SlideShare una empresa de Scribd logo
1 de 24
Descargar para leer sin conexión
คณะ กรรมาธิการ แม่น้ำ โขง 2553 
รายงาน สถานการณ์ ลุ่ม แม่น้ำ โขง: 2553 บท สรุป สถานการณ์ 
สำนักงาน เลขาธิการ คณะ กรรมาธิการ แม่น้ำ โขง นครหลวง เวียงจันทน์ 
ISBN 978-993-2080-58-8 
© คณะ กรรมาธิการ แม่น้ำ โขง 
ตู้ ไปรษณีย์ 6101 
หน่วย 18 บ้าน สี ฐาน เหนือ อำเภอ ศรี โคตร บอง 
นครหลวง เวียงจันทน์ 0100 สาธารณรัฐ ประชาธิปไตย ประชาชน ลาว 
อี เมล ล์ mrcs@mrcmekong.org 
www.mrcmekong.org 
ออกแบบโดย Silkworm Books • www.silkwormbooks.com 
พิมพ์ที่ โรงพิมพ์ โอ. เอส. พริ้นติ้งเฮ้าส์ กรุงเทพฯ 
บท สรุป สถานการณ์ เล่ม นี้ ตี พิมพ์ เป็น ภาษา อังกฤษ ขแ มร์ ลาว ไทย 
และ เวียดนาม 
แหล่ง ที่มา ของ ข้อมูล ใน บท สรุป สถานการณ์ มา จาก รายงาน ฉบับ สมบูรณ์ 
แปล โดย วรลักษณ์ โกษากุล วิเทศ ศรี เนตร สุข ทวี สุวรรณ ชัย รบ 
สำหรับ ข้อมูล เพิ่ม เติม กรุณา ติดต่อ ที่ mrcs@mrcmekong.org 
ท่าน สามารถ ดาวน์โหลด รายงาน สถานการณ์ ลุ่ม แม่น้ำ โขง เล่ม นี้ 
และ บท สรุป ได้ ฟรี จาก เวบ ไซต์ ของคณะ กร รมาธิ การฯ ที่ 
www.mrcmekong.org
สาส์น จาก เจ้า หน้าที่ บริหาร สูงสุด 
ประเทศ สมาชิก เรื่อง ทรัพยากร ลุ่มแม่น้ำ โขง ที่ มี อยู่ มหาศาล 
ซึ่ง จะ สามารถ ช่วย ให้ มี ข้อมูล อย่าง ครบ ถ้วน เมื่อ มี การ 
วางแผน กลยุทธ์ ด้านเศรษฐกิจ และ จะ ช่วย ให้หา แนวทาง 
แก้ ปัญหา เรื่อง ความ ยากจน ได้ ง่าย ขึ้น 
เฉก เช่น กับ การ พัฒนา ลุ่ม น้ำ อื่นๆ การ ตัดสิน ใจ โดยที่ มี 
ข้อมูล ครบ ถ้วน นั้น มี ความ สำคัญ ที่สุด โดย เฉพาะอย่างยิ่ง 
เมื่อ เป็น เรื่อง เกี่ยว กับ ประเภท ของ การ พัฒนา ที่ ก่อ ให้ เกิด 
ข้อ ถก เถียง กัน มาก เช่น แผนการ สร้างเขื่อน บน แม่น้ำ โขง 
สาย หลัก รา ยงานฯ นี้ มี ข้อมูล สำคัญ ที่ จะ มี ส่วน ช่วย ใน 
การ หารือ ระหว่าง ประเทศ สมาชิก โดย ให้ ข้อมูล เพิ่ม เติม 
จาก บท วิ เคราะห์ อื่นๆ ของ คณะ กร รมาธิ การฯ เรื่อง โอกาส 
และ ความ เสี่ยง ที่ เกี่ยว กับภาพ จำลอง ของ การ พัฒนา ต่างๆ 
ใน อนาคต 
รา ยงานฯ นี้ ยัง ให้ ข้อมูล สรุป เรื่อง ความ ท้าทาย บาง 
ประการ ที่ ต้องการ ความ ร่วม มือ อย่าง ใกล้ ชิด ระหว่าง 
ประเทศ สมาชิก ใน การ ติดตาม ตรวจ สอบ การ วิจัย และ 
ความ ร่วม มือ ใน การ จัดการที่ จำเป็น ใน อีก ไม่ กี่ ปีข้าง หน้า 
หลายๆ ประเด็น ก็ได้ กลาย เป็น ส่วน หนึ่ง ของ งาน หลัก ของ 
คณะ กร รมาธิ การฯ ไป แล้ว ซึ่ง ข้าพเจ้า เอง มี ความ มั่นใจ 
ว่า การ ที่ เรื่อง สำคัญ เหล่า นี้ ได้ รับ การ เน้น ย้ำ ใน รา ยงานฯ 
จะ ช่วย ขับ เคลื่อนให้ เรื่อง เหล่า นี้ เป็น ที่ สนใจ ต่อ สาธารณะ 
ต่อ ไป 
คณะ กร รมาธิ การฯ กำลัง ทำงาน ร่วม กับ ประเทศ สมาชิก 
ใน การ จัด ทำ กลยุทธ์ การ พัฒนา ลุ่ม น้ำ โดย ใช้ การบริหาร 
จัดการ ลุ่ม น้ำ แบบ บูรณาการ ซึ่ง ถือ เป็น ส่วน หนึ่ง ของ การ 
ขานรับ ความ ท้าทาย ที่ เกิด ขึ้น กับทรัพยากร น้ำ กล ยุทธ์ฯ 
นี้ จะ แล้ว เสร็จ ใน ปี นี้ 
วิถี ชิ วิต ของ ประชากร นับ ล้าน คน ขึ้น อยู่ กับ การ จัดการ 
ลุ่ม น้ำ อย่าง รอบคอบ ด้วย ใจ เปิด กว้าง และ มี ความโปร่งใส 
สุดท้าย นี้ ข้าพเจ้า มั่นใจ ว่า รายงาน สถานการณ์ ลุ่ม แม่น้ำ 
โขง 2553 นี้ จะ เป็น เอกสาร ที่ มี ค่า และเป็น ประโยชน์ ต่อ 
การ วางแผน กลยุทธ์ ของ ลุ่ม น้ำ แม่ โขง ใน อีก หลายๆ ปี 
ข้างหน้า และ จะ มี ส่วน สำคัญ ต่อนโยบาย ด้าน ทรัพยากร 
น้ำ และ สิ่ง แวดล้อม ต่อ ไป 
เจเร มี เบิร์ด 
เจ้า หน้าที่ บริหาร สูงสุด 
ถึง แม้ว่า การ เติบโต ทาง เศรษฐกิจ ใน พื้นที่ ลุ่ม แม่น้ำ 
โขง ตอน ล่าง จะ ทำให้ ความ เป็น อยู่ และ มาตรฐาน 
การครอง ชีพ ของ ประชากร 60 ล้าน คนที่ อาศัย อยู่ ใน 
ภูมิภาค นี้ ดี ขึ้น อย่าง เห็น ได้ ชัด ใน ช่วง ไม่ กี่ ปี ที่ ผ่าน มา แต่ ยัง 
มี ประชากร อีก เป็น จำนวน มาก ที่ ยัง ยากจน และ วิถี ชีวิต รวม 
ทั้ง ความ มั่นคง ทาง อาหาร ของ ประชากรเหล่า นั้น ส่วน 
ใหญ่ แล้ว มี ความ เกี่ยว เนื่อง เป็น อย่าง มาก กับ แม่น้ำ โขง และ 
ทรัพยากร ของ แม่น้ำ 
คณะ กรรมาธิการ แม่น้ำ โขง ก่อ ตั้ง ใน ปี พ.ศ. 2538 โดย 
มี บทบาท ที่ ช่วย ให้ รัฐบาล ของ ประเทศ ใน ลุ่ม แม่น้ำ โขงตอน 
ล่าง (กัมพูชา ลาว ไทย และ เวียดนาม) สามารถ จัดการ 
น้ำ แม่น้ำ และ ทรัพยากร ได้ อย่าง ยั่งยืน และ สามารถ 
ใช้ ทรัพยากร เหล่า นี้ เพื่อ ช่วย ให้ ประชากร หลุด พ้น จาก 
ความ ยากจน การ ที่ ผู้ มี อำนาจ ตัดสิน ใจได้ รับ ข้อมูล เรื่อง 
ทรัพยากร แม่น้ำ โขง ที่ เที่ยง ตรง และ ทัน ต่อ สถานการณ์ 
และ มี ความ เข้าใจ อย่าง ถ่องแท้ ถึง ผลก ระ ทบ ของ การ 
พัฒนา ทรัพยากร ที่ มี ต่อ เศรษฐกิจ สิ่ง แวดล้อม และ 
ประชากร นั้น มี ความ สำคัญอย่าง ที่สุด และ เพื่อ เป็นการ 
สนับสนุน ประเด็น ที่ กล่าว มา แล้ว นี้ คณะ กร รมาธิ การฯ ได้ 
จัด พิมพ์ รายงาน สถานการณ์ ลุ่ม แม่น้ำ โขง 2553 ขึ้น และ 
บท สรุป สถานการณ์ นี้ ชี้ ให้ เห็น ข้อ เท็จ จริง ต่างๆ ที่ ระบุ ไว้ 
ใน รา ยงานฯ 
รายงาน สถานการณ์ ลุ่ม แม่น้ำ โขง ฉบับ ที่ สอง นี้ อธิบาย 
เกี่ยว กับ สถานการณ์ ของ การ ประมง ป่า ไม้ การเกษตร 
พลังงาน น้ำ คุณภาพ ของ น้ำ พื้นที่ ชุ่ม น้ำ การ เดิน เรือ 
การค้า การ เปลี่ยนแปลงสภาพ ภูมิ อากาศ และ การ จัดการ 
น้ำ ท่วม ใน พื้นที่ ลุ่ม แม่น้ำ โขง ตอน ล่าง รวม ทั้ง ความ สัมพันธ์ 
และ ความ เชื่อม โยง ของ เรื่อง ต่างๆ เหล่านี้ รา ยงานฯ นี้ ยัง 
ให้ ข้อมูล เรื่อง ความ อุดม สมบูรณ์ของ นิเวศวิทยา แม่น้ำโขง 
โดย ชี้ ให้ เห็น การ ปรับ ตัว ต่อ แรง กดดัน และ การ คุกคาม 
ต่างๆ ที่ เกิด ขึ้น และ ยัง แสดง ให้ เห็น ประเด็น ด้าน การ 
พัฒนา ที่ ท้าทาย เช่น การ พัฒนา พลังงาน น้ำ รูป แบบ การ 
ใช้ ที่ดินที่ เปลี่ยนแปลง ไป รวม ถึง การ เปลี่ยนแปลง ของ 
สภาพ ภูมิ อากาศ ซึ่ง จะ มี การ ติดตาม ตรวจ สอบ ประเด็น 
เหล่า นี้ และ รายงาน ใน รายงาน สถานการณ์ ลุ่ม แม่น้ำ โขง 
ฉบับ ต่อๆ ไป 
ความ เข้าใจ ใน สถานการณ์ ทรัพยากร น้ำ ใน ลุ่ม แม่น้ำ โขง 
ช่วย เพิ่ม มุม มอง เรื่อง ความ เสี่ยง ที่ อาจ เกิด ขึ้น ต่อประชากร 
และ สิ่ง มี ชีวิต เพื่อ เป็น ข้อมูล เพิ่ม เติม ให้ แก่ รัฐบาล ของ
4 
ภาพ รวม 
6 ใน ลาว สำหรับ ไทย ไม่มี การ เปลี่ยนแปลง และ ใน 
เวียดนาม เพิ่ม ขึ้น ร้อย ละ 10 
มาตรฐาน การ ครอง ชีพ โดย ทั่วไป นั้น ดี ขึ้น แต่ ประชากร 
ส่วน ใหญ่ ใน ชนบท ก็ ยัง ยากจน อยู่ มาก ดัชนี ชี้ วัดการ 
พัฒนา ประชากร ซึ่ง เป็นการ วัด แนว โน้ม การ พัฒนา โดย ใช้ 
ตัว ชี้ วัด เช่น การ มีอายุ ที่ ยืนยาว ความ รู้ และ มาตรฐาน 
การ ดำรง ชีวิต ล้วน มี การ พัฒนา ดี ขึ้น ใน ทุก ประเทศ สมาชิก 
ประเทศไทย มี ดัชนี ชี้ วัด การ พัฒนา ประชากร สูง กว่า ค่า เฉลี่ย 
ของ ประเทศ ใน ทวีป เอเชีย เล็ก น้อย ดัชนีฯ ของ ประเทศ 
เวียดนามอยู่ ใกล้ เคียง กับ ค่า เฉลี่ย ใน ขณะ ที่ ดัชนีฯ ของ 
ประเทศ ลาว และ กัมพูชา นั้น ต่ำ กว่า 
ชีวิต ความ เป็น อยู่ และ ความ มั่นคง ทาง อาหาร ของ 
ประชากร ส่วน ใหญ่ ใน ลุ่ม แม่น้ำ โขง ตอน ล่าง ผูกพัน อยู่ 
กับแม่น้ำ โขง และ เส้น ทาง ของ สายน้ำ แม่น้ำ โขง เป็น 
แหล่ง ใน การ จับ ปลา และ สัตว์ น้ำ ประ เภท อื่นๆ ทั้ง เพื่อ 
เป็น อาหาร และ เพื่อ เป็นการ หา ราย ได้ เป็น แหล่ง น้ำ เพื่อ ใช้ 
ใน การเกษตร และ เป็น เส้น ทาง คมนาคม ขนส่ง สินค้า ไป สู่ 
ตลาด และ ด้วย เหตุ เหล่า นี้ ทำให้ พวก เขา เป็นก ลุ่ม ที่ ได้ รับ 
ผลก ระ ทบ โดยตรง หาก แม่น้ำ โขง และ ระบบ นิเวศ ของ พื้นที่ 
ชุ่ม น้ำ เสื่อมโทรม ลง 
ลุ่ม แม่น้ำ โขง เป็น แหล่ง กำเนิด ของ ระบบ นิเวศ มากมาย 
ที่ ก่อ ให้ เกิด ความ หลาก หลาย ทาง ชีวภาพ ของ ทั้ง พืช และ 
รายงาน สถานการณ์ ลุ่ม แม่น้ำ โขง ซึ่ง คณะ กรรมาธิการ 
แม่น้ำ โขง จัด ทำ ขึ้น นี้ มี เป้า หมาย ที่ จะนำ เสนอ ภาพ รวม 
สถานการณ์ ของ ลุ่ม แม่น้ำ โขง ตอน ล่าง ใน แง่ ของ ประชากร 
วิถี การ ดำรง ชีวิต รวม ทั้ง สิ่ง แวดล้อม และ เศรษฐกิจ ผล 
การ วิจัย และ ติดตาม ตรวจ สอบ หลัง จาก การ จัด ทำ รายงาน 
สถานการณ์ ลุ่ม แม่น้ำ โขง ฉบับ แรก ขึ้น ใน ปี 2546 ให้ ข้อมูล 
เพื่อ แสดง ให้ เห็น ภาพ รวม และ แนว โน้ม ของ ตัว ชี้ วัด หลัก 
ต่างๆ และ ด้วย ข้อมูล เหล่า นี้ รายงาน ก็ ยัง มุ่ง มอง ไป ข้าง 
หน้า โดย ชี้ ความ ท้าทาย ที่ สำคัญ ที่ ประเทศ ใน กลุ่ม ลุ่ม แม่น้ำ 
โขง ตอน ล่าง จะ ต้อง ประสบ ใน อนาคต อีก ด้วย 
การ ขยาย ตัว ของ ชุมชน เมือง เป็น แนว โน้ม ที่ เด่น ชัด ใน 
ทั้ง สี่ ประเทศ ใน กลุ่ม ลุ่ม แม่น้ำ โขง ตอน ล่าง โดย เห็น ได้ 
ชัด จาก การ อพยพ ย้าย ถิ่นฐาน ของ ประชากร จาก ชนบท เข้า 
สู่ เมืองเพื่อ แสวงหา โอกาส ที่ ดี กว่า ใน ขณะ ที่ ประชากร 
ส่วน ใหญ่ ของ ประชากร ทั้งหมด ใน ลุ่ม แม่น้ำ โขง ตอน ล่าง 
60 ล้านคน ยัง อาศัย อยู่ ใน ชนบท แต่ อัตรา การ เติบโต 
ของ จำนวน ประชากร ใน ชนบท กลับ มี แนว โน้ม ที่ จะ ลด ลง 
ใน ทศวรรษ หน้า ตัวเลข นี้ บ่ง ชี้ ว่า จำนวน ประชากร โดย 
ทั่วไป เพิ่ม ขึ้น ร้อย ละ 8 นับ ตั้งแต่ การ สำรวจ เรื่อง นี้ ใน ปี 
พ.ศ. 2546 (55 ล้าน คน) แต่ ข้อมูล นี้ ใน แต่ละ ประเทศ ก็ มี 
ตัวเลข ที่ แตก ต่าง กัน สำหรับ จำนวน ประชากร ลุ่ม แม่น้ำ 
โขงเพิ่ม ขึ้น ถึง ร้อย ละ 25 ใน กัมพูชา ประมาณ ร้อยละ
5 
สัตว์ และ ยัง มี พืช และ สัตว์ ชนิด พันธุ์ ใหม่ๆ ถูก ค้น พบ อยู่ 
เสมอ ระบบ นิเวศ พื้นที่ ชุ่ม น้ำ ทำ หน้าที่ หลาย ประการ เช่น 
ป้องกัน น้ำ ท่วม และ บำบัด น้ำ เสีย มี ความ พยายาม ศึกษา 
ชี้แจง ถึง มูลค่า ทาง เศรษฐกิจ ของ พื้นที่ ชุ่ม น้ำ เพื่อ ให้ มูลค่า 
เหล่า นี้ ถูก นับ รวม เข้าไป ด้วย เมื่อ จะ มี การ วางแผน พัฒนา 
การ ติดตาม ผล และ การ ตรวจ สอบ ตาม ลำน้ำ ของ แม่โขง 
ได้ แสดง ให้ เห็น ว่า แม่น้ำ โขง มีความ สามารถ ใน การ รับมือ 
กับ ความ กดดัน ต่างๆ ที่ เกิด ขึ้น โดย น้ำมือ มนุษย์ ใน ปัจจุบัน 
ได้ คุณภาพ น้ำ ของ แม่น้ำ โขง ใน พื้นที่ ส่วน ใหญ่ ยัง อยู่ ใน 
เกณฑ์ ดี ยกเว้น ใน พื้นที่ สามเหลี่ยม ปาก แม่น้ำ ที่ พบ ว่า มี 
ระดับ ของ สาร อาหาร ใน ปริมาณ สูง น่า เป็น ห่วง น้ำ ท่วม 
ช่วง สั้น ที่ เกิด ขึ้น ทุก ปี นั้น ช่วย ให้ผลผลิต การ ประมง ยัง คง มี 
มาก อยู่ ถึง แม้ว่า มี รายงาน บาง ฉบับ แสดง ให้ เห็น ว่า มี การ 
จับ สัตว์ น้ำ ได้ ใน ปริมาณ ที่ ลด ลง ส่วน อนาคต ของ ป่า ไม้ ใน 
เขต ลุ่ม น้ำ นั้น คาด ว่าไม่ ดี นัก เนื่องจาก ความ ต้องการ ตัด ไม้ 
และ ใช้ พื้นที่ ป่า ที่ เพิ่ม ขึ้น เป็น เหตุ ให้ เกิด การ ทำลาย ป่า และ 
ความ เสื่อมโทรม ของ พื้นที่ ป่า 
ภาค การเกษตร เป็น กิจกรรม ที่ มี ความ สำคัญ มาก ที่สุด 
ใน ลุ่ม แม่น้ำ โขง ตอน ล่าง และ เป็น ภาค ส่วน ที่ ใช้ ประโยชน์ 
จาก น้ำ มาก ที่สุด ข้าว จัด เป็น พืช อาหาร หลัก ของ ประชากร 
และ เป็น แหล่ง ราย ได้ ของ ประชากร ใน ชนบท ของ ลุ่ม น้ำ โขง 
ผลผลิต ข้าว เพิ่ม มาก ขึ้น ใน ทุก ประเทศ ตั้งแต่ ทศวรรษ 1990 
เนื่องจาก การ พัฒนา เทคโนโลยี และ สัดส่วน ที่ เพิ่ม มาก ขึ้น 
ของ พื้นที่ ชล ประทาน 
มี การ เดิน เรือ ใน ลำน้ำ โขง มาก ขึ้น เรื่อยๆ เนื่องจาก แม่น้ำ 
โขง นนั้ เปน็ เสน้ ทาง คมนาคม ทาง นำ้ ท่สีำคญั ยงิ่ ตอ่ ตอ่ การ 
คา้ขาย ระหวา่ง ประเทศ ตลอด จน ความ นยิม สงู ขนึ้ ของ 
ภาค ส่วน การ ท่อง เที่ยว ทาง น้ำ และ ใน บาง พื้นที่ ก็ เป็น เส้น ทาง 
คมนาคมเ พยีงเ สน้ทางเ ดยีวห รอืไ มก่เ ็ปน็เ สน้ทางค มนาคมที่ 
มี ประสิทธิภาพ ที่สุด ซึ่ง สามารถ ใช้ สัญจร ไป มา ได้ เกือบ ทั้ง ปี 
การ ที่ มาตรฐาน การ ครอง ชีพ พัฒนา ขึ้น ความ ต้องการ 
ด้าน พลังงาน ก็ เพิ่ม ขึ้น ด้วย ซึ่ง นับ เป็น โอกาส สำหรับ การ 
พัฒนา ไฟฟ้า พลัง น้ำ ใน ลาว กัมพูชา และ เวียดนาม 
รัฐบาล ของ ประเทศ ต่างๆ ใน ภูมิภาค ก็ เริ่ม ตระหนัก 
ว่า การ พัฒนา ศักยภาพ ทาง เศรษฐกิจ โดย ใช้ ประโยชน์ จาก 
แม่น้ำ โขง อย่าง ยั่งยืน ของ ทรัพยากร แม่น้ำ โขง นั้น สามารถ 
