1Art Nan
 
คู่มือการใช้แบบฝึกสำหรับครู
คู่มือการใช้แบบฝึกสำหรับครูคู่มือการใช้แบบฝึกสำหรับครู
คู่มือการใช้แบบฝึกสำหรับครูArt Nan
 
บทคัดย่อ(1)
บทคัดย่อ(1)บทคัดย่อ(1)
บทคัดย่อ(1)Art Nan
 
นางพัชรินทร์ สุทธหลวง02
นางพัชรินทร์ สุทธหลวง02นางพัชรินทร์ สุทธหลวง02
นางพัชรินทร์ สุทธหลวง02Art Nan
 
นางพัชรินทร์ สุทธหลวง01
นางพัชรินทร์ สุทธหลวง01นางพัชรินทร์ สุทธหลวง01
นางพัชรินทร์ สุทธหลวง01Art Nan
 
นางสาวสุพรรณ์ เมฆแสน 02
นางสาวสุพรรณ์ เมฆแสน 02นางสาวสุพรรณ์ เมฆแสน 02
นางสาวสุพรรณ์ เมฆแสน 02Art Nan
 
นางขวัญฤดี กันทเสน02
นางขวัญฤดี  กันทเสน02นางขวัญฤดี  กันทเสน02
นางขวัญฤดี กันทเสน02Art Nan
 
นางสาวสุพรรณ์ เมฆแสน 01
นางสาวสุพรรณ์ เมฆแสน 01นางสาวสุพรรณ์ เมฆแสน 01
นางสาวสุพรรณ์ เมฆแสน 01Art Nan
 
นางขวัญฤดี กันทเสน02
นางขวัญฤดี  กันทเสน02นางขวัญฤดี  กันทเสน02
นางขวัญฤดี กันทเสน02Art Nan
 
นางขวัญฤดี กันทเสน01
นางขวัญฤดี  กันทเสน01นางขวัญฤดี  กันทเสน01
นางขวัญฤดี กันทเสน01Art Nan
 
ข้อสอบ สังคมศึกษา(133 141)
ข้อสอบ สังคมศึกษา(133  141)ข้อสอบ สังคมศึกษา(133  141)
ข้อสอบ สังคมศึกษา(133 141)Art Nan
 
ข้อสอบ สังคมศึกษา(1 132)
ข้อสอบ สังคมศึกษา(1 132)ข้อสอบ สังคมศึกษา(1 132)
ข้อสอบ สังคมศึกษา(1 132)Art Nan
 
เอกสารประกอบคำบรรยายประวัติศาสตร์ไทย
เอกสารประกอบคำบรรยายประวัติศาสตร์ไทยเอกสารประกอบคำบรรยายประวัติศาสตร์ไทย
เอกสารประกอบคำบรรยายประวัติศาสตร์ไทยArt Nan
 
ประวัติศาสตร์สากลเมืองแงง
ประวัติศาสตร์สากลเมืองแงงประวัติศาสตร์สากลเมืองแงง
ประวัติศาสตร์สากลเมืองแงงArt Nan
 
รายวิชาสังคมพื้นฐาน อาเซียนศึกษา
รายวิชาสังคมพื้นฐาน อาเซียนศึกษารายวิชาสังคมพื้นฐาน อาเซียนศึกษา
รายวิชาสังคมพื้นฐาน อาเซียนศึกษาArt Nan
 
รายวิชาสังคมพื้นฐาน อาเซียนศึกษา
รายวิชาสังคมพื้นฐาน อาเซียนศึกษารายวิชาสังคมพื้นฐาน อาเซียนศึกษา
รายวิชาสังคมพื้นฐาน อาเซียนศึกษาArt Nan
 
คำถามม.5-6
คำถามม.5-6คำถามม.5-6
คำถามม.5-6Art Nan
 

Más de Art Nan (20)

รวงรัตน์
รวงรัตน์รวงรัตน์
รวงรัตน์
 
Unit1 paklang new2
Unit1 paklang new2Unit1 paklang new2
Unit1 paklang new2
 
บทคัดย่อพ..(1)
บทคัดย่อพ..(1)บทคัดย่อพ..(1)
บทคัดย่อพ..(1)
 
เล่มที่1
เล่มที่1เล่มที่1
เล่มที่1
 
คู่มือการใช้แบบฝึกสำหรับครู
คู่มือการใช้แบบฝึกสำหรับครูคู่มือการใช้แบบฝึกสำหรับครู
คู่มือการใช้แบบฝึกสำหรับครู
 
บทคัดย่อ(1)
บทคัดย่อ(1)บทคัดย่อ(1)
บทคัดย่อ(1)
 
นางพัชรินทร์ สุทธหลวง02
นางพัชรินทร์ สุทธหลวง02นางพัชรินทร์ สุทธหลวง02
นางพัชรินทร์ สุทธหลวง02
 
นางพัชรินทร์ สุทธหลวง01
นางพัชรินทร์ สุทธหลวง01นางพัชรินทร์ สุทธหลวง01
นางพัชรินทร์ สุทธหลวง01
 
นางสาวสุพรรณ์ เมฆแสน 02
นางสาวสุพรรณ์ เมฆแสน 02นางสาวสุพรรณ์ เมฆแสน 02
นางสาวสุพรรณ์ เมฆแสน 02
 
นางขวัญฤดี กันทเสน02
นางขวัญฤดี  กันทเสน02นางขวัญฤดี  กันทเสน02
นางขวัญฤดี กันทเสน02
 
นางสาวสุพรรณ์ เมฆแสน 01
นางสาวสุพรรณ์ เมฆแสน 01นางสาวสุพรรณ์ เมฆแสน 01
นางสาวสุพรรณ์ เมฆแสน 01
 
นางขวัญฤดี กันทเสน02
นางขวัญฤดี  กันทเสน02นางขวัญฤดี  กันทเสน02
นางขวัญฤดี กันทเสน02
 
นางขวัญฤดี กันทเสน01
นางขวัญฤดี  กันทเสน01นางขวัญฤดี  กันทเสน01
นางขวัญฤดี กันทเสน01
 
ข้อสอบ สังคมศึกษา(133 141)
ข้อสอบ สังคมศึกษา(133  141)ข้อสอบ สังคมศึกษา(133  141)
ข้อสอบ สังคมศึกษา(133 141)
 
ข้อสอบ สังคมศึกษา(1 132)
ข้อสอบ สังคมศึกษา(1 132)ข้อสอบ สังคมศึกษา(1 132)
ข้อสอบ สังคมศึกษา(1 132)
 
เอกสารประกอบคำบรรยายประวัติศาสตร์ไทย
เอกสารประกอบคำบรรยายประวัติศาสตร์ไทยเอกสารประกอบคำบรรยายประวัติศาสตร์ไทย
เอกสารประกอบคำบรรยายประวัติศาสตร์ไทย
 
ประวัติศาสตร์สากลเมืองแงง
ประวัติศาสตร์สากลเมืองแงงประวัติศาสตร์สากลเมืองแงง
ประวัติศาสตร์สากลเมืองแงง
 
รายวิชาสังคมพื้นฐาน อาเซียนศึกษา
รายวิชาสังคมพื้นฐาน อาเซียนศึกษารายวิชาสังคมพื้นฐาน อาเซียนศึกษา
รายวิชาสังคมพื้นฐาน อาเซียนศึกษา
 
รายวิชาสังคมพื้นฐาน อาเซียนศึกษา
รายวิชาสังคมพื้นฐาน อาเซียนศึกษารายวิชาสังคมพื้นฐาน อาเซียนศึกษา
รายวิชาสังคมพื้นฐาน อาเซียนศึกษา
 