ยก ระดับ ความ ยากจน และ คุณภาพ ชีวิต ได้ แต่ โอกาส การ 
พัฒนา นี้ ก็ ต้อง สมดุล และ ให้ ความ สำคัญ ต่อ การ พิจารณา 
ผลก ระ ทบ ที่ อาจ เกิด ขึ้น ต่อ สิ่ง แวดล้อม การ ประมง และ 
วิถี ชีวิต ของ ประชากร ควบคู่ กัน ไป ด้วย 
รายงาน สถานการณ์ ลุ่ม แม่น้ำ โขง นี้ เป็นการ รวบรวม 
องค์ ความ รู้ เท่า ที่ มี อยู่ ใน ปัจจุบันใน ช่วง เวลา หนึ่ง เพื่อ เป็น 
ข้อมูล พื้น ฐาน นำ ไป ใช้ ประโยชน์ แก่ รัฐบาล ผู้ ดูแล ทรัพยากร 
และ ผู้ มี ส่วน เกี่ยวข้อง ใน ทุก ภาค ส่วน ใน พื้นที่ ลุ่ม แม่น้ำ โขง
6 
ประชากร และ ความ ยากจน 
ใน พื้นที่ ลุ่ม แม่น้ำ โขง ตอน ล่าง 
ประชากร หลาย ล้าน คน ที่ อาศัย อยู่ ใน ภูมิภาค ต่างๆ ใน 
พื้นที่ ลุ่ม แม่น้ำ โขง ตอน ล่าง พึ่งพา แม่น้ำ โขง อย่าง มาก 
ใน เรื่อง น้ำ กิน น้ำ ใช้ วิถี และ การ ดำรง ชีวิต รวม ทั้ง การ จับ 
สัตว์ น้ำ ประเภท ต่างๆ ทั้ง เพื่อ การ บริโภค และ ขาย เพื่อ เป็น 
ราย ได้ ทั้งนี้ ยัง มี ประชากร อยู่ จำนวน มาก ที่ มี ความ เป็น 
อยู่ ยากจน สามารถ เข้า ถึง น้ำ สะอาด และ สา ธารณู ป โภค 
ได้ อย่าง จำกัด และ ยัง ต้อง เผชิญ กับ ความ ไม่ แน่นอน ของ 
ความ เป็น อยู่ เช่น การ เกิด น้ำ ท่วม และ ภัย ธรรมชาติ การ 
ที่ ไม่มี ที่ดิน ทำ กิน เป็น ของ ตนเอง การ ไม่มี ที่ อยู่ อาศัย และ 
ผลก ระ ทบ จาก การ ล่ม สลาย ของ เศรษฐกิจ โลก และ ด้วย 
เหตุ นี้ ทำให้ ประชากร เหล่า นี้ อ่อน ไหว เปราะ บาง อย่าง ยิ่ง ต่อ 
การ ที่ ทรัพยากร ของ แม่น้ำ โขง ลด น้อย และ เสื่อมโทรม ลง 
โครงการ พัฒนา แห่ง สหประชาชาติ (UNDP)จัด ให้ 
ประเทศ ใน กลุ่ม ลุ่ม แม่น้ำ โขง ตอน ล่าง อยู่ ใน กลุ่ม ประเทศ 
ที่ มี ดัชนี การ พัฒนา มนุษย์ อยู่ ใน ระดับ กลาง โดย ค่า ดัชนี 
การ พัฒนา มนุษย์ (Human Development Index: HDI) มี 
การ ที่ พัฒนา ดี ขึ้น เรื่อยๆ อย่าง คงที่ ใน ช่วง สอง สาม ทศวรรษ 
ที่ ผ่าน มา แต่ อย่างไร ก็ตาม ภาย ใต้ ดัชนีฯ ที่ ดี ขึ้น นี้ ก็ ยัง 
มี การ พัฒนาที่ ไม่ เท่า เทียม กัน ทั้ง ภายใน ประเทศ เอง และ 
ระหว่าง ประเทศ สมาชิก 
ถึง แม้ว่า ประเทศ กัมพูชา มี การ พัฒนา ทาง เศรษฐกิจ 
ที่ เติบโต ขึ้น อย่าง รวดเร็ว ใน ช่วง สอง ทศวรรษ ที่ ผ่าน มา 
ประเทศ กัมพูชา ก็ ยัง คง เป็น หนึ่ง ใน ประเทศ ที่ ยากจน ที่สุด 
ใน โลก โดย มี ประชากร ร้อย ละ 35 ของ ประชากรทั้ง 
ประเทศ มี ความ เป็น อยู่ ต่ำ กว่า เกณฑ์ ความ ยากจน แต่ 
ถ้า เฉพาะ ใน พื้นที่ ชนบท แล้ว ตัวเลข นี้ จะ สูง ถึง ร้อยละ 
80 และ ถึง แม้ว่า เศรษฐกิจ ของ ประเทศ มี การ เติบโตขึ้น 
เกษตรกรรม ก็ ยัง เป็น อาชีพ หลัก ของ คนใน ประเทศ ถึง 
ร้อยละ 70 ประมาณ ร้อย ละ 35 ของ ประชากรไม่ สามารถ 
เข้า ถึง แหล่ง น้ำ ที่ ได้ รับ การ ปรับปรุง สภาพ แล้ว ได้ 
ใน ทำนอง เดียวกัน ที่ ประเทศ ลาว ความ ยากจน ก็ ยัง มี 
อยู่ ทั่วไป มี ประชากร ร้อย ละ 33 ของ ประชากร ทั้ง ประเทศ 
มี ความ เป็น อยู่ ต่ำ กว่า เกณฑ์ ของ เส้น ความ ยากจน ครึ่ง 
หนึ่ง ของ จำนวน ครัว เรือน ไม่มี น้ำ สะอาด ใช้ และ ครึ่ง หนึ่ง 
ของ จำนวน หมู่บ้าน ทั้ง ประเทศ ไม่มี ถนน ที่ สามารถ ใช้ได้ ใน 
ช่วง ฤดู ฝน ความ ยากจน ส่วน ใหญ่ กระจุก ตัว อยู่ ใน บริเวณ 
ที่ราบสูง ตอน ใต้ ใกล้ กับ แนว ชายแดน ประเทศ เวียดนาม 
และ พบ อย่าง ประปราย ใน หมู่บ้าน บน ภูเขา แถบ ภาค เหนือ 
แต่ พบเห็น ได้ น้อย ใน เขต เมือง และ บริเวณรอบๆ เมือง ใหญ่ 
และ ถึง แม้ว่า อายุ เฉลี่ย ของ ประชากร ใน ลาว และ กัมพูชาจะ 
ดัชนี ชี้ วัด ด้าน การ พัฒนา ประชากร ใน ประเทศ ลุ่ม แม่น้ำ โขงตอนล่าง (พ.ศ. 2533–2550) 
ดัชนีชี้วัดด้านการพัฒนาประชากร 
2533 2538 2543 2550 
กัมพูชา - 0.540 0.547 0.593 
ลาว 0.478 0.524 0.563 0.619 
ไทย 0.712 0.745 0.761 0.783 
เวียดนาม 0.590 0.672 0.711 0.725 
ค่าเฉลี่ยของทวีปเอเชีย 0.724
7 
ยัง ต่ำ กว่า ค่า เฉลี่ย ของ อายุประชากร ของ ทวีป เอเชีย ซึ่ง อยู่ 
ที่ 69 ปี แต่ ช่วง อายุ เฉลี่ย ของ ประชากร ทั้ง สอง ประเทศ 
นั้น ก็ เพิ่ม สูง ขึ้นใน ไม่ กี่ ปี ที่ ผ่าน มา โดย เฉพาะ อย่าง ยิ่ง ใน 
ประเทศ ลาว ที่ ประชากร มีอายุ ยืน ขึ้น โดย เพิ่ม จาก อายุ 54 
ปีใน ปี พ.ศ. 2543 เป็น 64 ปี ใน พ.ศ. 2550 
สุขภาพ ของ เด็ก ใน ประเทศ กัมพูชา และ ลาว นั้น ถึง แม้ 
จะ พัฒนา ขึ้น แล้ว แต่ ก็ ยัง อยู่ ใน ระดับ ที่ ไม่ ดี อัตราการ ตาย 
ของ ทารก ใน ช่วง ปี พ.ศ. 2543–2549 ใน ประเทศ กัมพูชา 
ลด ลง จาก 88 คน เหลือ 65 คน ต่อ อัตรา การ เกิด มี ชีพ 
1,000 คน ส่วน ใน ประเทศ ลาว ลด ลง จาก 92 คน เหลือ 
59 คน แต่ อัตรา การ ตาย ของ ทารก ที่ ลด ลง แล้ว นี้ก็ ยัง 
สูง กว่า ค่า เฉลี่ย อัตรา การ ตาย ของ ทารก ใน ภูมิภาค เอเชีย 
ตะวันออก เฉียง ใต้ ซึ่ง เท่ากับ 27 คน ต่อ อัตรา การ เกิด มีชีพ 
1,000 คน ใน ประเทศ กัมพูชา ร้อย ละ 36 ของ เด็ก อายุ ต่ำ 
กว่า 5 ขวบ มี น้ำ หนัก ต่ำ กว่า เกณฑ์ 
ใน ไทย และ เวียดนาม นั้น อัตรา การ พัฒนา อยู่ ใน 
ระดับสูง โดย เฉพาะ ประเทศไทย ได้ บรรลุ เป้า หมาย การ 
พัฒนา แห่ง สหัสวรรษ The Millennium Development 
Goals (MDGs) ทั้ง เก้า หัวข้อ ก่อน ที่ จะ ถึง ปี กำหนด ใน ปี 
พ.ศ. 2558 อัตราส่วน ของ ประชากร ที่ มี ราย ได้ ต่ำ กว่า เกณฑ์์ 
ความ ยากจน ลด ลง จากร้อย ละ 27 ใน ปี พ.ศ. 2533 เหลือ 
เพียง ร้อย ละ 12 ใน ปี พ.ศ. 2547 
ประเทศ เวียดนาม มี ความ ก้าวหน้า เป็น อย่าง สูง ใน การ 
เอาชนะ ความ ยากจน โดย เห็น ได้ จาก อัตรา ประชากร มี 
ราย ได้ ต่ำ กว่า เกณฑ์ ความ ยากจนที่ สูง ถึง ร้อย ละ 75 ใน ปี 
พ.ศ. 2533 นั้น ลด ลง เหลือ เพียง ร้อย ละ 16 ใน ปี พ.ศ. 2549 
แต่ ช่อง ว่าง ความ ไม่ เท่า เทียม กัน ทาง ราย ได้ และ สังคม ก็ 
ยัง คง มี อยู่ ความ แตก ต่าง นี้ เกิด ขึ้น ระหว่าง ประชากร ใน 
ชนบท และ ใน เมือง ใน ชนบท มี ความ ยากจน ร้อย ละ 45 
แต่ ใน เมือง มี เพียง ร้อย ละ 18 และ ชน พื้น เมือง กลุ่ม น้อย 
เป็นก ลุ่ม ที่ แทบ จะ ไม่ ได้ รับ ประโยชน์ จาก การ พัฒนา ของ 
ประเทศ ใน ช่วง ทศวรรษ ที่ ผ่าน มา เอาเลย โดย เฉพาะ 
อย่างยิ่ง กลุ่ม ที่ อาศัย อยู่ ใน เขต ชนบท ที่ มาตรฐาน การ 
ครองชีพ มี การ พัฒนา ใน อัตรา ที่ ต่ำ มาก 
บริเวณ สาม เห ลี่ ยม ปาก แม่น้ำ โขง ใน เวียดนาม เป็น 
พื้นที่ ที่ มี การ ทำ เกษตรกรรม หนา แน่น ที่สุด มี ประชากร 
อาศัย อยู่ ถึง 17 ล้าน คน (คิด เป็น ร้อย ละ 21 ของ ประชากร 
เวียดนาม ทั้ง ประเทศ) และ พื้นที่ นี้ ได้ กลาย เป็น พื้นที่ 
เกษตรกรรม ที่ สำคัญ ที่สุด ของ ประเทศ โดย มี ผลผลิต 
ทางการ เกษตร สูง ถึง กว่า ร้อย ละ 50 ของ ผลผลิต ทั้ง ประเทศ 
และ อีก กว่า ร้อย ละ 60 ของ ผลผลิต ด้าน การ ประมง
8 
วิถี ชีวิต พึ่งพา ความ สมบูรณ์ ของ ลุ่ม น้ำ 
ความ หลาก หลาย ของ ระบบ นิเวศ ใน ลุ่ม แม่น้ำ โขง เป็น 
รากฐาน ของ ความ เป็น อยู่ หลาย รูป แบบ เป็น แหล่ง 
อาหาร ของ ประชากร ชนบท ส่วน ใหญ่ ที่ อาศัย อยู่ ใน พื้นที่ 
ลุ่ม แม่น้ำ โดย เฉพาะ พื้นที่ นา ที่ มี น้ำ ท่วม ถึง นอกจาก 
จะ เป็น แหล่ง ผลิต ข้าว ที่ สำคัญ แล้ว ยัง เป็น แหล่ง จับ ปลา 
ที่ ให้ ทั้ง อาหาร และ ราย ได้ เสริม สำหรับ ประชากร ใน ชนบท 
ทั่ว ทั้ง ลุ่ม น้ำ พื้นที่ ป่า ขนาด ใหญ่ ใน ภูมิภาค ลุ่ม แม่น้ำ โขง มี 
ความ หลาก หลาย ทาง ชีวภาพ ที่ มี ลักษณะ พิเศษ เฉพาะ ซึ่ง 
ประชากรท อี่าศยัอ ยใู่นพ้นืทไี่ดใ้ชป้ระโยชนจ ์ากการหาฟ นื 
และ ทรัพยากร ต่างๆ จาก ป่า อีก หลาย ประเภท 
รากฐาน ของ เกษตรกรรม คือ ดิน แม่น้ำ ที่ อุดม สมบูรณ์ 
เกษตรกรรม เป็น กิจกรรม ทาง เศรษฐกิจ ที่ สำคัญ ที่สุด ใน 
พื้นที่ ลุ่ม แม่น้ำ โขง ตอน ล่าง พื้นที่ มากกว่า 10 ล้าน เฮค ตาร์ 
(62.5 ล้าน ไร่) เป็น พื้นที่ ปลูก ข้าว ซึ่ง เป็น อาหาร หลัก ของ 
ประชากร ใน ภูมิภาค นี้ ใน บริเวณ สามเหลี่ยม ปาก แม่น้ำ ซึ่ง 
เป็น พื้นที่ ที่ ให้ ผลผลิต มาก ที่สุด ชาวนา สามารถ ปลูก ข้าว ได้ 
ถึง ปี ละ 3 ครั้ง ผลผลิต นั้น อยู่ ระหว่าง 1 ถึง มากกว่า 5 ตัน 
ต่อ เฮค ตาร์ ใน ปี พ.ศ. 2548 พื้นที่ ลุ่ม แม่น้ำ โขงตอน ล่าง 
สามารถ ผลิต ข้าว ได้ 33.8 ล้าน ตัน และ กว่า ครึ่ง เป็น ผลผลิต 
จาก ประเทศ เวียดนาม และ สำหรับ กว่า ครึ่ง ของ ประชากร 
ใน พื้นที่ ชนบท ตาม แนว แม่น้ำ โขง เงิน ที่ ได้ จาก การ ขาย ข้าว 
ถือ เป็น ราย ได้ หลัก ของ ประชากร กลุ่ม นี้ ด้วย 
ผลผลิต ข้าว ของ ทุก ประเทศ ใน ลุ่ม แม่น้ำ โขง ตอนล่าง 
เพิ่ม สูง ขึ้น ประมาณ ร้อย ละ 3 ต่อ ปีนับ ตั้ง แต่ ปี พ.ศ. 2533 
การ ปลูก ข้าว ใน ประเทศ กัมพูชา ทั้ง นาปี และ นาปรัง ให้ 
ผลผลิต เพิ่ม ขึ้น ส่วน ใน ประเทศ ลาว ข้าว ส่วน ใหญ่ เป็น 
ผลผลิต จาก การ ปลูก ข้าว ใน ช่วง ฤดู ฝน ใน พื้นที่ ราบ ต่ำ และ 
มี แนว โน้ม ที่ จะ มี การ ขยาย ตัว มาก ขึ้น ของ การ ปลูก ข้าว ใน 
ลักษณะ นี้ ส่วน ผลผลิต จาก พื้นที่ ราบ สูง ซึ่ง ส่วน ใหญ่ เป็น 
ลักษณะ การ ทำ ไร่ หมุนเวียนมี แนว โน้ม ต่ำ ลง ที่ สามเหลี่ยม 
ปาก แม่น้ำ ประเทศ เวียดนาม ถึง แม้ว่า พื้นที่ การเกษตร จะ 
ลด ลง ใน ช่วง สอง ทศวรรษ ที่ ผ่าน มา แต่ ความ สามารถ ใน 
การ ผลิต กลับ สูง ขึ้น ซึ่ง ก็ ส่ง ผล ให้ ปริมาณ ผลผลิต สูง ขึ้น ด้วย 
อย่างไร ก็ตาม ความ สามารถ ใน การ ผลิต ที่ สูง ขึ้น นี้ มี ความ 
เกี่ยว โยง กับ การ ใช้ ยา ฆ่า แมลง อย่าง หนัก และ มี ผล ทำให้ 
พื้นที่ ทำ นา นั้น ไม่ ปลอดภัย สำหรับ การ ประมง อีก ต่อ ไป 
ส่วน ใน ภาค ตะวัน ออก เฉียง เหนือ ของ ประเทศไทย พื้นที่ 
เกษตรกรรม มากกว่า ร้อย ละ 80 ใช้ สำหรับ การ ปลูก ข้าว 
หรือ อาจ เป็นการ ปลูก ข้าว ร่วม กับ พืช ที่ เติบโต ได้ ดี ใน พื้นที่ 
สูง พื้นที่ เกษตรกรรม ของ ประเทศไทย นี้ ลด ลง เล็ก น้อย ใน 
ช่วง ปี พ.ศ. 2543–2548
9 
การ ปลูก ข้าว จะ ยัง คง เป็น กิจกรรม หลัก ทาง 
เกษตรกรรม ใน พื้นที่ ลุ่ม แม่น้ำ โขง ตอน ล่าง ไป อีก หลาย 
ทศวรรษ มี การ คาด การณ์ ว่า ใน อีก 20 ปี ข้าง หน้า 
ประสิทธิภาพ ใน การ ผลิต ก็ จะ ถูก พัฒนา ขึ้น เพื่อ ให้ ทัน ต่อ 
การ เติบโต ของ จำนวน ประชากร โดย ผลผลิต ที่ มาก ขึ้น 
นั้น จะ มา จาก การ ขยาย ตัว ของ พื้นที่ ที่ มี การ ชลประทาน และ 
การ เพิ่ม ผลผลิต ต่อ พื้นที่ ให้ สูง ขึ้น 
ใน พื้นที่ ลุ่ม แม่น้ำ โขง ตอน ล่าง การ ชลประทาน เป็น ภาค 
ส่วน ที่ มี การ ใช้ น้ำ เป็น จำนวน มาก ที่สุด คิด เป็น ปริมาตร 
ประมาณ ปี ละ 41.8 พัน ล้าน ลูกบาศก์ เมตร กว่า ครึ่ง ของ 
จำนวน นี้ ถูก ใช้ ที่ บริเวณ สามเหลี่ยม ปาก แม่น้ำ ใน ประเทศ 
เวียดนาม และ ตาม มา โดย ประเทศไทย ลาว และ กัมพูชา 
นับ ตั้ง แต่ ปี พ.ศ. 2533 พื้นที่ ชลประทาน ได้ เพิ่ม ขึ้น ที ละ น้อย 
ใน ทั้ง สี่ ประเทศ สมาชิก การ ประเมิน การ ชลประทาน 
ใน พื้นที่ ลุ่ม แม่น้ำ โขง ตอน ล่าง เมื่อ ไม่ นาน มา นี้ พบ ว่า มี 
โครงการ ชลประทาน อยู่ มาก ถึง 15,000 โครงการ โดย 
มี ทั้ง ขนาด เล็ก และ ขนาด ใหญ่ และ มี ทั้ง แบบ การ ใช้ ระบบ 
แรง โน้ม ถ่วง และ แบบ การ ใช้ ระบบ ปั๊ม 
พื้นที่ ใน การ ทำ นา นั้น นอก เหนือ จาก การ ปลูก ข้าว แล้ว 
ยัง ให้ ประโยชน์ อีก หลาย ประการ เช่น เป็น แหล่ง ที่ อยู่ ของ 
ปลา และ สัตว์ น้ำ ที่ หลาก หลาย เช่น หอย กุ้ง กบ ซึ่ง ถือ เป็น 
แหล่ง อาหาร ที่ สำคัญ นอกจาก นี้ พื้นที่ นา ยัง มี บทบาท ที่ 
สำคัญ ใน การ บรรเทา สภาวะ น้ำ ท่วม อีก ด้วย 
แนว โน้ม การ เปลี่ยนแปลง ที่ สำคัญ ของ ภาค เกษตรกรรม 
คือ การ ขยาย ตัว ของ การ ทำ สวน ยาง และ ปลูก พืช พลังงาน 
ซึ่ง มี สาเหตุ ส่วน หนึ่ง มา จาก ราคา เชื้อ เพลิง ที่ สูง ขึ้น การ 
ขยาย ตัว ของ อุปสงค์ ของ พลังงาน จาก พืช (biofuels) รวม 
ทั้ง การ ส่ง ออก พืช พลังงาน นี้ ไป ยัง ตลาด ใน ประเทศ เพื่อน 
บ้าน อีก ด้วย การ ขยาย ตัว ของ ภาค การเกษตร เป็น ปัจจัย 
หลัก ที่ อาจ ทำให้ เกิด การ ทำลาย ป่า และ ความ หลาก หลาย 
ทาง ชีวภาพ ใน พื้นที่ ลุ่ม แม่น้ำ โขง ตอน ล่าง ใน ช่วง เวลา ไม่ 
นาน มา นี้ เมื่อ เทียบ กับ การ ทำ ไม้ การ ถาง ป่า เพื่อ ทำการ 
เกษตร มี ผลก ระ ทบ ต่อ พื้นที่ ป่า ไม้ ใน อัตรา ที่ สูง กว่า
10 
ป่า คือ หัวใจ ใน การ จัดการ ลุ่ม น้ำ อย่าง ยั่งยืน 
การ พัฒนา เศรษฐกิจ ทั้ง ใน ระดับ โลก และ ระดับ ประเทศ 
เป็น ปัจจัย กดดัน สำคัญ ที่ ส่ง ผลก ระ ทบ ต่อ พื้นที่ ป่าใน 
ประเทศ ลุ่ม แม่น้ำ โขง ตอน ล่าง การ เติบโต ของ จำนวน 
ประชากร การ พัฒนา ที่ เพิ่ม ขึ้น และ ผลก ระ ทบ ด้าน 
นโยบาย ล้วน มี อิทธิพล ต่อ พื้นที่ ป่า ทั้ง นั้น 
พื้นที่ ป่า ใน ประเทศ ลุ่ม แม่น้ำ โขง ตอน ล่าง มี พื้นที่ รวม 
54 ล้าน เฮค ตาร์ หรือ คิด เป็น เป็น ร้อย ละ 43 ของ พื้นที่ 
ทั้งหมด ถึง แม้ว่า พื้นที่ ป่า ที่ ถูกกัน ไว้ เป็น พื้นที่ ป่า สงวน จะ 
สูง ขึ้น ถึง หนึ่ง ใน สาม ใน ระ หว่าง ปี พ.ศ. 2533–2548 โดย 
เป็น ผล มา จาก นโยบาย อนุรักษ์ ป่า พร้อม ทั้ง มาตรการ ต่างๆ 
ที่ ส่ง เสริม ให้ มี การ ปลูก ป่า ทดแทน แต่ พื้นที่ ของ ป่า ดั้งเดิม 
(ไม่ เคย ถูก รบกวน) ใน ภูมิภาค นี้ ก็ ยัง ลด ลง อย่าง ต่อ เนื่อง 
อีก ทั้ง คุณภาพ ของ พื้นที่ ป่า ก็ เสื่อมโทรม ลง เนื่องจาก 
พื้นที่ ป่า ดั้งเดิม ถูก เปลี่ยน ไป เป็น พื้นที่ ป่า รุ่น ที่ สอง (คือ มี 
การ ปลูก ทดแทน ขึ้น ใหม่) และ การ ปลูก พืช เชิงเดี่ยว มี การ 
ขยาย ตัว มาก ขึ้น 
พื้นที่ ป่า ใน ลุ่ม แม่น้ำ โขง ตอน ล่าง 
20 – 
18 – 
16 – 
14 – 
12 – 
10 – 
8 – 
6 – 
4 – 
2 – 
0 – 
Area (millions ha) 
l l l l l 
Cambodia Lao PDR Thailand Viet Nam 
1990 
2000 
2005 
พื้นที่ (พันเฮคตาร์) 
กัมพูชา ลาว ไทย เวียดนาม 
ใน ช่วง พ.ศ. 2533–2548 ประเทศ เวียดนาม สูญ เสีย พื้น ทีี่ 
ป่า ดั้งเดิม ไป ถึง ร้อย ละ 10 ต่อ ปี ใน ขณะ ที่ ประเทศ กัมพูชา 
สูญ เสีย ไป ร้อย ละ 6 ต่อ ปี การ เปลี่ยนแปลง ใน เรื่อง ของ 
ทรัพยากร ป่า ไม้ นี้ ที่ ประเทศไทย และ เวียดนาม มี รูป แบบ 
การ เปลี่ยนแปลง ที่ แตก ต่าง ออก ไป จาก ของ ใน ประเทศ ลาว 
และ กัมพูชา ใน ประเทศ เวียดนาม ถึง แม้ว่า ความ ต้องการ 
ใช้ ทรัพยากร ป่า ไม้ ยัง มี อยู่ สูง มาก แต่ การ ดำเนิน โครงการ 
ปลูก ป่า อย่าง จริงจัง ก็ ส่ง ผล ให้ มี พื้นที่ ป่า โดย รวม มาก ขึ้น 
อุตสาหกรรม การ ผลิต เฟอร์นิเจอร์ มี การ ขยาย ตัว ซึ่ง เป็น 
ผล มา จาก การ เติบโต ทาง เศรษฐกิจ โดย รวม ของ ประเทศ 
ส่วน ใน ประเทศไทย การ ผลิต กระดาษ นั้น เพิ่ม สูง ขึ้น ถึง เท่า 
ตัวใน ช่วง 10 ปี ที่ ผ่าน มา 
สำหรับ ประเทศไทย นั้น พื้นที่ ป่า ยัง คง ลด ลง แต่ ใน 
อัตรา ที่ น้อย ลง ทั้งนี้ เนื่อง มา จาก การ ดำเนิน มาตรการ 
ป้องกัน ป่า ใน ช่วงสองทศวรรษ ที่ ผ่าน มา การ ปลูก สวน 
ป่า สัก และ ไม้ ที่ ใช้ ทำ เยื่อ กระดาษ ซึ่ง ถือ เป็น ส่วน หนึ่ง ของ 
ทรัพยากร ป่า ของ ประเทศ มี การ เติบโต อย่าง ต่อ เนื่อง 
โดย นับ รวม พื้นที่ สวน ป่า คุ้มครอง ประเภท นี้ ได้ 1.1 ล้าน 
เฮคตาร์ (ตัวอย่าง เช่น การ ปลูก สวน ป่า เพื่อ อนุรักษ์ ดิน 
และ ทรัพยากร น้ำ) 
การ พัฒนา ด้าน ป่า ไม้ ใน ประเทศ ลาว และ กัมพูชา ยัง 
อยู่ ใน ระยะ เริ่ม ต้น ที่ ประเทศ กัมพูชา การ ขยาย ตัว ของ 
ป่า ปลูกยัง น้อย และ อัตรา การ ทำลาย ป่า ธรรมชาติ ยัง อยู่ ใน 
อัตรา ที่ สูง ส่วน ใน ประเทศ ลาว ถึง แม้ว่า อัตรา การ ปลูก 
ป่า เริ่ม เพิ่ม สูง ขึ้น เรื่อยๆ แต่ พื้นที่ ป่า ปลูก ประเภท นี้ ยัง ถือว่า 
มี อยู่ น้อย
11 
ถ้า อัตรา การ ทำลาย ป่า ยัง คง ดำเนิน ไป ใน ระดับ เดียว กับ 
ช่วง ปี พ.ศ. 2543–2548 ประเทศ กัมพูชา จะ สูญ เสีย พื้นที่ 
ป่า ไป อีก 2.7 ล้าน เฮค ตาร์ ภาย ใน ปี พ.ศ. 2563 ส่วน ใน 
ประเทศ ลาว และ ไทย จะ เสีย พื้นที่ ป่า ไป 1.1 ล้าน เฮค ตาร์ 
และ 800,000 เฮค ตาร์ ตาม ลำดับ แต่ ประเทศ เวียดนาม 
จะ สามารถ เพิ่ม พื้นที่ ป่า ได้ 4.4 ล้าน เฮค ตาร์ ซึ่ง ส่วน ใหญ่ 
จะ มา จาก การ ปลูก ป่า 
ใน ประเทศ ลาว กัมพูชา และ เวียดนาม ความ หลาก 
หลาย ทาง ชีวภาพ และ ทรัพยากร กำลัง ถูก คุกคามอย่าง หนัก 
ใน พื้นที่ ป่า ไม้ คุ้มครอง ที่ อยู่ ใกล้ กับ พื้นที่ ที่ พัฒนา แล้ว การ 
ทำ ไม้ ผลิต ภัณท์ จาก สัตว์ ป่า และ ของ ป่า ถูก เก็บ เกี่ยว ใช้ 
ประโยชน์ อย่าง มาก เกิน ไป เป็น เหตุ ให้ ที่ อยู่ อาศัย และ สิ่ง 
แวดล้อม ถูก ทำลาย และ ส่ง ผลก ระ ทบ ต่อ การ ดำรง ชีวิต ของ 
ประชากร ใน ท้อง ถิ่น 
ไฟ ป่า และ การ ทำ ไม้ อย่าง มาก เป็นต้น เหตุ สำคัญ ของ 
การ สูญ เสีย พื้นที่ ป่า และ ถือ เป็นการ คุกคาม ที่ อันตราย 
ต่อ ความ สมดุล และ มั่นคง ของ ระบบ นิเวศ เกษตรกร 
ส่วน หนึ่ง ใช้ ไฟ แทน การ ถาง เพื่อ กระตุ้น การ งอก ใหม่ ของ พืช 
และ มี การ ก่อ ไฟ ขนาด ย่อม เผา เศษ ไม้ ใน ป่า เพื่อ ลด ปริมาณ 
เชื้อ ไฟ จาก ไม้ ใน ป่า แต่ ไฟ ขนาด ย่อม ที่ ไม่มี การ ควบคุม 
เหล่า นี้ ขยาย วง กว้าง ทำความ เสีย หาย นอกจาก นี้ การ 
ตัดถนน ผ่าน พื้นที่ ป่า ที่ เพิ่ม ขึ้น ใน หลายๆ พื้นที่ เป็น ผล ให้ 
มนุษย์ สามารถ บุกรุก เข้า ถึง พื้นที่ ซึ่ง เดิม เคย อยู่ ห่าง ไกล และ 
เป็น ผล ให้ มี แนว โน้ม การ เกิด ไฟ ป่า ถี่ ขึ้น เรื่อยๆ ใน อนาคต 
หาก ไม่มี การ ควบคุม ที่ ดี ก็ จะ ทำให้ ผืน ป่า เสื่อมโทรม ลง 
อย่าง รวดเร็ว 
ป่า ถือ เป็น แหล่ง ราย ได้ สำคัญ สำหรับ ประชากร หลาย 
พัน คน ของ พื้นที่ ลุ่ม แม่น้ำ โขง ตอน ล่าง ซึ่ง เลี้ยง ชีพ โดย การ 
หา ของ ป่า และ ผลิตผล จาก ป่า เช่น หวาย ไม้ไผ่ พืช สมุนไพร 
และ น้ำมัน หอม ระเหย และ ใน ยาม ที่ ขาดแคลน ประชากร 
กลุ่ม นี้ ก็ได้ พึ่งพา ป่า เพื่อ การ ดำรง ชีพ ของ ป่า บาง ประเภท 
มี การ พัฒนา ระบบ การ ผลิต และ เก็บ ใช้ อย่าง ยั่งยืน แต่ บาง 
ประเภท เช่นหวาย กลับ มี การ ตัด โดย ไม่มี การ ควบคุม ใน 
หลายๆ พื้นที่ ซึ่ง ก่อ ให้ เกิดความ เสีย หาย ต่อ อุตสาหกรรม 
ที่ มี ค่า นี้ เป็น อย่าง มาก
12 
การ ประมง ที่ ใหญ่ ที่สุดใน โลก เลี้ยง ทั้ง ลุ่ม น้ำ 
การ ประมง น้ำ จืด ใน แม่น้ำ โขง เป็นการ ประมง น้ำ จืด ที่ 
ใหญ่ ที่สุด แหล่ง หนึ่ง ของ โลก ใน ปี 2551 มี ผลผลิต 
รวม ประมาณ 3.9 ล้าน ตัน คิด เป็น จาก การ จับ 1.9 ล้าน 
ตัน และ จาก การ เล้ยีง อีก 2 ล้าน ตัน หากคิดเป็น มูลค่า 
ทาง เศรษฐกิจ แล้วก็ จะ สูง ถึง ประมาณ ปี ละ 3.9–7.0 พัน 
ล้าน ดอล ลาร์ สหรัฐ และ นี่ ยัง ไม่ นับ รวม ถึง การ ประมง 
เพื่อ การ ยังชีพ ของ ประชากร อีก หลาย ล้าน คน ที่ อาศัย 
อยู่ ใน ลุ่ม แม่น้ำ โขง ซึ่ง เพียง หา ปลา เพื่อ เป็น อาหาร 
เท่านั้น การ ประมง ใน แม่น้ำ โขง ยัง มี ส่วน ช่วย กิจการ 
ต่างๆ อีก หลาย หมื่น แห่ง ตั้งแต่ ร้าน อาหาร เพิง ขาย อาหาร 
กิจการ การ ต่อ เรือ ไป จนถึง ผู้ ขาย เครื่อง มือ การ ประมง 
มูลค่า ทาง เศรษฐกิจ ของ การ ประมง ใน แม่น้ำ โขง จัด 
เป็น พื้น ฐาน สำคัญ ของ เศรษฐกิจ ครัว เรือน ที่ ประเทศ 
ลาว ประชากร กว่า ครึ่ง ทำการ ประมง ซึ่ง ก่อ ให้ เกิด ราย 
ได้ ถึง ร้อย ละ 20 ของ ราย ได้ ครัว เรือนโดย รวม โดย เฉพาะ 
อย่าง ยิ่ง ใน ที่ ภาค ใต้ ของ ประเทศ ที่ การ ประมง มี ความ สำคัญ 
มาก ครัว เรือน ร้อย ละ 80 ทำการ ประมง เงิน ที่ ได้ จาก 
การป ระมงน กี้ ถ็ูกนำไ ปซื้อเ มล็ดพันธุข์้าวใ นช่วงป ลายขอ ง 
ฤดู แล้ง และ นอกจาก คุณค่า ทาง เศรษฐกิจ ของ การ ประมง 
แล้ว การ ประมง ยัง มี คุณค่า ที่ ช่วย ให้ ประชากร กลุ่ม นี้ มี 
ความ มั่นคง ทาง อาหาร และ โภชนาการ 
การ ประมง ใน แม่น้ำ โขง มี ความ สำคัญ มาก สามารถ เลี้ยง 
ประชากร ใน ลุ่ม น้ำ โขง ปลา เป็น แหล่ง ที่มา ของ โปรตีน 
จาก สัตว์ และวิตามินและ แร่ ธาตุที่ สำคัญ ประชากร 
เหล่านี้ บริโภค ปลา และ สัตว์ น้ำ จาก แม่น้ำ โขง สูง ถึง ปี ละ 
41–51 กิโลกรัมต่อ คน ซึ่ง นับ ว่า เป็น อัตรา การ บริโภค ที่ สูง 
มาก ของ โลก 
การ ประมง ใน พื้นที่ ลุ่ม แม่น้ำ โขง ตอน ล่าง ส่วน ใหญ่ 
เป็นการ ทำ ประมง พื้น บ้าน ขนาด เล็ก ชาว ประมง ใน ลุ่ม 
แม่น้ำ นี้ แจ้ง ว่า สามารถ จับ ปลา ได้ น้อย ลง เรื่อยๆ ขนาด 
ของ ปลา ที่ จับ ได้ โดย เฉลี่ย ก็ มี ขนาด ที่ เล็ก ลง รวม ทั้ง ปลา 
ขนาด ใหญ่ ชนิด ที่ กิน เนื้อ เป็น อาหาร ก็ จับ ได้ ใน ปริมาณ ที่ 
ลดลง การ เฝ้า ติดตาม ปริมาณ ของ ปลา ใน โตน เล สาป ที่ 
จับ ได้ โดย ใช้ โต่ง ใน ช่วง เวลา 12 ปี ที่ ผ่าน มา นั้น แสดง ให้ เห็น 
ว่า ปริมาณ ปลา ที่ จับ ได้ นั้น ไม่ ได้ ลด ลง เลย แต่ มี สิ่ง บอก 
เหตุ ของ การ จับ ปลา มาก เกิน ไป ซึ่ง ก็ คือ การ ที่ ปลา กิน เนื้อ 
ขนาด ใหญ่ ถูก จับ ได้ น้อย ลง และ พันธุ์ ปลา ขนาด เล็ก ถูก จับ 
ได้ มาก ขึ้น 
ประมาณ การ การ บริโภค ผลผลิต จาก การ ประมง ใน ลุ่ม แม่น้ำ โขง 
ตอน ล่าง (2551) 
ประเทศ 
การประมงน้ำจืด 
ผลิตภัณท์ 
อาหารทะเล2 
รวม 
ปลา 
สัตว์น้ำ 
ประเภทอื่น1 
ปลาและสัตว์น้ำ 
ประเภทอื่น 
กัมพูชา 555 121 676 13 689 
ลาว 185 45 230 3 232 
ไทย 740 196 937 134 1070 
เวียดนาม 746 173 920 140 1059 
รวม 2217 535 2752 294 3045 
1 สัตว์ น้ำ อื่นๆ 2 ปลา และ สัตว์ ทะเล ที่ นำ เข้า มา ขาย ใน ตลาด ของ ประเทศ ลุ่ม น้ำ โขง ตอน ล่าง
13 
1,600,000 – 
1,400,000 – 
1,200,000 – 
1,000,000 – 
800,000 – 
600,000 – 
400,000 – 
200,000 – 
) ปี/นตั(ณ มาริป0 – 
2000 2001 2002 2003 2004 2005 2006 2007 2008 
Brackish ■ การเลี้culture ยงปลาน้ำกร่อย Freshwater ■การเลี้ยงปculture ลาน้ำจืด ■ การInland ประมงน้ำcommercial จืดเพื่อการค้า 
capture Production (tonnes/year) 
l l l l l l l l l l 
ผล การ ศึกษา การ ประมง เพื่อ การ ค้า ตลอด ลำน้ำ แม่ โขง 
ใน ช่วง ระยะ เวลา 3 ปี แสดง ให้ เห็น ว่า ฤดูกาล ไม่มี ผล ต่อ 
ปริมาณ ของ ปลา ที่ จับ ได้ แต่ กลับ ขึ้น อยู่ กับ ปรากฏการณ์ 
การ อพยพ ของ ปลา ซึ่ง เกี่ยว เนื่อง กับ ระดับ น้ำ และ การ ไหล 
ของ น้ำ ใน แม่น้ำ 
การ มี วงจร น้ำ ท่วม ตาม ฤดูกาล ของ แม่น้ำ โขง ช่วย ทำให้ 
สถานการณ์ การ ประมง ไม่ เลว ร้าย เกิน ไป นัก เนื่องจาก 
ปลา วางไข่ และ ลูกปลา จำนวน มาก ใช้ ประโยชน์ จาก พื้นที่ 
น้ำ ท่วม ขนาด ใหญ่ ที่ มี อยู่ ทั่วไป ใน ลุ่ม แม่น้ำ โขง อย่างไร 
ก็ตาม การ เปลี่ยนแปลง ต่างๆ เช่น การ ก่อสร้าง เขื่อน การ 
สร้าง ทำนบ จับ ปลา และ สิ่ง ก่อ สร้าง อื่นๆ การ ชะลอ น้ำ เพื่อ 
วัตถุประสงค์ อื่น การ ถาง พื้นที่ ป่า ที่ ถูก น้ำ ท่วม การ ทำลาย 
ป่า รอบ พื้นที่ อ่าง เก็บ น้ำ และ มลภาวะ ใน แต่ละ พื้นที่ ต่าง 
ก็ เป็น ปัจจัย ที่ ทำให้ ปริมาณ ปลา ที่ จับ ได้ นั้น ลด ลง ทั้ง สิ้น 
การ ที่ มี น้ำ ท่วม นั้น มี ประโยชน์ หลาย ประการ มี บทบาท 
ช่วย กระตุ้น ให้ ปลา วางไข่ ทำให้ สามารถ เข้า ถึง พื้นที่ ที่ ถูก 
น้ำ ท่วม ปลา จึง สามารถ อพยพ ไป มาระ หว่าง พื้นที่ ที่ ปกติ 
แล้ว อยู่ แยก จาก กัน ได้ และ เหตุ เหล่า นี้ แสดง ให้ เห็น ถึง 
ความ สำคัญ ที่ จะ ต้อง อนุรักษ์ ลักษณะ อัน หลาก หลาย ทาง 
อุทกวิทยา ของ แม่น้ำ เอา ไว้ ทั้ง ภายใน ปี และ ระหว่าง ปี เพื่อ 
รักษา ระดับ ปริมาณ ปลา ที่ ยัง มี อยู่ มาก ให้ ยั่งยืน 
สัดส่วน ใหญ่ ของ ประชากร ปลา แม่น้ำ โขง ที่ จับ ได้ 
ทั้งหมด นั้น เป็น ปลา อพยพ ย้าย ถิ่น ซึ่ง พันธุ์ ปลา เหล่า นี้ 
มี ความ เสี่ยง ที่ จะ ได้ รับ ผลก ระ ทบ จา การ สร้าง เขื่อน ต่างๆ 
บน แม่น้ำ สาย ประธาน ที่ วางแผน อยู่ ผลผลิต ปลา ที่ อาจ 
ลด ลงอย่าง มาก นั้น จะ สร้าง ผลก ระ ทบ อย่าง ใหญ่ หลวง ต่อ 
ทั้ง เศรษฐกิจ และ สังคม ทั่ว ทั้ง ภูมิภาค 
ถึง แม้ว่า ปริมาณ ของ ปลา ที่ ถูก จับ ตาม ธรรมชาติ จะ 
มากก ว่า ปริมาณ ปลา เลี้ยง แต่ การ เลี้ยง ปลา ก็ มี ความ สำคัญ 
มาก ขึ้น เรื่อยๆ การ ขยาย ตัว ของ อุตสาหกรรม เพาะ เลี้ยง 
สัตว์ น้ำ นั้น ถือ เป็น ปรากฏการณ์ ที่ น่า ทึ่ง ผลผลิต รวม ใน 
ปี พ.ศ. 2551 สูง ถึง 1.6 ล้าน ตัน นับ เป็นก ว่า ห้า เท่า ของ 
ผลผลิต ใน ปี 2543 ปลา ที่ ขาย ส่วน ใหญ่ ตาม เมือง ต่างๆ 
ใน ประเทศไทย และ ลาว เป็นปลา น้ำ จืด ซึ่ง ได้ มา จาก การ 
เลี้ยง โดย เฉพาะ อย่าง ยิ่ง การ เพาะ เลี้ยง ปลา นิล ปลา สวาย 