คำถามม.5-6
คำถามม.5-6คำถามม.5-6
คำถามม.5-6
 

อาเซียนศึกษา

  • 1. คูมือการจัดกิจกรรรมการเรียนรู รายวิชาเลือก สาระการพัฒนาสังคม อาเซียนศึกษา รหัส สค02015 จํานวน 3 หนวยกิต (120 ชั่วโมง) ระดับประถมศึกษา มัธยมศึกษาตอนตน มัธยมศึกษาตอนปลาย สถาบันพัฒนาการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยภาคเหนือ สํานักงานสงเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย สํานักงานปลัดกระทรวงศึกษาธิการ กระทรวงศึกษาธิการ
  • 2. กระทรวงศึกษาธิ การไดป ระกาศใช ห ลั กสูตรการศึ กษานอกระบบระดั บ การศึ กษาขั้ น พื้นฐาน พุทธศักราช 2551 ซึ่งมีรายละเอียดประกอบดวย หลักการ จุดหมาย โครงสรางหลัก สูตร กรอบสาระและมาตรฐานการเรียนรู การจัดกระบวนการเรียนรู สื่อการเรียนรู และการวัดประเมินผล โดยกําหนดสาระวิชาบังคับไว สวนวิชาเลือกใหสถานศึกษาเปนผูดําเนินการพัฒนา แนวทางในการ พัฒนาหลักสูตรรายวิชาเลือก จะตองนําสาระและมาตรฐานการเรียนรูที่กําหนดไปพั ฒนาหลักสูตรให สอดคลองกับสภาพปญหา ความตองการของผูเรียน ชุมชน สังคม การพัฒนาหลักสูตรรายวิชาเลือก จึงมีความสําคัญในการกําหนดทิศทางการเรียนรูใหสอดคลองกับหลักสูตรสถานศึกษาและของผูเรียน ใหบรรลุมาตรฐานการเรียนรูที่กําหนดไว รัฐมนตรีวาการกระทรวงศึกษาธิการ ไดประกาศใหจัดการเรียนการสอนหลักสูตรอาเซียน ศึกษา ไวรองรับการกาวสูการเปน ประชาคมอาเซียนของไทยอยางเต็มตัว ในป 2558 ซึ่งจะทําให ผู เ รี ย นเห็ น ความสํ า คั ญขององค ก รเเห ง นี้ และเข า ใจความเป น “อาเซี ยน” องค ก รเก า เเก แ ละ มีความสําคัญมากที่สุดสําหรับภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต สถาบัน กศน.ภาคเหนือ จึงไดดําเนินการพัฒนารายวิชาเลือ ก หลักสูตรอาเซียนศึกษา เพื่อสนับสนุนการจัดการเรียนการสอนของ ครู กศน. เพื่อใหผูเรียนไดทราบถึงความเปนมา พัฒนาการ และความร วมมือ ตางๆ ระหวา งประเทศสมาชิกอาเซี ยน และร ว มกั น เพื่อ การขั บ เคลื่ อ นการเป น ประชาคมที่เขมแข็งตอไป สถาบัน กศน. ภาคเหนือ ขอขอบคุณคณะทํางานทุกทานที่ใหขอคิดเห็นอันเปนประโยชน ตอการพัฒนาหลักสูตรดังกลาว หวังวาเอกสารรายวิชาเลือกฉบับนี้จะเปนประโยชนตอผูบริหารและครู กศน. ตามสมควร (นายประเสริฐ หอมดี) ผูอํานวยการ สถาบัน กศน. ภาคเหนือ มิถุนายน 2554
  • 3. คํานํา สารบัญ คําอธิบายรายวิชาอาเซียนศึกษา 1 รายละเอียด คําอธิบายรายวิชาอาเซียนศึกษา 3 รายวิชาอาเซียนศึกษา 7 แผนการจัดการเรียนรู รายวิชาอาเซียนศึกษา 11 ใบความรู ที่ 1-14 26 ใบงาน ที่ 1-11 83 บรรณานุกรม คณะผูจัดทํา
  • 4. กฎบัตรอาเชียน (ASEAN Charter) เอกสารเผยแพรและสื่อประชาสัมพันธ กรมอาเซียน กระทรวง การต า งประเทศ (ออนไล น ). เข า ถึ ง ได จ าก :http://www.mfa.go.th/asean/ asean_web/media/aseanMiniBook.pdf (วันที่คนขอมูล : 22 พฤษภาคม 2554). กฏบัตรอาเซียน (ASEAN Charter) หมวดที่ 4 โครงสรางองคกรของอาเซีย น เอกสารเผยแพร และประชาสัมพั น ธ กรมอาเซียน กระทรวงการต างประเทศ(ออนไลน ). เข าถึ งได จ าก :http://aseansummit.mfa.go.th/15/thai/PDF/ASEAN_Charter_TH+EN.pdf (วั น ที่ คนขอมูล : 21 พฤษภาคม 2554). การรวมตั ว ทางเศรษฐกิ จ ของอาเซี ย น เอกสารเผยแพร อ อนไลน กรมอาเซี ย น กระทรวง การตางประเทศ (ออนไลน). เขาถึงไดจ าก www.mfa.go.th/asean/asean_web/docs/ asean_economy.doc (วันที่คนขอมูล : 21 พฤษภาคม 2554). ข อมู ล ทั่ ว ไปของอาเชี ย น. (ออนไลน). เข าถึ งได จ าก : http://www.mfa.go.th/web/1694.php เว็บไซตกองอาเชียน กระทรวงตางประเทศ (วันที่คนขอมูล : 27 พฤษภาคม 2554) ขอมูล ประเทศและเขตเศรษฐกิจ , จับตาเอเซี ยตะวันออก East Asia Watch เขาถึ งไดจ าก : http://www.eastasiawatch.in.th/information.php (วั นที่ คน ข อมู ล : 21 พฤษภาคม 2554) เขตการคาเสรีอาเซียน (ASEAN Free Trade Area: AFTA) เอกสารเผยแพรออนไลน ศูนยศึกษา ความร ว มมื อ ระหว า งประเทศ มหาวิ ท ยาลั ย ธรรมศาสตร ICSC : International Cooperation Study Center (ออนไลน). เขาถึงไดจาก :http://www.apecthai.org/2008/ upload/5870AFTA (วันที่คนขอมูล : 12 พฤษภาคม 2554). ขอมูลทั่วไปของประชาคมสังคมและวัฒนธรรมอาเซียน กรมอาเซียน กระทรวงการตางประเทศ (ออนไลน ). เข า ถึง ได จ าก : http://www.mfa.go.th/web/3020.php?sid=4153 (วั น ที่ คนขอมูล :15 พฤษภาคม 2554). ความรวมมือดานการเมืองและความมั่นคงของอาเซียน เอกสารเผยแพรออนไลน กรมอาเซียน กระทรวงการต า งประเทศ (ออนไลน ). เข า ถึ ง ได จ าก : www.mfa.go.th/asean /asean_web/docs/611.doc (วันที่คนขอมูล : 21 พฤษภาคม 2554).
  • 5. ความมั่นคงในกรอบของการประชุม อาเซี ยนวาด วยความร ว มมื อดานการเมื องและความ มั่นคงในภูมิภาคเอเชีย-แปซิฟก (ASEAN Regional Forum – ARF) เอกสารเผยแพร ออนไลน ศูน ยศึกษาความร วมมือ ระหวางประเทศ มหาวิ ทยาลั ยธรรมศาสตร ICSC : International Cooperation Study Center (ออนไลน). เข าถึ งไดจ าก :http://www. apecthai.org/2008/upload/836ARF.pdf (วันที่คนขอมูล : 21 พฤษภาคม 2554). ความรว มมือดานการลงทุน (ASEAN Investment Area: AIA) เอกสารเผยแพรออนไลน ศูนย ศึกษาความร วมมื อระหวางประเทศ มหาวิ ทยาลัยธรรมศาสตร ICSC : International Cooperation Study Center (ออนไลน). เขาถึงไดจาก :http://www.apecthai.org/2008/ upload/9558AIA.pdf (วันที่คนขอมูล : 12 พฤษภาคม 2554). ความรว มมือดานอุตสาหกรรม(ASEAN Industrial Cooperation Scheme: AICO) เอกสาร เผยแพรอ อนไลน ศู น ยศึก ษาความร ว มมื อ ระหว า งประเทศ มหาวิท ยาลั ยธรรมศาสตร ICSC : International Cooperation Study Center (ออนไลน). เขาถึงไดจาก :http://www. apecthai.org/2008/upload/5306AICO.pdf (วันที่คนขอมูล : 12 พฤษภาคม 2554). ความรวมมือดานขนสงของอาเซียน (ASEAN Transport Cooperation) เอกสารเผยแพรออนไลน ศูนยศึกษาความรวมมือระหวางประเทศ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร ICSC : International Cooperation Study Center (ออนไลน). เขาถึงไดจาก :http://www.apecthai.org/2008/ upload/3058Transportation.pdf (วันที่คนขอมูล : 13 พฤษภาคม 2554). ความรวมมือดานพลังงานในอาเซียน (ASEAN Energy Cooperation) เอกสารเผยแพรออนไลน ศูนยศึกษาความรวมมือระหวางประเทศ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร ICSC : International Cooperation Study Center (ออนไลน). เขาถึงไดจ าก :ttp://www.apecthai.org/2008/ upload/999Energy.pdf (วันที่คนขอมูล : 12 พฤษภาคม 2554). ความรว มมือดานการทองเที่ยวในกรอบอาเซียนและอาเซียน + 3 เอกสารเผยแพรออนไลน ศูนยศึกษาความรวมมือระหวางประเทศ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร ICSC : International Cooperation Study Center (ออนไลน). เขาถึงไดจาก :http://www.apecthai.org/2008/ upload/3052Tourism.pdf (วันที่คนขอมูล : 12 พฤษภาคม 2554). ความรวมมือของอาเซียนดาน Functional Cooperation เอกสารเผยแพรออนไลน ศูนยศึก ษา ความร ว มมื อ ระหว า งประเทศ มหาวิ ท ยาลั ย ธรรมศาสตร ICSC : International Cooperation Study Center (ออนไลน). เขาถึงไดจาก :http://www.apecthai.org/2008/ upload/1298Overview.pdf (วันที่คนขอมูล : 21 พฤษภาคม 2554).
  • 6. ประโยชน ที่ ไ ทยได รั บ จากการเข า ร ว มกลุ ม อาเซี ย น. (ออนไลน ). เข า ถึ ง ได จ าก : http://www.mfa.go.th หนั งสื อ “มารูจักอาเซี ย นกั น เถอะโดยกรมอาเซี ยน กระทรวง การตางประเทศ (วันที่คนขอมูล : 23 พฤษภาคม 2554). ประชาคมอาเซียน (ASEAN Community) เอกสารเผยแพรและสื่ อ ประชาสัมพัน ธ กรมอาเซียน กระทรวงการต า งประเทศ (ออนไลน ). เข า ถึ ง ได จ าก : http://www.mfa.go.th/ internet/document/1808.doc) (วันที่คนขอมูล : 30 พฤษภาคม 2554) ประชาคมการเมื อ งและความมั่ นคงอาเซี ย น บทความเว็ บ ไซต กรมอาเซี ยน กระทรวงการ ตางประเทศ (ออนไลน). เขาถึงไดจาก : http://www.mfa.go.th/web/3020.php?sid=4051 (วันที่คนขอมูล : 21 พฤษภาคม 2554). ประชาคมสังคมและวัฒนธรรมอาเซียน บทความเว็บไซต กรมอาเซียน กระทรวงการตางประเทศ (ออนไลน). เขาถึงไดจาก :http://www.mfa.go.th/web/3020.php?sid=4053 (วัน ที่คน ขอมูล : 28 พฤษภาคม 2554). มารูจักอาเซียนกันเถอะ เอกสารเผยแพร กรมอาเชียน กระทรวงการตางประเทศ (ออนไลน). เขาถึง ได จ าก : http://www.mfa.go.th/web/1694.php เ ว็ บ ไ ซ ต ก องอ าเ ชี ย น ก ระ ท รว ง ตางประเทศ (วันที่คนขอมูล : 27 พฤษภาคม 2554). มารูจักอาเซียนกันเถอะ เอกสารเผยแพรและสื่อประชาสัมพันธออนไลน กรมอาเซียน กระทรวงการ ต างประเทศ (ออนไลน ). เข า ถึ ง ได จ าก :http://www.mfa.go.th/asean/ asean_web/ edia/asean_book.pdf (วันที่คนขอมูล : 30 พฤษภาคม 2554). (ออนไลน ). เขา ถึ งได จ าก : http://www.mfa.go.th/web/3020.php?sid=4052 (วัน ที่ค น ขอ มู ล : 29 พฤษภาคม 2554). เอกสาร “ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน” ฉบับประชาชน โดยกรมเจรจาการคาระหวางประเทศ กระทรวงพาณิชย. Brunei, Wikipedia the free encyclopedia (http://en.wikipedia.org/wiki/Brunei) Combodia, Wikipedia the free encyclopedia (http://en.wikipedia.org/wiki/Cambodia) Indonesia, Wikipedia the free encyclopedia (http://en.wikipedia.org/wiki/Indonesia) List of countries and outlying territories by total area http://en.wikipedia.org/wiki/List_of_ countries_and_outlying_territories_by_total_area
  • 7. List of countries by population http://en.wikipedia.org/wiki/List_of_countries_by_ population Laos, Wikipedia the free encyclopedia (http://en.wikipedia.org/wiki/Laos) Malaysia, Wikipedia the free encyclopedia (http://en.wikipedia.org/wiki/Malaysia) Myanmar, Wikipedia the free encyclopedia (http://en.wikipedia.org/wiki/Myanmar) Philippines, Wikipedia the free encyclopedia (http://en.wikipedia.org/wiki/Philippines) The Founding of ASEAN เว็บไซตอ ยางเปน ทางการของ ASEAN The Official Website of the Association of South East Asian Nations เข าถึงไดจ าก : http://www.asean.org (วันที่คนขอมูล : 21 พฤษภาคม 2554). Thailand, Wikipedia the free encyclopedia (http://en.wikipedia.org/wiki/Thailand) Singapore, Wikipedia the free encyclopedia (http://en.wikipedia.org/wiki/Singapore) Vietnam, Wikipedia the free encyclopedia (http://en.wikipedia.org/wiki/Vietnam)