และ กุ้ง มี การ ส่ง ออก สินค้า เพาะ เลี้ยง สัตว์ น้ำ สูง ถึง ปี ละ 1 
ล้าน ตัน 
ปริมาณ ปลา จาก ลุ่ม แม่น้ำ โขง ใน ประเทศ เวียดนาม ไม่ รวม การ 
ทำ ประมง ขนาด เล็ก
14 
คุณภาพ น้ำ และ พื้นที่ ชุ่ม น้ำ 
ปัจจัย รายงาน สภาพ ที่ ดี 
ความ อุดม สมบูรณ์ ของ แม่น้ำ ขึ้น อยู่ กับ ปัจจัย หลาย 
ประการ ซึ่ง รวม ถึง คุณภาพ ของ น้ำ การ ไหล ของ น้ำ 
ในแม่น้ำ และ สภาพ แวดล้อม การ ผันแปร ของ แม่น้ำ 
ซึ่ง เกิด ขึ้น ประจำ ทุก ปี นั้น เป็น ตัว กระตุ้น สำคัญ ที่ ช่วย ให้ 
แม่น้ำ โขง และ พื้นที่ ชุ่ม น้ำ ที่ เชื่อม โยง กับ แม่น้ำ โขง นั้น ยัง 
คง มี ความ อุดม สูง สร้าง ถิ่น ที่ อยู่ และ แหล่ง อาหาร ที่ สำคัญ 
และ หลาก หลาย อย่าง ยิ่ง ต่อ พืช และ สัตว์ และ เมื่อ มี การ 
พัฒนา ลุ่ม แม่น้ำ โขง มาก ขึ้น เรื่อยๆ ก็ มี ความ จำเป็น อย่าง ยิ่ง 
ที่ จะ ต้อง คอย ติดตาม เฝ้า สังเกต ผลก ระ ทบ ที่ อาจ เกิด ขึ้น ต่อ 
คุณภาพ ของ น้ำ ความ หลาย หลาย ทาง ชีวภาพ ที่ มี ลักษณะ 
เฉพาะ และ พื้นที่ ชุ่ม น้ำ ที่ เกี่ยวข้อง 
คุณภาพ ของ น้ำ 
การ ติดตาม ตรวจ สอบ ที่ ทำ เป็น ประจำ มา ตั้ง แต่ ปี พ.ศ. 
2528 แสดง ให้ เห็น ว่า คุณภาพ ของ น้ำ ใน แม่น้ำ โขง นั้น มี 
คุณภาพ โดย รวม ที่ ดี ยกเว้น ใน พื้นที่ ที่ อยู่ ใกล้ เมือง พื้นที่ 
เกษตรกรรม หรือ พื้นที่ เพาะ เลี้ยง สัตว์ น้ำ คุณภาพ ของ 
น้ำ ที่ สถานี ติดตาม เฝ้า สังเกต ใน บริเวณ ลำน้ำ สาย ประธาน 
ทุก สถานีมี ธาตุ อาหาร ต่ำ ยกเว้น ใน บาง สถานีฯ ที่ ตั้ง อยู่ 
ใน ดินดอนสามเหลี่ยม แม่น้ำ โขง ซึ่ง มี ธาตุ อาหาร บาง 
ชนิด ค่อน ข้าง สูง เนื่อง มา จาก การ ที่ บริเวณ เหล่า นั้น มี 
ประชากร อาศัย อยู่ หนา แน่น และ มี การ ทำ เกษตรกรรม 
มาก ค่า ฟอสฟอรัสและ ไนโตรเจน ของ น้ำ ใน บริเวณ 
ดินดอนสามเหลี่ยม ปาก แม่น้ำ มี แนว โน้ม ที่ จะ เพิ่ม สูง ขึ้น ซึ่ง 
หมายความ ว่า คุณภาพ ของ น้ำ เริ่ม เสื่อมโทรม ลง ความ เข้ม 
ข้น ของ แอมโมเนีย ใน ลำน้ำ ทั้ง สาย มี ค่า น้อย เมื่อ เปรียบ 
เทียบ กับ ค่า มาตรฐาน ของ ทุก ประเทศ ใน ลุ่ม น้ำ แต่ ก็ มี ค่า 
สูง ขึ้น อย่าง เห็น ได้ ชัด ใน ช่วง ปี พ.ศ. 2543–2551 โดย เฉพาะ 
ที่ ตอน บน ของ ลุ่ม น้ำใกล้ กับ บริเวณ ที่ มี การบรรจบ กับ ลำน้ำ 
สาขา บริเวณ นคร เวียงจันทน์ และ ที่ ใน ประเทศ กัมพูชา 
บริเวณ แม่ น้ำ บาส สัก 
สำหรับ คุณภาพ น้ำ เพื่อ การ อนุรักษ์ สัตว์ น้ำ นั้น ณ 
สถานี ติดตาม เฝ้า สังเกต ใน บริเวณ ลำน้ำ สาย ประธาน ทุก 
สถานี ใน ช่วง ปี พ.ศ. 2543–2551 คุณภาพ น้ำ จัด อยู่ ใน ระดับ 
ดี เยี่ยม แต่ อย่างไร ก็ตาม คุณภาพ น้ำ ใน ลำน้ำ สาขา อยู่ 
ใน ระดับ ที่ พอใช้ เท่านั้น ซึ่ง ก็ หมายความ ว่า สัตว์ บาง พันธุ์ 
อาจ กำลัง ถูก คุกคาม หรือ กำลัง อ่อนแอ ลง และ ชี้ ให้ เห็น ถึง 
ผลก ระ ทบ ของ การ พัฒนา ภาค การเกษตร การ ใช้ ปุ๋ย และ 
การ ขยาย ตัวของ ชุมชน เมือง 
การ ติดตาม ตรวจ สอบ คุณภาพ น้ำ สามารถ บอก ถึง 
สถานะ ของ สภาพ แวดล้อม ที่ สิ่ง มี ชีวิต อาศัย อยู่ แต่ ก็ ไม่
15 
สามารถ บอก ได้ ว่า ภาวะ สุขภาพ ของ สิ่ง มี ชีวิต เหล่า นั้น 
เป็น อย่างไร การ ติดตาม ตรวจ สอบ ทาง ชีวภาพ คือ การ 
ติดตาม ตรวจ สอบ สุขภาพ กลุ่ม หลัก ของ สิ่ง มี ชีวิต สามารถ 
ใช้ ใน การ ตรวจ สอบ สถานะ ระบบ นิเวศ ของ แม่น้ำ ได้ อีก ทาง 
หนึ่ง จาก การ ใช้ เวลา กว่า 5 ปีใน การ ติดตาม ตรวจ สอบ 
มากกว่า 60 สถานี ครอบคลุม สภาพ แวดล้อม ต่างๆ ผล 
ที่ ได้ รับ จาก การ ติดตาม ตรวจ สอบ ทาง ชีวภาพ แสดง ให้ เห็น 
ว่า แม่น้ำ สาย ประธาน โดย รวม ของ ลุ่ม แม่น้ำ โขง ตอน ล่าง 
ยัง ไม่ ได้ รับ ผลก ระ ทบ มาก นัก จาก การ พัฒนา แหล่ง น้ำ หรือ 
จาก การ ทิ้ง ของ เสีย ลง สู่ แม่น้ำ ถึง แม้ว่า ใน บาง พื้นที่ ก็ เริ่ม 
แสดง สัญญาณ ของ ภาวะ กดดัน บ้าง แล้ว 
การ ศึกษา ล่าสุด ใน สามเหลี่ยม ปาก แม่น้ำ โขง สามารถ 
ระบุ ได้ ว่า มี สาร มลพิษ ที่ ตกค้าง ยาวนาน ใน ตะกอน และ สิ่ง 
มี ชีวิตใน น้ำ (ไฟ โต แพลง ตอน สัตว์ น้ำ ที่ มี เปลือก แข็ง และ 
ปลา) และ สาร พิษ นี้ มา จาก ดีดีที เป็น หลัก 
มี การ ตรวจ พบ ว่า มี สาร โลหะ หนัก เพิ่ม ขึ้น อย่าง มาก ใน 
บริเวณ ที่ มี การ คมนาคม ทาง เรือ หนา แน่น หรือ บริเวณ ที่ 
มี ประชากร อาศัย อยู่ มาก โดย เฉพาะ อย่าง ยิ่ง ใน บริเวณ 
ปลาย น้ำ จาก กรุง พนมเปญ และ ใน บริเวณ สามเหลี่ยม ปาก 
แม่น้ำ โขง 
การ พัฒนา อุตสาหกรรม ใน ลุ่ม แม่น้ำ โขง ตอน ล่าง นั้น 
ถือว่า ยัง อยู่ ใน ระดับ เริ่ม ต้น ถึง แม้ว่า จะ มี การ เติบโต ค่อน 
ข้าง รวดเร็ว คาด ว่า ความ ต้องการ ใช้ น้ำ ใน การ อุตสาหกรรม 
จะ เพิ่ม สูง ขึ้น อย่าง เห็น ได้ ชัด ในทศวรรษ หน้า สำหรับ 
ประเทศ ใน ลุ่ม แม่น้ำ โขง ตอน ล่าง โดย เฉ พาะ อย่าง ยิ่ง 
ประเทศ ลาว และ กัมพูชา 
ใน ประเทศ ลุ่ม แม่น้ำ โขง ตอน ล่าง นั้น มลพิษ ทาง น้ำ 
จาก แหล่ง อุตสาหกรรม สามารถ พบเห็น ได้ ชัด โดย เฉพาะ 
ใน นคร เวียงจันทน์ และ กรุง พนมเปญ สามารถ พบเห็น ได้ 
บ้าง ใน ภาค ตะวัน ออก เฉียง เหนือของ ประเทศไทย และ 
บริเวณ สามเหลี่ยม ปาก แม่น้ำ โขง โดย ทั่วไป แล้ว การ บำบัด 
น้ำ เสีย จาก ภาค อุตสาหกรรม ยัง อยู่ ใน ระดับ ที่ ต่ำ และ การ 
จัดการ ขยะ พิษ จาก อุตสาหกรรม ยัง ไม่มี ประสิทธิภาพ 
ขณะ นี้ มลพิษ ทาง น้ำ จาก ภาค อุตสาหกรรม ยัง หนา แน่น 
อยู่ ใน บริเวณ รอบๆ โรงงาน และ บริเวณ ปลาย น้ำ ของ ชุมชน 
เมือง หลักๆ คาด ว่า ปัญหา นี้ จะ เพิ่ม มาก ขึ้น ใน อนาคต 
ควบคู่ กับ การ ขยาย ตัว ของ ภาค อุตสาหกรรม
16 
พื้นที่ ชุ่ม น้ำ 
พื้นที่ ชุ่ม น้ำ มี ความ สำคัญ อย่าง ยิ่ง ต่อ การ ดำเนิน ชีวิต ของ 
สรรพ สัตว์ ทั้ง หลาย ใน ลุ่ม น้ำ รวม ทั้ง การ พัฒนา สังคม และ 
เศรษฐกิจ ของ ภูมิภาค ตัว แม่น้ำ โขง เอง ลำน้ำ สาขา ห้วย 
ทะเลสาบ และ หนอง น้ำ ต่าง มี บทบาท ใน การ ค้ำจุน ระบบ 
นิเวศ ที่ มี ลักษณะ เฉพาะ เช่น แอ่ง น้ำ ลึก วัง ปลา ใน แม่น้ำ โขง 
ที่ รา บรีดส์ และ ป่า โกงกาง 
จาก การ ศึกษา เมื่อ เร็วๆ นี้ พบ ว่า ชาว ชนบท ใช้ ประโยชน์ 
จาก สัตว์ และ พืช นานา ชนิด ที่ หา ได้ ใน พื้นที่ ชุ่ม น้ำ ใน รอบ 
ฤดู กาล หนึ่งๆ ของ ระบบ นิเวศ นา ข้าว ของ ประเทศ กัมพูชา 
จีน ลาว และ เวียดนาม นั้น พบ ว่า จับ สัตว์ และ เก็บ พืช ต่างๆ 
ได้ มากมาย ปลา 145 ชนิด สัตว์ น้ำ ที่ มี เปลือก แข็ง 11 ชนิด 
หอย 15 ชนิด สัตว์ เลื้อย คลาน 13 ชนิด สัตว์ ครึ่ง บก ครึ่งน้ำ 
11 ชนิด แมลง 11 ชนิด และ พืช อีก 37 ชนิด สัตว์ และ พืช 
เหล่า นี้ สามารถ เก็บ รวบรวม ได้ ใน สภาพ พื้นที่ ที่ หลาก หลาย 
ทั้ง ที่ เป็น แหล่ง อาศัย ที่ ถูก น้ำ ท่วม ถาวร หรือ ถูก น้ำ ท่วม ตาม 
ฤดูกาล เช่น แม่น้ำ ที่ มีน้ำ ไหล ตลอด ปี แอ่ง น้ำ หนอง น้ำ 
และ ป่า บุ่ง ป่า ทาม นอกจาก การ ใช้ ประโยชน์ โดยตรง 
ของ พื้นที่ ชุ่ม น้ำ ที่ ใช้ ใน การ ปลูก ข้าว และ การ จับ ปลา แล้ว 
พื้นที่ เหล่า นี้ ก็ ยัง มี ประโยชน์ ทาง อ้อม อีก มากมาย พื้นที่ 
ชุ่มน้ำ ทำ หน้าที่ กัก เก็บ น้ำ จาก น้ำ ท่วม ซึ่ง น้ำ ท่วม นี้ จะ เป็น 
อันตราย อย่าง ใหญ่ หลวง ใน ช่วง ฤดู ฝน อย่าง เช่น โตน เล 
สาป ใน ประเทศ กัมพูชาจะ ขยาย อาณา บริเวณ ของ มัน ถึง สี่ 
หรือ ห้า เท่า ใน ช่วง ฤดู ฝน ถ้า โตนเล สาปไม่ สามารถ กัก เก็บ 
น้ำ ได้ กรุง พนมเปญ ก็ จะ ถูก น้ำ ท่วม ทั้ง เมือง ทุก ปี 
เมือง ใหญ่ๆ หลาย เมือง ใน ลุ่ม แม่น้ำ รวม ทั้ง นครหลวง 
เวียงจันทน์ และ กรุง พนมเปญ ปล่อย น้ำ เสีย ลง สู่ พื้นที่ ชุ่มน้ำ 
ซึ่ง ก็ เป็นการ บำบัด น้ำ เสีย อย่าง มาก ก่อน ที่ น้ำ จะ ไหล รวม 
กันลง สู่ แม่น้ำ 
เนื่องจาก พื้นที่ ชุ่ม น้ำ เกิด ขึ้น ใน พื้นที่ รอย ต่อ ที่ มี การ 
เปลี่ยนแปลง จาก ระบบ นิเวศ น้ำ ซึ่ง ค่อยๆ เปลี่ยน ไป เป็น 
ระบบ นิเวศ บก ดัง นั้น ความ แตก ต่าง เพียง เล็ก น้อย ของ 
ปริมาณ ช่วง เวลา และ ระยะ ยาว ของ น้ำ จะ ก่อ ให้ เกิด การ 
เปลี่ยนแปลง อย่าง ใหญ่ หลวง ต่อ ธรรมชาติ ของ พื้นที่ ชุ่ม น้ำ 
กระบวนการรวม ทั้ง พืช และ สัตว์ ที่ มี ลักษณะ เฉพาะ
17 
ความ หลาก หลาย ทาง ชีวภาพ สูง 
ลุ่ม แม่น้ำ โขง เป็น หนึ่ง ใน พื้นที่ ที่ มี ความ หลาก หลาย 
ทาง ชีวภาพ ที่ มาก ที่สุด แห่ง หนึ่ง ของ โลก และ เป็น 
หนึ่ง ใน พื้นที่ ที่ ถูก คุกคาม มาก ที่สุด แห่ง หนึ่ง ด้วย ระบบ 
นิเวศ ของ พื้นที่ ชุ่ม น้ำ และ ระบบ นิเวศ ป่า ของลุ่ม แม่น้ำ โขง นี้ 
เป็น แหล่ง ที่ อยู่ อาศัย ของ สัตว์ และ พืช ประจำ ถิ่น ที่ มี ลักษณะ 
เฉพาะ มากมาย หลาย ชนิด การ ประมาณ การ ครั้ง ล่าสุด 
ระบุ ว่า ภูมิภาค นี้ มี พันธุ์ พืช อยู่ 20,000 ชนิด สัตว์ เลี้ยง ลูก 
ด้วย นม 430 ชนิด นก 1,200 ชนิด สัตว์ เลื้อย คลาน และ 
สัตว์ ครึ่ง บก ครึ่ง น้ำ 800 ชนิด พันธุ์ ปลา อีก 850 ชนิด และ 
พันธุ์ พืช และ สัตว์ ใหม่ๆ ก็ ยัง ถูก ค้น พบ อีก เรื่อยๆ อย่างไร 
ก็ตาม การ เพิ่ม ขึ้น ของ จำนวน ประชากรและ รูปแบบ ของ 
การ บริโภค ที่ เพิ่ม ขึ้น นั้น สร้าง แรง กดดัน ให้ กับ สิ่ง แวดล้อม 
แหล่ง ที่ อยู่ ของ นก ที่ สำคัญ หลาย แห่ง ก็ เสื่อมโทรม ลง 
เนื่องจาก พื้นที่ ชุ่ม น้ำ นั้น แห้ง เหือด ลง การ แทะ เล็ม ของ 
สัตว์ มาก ไป การ เก็บ ดิน พีท (Peat Mining) การ ก่อสร้าง 
อ่าง เก็บ น้ำ การ ใช้ สาร กำจัด ศัตรู พืช ใน การ ทำการ เกษตร 
รวม ทั้ง การ เสื่ อม โทรม และ ทำให้ เกิด การ แยก กัน ของ ระบบ 
นิเวศ ส่วน การ ดำรงชีพ ของ นก เอง ก็ ถูก คุกคาม โดย การ 
เก็บ และ การ ล่า ไข่ นก ของ ชาว บ้าน เพื่อ ยังชีพ 
ส่วน พันธุ์ ปลา ใน แม่น้ำ โขง นั้น รวม ถึง ชนิด พันธุ์ ปลา 
ขนาด ใหญ่ บาง ชนิด มี สัญญาณ ให้ เห็น ว่า จำนวน ปลา ขนาด 
ใหญ่ กำลัง เริ่ม ลด น้อย ลง รวม ทั้ง ชนิด ที่ ถูก คุกคาม รุนแรง 
เช่น ปลา บึก (Pangasianodon gidas) การ คุกคาม เกิด 
ขึ้น ต่อ พันธุ์ ปลา ขนาด ใหญ่ ที่ ย้าย ถิ่น นี้ เกิด จาก การ พัฒนา 
โครงสร้าง พื้น ฐาน เช่นการ สร้าง เขื่อน ซึ่ง ก่อ ให้ เกิด การ 
เปลี่ยนแปลง การ ไหล ของ น้ำ ตาม ธรรมชาติ ของ แม่น้ำ และ 
ปิด กั้น เส้น ทาง ย้าย ถิ่น ของ ปลา และ เมื่อ ปลา ไม่ สามารถ 
อพยพ ขึ้น ลง ตาม ลำน้ำ แล้ว โอกาส ที่ มัน จะ แพร่ พันธุ์ ตาม 
ธรรมชาติ ก็ ลด ลง ด้วย 
ที่ราบ ลุ่ม แม่ โขง ตอน ล่าง ยัง สามารถ รักษา บาง แหล่ง ที่ อยู่ 
ให้ อยู่ ใน สภาพ ดั้งเดิม สำหรับ นก น้ำ ได้ โดย การ ที่ มัน ถูก 
ป้องกัน ไว้ ด้วย ชั้น ของ ป่า เต็ง รัง พื้นที่ ชุ่ม น้ำ ตาม ฤดูกาล 
ทุ่ง หญ้า และ แหล่ง ที่ อยู่ ตาม แม่น้ำ โตน เล สาป มี ความ สำคัญ 
ต่อ นก น้ำ ขนาด ใหญ่ มาก ใน ปี พ.ศ. 2549 รัฐบาล กัมพูชา 
ได้ จัดสรร ที่ดิน ที่ เป็น ทุ่ง หญ้า กว่า 258 ตาราง กิโลเมตร 
เพื่อ ป้องกัน แหล่ง นกน้ำอาศัย นี้ ไม่ ให้ กลาย เป็น นา ข้าว 
ถึง แม้ว่า แม่น้ำ โขง และ ลำน้ำ สาขา จะ ยัง ช่วย รักษา แหล่ง 
ที่ อยู่ อาศัย ริม น้ำ และ ชุมชน สอง สาม แหล่ง ที่ ยัง คง สภาพ เดิม 
ใน ภูมิภาค เอเชีย ตะวัน ออก เฉียง ใต้ พื้นที่ ชุ่ม น้ำ ที่ เป็น ที่ 
อยู่ ของ นก น้ำ ก็ ถูก มนุษย์ รุก ล้ำ ไป สร้าง ที่พัก อาศัย และ มี 
การ ใช้ เรือ ยนต์ เพื่อ กา รสัญจร นอกจาก นี้ พื้นที่ ชุ่ม น้ำ และ 
พื้นที่ ทุ่ง หญ้า บริเวณสามเหลี่ยม ปาก แม่น้ำ โขง ก็ ถูก คุกคาม 
โดย อุตสาหกรรม เกษตร ขนาด ใหญ่ 
ลุ่ม แม่น้ำ โขง เป็น บ้าน ของ สัตว์ ครึ่ง บก ครึ่ง น้ำ และ สัตว์ 
เลื้อย คลาน บาง พันธุ์ ที่ มี ความ พิเศษ แต่ ก็ ถูก คุกคาม เผ่า 
พันธุ์ ของ พวก มัน ถูก ทำลาย ไป มาก เต่า น้ำ และ เต่า ครึ่ง บก 
ครึ่ง น้ำ งู และ กิ้งก่า จำนวน มาก ถูก ล่า เพื่อ ยังชีพ และ ถูก จับ 
เพื่อ การ ค้า เป็น อาหาร และ ยา ตาม ตลาด ท้อง ถิ่น ที่ ประเทศ 
เวียดนาม มี การ ค้า สัตว์ เลื้อย คลาน มาก ที่สุด และ การ จับ 
สัตว์ เลื้อย คลาน เป็น จำนวน มาก นี้ ใน หลายๆ พื้นที่ ไม่มี 
ความ ยั่งยืน และ เป็นการ คุกคาม ต่อ การ ดำรง เผ่า พันธุ์ ของ 
สัตว์ บาง ชนิด อีก ด้วย
อากาศ
อากาศ
อากาศ
อากาศ
อากาศ
อากาศ
อากาศ