  • 8. ที่ปรึกษา นายประเสริฐ หอมดี ผูอํานวยการสถาบัน กศน. ภาคเหนือ นางนาถยา ผิวมั่นกิจ รองผูอํานวยการสถาบัน กศน. ภาคเหนือ นางสาวสุดใจ บุตรอากาศ ครูเชี่ยวชาญ สถาบัน กศน. ภาคเหนือ ผูเขียน นางณิชากร เมตาภรณ ครูชํานาญการพิเศษ สถาบัน กศน.ภาคเหนือ นางสาวอรวรีย ฟองจันทร ครูชํานาญการพิเศษ สถาบัน กศน. ภาคเหนือ นางสาวนัชรี อุมบางตลาด ครูชํานาญการ สถาบัน กศน. ภาคเหนือ นางสาวสุวิชชา อินหนองฉาง ครูอาสาฯ ศูนย กศน.อําเภอสันทราย จ.เชียงใหม ผูเรียบเรียงใบความรู นางณิชากร เมตาภรณ ครูชํานาญการพิเศษ สถาบัน กศน.ภาคเหนือ นางสาวนัชรี อุมบางตลาด ครูชํานาญการ สถาบัน กศน. ภาคเหนือ บรรณาธิการ นางสาวจิราพร จันทรขาว ครูชํานาญการพิเศษ โรงเรียนลําปางกัลยาณี จ.ลําปาง ผูรับผิดชอบโครงการ นางสาวพิมพาพร อินทจักร ครูเชี่ยวชาญ สถาบัน กศน.ภาคเหนือ นางณิชากร เมตาภรณ ครูชํานาญการพิเศษ สถาบัน กศน.ภาคเหนือ ผูพิมพ/รูปเลม นางมุกดา ภูตาสืบ เจาหนาที่ สถาบัน กศน.ภาคเหนือ นางสาวปยนุช ภูมิศรี เจาหนาที่ สถาบัน กศน.ภาคเหนือ ออกแบบปก นางสาวนัชรี อุมบางตลาด ครูชํานาญการ สถาบัน กศน. ภาคเหนือ พิมพที่ สถาบัน กศน.ภาคเหนือ
  • 9. คําอธิบายรายวิชา อาเซียนศึกษา รหัส สค02015 สาระการพัฒนาสังคม ระดับประถมศึกษา มัธยมศึกษาตอนตน มัธยมศึกษาตอนปลาย จํานวน 3 หนวยกิต ( 120 ชั่วโมง ) มาตรฐานการเรียนรู มาตรฐานที่ 5.1 มีค วามรูความเขา ใจ และตระหนั กถึ งความสํ าคั ญเกี่ ยวกั บ ภูมิศาสตร ประวัติศาสตร เศรษฐศาสตร การเมือง การปกครอง สามารถนํามาปรับใชในการดํารงชีวิต ผลการเรียนรูที่คาดหวัง 1. อธิบายขอมูลเกี่ยวกับความเปนมาและพัฒนาการของอาเซียนในเรื่องประวัติ วัตถุประสงค การกอตั้งอาเซียน 2. ระบุประเทศกลุมสมาชิกอาเซียน 3. อธิบายความสําคัญของประชาคมอาเซียนและกฎบัตรอาเซียน (ASEAN Charter) 4. สรุปผลงานของกลุมอาเซียน 3 ดาน คือ ความรวมมือในดานการเมืองและความมันคง ่ ของอาเซียน ความรวมมือของอาเซียนในดานเศรษฐกิจ และความรวมมือดานสังคมและวัฒนธรรม 5. วิเคราะหปญหาและอุปสรรคจากผลงานของกลุมอาเซียนในดานตางๆ 6. อธิบายแนวทางการดําเนินงานเพื่อนําไปสูการเปน ประชาคมเศรษฐกิจ อาเซียน (ASEAN Economic Community) : AEC 7. อธิบายการกําเนิดการจัดตั้งเขตการคาเสรีอาเซียน (ASEAN Free Trade Area) : AFTA 8. บอกประโยชนที่ประเทศไทยไดรับในการเปนสมาชิกของกลุมอาเซียน ศึกษาและฝกทักษะ 1. ความเปนมาและพัฒนาการของอาเซียนในเรื่องประวัติ วัตถุประสงคการกอตั้งอาเซียน 2. ประเทศกลุมสมาชิกอาเซียน 3. ความสําคัญของประชาคมอาเซียนและกฎบัตรอาเซียน (ASEAN Charter) 4. ผลงานของกลุมอาเซียน 3 ดาน คือ ความรวมมือ ในดานการเมือ งและความมั่น คงของ อาเซียน ความรวมมือของอาเซียนในดานเศรษฐกิจ และความรวมมือดานสังคมและวัฒนธรรม 5. ปญหาและอุปสรรคจากผลงานของกลุมอาเซียนในดานตางๆ 6. แนวทางการดํ า เนิ น งานเพื่ อ นํ า ไปสู ก ารเป น ประชาคมเศรษฐกิ จ อาเซี ย น (ASEAN Economic Community) : AEC รายวิชาเลือก อาเซียนศึกษา หนา 1
  • 10. 7. การกําเนิดการจัดตั้งเขตการคาเสรีอาเซียน (ASEAN Free Trade Area) : AFTA 8. ประโยชนที่ประเทศไทยไดรับในการเปนสมาชิกของกลุมอาเซียน การจัดประสบการณการเรียนรู 1. จัดกลุมอภิปรายในเนื้อหาที่เกี่ยวของ 2. เชิญนักวิช าการผูรูมาใหความรู เกี่ยวกั บประโยชนแ ละผลกระทบที่ เกิด ตอ ประเทศและ ประชาชน 3. จัดทําโครงการนิทรรศการฐานความรู 4. ศึกษาดูงานในโรงเรียนประจําจังหวัดที่นํารองการเรียนหลักสูตรอาเซียนศึกษา 5. ศึกษาจากเอกสารและสื่อทุกประเภทที่เกี่ยวของ เว็บไซต ของกรมอาเซียน กระทรวงการ ตางประเทศ (www.mfa.go.th) และ (www.14thaseansummit.org) และเว็ บไซต ของสํานักงาน เลขาธิการอาเซียน (www.aseansec.org) ฯลฯ 6. ศึกษาจาก VCD ของกรมอาเซียน กระทรวงการตางประเทศ 7. ศึกษาจากรายการโทรทัศน รายการ วิถีอาเซีย น (ASEAN Way) จากไทยทีวีสีชอง 3 ทุกวันเสาร เวลาประมาณ 05.45 น. การวัดและประเมินผล 1. สังเกตพฤติกรรมระหวางการเรียนรู 2. วัดความรูจากการทํากิจกรรมในใบงาน 3. การวัดผลสัมฤทธิ์ปลายภาค รายวิชาเลือก อาเซียนศึกษา หนา 2
  • 11. รายละเอียด คําอธิบายรายวิชา อาเซียนศึกษา รหัส สค02015 สาระการพัฒนาสังคม ระดับประถมศึกษา มัธยมศึกษาตอนตน มัธยมศึกษาตอนปลาย จํานวน 3 หนวยกิต (120 ชั่วโมง) มาตรฐานที่ 5.1 มีความรูความเขาใจ และตระหนักถึงความสําคัญเกี่ยวกับภูมิศาสตร ประวัติศาสตร เศรษฐศาสตร การเมือง การปกครอง สามารถนํามาปรับใชในการดํารงชีวิต เวลา ที่ หัวเรื่อง ตัวชี้วัด เนื้อหา (ชั่วโมง) 1 พัฒนาการ 1.1 บอกประวัติความเปนมาของ 1.1 ความเปนมาของอาเซียน 15 อาเซียน อาเซียน (ASEAN) ได 1.2 เขาใจวัตถุประสงคในการ 1.2 วัตถุประสงคในการกอตั้งและ กอตั้งประเทศสมาชิก ประเทศสมาชิกอาเซียน อาเซียน (ASEAN) 1.3 บอกความหมายและความ 1.3 ความหมาย ความสําคัญ ของ สําคัญของประชาคม ประชาคมอาเซียนและกฎบัตร อาเซียนและกฎบัตรอาเซียน อาเซียน (ASEAN Charter) (ASEAN Charter) ได 2 ผลงานของ 2.1 บอกโครงสรางและกลไกการ 2.1 โครงสรางและกลไกการ 30 กลุมอาเซียน ดําเนินงานของอาเซียนได ดําเนินงานของอาเซียน - ที่ประชุมสุดยอดอาเซียน (ASEAN Summit) - คณะมนตรีประสานงาน อาเซียน (ASEAN Coordinating Councils : ACCs) - คณะมนตรีประชาคม อาเซียน (ASEAN Community Councils) รายวิชาเลือก อาเซียนศึกษา หนา 3
  • 12. เวลา ที่ หัวเรื่อง ตัวชี้วัด เนื้อหา (ชั่วโมง) - องคกรระดับรัฐมนตรี อาเซียนเฉพาะสาขา (ASEAN Sectoral Ministerials Bodies) - เลขาธิการอาเซียนและสํานัก เลขาธิการอาเซียน (Secretary-General of ASEAN and ASEAN Secretariat) - คณะกรรมการผูแทนถาวร ประจําอาเซียน(Committee of Permanent Representatives of ASEAN) - สํานักงานอาเซียนแหงชาติ หรือกรมอาเซียน (ASEAN National Secretariat) - องคกรสิทธิมนุษยชน อาเซียน (ASEAN Human Rights Body) - มูลนิธิอาเซียน (ASEAN Foundation) 2.2 บอกความสําคัญในการ 2.2 ความสําคัญในการรวมมือ รวมมือของอาเซียน ทั้ง 3 ของอาเซียน ทั้ง 3 ดาน ดานได - ดานการเมืองและความ - ดานการเมืองและความ มั่นคง มั่นคง - ดานเศรษฐกิจ - ดานเศรษฐกิจ - ดานสังคมและวัฒนธรรม รายวิชาเลือก อาเซียนศึกษา หนา 4
  • 13. เวลา ที่ หัวเรื่อง ตัวชี้วัด เนื้อหา (ชั่วโมง) - ดานสังคมและวัฒนธรรม 2.3 สรุปผลจากการประชุมกลุม 2.3 ผลจากการประชุมอาเซียนใน อาเซียนในรอบปที่ผานมา รอบปที่ผานมา 2.4 อธิบาย สรุปปญหาและ 2.4 ปญหาและอุปสรรคที่สําคัญ อุปสรรคที่สําคัญของ ของอาเซียน อาเซียนได 3 ประชาคม 3.1 บอกความหมายและ 3.1 ความหมายและวัตถุประสงค 20 เศรษฐกิจ วัตถุประสงคของประชาคม ของประชาคมเศรษฐกิจ อาเซียน เศรษฐกิจอาเซียน (AEC) ได อาเซียน (AEC) (ASEAN 3.2 อธิบายเปาหมายของ 3.2 เปาหมายของประชาคม Economic ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน เศรษฐกิจอาเซียน (AEC) Community) : (AEC) ได AEC 3.3 อธิบายแนวทางการ 3.3 แนวทางการดําเนินงานเพื่อ ดําเนินงาน เพื่อนําไปสูการ นําไปสูการเปน AEC เปน AEC ได 3.4 บอกประโยชนที่ประเทศไทย 3.4 ประโยชนที่ประเทศไทยไดรับ ไดรับจากการเขารวม AEC จากการเขารวมประชาคม เศรษฐกิจอาเซียน (AEC) 4 การกําเนิดการ 4.1 บอกประวัติความเปนมา 4.1 ความหมาย ความสําคัญ 20 จัดตั้งเขต ความสําคัญ และ และวัตถุประสงคของ AFTA การคาเสรี วัตถุประสงคของ AFTA ได อาเซียน 4.2 เห็นคุณคาและประโยชนที่ 4.2 ประโยชนที่ประเทศไทยไดรับ (ASEAN Free ประเทศไทยเขารวมเขต จากการเขารวมเขตการคาเสรี Trade Area) : การคาเสรี อาเซียน (AFTA) อาเซียน (AFTA) AFTA รายวิชาเลือก อาเซียนศึกษา หนา 5
  • 14. เวลา ที่ หัวเรื่อง ตัวชี้วัด เนื้อหา (ชั่วโมง) 5 ประโยชนที่ 5.1 มีความรูความเขาใจใน 5.1 ทิศทางสังคมไทยตอการ 35 ประเทศไทย ทิศทางสังคมไทยตอการ เปลี่ยนแปลงสูสังคมอาเซียน ไดรับในการ เปลี่ยนแปลงสูสังคมอาเซียน ในดาน เปนสมาชิก ในดานตางๆ - ความรวมมือทางการเมือง ของกลุม - ความรวมมือทางเศรษฐกิจ อาเซียน - ความรวมมือเฉพาะดาน 5.2 เห็นคุณคาและประโยชนที่ 5.2 ประโยชนที่ไทยไดรับในการ ประเทศไทยไดรับในการเปน รวมกลุมอาเซียน สมาชิกของกลุมอาเซียน - การแกปญหาความยากจน - การสงเสริมการทองเที่ยว - การอนุรักษสิ่งแวดลอม - การแพรระบาดของ โรคติดตอ - การแกปญหาการคา ยาเสพติด - การจัดการการเกิดภัยพิบัติ - การปกปองสิทธิสตรี - การแกปญหาการกอการราย ขามชาติ รายวิชาเลือก อาเซียนศึกษา หนา 6
  • 15. รายวิชา อาเซียนศึกษา รหัส สค02015 สาระการพัฒนาสังคม ระดับประถมศึกษา มัธยมศึกษาตอนตน มัธยมศึกษาตอนปลาย จํานวน 3 หนวยกิต ( 120 ชั่วโมง) ความเปนมา กระทรวงศึกษาธิการ โดยสํานักงานเลขาธิการสภาการศึกษา ไดทําการวิจัยการพัฒนาดาน กฎหมายรองรับการเปดเสรีทางการศึกษา และกระทรวงศึกษาธิการยังไดมีนโยบายชัดเจนในการพัฒนา การศึกษา เพื่อรองรับ การเป น ประชาคมอาเซียนรวมกัน ซึ่งจะต องพั ฒนาทั้งในดา นการศึกษา ดา น วัฒนธรรม และวิถีชีวิตความเปนอยู ดังนั้นในสวนของสํานักงาน กศน. จึงไดมอบหมายใหสถาบัน กศน. ภาคเหนือพัฒนาหลักสูตรอาเซียนศึกษา เพื่อใหผูเรียนไดท ราบถึงความเปนมา พัฒนาการ และความ รวมมือตางๆ ระหวางประเทศสมาชิกอาเซียน ซึ่งจะชวยใหทราบถึงความสําคัญขององคกรเเหงนี้ และ เขาใจความเปน “อาเซียน” องคกรเกาเเกและมีความสําคัญมากที่สุดสําหรับภูมิภาคเอเชียตะวันออก เฉียงใต และรวมกันเพื่อการขับเคลื่อนการเปนประชาคมที่เขมแข็งตอไป หลักการ เปนรายวิชาเลือก สาระการพัฒนาสังคม ที่สามารถใหผูเรียนเลือกเรียนไดตามความสนใจ จุดประสงครายวิชา เพื่อใหผูเรียน 1. รูโครงสรางของอาเซียน ประวัติความเปนมาของอาเซียน และเขาใจวัตถุประสงคของการ  กอตั้งประเทศสมาชิกอาเซียน 2. บอกความสําคัญของประชาคมอาเซียนและกฎบัตรอาเซียน 3. บอกความสําคัญของผลงานของกลุมอาเซียน 3 ดาน คือ ความรวมมือในดานการเมือง และความมันคงของอาเซียน ความรวมมือของอาเซียนในดานเศรษฐกิจ และความรวมมือดานสังคม ่ และวัฒนธรรม 4. สรุปผลจากการประชุมกลุมอาเซียนในรอบปที่ผานมา 5. อธิบายและสรุปปญหาและอุปสรรคที่สําคัญของอาเซียนไดบอกความหมาย เปาหมาย และแนวทางการดําเนินงานเพื่อนําไปสูการเปนของประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน (AEC) 6. บอกประวัติความเปนมา ความสําคัญ และวัตถุประสงคของ AFTA 7. มีความรูความเขาใจในทิศทางสังคมไทยตอการเปลี่ยนแปลงสูสังคมอาเซียนในดานตางๆ 8. เห็นคุณคาและประโยชนที่ประเทศไทยไดรับจากการเขารวมกลุมอาเซียน รายวิชาเลือก อาเซียนศึกษา หนา 7