Más contenido relacionado

Similar a อากาศ

ผังเมืองกับพื้นที่เสี่ยงภัย
ผังเมืองกับพื้นที่เสี่ยงภัยผังเมืองกับพื้นที่เสี่ยงภัย
ผังเมืองกับพื้นที่เสี่ยงภัยS-Paranee
 
ผังเมืองกับพื้นที่เสี่ยงภัย
ผังเมืองกับพื้นที่เสี่ยงภัยผังเมืองกับพื้นที่เสี่ยงภัย
ผังเมืองกับพื้นที่เสี่ยงภัยS-Paranee
 
ผังเมืองกับพื้นที่เสี่ยงภัย
ผังเมืองกับพื้นที่เสี่ยงภัยผังเมืองกับพื้นที่เสี่ยงภัย
ผังเมืองกับพื้นที่เสี่ยงภัยS-Paranee
 
ผังเมืองกับพื้นที่เสี่ยงภัย
ผังเมืองกับพื้นที่เสี่ยงภัยผังเมืองกับพื้นที่เสี่ยงภัย
ผังเมืองกับพื้นที่เสี่ยงภัยS-Paranee
 
ผังเมืองกับพื้นที่เสี่ยงภัย
ผังเมืองกับพื้นที่เสี่ยงภัยผังเมืองกับพื้นที่เสี่ยงภัย
ผังเมืองกับพื้นที่เสี่ยงภัยS-Paranee
 
น้ำนั้นสำคัญฉะไหน
น้ำนั้นสำคัญฉะไหนน้ำนั้นสำคัญฉะไหน
น้ำนั้นสำคัญฉะไหนBengelo
 
Newsletter pidthong vol.3
Newsletter pidthong vol.3Newsletter pidthong vol.3
Newsletter pidthong vol.3tongsuchart
 
ลุ่มน้ำเลย
ลุ่มน้ำเลยลุ่มน้ำเลย
ลุ่มน้ำเลยpentanino
 
Update แถลงการณ์ประชาชน ว่าด้วยโครงการเขื่อนในภูมิภาคแม่น้ำโขง
Update แถลงการณ์ประชาชน ว่าด้วยโครงการเขื่อนในภูมิภาคแม่น้ำโขงUpdate แถลงการณ์ประชาชน ว่าด้วยโครงการเขื่อนในภูมิภาคแม่น้ำโขง
Update แถลงการณ์ประชาชน ว่าด้วยโครงการเขื่อนในภูมิภาคแม่น้ำโขงKim Chai
 
แถลงการณ์ประชาชน ว่าด้วยโครงการเขื่อนในภูมิภาคแม่น้ำโขง
แถลงการณ์ประชาชน ว่าด้วยโครงการเขื่อนในภูมิภาคแม่น้ำโขงแถลงการณ์ประชาชน ว่าด้วยโครงการเขื่อนในภูมิภาคแม่น้ำโขง
แถลงการณ์ประชาชน ว่าด้วยโครงการเขื่อนในภูมิภาคแม่น้ำโขงKim Chai
 
สมุดปกเขียว แนวทางเคลื่อนไหวคัดค้านแผนจัดการน้ำ กบอ.
สมุดปกเขียว แนวทางเคลื่อนไหวคัดค้านแผนจัดการน้ำ กบอ.สมุดปกเขียว แนวทางเคลื่อนไหวคัดค้านแผนจัดการน้ำ กบอ.
สมุดปกเขียว แนวทางเคลื่อนไหวคัดค้านแผนจัดการน้ำ กบอ.Poramate Minsiri
 
โครงการเขื่อนป่าสักชลสิทธิ์2
โครงการเขื่อนป่าสักชลสิทธิ์2โครงการเขื่อนป่าสักชลสิทธิ์2
โครงการเขื่อนป่าสักชลสิทธิ์2Thitapa1996
 
โครงการเขื่อนป่าสักชลสิทธิ์
โครงการเขื่อนป่าสักชลสิทธิ์โครงการเขื่อนป่าสักชลสิทธิ์
โครงการเขื่อนป่าสักชลสิทธิ์Moddang Tampoem
 
โครงการเขื่อนป่าสักชลสิทธิ์ ใหม่
โครงการเขื่อนป่าสักชลสิทธิ์ ใหม่โครงการเขื่อนป่าสักชลสิทธิ์ ใหม่
โครงการเขื่อนป่าสักชลสิทธิ์ ใหม่Thitapa1996
 
ต้นคิด ฝ่าวิกฤตอุทกภัยครั้งใหญ่
ต้นคิด   ฝ่าวิกฤตอุทกภัยครั้งใหญ่ต้นคิด   ฝ่าวิกฤตอุทกภัยครั้งใหญ่
ต้นคิด ฝ่าวิกฤตอุทกภัยครั้งใหญ่Poramate Minsiri
 
โครงการธนาคารข้าว
โครงการธนาคารข้าวโครงการธนาคารข้าว
โครงการธนาคารข้าวJrd Babybox
 
โครงการพัฒนาแหล่งน้ำ ใหม่
โครงการพัฒนาแหล่งน้ำ ใหม่โครงการพัฒนาแหล่งน้ำ ใหม่
โครงการพัฒนาแหล่งน้ำ ใหม่Babymook Juku
 
ทรัพยากรน้ำ
ทรัพยากรน้ำทรัพยากรน้ำ
ทรัพยากรน้ำnunticha
 
แผนแม่บท 27.9.56
แผนแม่บท 27.9.56แผนแม่บท 27.9.56
แผนแม่บท 27.9.56wateropm
 

Similar a อากาศ (20)

ผังเมืองกับพื้นที่เสี่ยงภัย
ผังเมืองกับพื้นที่เสี่ยงภัยผังเมืองกับพื้นที่เสี่ยงภัย
ผังเมืองกับพื้นที่เสี่ยงภัย
 
ผังเมืองกับพื้นที่เสี่ยงภัย
ผังเมืองกับพื้นที่เสี่ยงภัยผังเมืองกับพื้นที่เสี่ยงภัย
ผังเมืองกับพื้นที่เสี่ยงภัย
 
ผังเมืองกับพื้นที่เสี่ยงภัย
ผังเมืองกับพื้นที่เสี่ยงภัยผังเมืองกับพื้นที่เสี่ยงภัย
ผังเมืองกับพื้นที่เสี่ยงภัย
 
ผังเมืองกับพื้นที่เสี่ยงภัย
ผังเมืองกับพื้นที่เสี่ยงภัยผังเมืองกับพื้นที่เสี่ยงภัย
ผังเมืองกับพื้นที่เสี่ยงภัย
 
ผังเมืองกับพื้นที่เสี่ยงภัย
ผังเมืองกับพื้นที่เสี่ยงภัยผังเมืองกับพื้นที่เสี่ยงภัย
ผังเมืองกับพื้นที่เสี่ยงภัย
 
น้ำนั้นสำคัญฉะไหน
น้ำนั้นสำคัญฉะไหนน้ำนั้นสำคัญฉะไหน
น้ำนั้นสำคัญฉะไหน
 
Newsletter pidthong vol.3
Newsletter pidthong vol.3Newsletter pidthong vol.3
Newsletter pidthong vol.3
 
ลุ่มน้ำเลย
ลุ่มน้ำเลยลุ่มน้ำเลย
ลุ่มน้ำเลย
 
Update แถลงการณ์ประชาชน ว่าด้วยโครงการเขื่อนในภูมิภาคแม่น้ำโขง
Update แถลงการณ์ประชาชน ว่าด้วยโครงการเขื่อนในภูมิภาคแม่น้ำโขงUpdate แถลงการณ์ประชาชน ว่าด้วยโครงการเขื่อนในภูมิภาคแม่น้ำโขง
Update แถลงการณ์ประชาชน ว่าด้วยโครงการเขื่อนในภูมิภาคแม่น้ำโขง
 
ดอยคำ
ดอยคำดอยคำ
ดอยคำ
 
แถลงการณ์ประชาชน ว่าด้วยโครงการเขื่อนในภูมิภาคแม่น้ำโขง
แถลงการณ์ประชาชน ว่าด้วยโครงการเขื่อนในภูมิภาคแม่น้ำโขงแถลงการณ์ประชาชน ว่าด้วยโครงการเขื่อนในภูมิภาคแม่น้ำโขง
แถลงการณ์ประชาชน ว่าด้วยโครงการเขื่อนในภูมิภาคแม่น้ำโขง
 
สมุดปกเขียว แนวทางเคลื่อนไหวคัดค้านแผนจัดการน้ำ กบอ.
สมุดปกเขียว แนวทางเคลื่อนไหวคัดค้านแผนจัดการน้ำ กบอ.สมุดปกเขียว แนวทางเคลื่อนไหวคัดค้านแผนจัดการน้ำ กบอ.
สมุดปกเขียว แนวทางเคลื่อนไหวคัดค้านแผนจัดการน้ำ กบอ.
 
โครงการเขื่อนป่าสักชลสิทธิ์2
โครงการเขื่อนป่าสักชลสิทธิ์2โครงการเขื่อนป่าสักชลสิทธิ์2
โครงการเขื่อนป่าสักชลสิทธิ์2
 
โครงการเขื่อนป่าสักชลสิทธิ์
โครงการเขื่อนป่าสักชลสิทธิ์โครงการเขื่อนป่าสักชลสิทธิ์
โครงการเขื่อนป่าสักชลสิทธิ์
 
โครงการเขื่อนป่าสักชลสิทธิ์ ใหม่
โครงการเขื่อนป่าสักชลสิทธิ์ ใหม่โครงการเขื่อนป่าสักชลสิทธิ์ ใหม่
โครงการเขื่อนป่าสักชลสิทธิ์ ใหม่
 
ต้นคิด ฝ่าวิกฤตอุทกภัยครั้งใหญ่
ต้นคิด   ฝ่าวิกฤตอุทกภัยครั้งใหญ่ต้นคิด   ฝ่าวิกฤตอุทกภัยครั้งใหญ่
ต้นคิด ฝ่าวิกฤตอุทกภัยครั้งใหญ่
 
โครงการธนาคารข้าว
โครงการธนาคารข้าวโครงการธนาคารข้าว
โครงการธนาคารข้าว
 
โครงการพัฒนาแหล่งน้ำ ใหม่
โครงการพัฒนาแหล่งน้ำ ใหม่โครงการพัฒนาแหล่งน้ำ ใหม่
โครงการพัฒนาแหล่งน้ำ ใหม่
 
ทรัพยากรน้ำ
ทรัพยากรน้ำทรัพยากรน้ำ
ทรัพยากรน้ำ
 
แผนแม่บท 27.9.56
แผนแม่บท 27.9.56แผนแม่บท 27.9.56
แผนแม่บท 27.9.56
 

อากาศ

  • 1.
  • 2. คณะ กรรมาธิการ แม่น้ำ โขง 2553 รายงาน สถานการณ์ ลุ่ม แม่น้ำ โขง: 2553 บท สรุป สถานการณ์ สำนักงาน เลขาธิการ คณะ กรรมาธิการ แม่น้ำ โขง นครหลวง เวียงจันทน์ ISBN 978-993-2080-58-8 © คณะ กรรมาธิการ แม่น้ำ โขง ตู้ ไปรษณีย์ 6101 หน่วย 18 บ้าน สี ฐาน เหนือ อำเภอ ศรี โคตร บอง นครหลวง เวียงจันทน์ 0100 สาธารณรัฐ ประชาธิปไตย ประชาชน ลาว อี เมล ล์ mrcs@mrcmekong.org www.mrcmekong.org ออกแบบโดย Silkworm Books • www.silkwormbooks.com พิมพ์ที่ โรงพิมพ์ โอ. เอส. พริ้นติ้งเฮ้าส์ กรุงเทพฯ บท สรุป สถานการณ์ เล่ม นี้ ตี พิมพ์ เป็น ภาษา อังกฤษ ขแ มร์ ลาว ไทย และ เวียดนาม แหล่ง ที่มา ของ ข้อมูล ใน บท สรุป สถานการณ์ มา จาก รายงาน ฉบับ สมบูรณ์ แปล โดย วรลักษณ์ โกษากุล วิเทศ ศรี เนตร สุข ทวี สุวรรณ ชัย รบ สำหรับ ข้อมูล เพิ่ม เติม กรุณา ติดต่อ ที่ mrcs@mrcmekong.org ท่าน สามารถ ดาวน์โหลด รายงาน สถานการณ์ ลุ่ม แม่น้ำ โขง เล่ม นี้ และ บท สรุป ได้ ฟรี จาก เวบ ไซต์ ของคณะ กร รมาธิ การฯ ที่ www.mrcmekong.org
  • 3. สาส์น จาก เจ้า หน้าที่ บริหาร สูงสุด ประเทศ สมาชิก เรื่อง ทรัพยากร ลุ่มแม่น้ำ โขง ที่ มี อยู่ มหาศาล ซึ่ง จะ สามารถ ช่วย ให้ มี ข้อมูล อย่าง ครบ ถ้วน เมื่อ มี การ วางแผน กลยุทธ์ ด้านเศรษฐกิจ และ จะ ช่วย ให้หา แนวทาง แก้ ปัญหา เรื่อง ความ ยากจน ได้ ง่าย ขึ้น เฉก เช่น กับ การ พัฒนา ลุ่ม น้ำ อื่นๆ การ ตัดสิน ใจ โดยที่ มี ข้อมูล ครบ ถ้วน นั้น มี ความ สำคัญ ที่สุด โดย เฉพาะอย่างยิ่ง เมื่อ เป็น เรื่อง เกี่ยว กับ ประเภท ของ การ พัฒนา ที่ ก่อ ให้ เกิด ข้อ ถก เถียง กัน มาก เช่น แผนการ สร้างเขื่อน บน แม่น้ำ โขง สาย หลัก รา ยงานฯ นี้ มี ข้อมูล สำคัญ ที่ จะ มี ส่วน ช่วย ใน การ หารือ ระหว่าง ประเทศ สมาชิก โดย ให้ ข้อมูล เพิ่ม เติม จาก บท วิ เคราะห์ อื่นๆ ของ คณะ กร รมาธิ การฯ เรื่อง โอกาส และ ความ เสี่ยง ที่ เกี่ยว กับภาพ จำลอง ของ การ พัฒนา ต่างๆ ใน อนาคต รา ยงานฯ นี้ ยัง ให้ ข้อมูล สรุป เรื่อง ความ ท้าทาย บาง ประการ ที่ ต้องการ ความ ร่วม มือ อย่าง ใกล้ ชิด ระหว่าง ประเทศ สมาชิก ใน การ ติดตาม ตรวจ สอบ การ วิจัย และ ความ ร่วม มือ ใน การ จัดการที่ จำเป็น ใน อีก ไม่ กี่ ปีข้าง หน้า หลายๆ ประเด็น ก็ได้ กลาย เป็น ส่วน หนึ่ง ของ งาน หลัก ของ คณะ กร รมาธิ การฯ ไป แล้ว ซึ่ง ข้าพเจ้า เอง มี ความ มั่นใจ ว่า การ ที่ เรื่อง สำคัญ เหล่า นี้ ได้ รับ การ เน้น ย้ำ ใน รา ยงานฯ จะ ช่วย ขับ เคลื่อนให้ เรื่อง เหล่า นี้ เป็น ที่ สนใจ ต่อ สาธารณะ ต่อ ไป คณะ กร รมาธิ การฯ กำลัง ทำงาน ร่วม กับ ประเทศ สมาชิก ใน การ จัด ทำ กลยุทธ์ การ พัฒนา ลุ่ม น้ำ โดย ใช้ การบริหาร จัดการ ลุ่ม น้ำ แบบ บูรณาการ ซึ่ง ถือ เป็น ส่วน หนึ่ง ของ การ ขานรับ ความ ท้าทาย ที่ เกิด ขึ้น กับทรัพยากร น้ำ กล ยุทธ์ฯ นี้ จะ แล้ว เสร็จ ใน ปี นี้ วิถี ชิ วิต ของ ประชากร นับ ล้าน คน ขึ้น อยู่ กับ การ จัดการ ลุ่ม น้ำ อย่าง รอบคอบ ด้วย ใจ เปิด กว้าง และ มี ความโปร่งใส สุดท้าย นี้ ข้าพเจ้า มั่นใจ ว่า รายงาน สถานการณ์ ลุ่ม แม่น้ำ โขง 2553 นี้ จะ เป็น เอกสาร ที่ มี ค่า และเป็น ประโยชน์ ต่อ การ วางแผน กลยุทธ์ ของ ลุ่ม น้ำ แม่ โขง ใน อีก หลายๆ ปี ข้างหน้า และ จะ มี ส่วน สำคัญ ต่อนโยบาย ด้าน ทรัพยากร น้ำ และ สิ่ง แวดล้อม ต่อ ไป เจเร มี เบิร์ด เจ้า หน้าที่ บริหาร สูงสุด ถึง แม้ว่า การ เติบโต ทาง เศรษฐกิจ ใน พื้นที่ ลุ่ม แม่น้ำ โขง ตอน ล่าง จะ ทำให้ ความ เป็น อยู่ และ มาตรฐาน การครอง ชีพ ของ ประชากร 60 ล้าน คนที่ อาศัย อยู่ ใน ภูมิภาค นี้ ดี ขึ้น อย่าง เห็น ได้ ชัด ใน ช่วง ไม่ กี่ ปี ที่ ผ่าน มา แต่ ยัง มี ประชากร อีก เป็น จำนวน มาก ที่ ยัง ยากจน และ วิถี ชีวิต รวม ทั้ง ความ มั่นคง ทาง อาหาร ของ ประชากรเหล่า นั้น ส่วน ใหญ่ แล้ว มี ความ เกี่ยว เนื่อง เป็น อย่าง มาก กับ แม่น้ำ โขง และ ทรัพยากร ของ แม่น้ำ คณะ กรรมาธิการ แม่น้ำ โขง ก่อ ตั้ง ใน ปี พ.ศ. 2538 โดย มี บทบาท ที่ ช่วย ให้ รัฐบาล ของ ประเทศ ใน ลุ่ม แม่น้ำ โขงตอน ล่าง (กัมพูชา ลาว ไทย และ เวียดนาม) สามารถ จัดการ น้ำ แม่น้ำ และ ทรัพยากร ได้ อย่าง ยั่งยืน และ สามารถ ใช้ ทรัพยากร เหล่า นี้ เพื่อ ช่วย ให้ ประชากร หลุด พ้น จาก ความ ยากจน การ ที่ ผู้ มี อำนาจ ตัดสิน ใจได้ รับ ข้อมูล เรื่อง ทรัพยากร แม่น้ำ โขง ที่ เที่ยง ตรง และ ทัน ต่อ สถานการณ์ และ มี ความ เข้าใจ อย่าง ถ่องแท้ ถึง ผลก ระ ทบ ของ การ พัฒนา ทรัพยากร ที่ มี ต่อ เศรษฐกิจ สิ่ง แวดล้อม และ ประชากร นั้น มี ความ สำคัญอย่าง ที่สุด และ เพื่อ เป็นการ สนับสนุน ประเด็น ที่ กล่าว มา แล้ว นี้ คณะ กร รมาธิ การฯ ได้ จัด พิมพ์ รายงาน สถานการณ์ ลุ่ม แม่น้ำ โขง 2553 ขึ้น และ บท สรุป สถานการณ์ นี้ ชี้ ให้ เห็น ข้อ เท็จ จริง ต่างๆ ที่ ระบุ ไว้ ใน รา ยงานฯ รายงาน สถานการณ์ ลุ่ม แม่น้ำ โขง ฉบับ ที่ สอง นี้ อธิบาย เกี่ยว กับ สถานการณ์ ของ การ ประมง ป่า ไม้ การเกษตร พลังงาน น้ำ คุณภาพ ของ น้ำ พื้นที่ ชุ่ม น้ำ การ เดิน เรือ การค้า การ เปลี่ยนแปลงสภาพ ภูมิ อากาศ และ การ จัดการ น้ำ ท่วม ใน พื้นที่ ลุ่ม แม่น้ำ โขง ตอน ล่าง รวม ทั้ง ความ สัมพันธ์ และ ความ เชื่อม โยง ของ เรื่อง ต่างๆ เหล่านี้ รา ยงานฯ นี้ ยัง ให้ ข้อมูล เรื่อง ความ อุดม สมบูรณ์ของ นิเวศวิทยา แม่น้ำโขง โดย ชี้ ให้ เห็น การ ปรับ ตัว ต่อ แรง กดดัน และ การ คุกคาม ต่างๆ ที่ เกิด ขึ้น และ ยัง แสดง ให้ เห็น ประเด็น ด้าน การ พัฒนา ที่ ท้าทาย เช่น การ พัฒนา พลังงาน น้ำ รูป แบบ การ ใช้ ที่ดินที่ เปลี่ยนแปลง ไป รวม ถึง การ เปลี่ยนแปลง ของ สภาพ ภูมิ อากาศ ซึ่ง จะ มี การ ติดตาม ตรวจ สอบ ประเด็น เหล่า นี้ และ รายงาน ใน รายงาน สถานการณ์ ลุ่ม แม่น้ำ โขง ฉบับ ต่อๆ ไป ความ เข้าใจ ใน สถานการณ์ ทรัพยากร น้ำ ใน ลุ่ม แม่น้ำ โขง ช่วย เพิ่ม มุม มอง เรื่อง ความ เสี่ยง ที่ อาจ เกิด ขึ้น ต่อประชากร และ สิ่ง มี ชีวิต เพื่อ เป็น ข้อมูล เพิ่ม เติม ให้ แก่ รัฐบาล ของ
  • 4. 4 ภาพ รวม 6 ใน ลาว สำหรับ ไทย ไม่มี การ เปลี่ยนแปลง และ ใน เวียดนาม เพิ่ม ขึ้น ร้อย ละ 10 มาตรฐาน การ ครอง ชีพ โดย ทั่วไป นั้น ดี ขึ้น แต่ ประชากร ส่วน ใหญ่ ใน ชนบท ก็ ยัง ยากจน อยู่ มาก ดัชนี ชี้ วัดการ พัฒนา ประชากร ซึ่ง เป็นการ วัด แนว โน้ม การ พัฒนา โดย ใช้ ตัว ชี้ วัด เช่น การ มีอายุ ที่ ยืนยาว ความ รู้ และ มาตรฐาน การ ดำรง ชีวิต ล้วน มี การ พัฒนา ดี ขึ้น ใน ทุก ประเทศ สมาชิก ประเทศไทย มี ดัชนี ชี้ วัด การ พัฒนา ประชากร สูง กว่า ค่า เฉลี่ย ของ ประเทศ ใน ทวีป เอเชีย เล็ก น้อย ดัชนีฯ ของ ประเทศ เวียดนามอยู่ ใกล้ เคียง กับ ค่า เฉลี่ย ใน ขณะ ที่ ดัชนีฯ ของ ประเทศ ลาว และ กัมพูชา นั้น ต่ำ กว่า ชีวิต ความ เป็น อยู่ และ ความ มั่นคง ทาง อาหาร ของ ประชากร ส่วน ใหญ่ ใน ลุ่ม แม่น้ำ โขง ตอน ล่าง ผูกพัน อยู่ กับแม่น้ำ โขง และ เส้น ทาง ของ สายน้ำ แม่น้ำ โขง เป็น แหล่ง ใน การ จับ ปลา และ สัตว์ น้ำ ประ เภท อื่นๆ ทั้ง เพื่อ เป็น อาหาร และ เพื่อ เป็นการ หา ราย ได้ เป็น แหล่ง น้ำ เพื่อ ใช้ ใน การเกษตร และ เป็น เส้น ทาง คมนาคม ขนส่ง สินค้า ไป สู่ ตลาด และ ด้วย เหตุ เหล่า นี้ ทำให้ พวก เขา เป็นก ลุ่ม ที่ ได้ รับ ผลก ระ ทบ โดยตรง หาก แม่น้ำ โขง และ ระบบ นิเวศ ของ พื้นที่ ชุ่ม น้ำ เสื่อมโทรม ลง ลุ่ม แม่น้ำ โขง เป็น แหล่ง กำเนิด ของ ระบบ นิเวศ มากมาย ที่ ก่อ ให้ เกิด ความ หลาก หลาย ทาง ชีวภาพ ของ ทั้ง พืช และ รายงาน สถานการณ์ ลุ่ม แม่น้ำ โขง ซึ่ง คณะ กรรมาธิการ แม่น้ำ โขง จัด ทำ ขึ้น นี้ มี เป้า หมาย ที่ จะนำ เสนอ ภาพ รวม สถานการณ์ ของ ลุ่ม แม่น้ำ โขง ตอน ล่าง ใน แง่ ของ ประชากร วิถี การ ดำรง ชีวิต รวม ทั้ง สิ่ง แวดล้อม และ เศรษฐกิจ ผล การ วิจัย และ ติดตาม ตรวจ สอบ หลัง จาก การ จัด ทำ รายงาน สถานการณ์ ลุ่ม แม่น้ำ โขง ฉบับ แรก ขึ้น ใน ปี 2546 ให้ ข้อมูล เพื่อ แสดง ให้ เห็น ภาพ รวม และ แนว โน้ม ของ ตัว ชี้ วัด หลัก ต่างๆ และ ด้วย ข้อมูล เหล่า นี้ รายงาน ก็ ยัง มุ่ง มอง ไป ข้าง หน้า โดย ชี้ ความ ท้าทาย ที่ สำคัญ ที่ ประเทศ ใน กลุ่ม ลุ่ม แม่น้ำ โขง ตอน ล่าง จะ ต้อง ประสบ ใน อนาคต อีก ด้วย การ ขยาย ตัว ของ ชุมชน เมือง เป็น แนว โน้ม ที่ เด่น ชัด ใน ทั้ง สี่ ประเทศ ใน กลุ่ม ลุ่ม แม่น้ำ โขง ตอน ล่าง โดย เห็น ได้ ชัด จาก การ อพยพ ย้าย ถิ่นฐาน ของ ประชากร จาก ชนบท เข้า สู่ เมืองเพื่อ แสวงหา โอกาส ที่ ดี กว่า ใน ขณะ ที่ ประชากร ส่วน ใหญ่ ของ ประชากร ทั้งหมด ใน ลุ่ม แม่น้ำ โขง ตอน ล่าง 60 ล้านคน ยัง อาศัย อยู่ ใน ชนบท แต่ อัตรา การ เติบโต ของ จำนวน ประชากร ใน ชนบท กลับ มี แนว โน้ม ที่ จะ ลด ลง ใน ทศวรรษ หน้า ตัวเลข นี้ บ่ง ชี้ ว่า จำนวน ประชากร โดย ทั่วไป เพิ่ม ขึ้น ร้อย ละ 8 นับ ตั้งแต่ การ สำรวจ เรื่อง นี้ ใน ปี พ.ศ. 2546 (55 ล้าน คน) แต่ ข้อมูล นี้ ใน แต่ละ ประเทศ ก็ มี ตัวเลข ที่ แตก ต่าง กัน สำหรับ จำนวน ประชากร ลุ่ม แม่น้ำ โขงเพิ่ม ขึ้น ถึง ร้อย ละ 25 ใน กัมพูชา ประมาณ ร้อยละ
  • 5. 5 สัตว์ และ ยัง มี พืช และ สัตว์ ชนิด พันธุ์ ใหม่ๆ ถูก ค้น พบ อยู่ เสมอ ระบบ นิเวศ พื้นที่ ชุ่ม น้ำ ทำ หน้าที่ หลาย ประการ เช่น ป้องกัน น้ำ ท่วม และ บำบัด น้ำ เสีย มี ความ พยายาม ศึกษา ชี้แจง ถึง มูลค่า ทาง เศรษฐกิจ ของ พื้นที่ ชุ่ม น้ำ เพื่อ ให้ มูลค่า เหล่า นี้ ถูก นับ รวม เข้าไป ด้วย เมื่อ จะ มี การ วางแผน พัฒนา การ ติดตาม ผล และ การ ตรวจ สอบ ตาม ลำน้ำ ของ แม่โขง ได้ แสดง ให้ เห็น ว่า แม่น้ำ โขง มีความ สามารถ ใน การ รับมือ กับ ความ กดดัน ต่างๆ ที่ เกิด ขึ้น โดย น้ำมือ มนุษย์ ใน ปัจจุบัน ได้ คุณภาพ น้ำ ของ แม่น้ำ โขง ใน พื้นที่ ส่วน ใหญ่ ยัง อยู่ ใน เกณฑ์ ดี ยกเว้น ใน พื้นที่ สามเหลี่ยม ปาก แม่น้ำ ที่ พบ ว่า มี ระดับ ของ สาร อาหาร ใน ปริมาณ สูง น่า เป็น ห่วง น้ำ ท่วม ช่วง สั้น ที่ เกิด ขึ้น ทุก ปี นั้น ช่วย ให้ผลผลิต การ ประมง ยัง คง มี มาก อยู่ ถึง แม้ว่า มี รายงาน บาง ฉบับ แสดง ให้ เห็น ว่า มี การ จับ สัตว์ น้ำ ได้ ใน ปริมาณ ที่ ลด ลง ส่วน อนาคต ของ ป่า ไม้ ใน เขต ลุ่ม น้ำ นั้น คาด ว่าไม่ ดี นัก เนื่องจาก ความ ต้องการ ตัด ไม้ และ ใช้ พื้นที่ ป่า ที่ เพิ่ม ขึ้น เป็น เหตุ ให้ เกิด การ ทำลาย ป่า และ ความ เสื่อมโทรม ของ พื้นที่ ป่า ภาค การเกษตร เป็น กิจกรรม ที่ มี ความ สำคัญ มาก ที่สุด ใน ลุ่ม แม่น้ำ โขง ตอน ล่าง และ เป็น ภาค ส่วน ที่ ใช้ ประโยชน์ จาก น้ำ มาก ที่สุด ข้าว จัด เป็น พืช อาหาร หลัก ของ ประชากร และ เป็น แหล่ง ราย ได้ ของ ประชากร ใน ชนบท ของ ลุ่ม น้ำ โขง ผลผลิต ข้าว เพิ่ม มาก ขึ้น ใน ทุก ประเทศ ตั้งแต่ ทศวรรษ 1990 เนื่องจาก การ พัฒนา เทคโนโลยี และ สัดส่วน ที่ เพิ่ม มาก ขึ้น ของ พื้นที่ ชล ประทาน มี การ เดิน เรือ ใน ลำน้ำ โขง มาก ขึ้น เรื่อยๆ เนื่องจาก แม่น้ำ โขง นนั้ เปน็ เสน้ ทาง คมนาคม ทาง นำ้ ท่สีำคญั ยงิ่ ตอ่ ตอ่ การ คา้ขาย ระหวา่ง ประเทศ ตลอด จน ความ นยิม สงู ขนึ้ ของ ภาค ส่วน การ ท่อง เที่ยว ทาง น้ำ และ ใน บาง พื้นที่ ก็ เป็น เส้น ทาง คมนาคมเ พยีงเ สน้ทางเ ดยีวห รอืไ มก่เ ็ปน็เ สน้ทางค มนาคมที่ มี ประสิทธิภาพ ที่สุด ซึ่ง สามารถ ใช้ สัญจร ไป มา ได้ เกือบ ทั้ง ปี การ ที่ มาตรฐาน การ ครอง ชีพ พัฒนา ขึ้น ความ ต้องการ ด้าน พลังงาน ก็ เพิ่ม ขึ้น ด้วย ซึ่ง นับ เป็น โอกาส สำหรับ การ พัฒนา ไฟฟ้า พลัง น้ำ ใน ลาว กัมพูชา และ เวียดนาม รัฐบาล ของ ประเทศ ต่างๆ ใน ภูมิภาค ก็ เริ่ม ตระหนัก ว่า การ พัฒนา ศักยภาพ ทาง เศรษฐกิจ โดย ใช้ ประโยชน์ จาก แม่น้ำ โขง อย่าง ยั่งยืน ของ ทรัพยากร แม่น้ำ โขง นั้น สามารถ ยก ระดับ ความ ยากจน และ คุณภาพ ชีวิต ได้ แต่ โอกาส การ พัฒนา นี้ ก็ ต้อง สมดุล และ ให้ ความ สำคัญ ต่อ การ พิจารณา ผลก ระ ทบ ที่ อาจ เกิด ขึ้น ต่อ สิ่ง แวดล้อม การ ประมง และ วิถี ชีวิต ของ ประชากร ควบคู่ กัน ไป ด้วย รายงาน สถานการณ์ ลุ่ม แม่น้ำ โขง นี้ เป็นการ รวบรวม องค์ ความ รู้ เท่า ที่ มี อยู่ ใน ปัจจุบันใน ช่วง เวลา หนึ่ง เพื่อ เป็น ข้อมูล พื้น ฐาน นำ ไป ใช้ ประโยชน์ แก่ รัฐบาล ผู้ ดูแล ทรัพยากร และ ผู้ มี ส่วน เกี่ยวข้อง ใน ทุก ภาค ส่วน ใน พื้นที่ ลุ่ม แม่น้ำ โขง