  • 16. ระยะเวลาเรียนและจํานวนหนวยกิต จํานวน 120 ชั่วโมง 3 หนวยกิต โครงสรางเนื้อหาหลักสูตร หลักสูตรอาเซียนศึกษา ประกอบดวยเนื้อหาจํานวน 5 เรื่อง โดยแยกเปนเนื้อหาดังตอไปนี้ 1. พัฒนาการอาเซียน 2. ผลงานของกลุมอาเซียน 3. ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน (ASEAN Economic Community) : AEC 4. การกําเนิดการจัดตั้งเขตการคาเสรีอาเซียน (ASEAN Free Trade Area) : AFTA 5. ประโยชนที่ประเทศไทยไดรับในการเปนสมาชิกของกลุมอาเซียน รายละเอียดเนื้อหา 1. พัฒนาการอาเซียน 1.1 ความเปนมาของอาเซียน 1.2 วัตถุประสงคในการกอตั้งและประเทศสมาชิกอาเซียน 1.3 ความหมาย ความสํ าคั ญของประชาคมอาเซี ยนและกฎบั ตรอาเซี ย น (ASEAN Charter) 2. ผลงานของกลุมอาเซียน 2.1 โครงสรางและกลไกการดําเนินงานของอาเซียน - ที่ประชุมสุดยอดอาเซียน (ASEAN Summit) - คณะมนตรีประสานงานอาเซียน (ASEAN Coordinating Councils : ACCs) - คณะมนตรีประชาคมอาเซียน (ASEAN Community Councils) - องคกรระดับรัฐมนตรีอาเซียนเฉพาะสาขา (ASEAN Sectoral Ministerials Bodies) - เลขาธิการอาเซียนและสํานักเลขาธิการอาเซียน (Secretary-General of ASEAN and ASEAN Secretariat) - คณะกรรมการผู แ ทนถาวรประจํ า อาเซี ย น (Committee of Permanent Representatives of ASEAN) - สํานักงานอาเซียนแหงชาติ หรือกรมอาเซียน (ASEAN National Secretariat) - องคกรสิทธิมนุษยชนอาเซียน (ASEAN Human Rights Body) - มูลนิธิอาเซียน (ASEAN Foundation) รายวิชาเลือก อาเซียนศึกษา หนา 8
  • 17. 2.2 ความสําคัญในการรวมมือของอาเซียน 3 ดาน คือ - ดานการเมืองและความมั่นคง - ดานเศรษฐกิจ - ดานสังคมและวัฒนธรรม 2.3 ผลจากการประชุมอาเซียนในรอบปที่ผานมา 2.4 ปญหาและอุปสรรคที่สําคัญของอาเซียน 3. ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน (ASEAN Economic Community) : AEC 3.1 ความหมายและวัตถุประสงคของประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน (AEC) 3.2 เปาหมายของประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน (AEC) 3.3 แนวทางการดําเนินงานเพื่อนําไปสูการเปน AEC 3.4 ประโยชนที่ประเทศไทยไดรับจากการเขารวมประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน (AEC) 4. การกําเนิดการจัดตั้งเขตการคาเสรีอาเซียน (ASEAN Free Trade Area) : AFTA 4.1 ความหมาย ความสําคัญ และวัตถุประสงคของ AFTA 4.2 ประโยชนที่ประเทศไทยไดรับจากการเขารวมเขตการคาเสรีอาเซียน (AFTA) 5. ประโยชนที่ประเทศไทยไดรับในการเปนสมาชิกของกลุมอาเซียน 5.1 ทิศทางสังคมไทยตอการเปลี่ยนแปลงสูสังคมอาเซียนในดาน - ความรวมมือทางการเมือง - ความรวมมือทางเศรษฐกิจ - ความรวมมือเฉพาะดาน เชน แรงงาน เด็กและเยาวชน ยาเสพติด 5.2 ประโยชนที่ประเทศไทยไดรับจากการเขารวมกลุมอาเซียน กระบวนการเรียนรู การจั ดกระบวนการเรี ยนรู ตามหลั กสู ตรการศึ กษานอกระบบระดั บ การศึ กษาขั้ น พื้ น ฐาน พุทธศักราช 2551 มุงพัฒนาใหผูเรียนมีความรูความสามารถในการเรียนรู โดยเนนพัฒนาทักษะการ แสวงหาความรู ประยุก ตใ ชความรู และสรา งองค ความรูสํ าหรับ ตนเอง ชุมชนและสั งคม ซึ่งกําหนด รูปแบบการจัดกระบวนการเรียนรู ดังนี้ 1. กําหนดสภาพหัวขอเนื้อหาของหลักสูตรที่กําหนด 2. แสวงหาขอมูลและจัดการเรียนรูที่เชื่อมโยงความรูใหมกับความรูเดิม 3. ประเมินผลการเรียนรู โดยใหมีการประเมิน ทบทวนแกไขขอบกพรอง รายวิชาเลือก อาเซียนศึกษา หนา 9
  • 18. สื่อและแหลงการเรียนรู 1. ใบงาน / ใบความรู 2. นักวิชาการ / ผูรู 3. เอกสาร 4. VCD ของกรมอาเซียน กระทรวงการตางประเทศ 5. เว็บไซตที่เกี่ยวของกับอาเซียน - กรมอาเซียน กระทรวงการตางประเทศ (www.mfa.go.th/asean) - สํานักงานเลขาธิการอาเซียน (www.aseansec.org) - สมาคมอาเซียน-ประเทศไทย (www.aseanthailand.org) - วิกิพีเ ดีย สารานุกรมเสรี ออนไลน - สมาคมประชาชาติ แหงเอเชียตะวัน ออกเฉียงใต (th.wikipedia.org/wiki/Asean) 6. หองสมุดประชาชนในชุมชน 7. รายการโทรทัศน รายการ วิถีอ าเซียน (ASEAN Way) จากไทยทีวีสีชอง 3 ทุกวันเสาร เวลาประมาณ 05.45 น. การวัดผลประเมินผล 1. ใบงาน 2. การเขารวมกิจกรรมกลุม 3. การนําเสนอผลงานจากการคนควา รายวิชาเลือก อาเซียนศึกษา หนา 10
  • 19. แผนการจัดการเรียนรู รายวิชา อาเซียนศึกษา รหัส สค02015 สาระการพัฒนาสังคม ระดับประถมศึกษา มัธยมศึกษาตอนตน มัธยมศึกษาตอนปลาย จํานวน 3 หนวยกิต (120 ชั่วโมง) สื่อ / วัสดุ / อุปกรณ / จํานวน การวัด ที่ หัวเรื่อง ตัวชี้วัด เนื้อหา กิจกรรมการเรียนรู แหลงเรียนรู ชั่วโมง ประเมินผล 1 พัฒนาการ 1.1 บอกประวัติความ 1.1 ความเปนมาของ 1. ครูสนทนารวมกับผูเรียน 1. ใบความรูที่ 1 เรื่อง ความ  10 1. สังเกตจากการ อาเซียน เปนมาของอาเซียน อาเซียน (ASEAN) เรื่อง ความเปนมาของ เปนมาและวัตถุประสงค มีสวนรวม (ASEAN) ได อาเซียน ในการกอตั้งอาเซียน 2. การนําเสนอ 1.2 เขาใจวัตถุประสงค 1.2 วัตถุประสงคในการ 2. ครูใหผูเรียนศึกษาใบความรู 2. VCD เรื่องราวเกี่ยวกับ ของกลุม ในการกอตั้ง กอตั้งและประเทศ ที่ 1 เรื่อง ความเปนมาและ อาเซียน 3. การสรุปใบ ประเทศสมาชิก สมาชิกอาเซียน วัตถุประสงคของการกอตั้ง 3. ใบงานที่ 1 เรื่อง ความ งาน อาเซียน (ASEAN) อาเซียน เปนมาและวัตถุประสงค (ASEAN)ได 3. ครูใหผูเรียนสรุป ความ ของอาเซียน เปนมาและวัตถุประสงค 4. ใบความรูที่ 2 เรื่อง  ของการกอตั้งอาเซียน ลง ประเทศสมาชิกอาเซียนใน ในใบงานที่ 1 ปจจุบัน 4. ครูและผูเรียนสรุปเรื่องการ 5. ใบงาน ที่ 2 เรื่องประเทศ กอตั้งและสมาชิกอาเซียน สมาชิกอาเซียนในปจจุบัน และเปด VCD เกี่ยวกับ 6. เว็บไซต รายวิชาเลือก อาเซียนศึกษา หนา 11