  • 6. 6 ประชากร และ ความ ยากจน ใน พื้นที่ ลุ่ม แม่น้ำ โขง ตอน ล่าง ประชากร หลาย ล้าน คน ที่ อาศัย อยู่ ใน ภูมิภาค ต่างๆ ใน พื้นที่ ลุ่ม แม่น้ำ โขง ตอน ล่าง พึ่งพา แม่น้ำ โขง อย่าง มาก ใน เรื่อง น้ำ กิน น้ำ ใช้ วิถี และ การ ดำรง ชีวิต รวม ทั้ง การ จับ สัตว์ น้ำ ประเภท ต่างๆ ทั้ง เพื่อ การ บริโภค และ ขาย เพื่อ เป็น ราย ได้ ทั้งนี้ ยัง มี ประชากร อยู่ จำนวน มาก ที่ มี ความ เป็น อยู่ ยากจน สามารถ เข้า ถึง น้ำ สะอาด และ สา ธารณู ป โภค ได้ อย่าง จำกัด และ ยัง ต้อง เผชิญ กับ ความ ไม่ แน่นอน ของ ความ เป็น อยู่ เช่น การ เกิด น้ำ ท่วม และ ภัย ธรรมชาติ การ ที่ ไม่มี ที่ดิน ทำ กิน เป็น ของ ตนเอง การ ไม่มี ที่ อยู่ อาศัย และ ผลก ระ ทบ จาก การ ล่ม สลาย ของ เศรษฐกิจ โลก และ ด้วย เหตุ นี้ ทำให้ ประชากร เหล่า นี้ อ่อน ไหว เปราะ บาง อย่าง ยิ่ง ต่อ การ ที่ ทรัพยากร ของ แม่น้ำ โขง ลด น้อย และ เสื่อมโทรม ลง โครงการ พัฒนา แห่ง สหประชาชาติ (UNDP)จัด ให้ ประเทศ ใน กลุ่ม ลุ่ม แม่น้ำ โขง ตอน ล่าง อยู่ ใน กลุ่ม ประเทศ ที่ มี ดัชนี การ พัฒนา มนุษย์ อยู่ ใน ระดับ กลาง โดย ค่า ดัชนี การ พัฒนา มนุษย์ (Human Development Index: HDI) มี การ ที่ พัฒนา ดี ขึ้น เรื่อยๆ อย่าง คงที่ ใน ช่วง สอง สาม ทศวรรษ ที่ ผ่าน มา แต่ อย่างไร ก็ตาม ภาย ใต้ ดัชนีฯ ที่ ดี ขึ้น นี้ ก็ ยัง มี การ พัฒนาที่ ไม่ เท่า เทียม กัน ทั้ง ภายใน ประเทศ เอง และ ระหว่าง ประเทศ สมาชิก ถึง แม้ว่า ประเทศ กัมพูชา มี การ พัฒนา ทาง เศรษฐกิจ ที่ เติบโต ขึ้น อย่าง รวดเร็ว ใน ช่วง สอง ทศวรรษ ที่ ผ่าน มา ประเทศ กัมพูชา ก็ ยัง คง เป็น หนึ่ง ใน ประเทศ ที่ ยากจน ที่สุด ใน โลก โดย มี ประชากร ร้อย ละ 35 ของ ประชากรทั้ง ประเทศ มี ความ เป็น อยู่ ต่ำ กว่า เกณฑ์ ความ ยากจน แต่ ถ้า เฉพาะ ใน พื้นที่ ชนบท แล้ว ตัวเลข นี้ จะ สูง ถึง ร้อยละ 80 และ ถึง แม้ว่า เศรษฐกิจ ของ ประเทศ มี การ เติบโตขึ้น เกษตรกรรม ก็ ยัง เป็น อาชีพ หลัก ของ คนใน ประเทศ ถึง ร้อยละ 70 ประมาณ ร้อย ละ 35 ของ ประชากรไม่ สามารถ เข้า ถึง แหล่ง น้ำ ที่ ได้ รับ การ ปรับปรุง สภาพ แล้ว ได้ ใน ทำนอง เดียวกัน ที่ ประเทศ ลาว ความ ยากจน ก็ ยัง มี อยู่ ทั่วไป มี ประชากร ร้อย ละ 33 ของ ประชากร ทั้ง ประเทศ มี ความ เป็น อยู่ ต่ำ กว่า เกณฑ์ ของ เส้น ความ ยากจน ครึ่ง หนึ่ง ของ จำนวน ครัว เรือน ไม่มี น้ำ สะอาด ใช้ และ ครึ่ง หนึ่ง ของ จำนวน หมู่บ้าน ทั้ง ประเทศ ไม่มี ถนน ที่ สามารถ ใช้ได้ ใน ช่วง ฤดู ฝน ความ ยากจน ส่วน ใหญ่ กระจุก ตัว อยู่ ใน บริเวณ ที่ราบสูง ตอน ใต้ ใกล้ กับ แนว ชายแดน ประเทศ เวียดนาม และ พบ อย่าง ประปราย ใน หมู่บ้าน บน ภูเขา แถบ ภาค เหนือ แต่ พบเห็น ได้ น้อย ใน เขต เมือง และ บริเวณรอบๆ เมือง ใหญ่ และ ถึง แม้ว่า อายุ เฉลี่ย ของ ประชากร ใน ลาว และ กัมพูชาจะ ดัชนี ชี้ วัด ด้าน การ พัฒนา ประชากร ใน ประเทศ ลุ่ม แม่น้ำ โขงตอนล่าง (พ.ศ. 2533–2550) ดัชนีชี้วัดด้านการพัฒนาประชากร 2533 2538 2543 2550 กัมพูชา - 0.540 0.547 0.593 ลาว 0.478 0.524 0.563 0.619 ไทย 0.712 0.745 0.761 0.783 เวียดนาม 0.590 0.672 0.711 0.725 ค่าเฉลี่ยของทวีปเอเชีย 0.724
  • 7. 7 ยัง ต่ำ กว่า ค่า เฉลี่ย ของ อายุประชากร ของ ทวีป เอเชีย ซึ่ง อยู่ ที่ 69 ปี แต่ ช่วง อายุ เฉลี่ย ของ ประชากร ทั้ง สอง ประเทศ นั้น ก็ เพิ่ม สูง ขึ้นใน ไม่ กี่ ปี ที่ ผ่าน มา โดย เฉพาะ อย่าง ยิ่ง ใน ประเทศ ลาว ที่ ประชากร มีอายุ ยืน ขึ้น โดย เพิ่ม จาก อายุ 54 ปีใน ปี พ.ศ. 2543 เป็น 64 ปี ใน พ.ศ. 2550 สุขภาพ ของ เด็ก ใน ประเทศ กัมพูชา และ ลาว นั้น ถึง แม้ จะ พัฒนา ขึ้น แล้ว แต่ ก็ ยัง อยู่ ใน ระดับ ที่ ไม่ ดี อัตราการ ตาย ของ ทารก ใน ช่วง ปี พ.ศ. 2543–2549 ใน ประเทศ กัมพูชา ลด ลง จาก 88 คน เหลือ 65 คน ต่อ อัตรา การ เกิด มี ชีพ 1,000 คน ส่วน ใน ประเทศ ลาว ลด ลง จาก 92 คน เหลือ 59 คน แต่ อัตรา การ ตาย ของ ทารก ที่ ลด ลง แล้ว นี้ก็ ยัง สูง กว่า ค่า เฉลี่ย อัตรา การ ตาย ของ ทารก ใน ภูมิภาค เอเชีย ตะวันออก เฉียง ใต้ ซึ่ง เท่ากับ 27 คน ต่อ อัตรา การ เกิด มีชีพ 1,000 คน ใน ประเทศ กัมพูชา ร้อย ละ 36 ของ เด็ก อายุ ต่ำ กว่า 5 ขวบ มี น้ำ หนัก ต่ำ กว่า เกณฑ์ ใน ไทย และ เวียดนาม นั้น อัตรา การ พัฒนา อยู่ ใน ระดับสูง โดย เฉพาะ ประเทศไทย ได้ บรรลุ เป้า หมาย การ พัฒนา แห่ง สหัสวรรษ The Millennium Development Goals (MDGs) ทั้ง เก้า หัวข้อ ก่อน ที่ จะ ถึง ปี กำหนด ใน ปี พ.ศ. 2558 อัตราส่วน ของ ประชากร ที่ มี ราย ได้ ต่ำ กว่า เกณฑ์์ ความ ยากจน ลด ลง จากร้อย ละ 27 ใน ปี พ.ศ. 2533 เหลือ เพียง ร้อย ละ 12 ใน ปี พ.ศ. 2547 ประเทศ เวียดนาม มี ความ ก้าวหน้า เป็น อย่าง สูง ใน การ เอาชนะ ความ ยากจน โดย เห็น ได้ จาก อัตรา ประชากร มี ราย ได้ ต่ำ กว่า เกณฑ์ ความ ยากจนที่ สูง ถึง ร้อย ละ 75 ใน ปี พ.ศ. 2533 นั้น ลด ลง เหลือ เพียง ร้อย ละ 16 ใน ปี พ.ศ. 2549 แต่ ช่อง ว่าง ความ ไม่ เท่า เทียม กัน ทาง ราย ได้ และ สังคม ก็ ยัง คง มี อยู่ ความ แตก ต่าง นี้ เกิด ขึ้น ระหว่าง ประชากร ใน ชนบท และ ใน เมือง ใน ชนบท มี ความ ยากจน ร้อย ละ 45 แต่ ใน เมือง มี เพียง ร้อย ละ 18 และ ชน พื้น เมือง กลุ่ม น้อย เป็นก ลุ่ม ที่ แทบ จะ ไม่ ได้ รับ ประโยชน์ จาก การ พัฒนา ของ ประเทศ ใน ช่วง ทศวรรษ ที่ ผ่าน มา เอาเลย โดย เฉพาะ อย่างยิ่ง กลุ่ม ที่ อาศัย อยู่ ใน เขต ชนบท ที่ มาตรฐาน การ ครองชีพ มี การ พัฒนา ใน อัตรา ที่ ต่ำ มาก บริเวณ สาม เห ลี่ ยม ปาก แม่น้ำ โขง ใน เวียดนาม เป็น พื้นที่ ที่ มี การ ทำ เกษตรกรรม หนา แน่น ที่สุด มี ประชากร อาศัย อยู่ ถึง 17 ล้าน คน (คิด เป็น ร้อย ละ 21 ของ ประชากร เวียดนาม ทั้ง ประเทศ) และ พื้นที่ นี้ ได้ กลาย เป็น พื้นที่ เกษตรกรรม ที่ สำคัญ ที่สุด ของ ประเทศ โดย มี ผลผลิต ทางการ เกษตร สูง ถึง กว่า ร้อย ละ 50 ของ ผลผลิต ทั้ง ประเทศ และ อีก กว่า ร้อย ละ 60 ของ ผลผลิต ด้าน การ ประมง
  • 8. 8 วิถี ชีวิต พึ่งพา ความ สมบูรณ์ ของ ลุ่ม น้ำ ความ หลาก หลาย ของ ระบบ นิเวศ ใน ลุ่ม แม่น้ำ โขง เป็น รากฐาน ของ ความ เป็น อยู่ หลาย รูป แบบ เป็น แหล่ง อาหาร ของ ประชากร ชนบท ส่วน ใหญ่ ที่ อาศัย อยู่ ใน พื้นที่ ลุ่ม แม่น้ำ โดย เฉพาะ พื้นที่ นา ที่ มี น้ำ ท่วม ถึง นอกจาก จะ เป็น แหล่ง ผลิต ข้าว ที่ สำคัญ แล้ว ยัง เป็น แหล่ง จับ ปลา ที่ ให้ ทั้ง อาหาร และ ราย ได้ เสริม สำหรับ ประชากร ใน ชนบท ทั่ว ทั้ง ลุ่ม น้ำ พื้นที่ ป่า ขนาด ใหญ่ ใน ภูมิภาค ลุ่ม แม่น้ำ โขง มี ความ หลาก หลาย ทาง ชีวภาพ ที่ มี ลักษณะ พิเศษ เฉพาะ ซึ่ง ประชากรท อี่าศยัอ ยใู่นพ้นืทไี่ดใ้ชป้ระโยชนจ ์ากการหาฟ นื และ ทรัพยากร ต่างๆ จาก ป่า อีก หลาย ประเภท รากฐาน ของ เกษตรกรรม คือ ดิน แม่น้ำ ที่ อุดม สมบูรณ์ เกษตรกรรม เป็น กิจกรรม ทาง เศรษฐกิจ ที่ สำคัญ ที่สุด ใน พื้นที่ ลุ่ม แม่น้ำ โขง ตอน ล่าง พื้นที่ มากกว่า 10 ล้าน เฮค ตาร์ (62.5 ล้าน ไร่) เป็น พื้นที่ ปลูก ข้าว ซึ่ง เป็น อาหาร หลัก ของ ประชากร ใน ภูมิภาค นี้ ใน บริเวณ สามเหลี่ยม ปาก แม่น้ำ ซึ่ง เป็น พื้นที่ ที่ ให้ ผลผลิต มาก ที่สุด ชาวนา สามารถ ปลูก ข้าว ได้ ถึง ปี ละ 3 ครั้ง ผลผลิต นั้น อยู่ ระหว่าง 1 ถึง มากกว่า 5 ตัน ต่อ เฮค ตาร์ ใน ปี พ.ศ. 2548 พื้นที่ ลุ่ม แม่น้ำ โขงตอน ล่าง สามารถ ผลิต ข้าว ได้ 33.8 ล้าน ตัน และ กว่า ครึ่ง เป็น ผลผลิต จาก ประเทศ เวียดนาม และ สำหรับ กว่า ครึ่ง ของ ประชากร ใน พื้นที่ ชนบท ตาม แนว แม่น้ำ โขง เงิน ที่ ได้ จาก การ ขาย ข้าว ถือ เป็น ราย ได้ หลัก ของ ประชากร กลุ่ม นี้ ด้วย ผลผลิต ข้าว ของ ทุก ประเทศ ใน ลุ่ม แม่น้ำ โขง ตอนล่าง เพิ่ม สูง ขึ้น ประมาณ ร้อย ละ 3 ต่อ ปีนับ ตั้ง แต่ ปี พ.ศ. 2533 การ ปลูก ข้าว ใน ประเทศ กัมพูชา ทั้ง นาปี และ นาปรัง ให้ ผลผลิต เพิ่ม ขึ้น ส่วน ใน ประเทศ ลาว ข้าว ส่วน ใหญ่ เป็น ผลผลิต จาก การ ปลูก ข้าว ใน ช่วง ฤดู ฝน ใน พื้นที่ ราบ ต่ำ และ มี แนว โน้ม ที่ จะ มี การ ขยาย ตัว มาก ขึ้น ของ การ ปลูก ข้าว ใน ลักษณะ นี้ ส่วน ผลผลิต จาก พื้นที่ ราบ สูง ซึ่ง ส่วน ใหญ่ เป็น ลักษณะ การ ทำ ไร่ หมุนเวียนมี แนว โน้ม ต่ำ ลง ที่ สามเหลี่ยม ปาก แม่น้ำ ประเทศ เวียดนาม ถึง แม้ว่า พื้นที่ การเกษตร จะ ลด ลง ใน ช่วง สอง ทศวรรษ ที่ ผ่าน มา แต่ ความ สามารถ ใน การ ผลิต กลับ สูง ขึ้น ซึ่ง ก็ ส่ง ผล ให้ ปริมาณ ผลผลิต สูง ขึ้น ด้วย อย่างไร ก็ตาม ความ สามารถ ใน การ ผลิต ที่ สูง ขึ้น นี้ มี ความ เกี่ยว โยง กับ การ ใช้ ยา ฆ่า แมลง อย่าง หนัก และ มี ผล ทำให้ พื้นที่ ทำ นา นั้น ไม่ ปลอดภัย สำหรับ การ ประมง อีก ต่อ ไป ส่วน ใน ภาค ตะวัน ออก เฉียง เหนือ ของ ประเทศไทย พื้นที่ เกษตรกรรม มากกว่า ร้อย ละ 80 ใช้ สำหรับ การ ปลูก ข้าว หรือ อาจ เป็นการ ปลูก ข้าว ร่วม กับ พืช ที่ เติบโต ได้ ดี ใน พื้นที่ สูง พื้นที่ เกษตรกรรม ของ ประเทศไทย นี้ ลด ลง เล็ก น้อย ใน ช่วง ปี พ.ศ. 2543–2548
  • 9. 9 การ ปลูก ข้าว จะ ยัง คง เป็น กิจกรรม หลัก ทาง เกษตรกรรม ใน พื้นที่ ลุ่ม แม่น้ำ โขง ตอน ล่าง ไป อีก หลาย ทศวรรษ มี การ คาด การณ์ ว่า ใน อีก 20 ปี ข้าง หน้า ประสิทธิภาพ ใน การ ผลิต ก็ จะ ถูก พัฒนา ขึ้น เพื่อ ให้ ทัน ต่อ การ เติบโต ของ จำนวน ประชากร โดย ผลผลิต ที่ มาก ขึ้น นั้น จะ มา จาก การ ขยาย ตัว ของ พื้นที่ ที่ มี การ ชลประทาน และ การ เพิ่ม ผลผลิต ต่อ พื้นที่ ให้ สูง ขึ้น ใน พื้นที่ ลุ่ม แม่น้ำ โขง ตอน ล่าง การ ชลประทาน เป็น ภาค ส่วน ที่ มี การ ใช้ น้ำ เป็น จำนวน มาก ที่สุด คิด เป็น ปริมาตร ประมาณ ปี ละ 41.8 พัน ล้าน ลูกบาศก์ เมตร กว่า ครึ่ง ของ จำนวน นี้ ถูก ใช้ ที่ บริเวณ สามเหลี่ยม ปาก แม่น้ำ ใน ประเทศ เวียดนาม และ ตาม มา โดย ประเทศไทย ลาว และ กัมพูชา นับ ตั้ง แต่ ปี พ.ศ. 2533 พื้นที่ ชลประทาน ได้ เพิ่ม ขึ้น ที ละ น้อย ใน ทั้ง สี่ ประเทศ สมาชิก การ ประเมิน การ ชลประทาน ใน พื้นที่ ลุ่ม แม่น้ำ โขง ตอน ล่าง เมื่อ ไม่ นาน มา นี้ พบ ว่า มี โครงการ ชลประทาน อยู่ มาก ถึง 15,000 โครงการ โดย มี ทั้ง ขนาด เล็ก และ ขนาด ใหญ่ และ มี ทั้ง แบบ การ ใช้ ระบบ แรง โน้ม ถ่วง และ แบบ การ ใช้ ระบบ ปั๊ม พื้นที่ ใน การ ทำ นา นั้น นอก เหนือ จาก การ ปลูก ข้าว แล้ว ยัง ให้ ประโยชน์ อีก หลาย ประการ เช่น เป็น แหล่ง ที่ อยู่ ของ ปลา และ สัตว์ น้ำ ที่ หลาก หลาย เช่น หอย กุ้ง กบ ซึ่ง ถือ เป็น แหล่ง อาหาร ที่ สำคัญ นอกจาก นี้ พื้นที่ นา ยัง มี บทบาท ที่ สำคัญ ใน การ บรรเทา สภาวะ น้ำ ท่วม อีก ด้วย แนว โน้ม การ เปลี่ยนแปลง ที่ สำคัญ ของ ภาค เกษตรกรรม คือ การ ขยาย ตัว ของ การ ทำ สวน ยาง และ ปลูก พืช พลังงาน ซึ่ง มี สาเหตุ ส่วน หนึ่ง มา จาก ราคา เชื้อ เพลิง ที่ สูง ขึ้น การ ขยาย ตัว ของ อุปสงค์ ของ พลังงาน จาก พืช (biofuels) รวม ทั้ง การ ส่ง ออก พืช พลังงาน นี้ ไป ยัง ตลาด ใน ประเทศ เพื่อน บ้าน อีก ด้วย การ ขยาย ตัว ของ ภาค การเกษตร เป็น ปัจจัย หลัก ที่ อาจ ทำให้ เกิด การ ทำลาย ป่า และ ความ หลาก หลาย ทาง ชีวภาพ ใน พื้นที่ ลุ่ม แม่น้ำ โขง ตอน ล่าง ใน ช่วง เวลา ไม่ นาน มา นี้ เมื่อ เทียบ กับ การ ทำ ไม้ การ ถาง ป่า เพื่อ ทำการ เกษตร มี ผลก ระ ทบ ต่อ พื้นที่ ป่า ไม้ ใน อัตรา ที่ สูง กว่า
  • 10. 10 ป่า คือ หัวใจ ใน การ จัดการ ลุ่ม น้ำ อย่าง ยั่งยืน การ พัฒนา เศรษฐกิจ ทั้ง ใน ระดับ โลก และ ระดับ ประเทศ เป็น ปัจจัย กดดัน สำคัญ ที่ ส่ง ผลก ระ ทบ ต่อ พื้นที่ ป่าใน ประเทศ ลุ่ม แม่น้ำ โขง ตอน ล่าง การ เติบโต ของ จำนวน ประชากร การ พัฒนา ที่ เพิ่ม ขึ้น และ ผลก ระ ทบ ด้าน นโยบาย ล้วน มี อิทธิพล ต่อ พื้นที่ ป่า ทั้ง นั้น พื้นที่ ป่า ใน ประเทศ ลุ่ม แม่น้ำ โขง ตอน ล่าง มี พื้นที่ รวม 54 ล้าน เฮค ตาร์ หรือ คิด เป็น เป็น ร้อย ละ 43 ของ พื้นที่ ทั้งหมด ถึง แม้ว่า พื้นที่ ป่า ที่ ถูกกัน ไว้ เป็น พื้นที่ ป่า สงวน จะ สูง ขึ้น ถึง หนึ่ง ใน สาม ใน ระ หว่าง ปี พ.ศ. 2533–2548 โดย เป็น ผล มา จาก นโยบาย อนุรักษ์ ป่า พร้อม ทั้ง มาตรการ ต่างๆ ที่ ส่ง เสริม ให้ มี การ ปลูก ป่า ทดแทน แต่ พื้นที่ ของ ป่า ดั้งเดิม (ไม่ เคย ถูก รบกวน) ใน ภูมิภาค นี้ ก็ ยัง ลด ลง อย่าง ต่อ เนื่อง อีก ทั้ง คุณภาพ ของ พื้นที่ ป่า ก็ เสื่อมโทรม ลง เนื่องจาก พื้นที่ ป่า ดั้งเดิม ถูก เปลี่ยน ไป เป็น พื้นที่ ป่า รุ่น ที่ สอง (คือ มี การ ปลูก ทดแทน ขึ้น ใหม่) และ การ ปลูก พืช เชิงเดี่ยว มี การ ขยาย ตัว มาก ขึ้น พื้นที่ ป่า ใน ลุ่ม แม่น้ำ โขง ตอน ล่าง 20 – 18 – 16 – 14 – 12 – 10 – 8 – 6 – 4 – 2 – 0 – Area (millions ha) l l l l l Cambodia Lao PDR Thailand Viet Nam 1990 2000 2005 พื้นที่ (พันเฮคตาร์) กัมพูชา ลาว ไทย เวียดนาม ใน ช่วง พ.ศ. 2533–2548 ประเทศ เวียดนาม สูญ เสีย พื้น ทีี่ ป่า ดั้งเดิม ไป ถึง ร้อย ละ 10 ต่อ ปี ใน ขณะ ที่ ประเทศ กัมพูชา สูญ เสีย ไป ร้อย ละ 6 ต่อ ปี การ เปลี่ยนแปลง ใน เรื่อง ของ ทรัพยากร ป่า ไม้ นี้ ที่ ประเทศไทย และ เวียดนาม มี รูป แบบ การ เปลี่ยนแปลง ที่ แตก ต่าง ออก ไป จาก ของ ใน ประเทศ ลาว และ กัมพูชา ใน ประเทศ เวียดนาม ถึง แม้ว่า ความ ต้องการ ใช้ ทรัพยากร ป่า ไม้ ยัง มี อยู่ สูง มาก แต่ การ ดำเนิน โครงการ ปลูก ป่า อย่าง จริงจัง ก็ ส่ง ผล ให้ มี พื้นที่ ป่า โดย รวม มาก ขึ้น อุตสาหกรรม การ ผลิต เฟอร์นิเจอร์ มี การ ขยาย ตัว ซึ่ง เป็น ผล มา จาก การ เติบโต ทาง เศรษฐกิจ โดย รวม ของ ประเทศ ส่วน ใน ประเทศไทย การ ผลิต กระดาษ นั้น เพิ่ม สูง ขึ้น ถึง เท่า ตัวใน ช่วง 10 ปี ที่ ผ่าน มา สำหรับ ประเทศไทย นั้น พื้นที่ ป่า ยัง คง ลด ลง แต่ ใน อัตรา ที่ น้อย ลง ทั้งนี้ เนื่อง มา จาก การ ดำเนิน มาตรการ ป้องกัน ป่า ใน ช่วงสองทศวรรษ ที่ ผ่าน มา การ ปลูก สวน ป่า สัก และ ไม้ ที่ ใช้ ทำ เยื่อ กระดาษ ซึ่ง ถือ เป็น ส่วน หนึ่ง ของ ทรัพยากร ป่า ของ ประเทศ มี การ เติบโต อย่าง ต่อ เนื่อง โดย นับ รวม พื้นที่ สวน ป่า คุ้มครอง ประเภท นี้ ได้ 1.1 ล้าน เฮคตาร์ (ตัวอย่าง เช่น การ ปลูก สวน ป่า เพื่อ อนุรักษ์ ดิน และ ทรัพยากร น้ำ) การ พัฒนา ด้าน ป่า ไม้ ใน ประเทศ ลาว และ กัมพูชา ยัง อยู่ ใน ระยะ เริ่ม ต้น ที่ ประเทศ กัมพูชา การ ขยาย ตัว ของ ป่า ปลูกยัง น้อย และ อัตรา การ ทำลาย ป่า ธรรมชาติ ยัง อยู่ ใน อัตรา ที่ สูง ส่วน ใน ประเทศ ลาว ถึง แม้ว่า อัตรา การ ปลูก ป่า เริ่ม เพิ่ม สูง ขึ้น เรื่อยๆ แต่ พื้นที่ ป่า ปลูก ประเภท นี้ ยัง ถือว่า มี อยู่ น้อย