  • 20. สื่อ / วัสดุ / อุปกรณ / จํานวน การวัด ที่ หัวเรื่อง ตัวชี้วัด เนื้อหา กิจกรรมการเรียนรู แหลงเรียนรู ชั่วโมง ประเมินผล อาเซียน 5 . ครูแบงกลุมใหผูเรียน คนควาหาประเทศที่เปน สมาชิกในอาเซียนใน ปจจุบันวา มีกี่ประเทศ อะไรบาง ลงในใบงานที่ 2 6. ใหแตละกลุมออกมา นําเสนอ 7. ครูสรุปพรอมกับผูเรียนและ แจกใบความรู ที่ 2 เรื่อง ประเทศสมาชิกอาเซียนใน ปจจุบัน 1.3 บอกความหมาย 1.3 ความหมาย 1. ครูสนทนากับผูเรียนถึง 1. ใบความรู ที่ 3 เรื่อง 5 1. การสังเกตจาก และความสําคัญ ความสําคัญของ ความหมายของประชาคม ประชาคมอาเซียน และ การมีสวนรวม ของอาเซียนและ ประชาคมอาเซียน อาเซียนและกฎบัตร กฎบัตรอาเซียน 2. การนําเสนอ กฎบัตรอาเซียน และกฎบัตรอาเซียน อาเซียน 2. ใบงาน ที่ 3 เรื่อง ของกลุม (ASEAN Charter) (ASEAN Charter) 2. ครูแบงกลุมใหผูเรียน ความหมายของคําวา 3. การสรุปใบ รายวิชาเลือก อาเซียนศึกษา หนา 12
  • 21. สื่อ / วัสดุ / อุปกรณ / จํานวน การวัด ที่ หัวเรื่อง ตัวชี้วัด เนื้อหา กิจกรรมการเรียนรู แหลงเรียนรู ชั่วโมง ประเมินผล ได คนควาหาความหมายของ กฎบัตรอาเซียน และ งาน คําวา กฎบัตรอาเซียน และ ความสําคัญของกฎบัตร ความสําคัญของกฎบัตร อาเซียน อาเซียน แลวสรุปผลลงใน 3. เว็บไซต ใบงานที่ 3 3. ใหแตละกลุมออกมา นําเสนอ 4. ครูและผูเรียนสรุปรวมกัน พรอมแจกใบความรูที่ 3 เรื่องประชาคมอาเซียนและ กฎบัตรอาเซียน (ASEAN Charter) 2 ผลงานของ 2.1 บอกโครงสรางและ 2.1 โครงสรางและกลไก 1. ครูสนทนา เรื่องโครงสราง 1. ใบความรู ที่ 4 เรื่อง 5 1. การสังเกตจาก กลุมอาเซียน กลไกการ การดําเนินงานของ และกลไกของอาเซียน โครงสรางและกลไกการ การมีสวนรวม ดําเนินงานของ อาเซียน สถานที่ตั้งสํานักงาน ดําเนินงานของอาเซียน 2. การนําเสนอ อาเซียนได - ที่ประชุมสุดยอด เลขาธิการอาเซียน และ 2. เว็บไซต ของกลุม อาเซียน (ASEAN ผูดํารงตําแหนงเลขาธิการ 3.การสรุปใบงาน รายวิชาเลือก อาเซียนศึกษา หนา 13
  • 22. สื่อ / วัสดุ / อุปกรณ / จํานวน การวัด ที่ หัวเรื่อง ตัวชี้วัด เนื้อหา กิจกรรมการเรียนรู แหลงเรียนรู ชั่วโมง ประเมินผล Summit) - คณะมนตรี 2. ครูกับผูเรียนสรุปรวมกันและ ประสานงาน แจกใบความรูที่ 4 เรื่อง อาเซียน (ASEAN โครงสรางและกลไกการ Coordinating ดําเนินงานของอาเซียน Councils : ACCs) - คณะมนตรี ประชาคมอาเซียน (ASEAN Community Councils) - องคกรระดับ รัฐมนตรีอาเซียน เฉพาะสาขา (ASEAN Sectoral รายวิชาเลือก อาเซียนศึกษา หนา 14
  • 23. สื่อ / วัสดุ / อุปกรณ / จํานวน การวัด ที่ หัวเรื่อง ตัวชี้วัด เนื้อหา กิจกรรมการเรียนรู แหลงเรียนรู ชั่วโมง ประเมินผล Ministerials Bodies) - เลขาธิการอาเซียน และสํานัก เลขาธิการอาเซียน (Secretary- General of ASEAN and ASEAN Secretariat) - คณะกรรมการ ผูแทนถาวรประจํา อาเซียน (Committee of Permanent Representatives of ASEAN) รายวิชาเลือก อาเซียนศึกษา หนา 15
  • 24. สื่อ / วัสดุ / อุปกรณ / จํานวน การวัด ที่ หัวเรื่อง ตัวชี้วัด เนื้อหา กิจกรรมการเรียนรู แหลงเรียนรู ชั่วโมง ประเมินผล - สํานักงานอาเซียน แหงชาติ หรือกรม อาเซียน (ASEAN National Secretariat) - องคกรสิทธิ มนุษยชนอาเซียน (ASEAN Human Rights Body) - มูลนิธิอาเซียน (ASEAN Foundation) 2.2 บอกความสําคัญใน 2.2 ความสําคัญในการ 1. ครูอธิบายถึงความสําคัญ 1. ใบความรู ที่ 5 เรื่อง 15 1. การสังเกตจาก การรวมมือของ รวมมือของอาเซียน และความรวมมือของ ความรวมมือในดาน การมีสวนรวม อาเซียน ทั้ง 3 ดาน ในดาน อาเซียนทั้ง 3 ดาน การเมืองและความมันคง ่ 2. การนําเสนอ ได - ดานการเมืองและ ของอาเซียน ของกลุม รายวิชาเลือก อาเซียนศึกษา หนา 16
  • 25. สื่อ / วัสดุ / อุปกรณ / จํานวน การวัด ที่ หัวเรื่อง ตัวชี้วัด เนื้อหา กิจกรรมการเรียนรู แหลงเรียนรู ชั่วโมง ประเมินผล ความมั่นคง - ดานเศรษฐกิจ 2. ครูแจกใบความรู 2. ใบความรู ที่ 6 เรื่อง ความ 3. การสรุป - ดานสังคมและ - ใบความรูที่ 5 เรื่อง ความ  รวมมือของอาเซียนใน ใบงาน วัฒนธรรม รวมมือในดานการเมือง ดานเศรษฐกิจ และความมั่งคงของ 3. ใบความรู ที่ 7 เรื่อง ความ อาเซียน รวมมือดานสังคมและ - ใบความรู ที่ 6 เรื่อง วัฒนธรรม ความรวมมือของอาเซียน 4. ใบงาน ที่ 4 เรื่อง ความ ในดานเศรษฐกิจ รวมมือของอาเซียนใน - ใบความรู ที่ 7 เรื่อง ดานตางๆ ความรวมมือดานสังคม 5. เว็บไซต และวัฒนธรรม 3. แบงกลุมผูเรียน และให เลือกศึกษากลุมละ 1 ดาน แลวบันทึกลงใบงานที่ 4 4. แตละกลุมนําเสนอ 5. ครูเเละผูเรียนสรุปรวมกัน รายวิชาเลือก อาเซียนศึกษา หนา 17
  • 26. สื่อ / วัสดุ / อุปกรณ / จํานวน การวัด ที่ หัวเรื่อง ตัวชี้วัด เนื้อหา กิจกรรมการเรียนรู แหลงเรียนรู ชั่วโมง ประเมินผล 2.3 สรุปผลจากการ 2.3 ผลจากการประชุม 1. ครูมอบหมายใหแตละกลุม 1. ใบงาน ที่ 5 เรื่อง สรุปผล 5 1. การสังเกตจาก ประชุมกลุม อาเซียนในรอบปที่ คนควาเรื่องการประชุม การประชุมอาเซียนในรอบ การมีสวนรวม อาเซียนในรอบปที่ ผานมา อาเซียน ในรอบปที่ผานมา ปที่ผานมา 2. การนําเสนอ ผานมาได และบันทึกผลลงในใบงาน 2. เว็บไซต ของกลุม ที่ 5 3. การสรุป 2. ครูและผูเรียนสรุปรวมกันวา ใบงาน ประเทศไทยไดรับ ผลกระทบอะไรบาง 2.4 อธิบายและสรุป 2.4 ปญหาและอุปสรรค 1. ครูใหผูเรียนรวมกันสนทนา 1. ใบความรู ที่ 8 เรื่อง 5 1. การสังเกตจาก ปญหาและอุปสรรค ที่สําคัญของ ถึงปญหาและอุปสรรคที่ ปญหาและอุปสรรคที่ การมีสวนรวม ที่สําคัญของ อาเซียน สําคัญของอาเซียน วามี สําคัญของอาเซียน 2. การนําเสนอ อาเซียนได ปญหาอะไรบาง 2. ใบงาน ที่ 6 เรื่อง ปญหา ของกลุม 2. ครูแจกใบความรู ที่ 8 เรื่อง และอุปสรรคที่สําคัญของ 3. การสรุป ปญหาและอุปสรรคที่ อาเซียน ใบงาน สําคัญของอาเซียน 3. เว็บไซต ใหผูเรียนศึกษา รายวิชาเลือก อาเซียนศึกษา หนา 18
  • 27. สื่อ / วัสดุ / อุปกรณ / จํานวน การวัด ที่ หัวเรื่อง ตัวชี้วัด เนื้อหา กิจกรรมการเรียนรู แหลงเรียนรู ชั่วโมง ประเมินผล 3. ผูเรียนบันทึกลงใน ใบงานที่ 8 4. ครูและผูเรียนรวมกันสรุปถึง ปญหาและวิเคราะหรวมกัน วาจะมีเเนวทางเเกไข อยางไร 3 ประชาคม 3.1 บอกความหมาย 3.1 ความหมายและ 1. ครูพูดคุยถึงประชาคม 1. ใบความรู ที่ 9 เรื่อง 3 1. การสังเกตจาก เศรษฐกิจ และวัตถุประสงค วัตถุประสงคของ เศรษฐกิจอาเซียน วา ความหมายและ การมีสวนรวม อาเซียน ของประชาคม ประชาคมเศรษฐกิจ หมายถึงอะไร โดย วัตถุประสงคของ 2. การนําเสนอ (ASEAN เศรษฐกิจอาเซียน อาเซียน (AEC) ยกตัวอยางเรื่อง ของการ ประชาคมเศรษฐกิจ ของกลุม Economic (AEC) ได 3.2 เปาหมายของ ลงทุน การผลิต การขนสง อาเซียน (AEC) 3. การสรุป Communit) 3.2 อธิบายเปาหมาย ประชาคมเศรษฐกิจ การตลาด เเละการบริการ 2. ใบความรู ที่ 10 เรื่อง ใบงาน : AEC ของประชาคม อาเซียน (AEC) 2. ครูสอบถามผูเรียนถึงการ เปาหมายของประชาคม เศรษฐกิจอาเซียน ประกอบอาชีพวามีใครบาง เศรษฐกิจอาเซียน (AEC) (AEC) ได ที่เกี่ยวของกับเรื่องที่ครู 3. เว็บไซต กลาวมา รายวิชาเลือก อาเซียนศึกษา หนา 19
  • 28. สื่อ / วัสดุ / อุปกรณ / จํานวน การวัด ที่ หัวเรื่อง ตัวชี้วัด เนื้อหา กิจกรรมการเรียนรู แหลงเรียนรู ชั่วโมง ประเมินผล 3. ครูกับผูเรียนรวมกันสรุปถึง ความหมายวัตถุประสงค และ เปาหมายของ ประชาคมเศรษฐกิจ อาเซียน พรอมกับแจก ใบความรู ที่ 9 เรื่อง ความหมายและวัตถุ ประสงคของประชาคม เศรษฐกิจอาเซียน (AEC) และใบความรู ที10 เรื่อง ่ เปาหมายของประชาคม เศรษฐกิจอาเซียน (AEC) 3.3 อธิบายแนวทางการ 3.3 แนวทางการ 1. ครูสนทนากับผูเรียนถึง 1. ใบงาน ที่ 7 เรื่อง แนว 12 1. การสังเกตจาก ดําเนินงานเพื่อ ดําเนินงานเพื่อ สถานการณการผลิตสินคา ทางการแกไขผลผลิต การมีสวนรวม นําไปสูการเปน นําไปสูการเปน ทางการเกษตรในกลุม ทางการเกษตร 2. การนําเสนอ (AEC) ได AEC อาเซียนที่เหมือนกับ 2. ใบความรู ที่ 11 เรื่อง แนว ของกลุม ประเทศไทย เชน ขาว ทางการดําเนินงานเพื่อ 3. การสรุป รายวิชาเลือก อาเซียนศึกษา หนา 20
  • 29. สื่อ / วัสดุ / อุปกรณ / จํานวน การวัด ที่ หัวเรื่อง ตัวชี้วัด เนื้อหา กิจกรรมการเรียนรู แหลงเรียนรู ชั่วโมง ประเมินผล ผลิตภัณฑ มันสําปะหลัง นําไปสูการเปน AEC ใบงาน น้ํามันปาลม เมล็ดกาแฟ 3. เว็บไซต ฯลฯ 2. รวมกันวิเคราะหและหา แนวทางการพัฒนาและ แกไขเพื่อใหสามารถนําไปสู เวทีการแขงขันทางดานการ สงออก 3. ครูแจกใบงาน ที่ 7 เรื่อง แนวทางการแกไขผลผลิต ทางการเกษตร 4. ครูสรุปรวมกับผูเรียนพรอม ทั้งแจกใบความรู ที่ 11 เรื่อง แนวทางการ ดําเนินงานเพื่อนําไปสูการ เปน AEC รายวิชาเลือก อาเซียนศึกษา หนา 21
  • 30. สื่อ / วัสดุ / อุปกรณ / จํานวน การวัด ที่ หัวเรื่อง ตัวชี้วัด เนื้อหา กิจกรรมการเรียนรู แหลงเรียนรู ชั่วโมง ประเมินผล 3.4 บอกประโยชนที่ 3.4 ประโยชนที่ประเทศ 1. ครูและผูเรียนสนทนาถึง 1. ใบความรู ที่ 12 เรื่อง 5 1. การสังเกต ประเทศไทยไดรับ ไทยไดรับจากการ ประโยชนทประเทศไทยจะ ี่ ประโยชนที่ประเทศไทย จากการมี จากการเขารวม เขารวมประชาคม ไดรับจากการเขารวม ไดรับจากการเขารวม สวนรวม ประชาคมเศรษฐกิจ เศรษฐกิจอาเซียน ประชาคมเศรษฐกิจ ประชาคมเศรษฐกิจ 2. การนําเสนอ อาเซียน (AEC) ได (AEC) อาเซียน (AEC) อาเซียน (AEC) ของกลุม 2. ครูมอบหมายใหผูเรียน 2. ใบงาน ที่ 8 เรื่อง ประโยชน 3. การสรุป ศึกษาคนควาเพิ่มเติม สรุป ที่ประเทศไทยจะไดรับจาก ใบงาน ลงในใบงานที่ 8 การเขารวมประชาคม 3. ครูแจก ใบความรู ที่ 12 เศรษฐกิจอาเซียน (AEC) เรื่อง ประโยชนที่ประเทศ 3. เว็บไซต ไทยไดรับจากการเขารวม ประชาคมเศรษฐกิจ อาเซียน (AEC) 4 การกําเนิด 4.1 บอกประวัติความ 4.1 ความหมาย ความ 1. ครูมอบหมายใหผูเรียน 1. ใบความรู ที่ 13ประวัติ 20 1. การสังเกตจาก การจัดตั้ง เปนมา ความ สําคัญและ คนควาหาความหมาย ความเปนมา วัตถุประสงค การมีสวนรวม เขตการ สําคัญ และวัตถุ วัตถุประสงคของ ความสําคัญ วัตถุประสงค และประโยชนที่ไทยไดรับ 2. การนําเสนอ การคาเสรี ประสงคของ AFTA AFTA และประโยชนของ AFTA ที่ จากการเขารวม AFTA ของกลุม รายวิชาเลือก อาเซียนศึกษา หนา 22