  • 11. 11 ถ้า อัตรา การ ทำลาย ป่า ยัง คง ดำเนิน ไป ใน ระดับ เดียว กับ ช่วง ปี พ.ศ. 2543–2548 ประเทศ กัมพูชา จะ สูญ เสีย พื้นที่ ป่า ไป อีก 2.7 ล้าน เฮค ตาร์ ภาย ใน ปี พ.ศ. 2563 ส่วน ใน ประเทศ ลาว และ ไทย จะ เสีย พื้นที่ ป่า ไป 1.1 ล้าน เฮค ตาร์ และ 800,000 เฮค ตาร์ ตาม ลำดับ แต่ ประเทศ เวียดนาม จะ สามารถ เพิ่ม พื้นที่ ป่า ได้ 4.4 ล้าน เฮค ตาร์ ซึ่ง ส่วน ใหญ่ จะ มา จาก การ ปลูก ป่า ใน ประเทศ ลาว กัมพูชา และ เวียดนาม ความ หลาก หลาย ทาง ชีวภาพ และ ทรัพยากร กำลัง ถูก คุกคามอย่าง หนัก ใน พื้นที่ ป่า ไม้ คุ้มครอง ที่ อยู่ ใกล้ กับ พื้นที่ ที่ พัฒนา แล้ว การ ทำ ไม้ ผลิต ภัณท์ จาก สัตว์ ป่า และ ของ ป่า ถูก เก็บ เกี่ยว ใช้ ประโยชน์ อย่าง มาก เกิน ไป เป็น เหตุ ให้ ที่ อยู่ อาศัย และ สิ่ง แวดล้อม ถูก ทำลาย และ ส่ง ผลก ระ ทบ ต่อ การ ดำรง ชีวิต ของ ประชากร ใน ท้อง ถิ่น ไฟ ป่า และ การ ทำ ไม้ อย่าง มาก เป็นต้น เหตุ สำคัญ ของ การ สูญ เสีย พื้นที่ ป่า และ ถือ เป็นการ คุกคาม ที่ อันตราย ต่อ ความ สมดุล และ มั่นคง ของ ระบบ นิเวศ เกษตรกร ส่วน หนึ่ง ใช้ ไฟ แทน การ ถาง เพื่อ กระตุ้น การ งอก ใหม่ ของ พืช และ มี การ ก่อ ไฟ ขนาด ย่อม เผา เศษ ไม้ ใน ป่า เพื่อ ลด ปริมาณ เชื้อ ไฟ จาก ไม้ ใน ป่า แต่ ไฟ ขนาด ย่อม ที่ ไม่มี การ ควบคุม เหล่า นี้ ขยาย วง กว้าง ทำความ เสีย หาย นอกจาก นี้ การ ตัดถนน ผ่าน พื้นที่ ป่า ที่ เพิ่ม ขึ้น ใน หลายๆ พื้นที่ เป็น ผล ให้ มนุษย์ สามารถ บุกรุก เข้า ถึง พื้นที่ ซึ่ง เดิม เคย อยู่ ห่าง ไกล และ เป็น ผล ให้ มี แนว โน้ม การ เกิด ไฟ ป่า ถี่ ขึ้น เรื่อยๆ ใน อนาคต หาก ไม่มี การ ควบคุม ที่ ดี ก็ จะ ทำให้ ผืน ป่า เสื่อมโทรม ลง อย่าง รวดเร็ว ป่า ถือ เป็น แหล่ง ราย ได้ สำคัญ สำหรับ ประชากร หลาย พัน คน ของ พื้นที่ ลุ่ม แม่น้ำ โขง ตอน ล่าง ซึ่ง เลี้ยง ชีพ โดย การ หา ของ ป่า และ ผลิตผล จาก ป่า เช่น หวาย ไม้ไผ่ พืช สมุนไพร และ น้ำมัน หอม ระเหย และ ใน ยาม ที่ ขาดแคลน ประชากร กลุ่ม นี้ ก็ได้ พึ่งพา ป่า เพื่อ การ ดำรง ชีพ ของ ป่า บาง ประเภท มี การ พัฒนา ระบบ การ ผลิต และ เก็บ ใช้ อย่าง ยั่งยืน แต่ บาง ประเภท เช่นหวาย กลับ มี การ ตัด โดย ไม่มี การ ควบคุม ใน หลายๆ พื้นที่ ซึ่ง ก่อ ให้ เกิดความ เสีย หาย ต่อ อุตสาหกรรม ที่ มี ค่า นี้ เป็น อย่าง มาก
  • 12. 12 การ ประมง ที่ ใหญ่ ที่สุดใน โลก เลี้ยง ทั้ง ลุ่ม น้ำ การ ประมง น้ำ จืด ใน แม่น้ำ โขง เป็นการ ประมง น้ำ จืด ที่ ใหญ่ ที่สุด แหล่ง หนึ่ง ของ โลก ใน ปี 2551 มี ผลผลิต รวม ประมาณ 3.9 ล้าน ตัน คิด เป็น จาก การ จับ 1.9 ล้าน ตัน และ จาก การ เล้ยีง อีก 2 ล้าน ตัน หากคิดเป็น มูลค่า ทาง เศรษฐกิจ แล้วก็ จะ สูง ถึง ประมาณ ปี ละ 3.9–7.0 พัน ล้าน ดอล ลาร์ สหรัฐ และ นี่ ยัง ไม่ นับ รวม ถึง การ ประมง เพื่อ การ ยังชีพ ของ ประชากร อีก หลาย ล้าน คน ที่ อาศัย อยู่ ใน ลุ่ม แม่น้ำ โขง ซึ่ง เพียง หา ปลา เพื่อ เป็น อาหาร เท่านั้น การ ประมง ใน แม่น้ำ โขง ยัง มี ส่วน ช่วย กิจการ ต่างๆ อีก หลาย หมื่น แห่ง ตั้งแต่ ร้าน อาหาร เพิง ขาย อาหาร กิจการ การ ต่อ เรือ ไป จนถึง ผู้ ขาย เครื่อง มือ การ ประมง มูลค่า ทาง เศรษฐกิจ ของ การ ประมง ใน แม่น้ำ โขง จัด เป็น พื้น ฐาน สำคัญ ของ เศรษฐกิจ ครัว เรือน ที่ ประเทศ ลาว ประชากร กว่า ครึ่ง ทำการ ประมง ซึ่ง ก่อ ให้ เกิด ราย ได้ ถึง ร้อย ละ 20 ของ ราย ได้ ครัว เรือนโดย รวม โดย เฉพาะ อย่าง ยิ่ง ใน ที่ ภาค ใต้ ของ ประเทศ ที่ การ ประมง มี ความ สำคัญ มาก ครัว เรือน ร้อย ละ 80 ทำการ ประมง เงิน ที่ ได้ จาก การป ระมงน กี้ ถ็ูกนำไ ปซื้อเ มล็ดพันธุข์้าวใ นช่วงป ลายขอ ง ฤดู แล้ง และ นอกจาก คุณค่า ทาง เศรษฐกิจ ของ การ ประมง แล้ว การ ประมง ยัง มี คุณค่า ที่ ช่วย ให้ ประชากร กลุ่ม นี้ มี ความ มั่นคง ทาง อาหาร และ โภชนาการ การ ประมง ใน แม่น้ำ โขง มี ความ สำคัญ มาก สามารถ เลี้ยง ประชากร ใน ลุ่ม น้ำ โขง ปลา เป็น แหล่ง ที่มา ของ โปรตีน จาก สัตว์ และวิตามินและ แร่ ธาตุที่ สำคัญ ประชากร เหล่านี้ บริโภค ปลา และ สัตว์ น้ำ จาก แม่น้ำ โขง สูง ถึง ปี ละ 41–51 กิโลกรัมต่อ คน ซึ่ง นับ ว่า เป็น อัตรา การ บริโภค ที่ สูง มาก ของ โลก การ ประมง ใน พื้นที่ ลุ่ม แม่น้ำ โขง ตอน ล่าง ส่วน ใหญ่ เป็นการ ทำ ประมง พื้น บ้าน ขนาด เล็ก ชาว ประมง ใน ลุ่ม แม่น้ำ นี้ แจ้ง ว่า สามารถ จับ ปลา ได้ น้อย ลง เรื่อยๆ ขนาด ของ ปลา ที่ จับ ได้ โดย เฉลี่ย ก็ มี ขนาด ที่ เล็ก ลง รวม ทั้ง ปลา ขนาด ใหญ่ ชนิด ที่ กิน เนื้อ เป็น อาหาร ก็ จับ ได้ ใน ปริมาณ ที่ ลดลง การ เฝ้า ติดตาม ปริมาณ ของ ปลา ใน โตน เล สาป ที่ จับ ได้ โดย ใช้ โต่ง ใน ช่วง เวลา 12 ปี ที่ ผ่าน มา นั้น แสดง ให้ เห็น ว่า ปริมาณ ปลา ที่ จับ ได้ นั้น ไม่ ได้ ลด ลง เลย แต่ มี สิ่ง บอก เหตุ ของ การ จับ ปลา มาก เกิน ไป ซึ่ง ก็ คือ การ ที่ ปลา กิน เนื้อ ขนาด ใหญ่ ถูก จับ ได้ น้อย ลง และ พันธุ์ ปลา ขนาด เล็ก ถูก จับ ได้ มาก ขึ้น ประมาณ การ การ บริโภค ผลผลิต จาก การ ประมง ใน ลุ่ม แม่น้ำ โขง ตอน ล่าง (2551) ประเทศ การประมงน้ำจืด ผลิตภัณท์ อาหารทะเล2 รวม ปลา สัตว์น้ำ ประเภทอื่น1 ปลาและสัตว์น้ำ ประเภทอื่น กัมพูชา 555 121 676 13 689 ลาว 185 45 230 3 232 ไทย 740 196 937 134 1070 เวียดนาม 746 173 920 140 1059 รวม 2217 535 2752 294 3045 1 สัตว์ น้ำ อื่นๆ 2 ปลา และ สัตว์ ทะเล ที่ นำ เข้า มา ขาย ใน ตลาด ของ ประเทศ ลุ่ม น้ำ โขง ตอน ล่าง
  • 13. 13 1,600,000 – 1,400,000 – 1,200,000 – 1,000,000 – 800,000 – 600,000 – 400,000 – 200,000 – ) ปี/นตั(ณ มาริป0 – 2000 2001 2002 2003 2004 2005 2006 2007 2008 Brackish ■ การเลี้culture ยงปลาน้ำกร่อย Freshwater ■การเลี้ยงปculture ลาน้ำจืด ■ การInland ประมงน้ำcommercial จืดเพื่อการค้า capture Production (tonnes/year) l l l l l l l l l l ผล การ ศึกษา การ ประมง เพื่อ การ ค้า ตลอด ลำน้ำ แม่ โขง ใน ช่วง ระยะ เวลา 3 ปี แสดง ให้ เห็น ว่า ฤดูกาล ไม่มี ผล ต่อ ปริมาณ ของ ปลา ที่ จับ ได้ แต่ กลับ ขึ้น อยู่ กับ ปรากฏการณ์ การ อพยพ ของ ปลา ซึ่ง เกี่ยว เนื่อง กับ ระดับ น้ำ และ การ ไหล ของ น้ำ ใน แม่น้ำ การ มี วงจร น้ำ ท่วม ตาม ฤดูกาล ของ แม่น้ำ โขง ช่วย ทำให้ สถานการณ์ การ ประมง ไม่ เลว ร้าย เกิน ไป นัก เนื่องจาก ปลา วางไข่ และ ลูกปลา จำนวน มาก ใช้ ประโยชน์ จาก พื้นที่ น้ำ ท่วม ขนาด ใหญ่ ที่ มี อยู่ ทั่วไป ใน ลุ่ม แม่น้ำ โขง อย่างไร ก็ตาม การ เปลี่ยนแปลง ต่างๆ เช่น การ ก่อสร้าง เขื่อน การ สร้าง ทำนบ จับ ปลา และ สิ่ง ก่อ สร้าง อื่นๆ การ ชะลอ น้ำ เพื่อ วัตถุประสงค์ อื่น การ ถาง พื้นที่ ป่า ที่ ถูก น้ำ ท่วม การ ทำลาย ป่า รอบ พื้นที่ อ่าง เก็บ น้ำ และ มลภาวะ ใน แต่ละ พื้นที่ ต่าง ก็ เป็น ปัจจัย ที่ ทำให้ ปริมาณ ปลา ที่ จับ ได้ นั้น ลด ลง ทั้ง สิ้น การ ที่ มี น้ำ ท่วม นั้น มี ประโยชน์ หลาย ประการ มี บทบาท ช่วย กระตุ้น ให้ ปลา วางไข่ ทำให้ สามารถ เข้า ถึง พื้นที่ ที่ ถูก น้ำ ท่วม ปลา จึง สามารถ อพยพ ไป มาระ หว่าง พื้นที่ ที่ ปกติ แล้ว อยู่ แยก จาก กัน ได้ และ เหตุ เหล่า นี้ แสดง ให้ เห็น ถึง ความ สำคัญ ที่ จะ ต้อง อนุรักษ์ ลักษณะ อัน หลาก หลาย ทาง อุทกวิทยา ของ แม่น้ำ เอา ไว้ ทั้ง ภายใน ปี และ ระหว่าง ปี เพื่อ รักษา ระดับ ปริมาณ ปลา ที่ ยัง มี อยู่ มาก ให้ ยั่งยืน สัดส่วน ใหญ่ ของ ประชากร ปลา แม่น้ำ โขง ที่ จับ ได้ ทั้งหมด นั้น เป็น ปลา อพยพ ย้าย ถิ่น ซึ่ง พันธุ์ ปลา เหล่า นี้ มี ความ เสี่ยง ที่ จะ ได้ รับ ผลก ระ ทบ จา การ สร้าง เขื่อน ต่างๆ บน แม่น้ำ สาย ประธาน ที่ วางแผน อยู่ ผลผลิต ปลา ที่ อาจ ลด ลงอย่าง มาก นั้น จะ สร้าง ผลก ระ ทบ อย่าง ใหญ่ หลวง ต่อ ทั้ง เศรษฐกิจ และ สังคม ทั่ว ทั้ง ภูมิภาค ถึง แม้ว่า ปริมาณ ของ ปลา ที่ ถูก จับ ตาม ธรรมชาติ จะ มากก ว่า ปริมาณ ปลา เลี้ยง แต่ การ เลี้ยง ปลา ก็ มี ความ สำคัญ มาก ขึ้น เรื่อยๆ การ ขยาย ตัว ของ อุตสาหกรรม เพาะ เลี้ยง สัตว์ น้ำ นั้น ถือ เป็น ปรากฏการณ์ ที่ น่า ทึ่ง ผลผลิต รวม ใน ปี พ.ศ. 2551 สูง ถึง 1.6 ล้าน ตัน นับ เป็นก ว่า ห้า เท่า ของ ผลผลิต ใน ปี 2543 ปลา ที่ ขาย ส่วน ใหญ่ ตาม เมือง ต่างๆ ใน ประเทศไทย และ ลาว เป็นปลา น้ำ จืด ซึ่ง ได้ มา จาก การ เลี้ยง โดย เฉพาะ อย่าง ยิ่ง การ เพาะ เลี้ยง ปลา นิล ปลา สวาย และ กุ้ง มี การ ส่ง ออก สินค้า เพาะ เลี้ยง สัตว์ น้ำ สูง ถึง ปี ละ 1 ล้าน ตัน ปริมาณ ปลา จาก ลุ่ม แม่น้ำ โขง ใน ประเทศ เวียดนาม ไม่ รวม การ ทำ ประมง ขนาด เล็ก
  • 14. 14 คุณภาพ น้ำ และ พื้นที่ ชุ่ม น้ำ ปัจจัย รายงาน สภาพ ที่ ดี ความ อุดม สมบูรณ์ ของ แม่น้ำ ขึ้น อยู่ กับ ปัจจัย หลาย ประการ ซึ่ง รวม ถึง คุณภาพ ของ น้ำ การ ไหล ของ น้ำ ในแม่น้ำ และ สภาพ แวดล้อม การ ผันแปร ของ แม่น้ำ ซึ่ง เกิด ขึ้น ประจำ ทุก ปี นั้น เป็น ตัว กระตุ้น สำคัญ ที่ ช่วย ให้ แม่น้ำ โขง และ พื้นที่ ชุ่ม น้ำ ที่ เชื่อม โยง กับ แม่น้ำ โขง นั้น ยัง คง มี ความ อุดม สูง สร้าง ถิ่น ที่ อยู่ และ แหล่ง อาหาร ที่ สำคัญ และ หลาก หลาย อย่าง ยิ่ง ต่อ พืช และ สัตว์ และ เมื่อ มี การ พัฒนา ลุ่ม แม่น้ำ โขง มาก ขึ้น เรื่อยๆ ก็ มี ความ จำเป็น อย่าง ยิ่ง ที่ จะ ต้อง คอย ติดตาม เฝ้า สังเกต ผลก ระ ทบ ที่ อาจ เกิด ขึ้น ต่อ คุณภาพ ของ น้ำ ความ หลาย หลาย ทาง ชีวภาพ ที่ มี ลักษณะ เฉพาะ และ พื้นที่ ชุ่ม น้ำ ที่ เกี่ยวข้อง คุณภาพ ของ น้ำ การ ติดตาม ตรวจ สอบ ที่ ทำ เป็น ประจำ มา ตั้ง แต่ ปี พ.ศ. 2528 แสดง ให้ เห็น ว่า คุณภาพ ของ น้ำ ใน แม่น้ำ โขง นั้น มี คุณภาพ โดย รวม ที่ ดี ยกเว้น ใน พื้นที่ ที่ อยู่ ใกล้ เมือง พื้นที่ เกษตรกรรม หรือ พื้นที่ เพาะ เลี้ยง สัตว์ น้ำ คุณภาพ ของ น้ำ ที่ สถานี ติดตาม เฝ้า สังเกต ใน บริเวณ ลำน้ำ สาย ประธาน ทุก สถานีมี ธาตุ อาหาร ต่ำ ยกเว้น ใน บาง สถานีฯ ที่ ตั้ง อยู่ ใน ดินดอนสามเหลี่ยม แม่น้ำ โขง ซึ่ง มี ธาตุ อาหาร บาง ชนิด ค่อน ข้าง สูง เนื่อง มา จาก การ ที่ บริเวณ เหล่า นั้น มี ประชากร อาศัย อยู่ หนา แน่น และ มี การ ทำ เกษตรกรรม มาก ค่า ฟอสฟอรัสและ ไนโตรเจน ของ น้ำ ใน บริเวณ ดินดอนสามเหลี่ยม ปาก แม่น้ำ มี แนว โน้ม ที่ จะ เพิ่ม สูง ขึ้น ซึ่ง หมายความ ว่า คุณภาพ ของ น้ำ เริ่ม เสื่อมโทรม ลง ความ เข้ม ข้น ของ แอมโมเนีย ใน ลำน้ำ ทั้ง สาย มี ค่า น้อย เมื่อ เปรียบ เทียบ กับ ค่า มาตรฐาน ของ ทุก ประเทศ ใน ลุ่ม น้ำ แต่ ก็ มี ค่า สูง ขึ้น อย่าง เห็น ได้ ชัด ใน ช่วง ปี พ.ศ. 2543–2551 โดย เฉพาะ ที่ ตอน บน ของ ลุ่ม น้ำใกล้ กับ บริเวณ ที่ มี การบรรจบ กับ ลำน้ำ สาขา บริเวณ นคร เวียงจันทน์ และ ที่ ใน ประเทศ กัมพูชา บริเวณ แม่ น้ำ บาส สัก สำหรับ คุณภาพ น้ำ เพื่อ การ อนุรักษ์ สัตว์ น้ำ นั้น ณ สถานี ติดตาม เฝ้า สังเกต ใน บริเวณ ลำน้ำ สาย ประธาน ทุก สถานี ใน ช่วง ปี พ.ศ. 2543–2551 คุณภาพ น้ำ จัด อยู่ ใน ระดับ ดี เยี่ยม แต่ อย่างไร ก็ตาม คุณภาพ น้ำ ใน ลำน้ำ สาขา อยู่ ใน ระดับ ที่ พอใช้ เท่านั้น ซึ่ง ก็ หมายความ ว่า สัตว์ บาง พันธุ์ อาจ กำลัง ถูก คุกคาม หรือ กำลัง อ่อนแอ ลง และ ชี้ ให้ เห็น ถึง ผลก ระ ทบ ของ การ พัฒนา ภาค การเกษตร การ ใช้ ปุ๋ย และ การ ขยาย ตัวของ ชุมชน เมือง การ ติดตาม ตรวจ สอบ คุณภาพ น้ำ สามารถ บอก ถึง สถานะ ของ สภาพ แวดล้อม ที่ สิ่ง มี ชีวิต อาศัย อยู่ แต่ ก็ ไม่
  • 15. 15 สามารถ บอก ได้ ว่า ภาวะ สุขภาพ ของ สิ่ง มี ชีวิต เหล่า นั้น เป็น อย่างไร การ ติดตาม ตรวจ สอบ ทาง ชีวภาพ คือ การ ติดตาม ตรวจ สอบ สุขภาพ กลุ่ม หลัก ของ สิ่ง มี ชีวิต สามารถ ใช้ ใน การ ตรวจ สอบ สถานะ ระบบ นิเวศ ของ แม่น้ำ ได้ อีก ทาง หนึ่ง จาก การ ใช้ เวลา กว่า 5 ปีใน การ ติดตาม ตรวจ สอบ มากกว่า 60 สถานี ครอบคลุม สภาพ แวดล้อม ต่างๆ ผล ที่ ได้ รับ จาก การ ติดตาม ตรวจ สอบ ทาง ชีวภาพ แสดง ให้ เห็น ว่า แม่น้ำ สาย ประธาน โดย รวม ของ ลุ่ม แม่น้ำ โขง ตอน ล่าง ยัง ไม่ ได้ รับ ผลก ระ ทบ มาก นัก จาก การ พัฒนา แหล่ง น้ำ หรือ จาก การ ทิ้ง ของ เสีย ลง สู่ แม่น้ำ ถึง แม้ว่า ใน บาง พื้นที่ ก็ เริ่ม แสดง สัญญาณ ของ ภาวะ กดดัน บ้าง แล้ว การ ศึกษา ล่าสุด ใน สามเหลี่ยม ปาก แม่น้ำ โขง สามารถ ระบุ ได้ ว่า มี สาร มลพิษ ที่ ตกค้าง ยาวนาน ใน ตะกอน และ สิ่ง มี ชีวิตใน น้ำ (ไฟ โต แพลง ตอน สัตว์ น้ำ ที่ มี เปลือก แข็ง และ ปลา) และ สาร พิษ นี้ มา จาก ดีดีที เป็น หลัก มี การ ตรวจ พบ ว่า มี สาร โลหะ หนัก เพิ่ม ขึ้น อย่าง มาก ใน บริเวณ ที่ มี การ คมนาคม ทาง เรือ หนา แน่น หรือ บริเวณ ที่ มี ประชากร อาศัย อยู่ มาก โดย เฉพาะ อย่าง ยิ่ง ใน บริเวณ ปลาย น้ำ จาก กรุง พนมเปญ และ ใน บริเวณ สามเหลี่ยม ปาก แม่น้ำ โขง การ พัฒนา อุตสาหกรรม ใน ลุ่ม แม่น้ำ โขง ตอน ล่าง นั้น ถือว่า ยัง อยู่ ใน ระดับ เริ่ม ต้น ถึง แม้ว่า จะ มี การ เติบโต ค่อน ข้าง รวดเร็ว คาด ว่า ความ ต้องการ ใช้ น้ำ ใน การ อุตสาหกรรม จะ เพิ่ม สูง ขึ้น อย่าง เห็น ได้ ชัด ในทศวรรษ หน้า สำหรับ ประเทศ ใน ลุ่ม แม่น้ำ โขง ตอน ล่าง โดย เฉ พาะ อย่าง ยิ่ง ประเทศ ลาว และ กัมพูชา ใน ประเทศ ลุ่ม แม่น้ำ โขง ตอน ล่าง นั้น มลพิษ ทาง น้ำ จาก แหล่ง อุตสาหกรรม สามารถ พบเห็น ได้ ชัด โดย เฉพาะ ใน นคร เวียงจันทน์ และ กรุง พนมเปญ สามารถ พบเห็น ได้ บ้าง ใน ภาค ตะวัน ออก เฉียง เหนือของ ประเทศไทย และ บริเวณ สามเหลี่ยม ปาก แม่น้ำ โขง โดย ทั่วไป แล้ว การ บำบัด น้ำ เสีย จาก ภาค อุตสาหกรรม ยัง อยู่ ใน ระดับ ที่ ต่ำ และ การ จัดการ ขยะ พิษ จาก อุตสาหกรรม ยัง ไม่มี ประสิทธิภาพ ขณะ นี้ มลพิษ ทาง น้ำ จาก ภาค อุตสาหกรรม ยัง หนา แน่น อยู่ ใน บริเวณ รอบๆ โรงงาน และ บริเวณ ปลาย น้ำ ของ ชุมชน เมือง หลักๆ คาด ว่า ปัญหา นี้ จะ เพิ่ม มาก ขึ้น ใน อนาคต ควบคู่ กับ การ ขยาย ตัว ของ ภาค อุตสาหกรรม
  • 16. 16 พื้นที่ ชุ่ม น้ำ พื้นที่ ชุ่ม น้ำ มี ความ สำคัญ อย่าง ยิ่ง ต่อ การ ดำเนิน ชีวิต ของ สรรพ สัตว์ ทั้ง หลาย ใน ลุ่ม น้ำ รวม ทั้ง การ พัฒนา สังคม และ เศรษฐกิจ ของ ภูมิภาค ตัว แม่น้ำ โขง เอง ลำน้ำ สาขา ห้วย ทะเลสาบ และ หนอง น้ำ ต่าง มี บทบาท ใน การ ค้ำจุน ระบบ นิเวศ ที่ มี ลักษณะ เฉพาะ เช่น แอ่ง น้ำ ลึก วัง ปลา ใน แม่น้ำ โขง ที่ รา บรีดส์ และ ป่า โกงกาง จาก การ ศึกษา เมื่อ เร็วๆ นี้ พบ ว่า ชาว ชนบท ใช้ ประโยชน์ จาก สัตว์ และ พืช นานา ชนิด ที่ หา ได้ ใน พื้นที่ ชุ่ม น้ำ ใน รอบ ฤดู กาล หนึ่งๆ ของ ระบบ นิเวศ นา ข้าว ของ ประเทศ กัมพูชา จีน ลาว และ เวียดนาม นั้น พบ ว่า จับ สัตว์ และ เก็บ พืช ต่างๆ ได้ มากมาย ปลา 145 ชนิด สัตว์ น้ำ ที่ มี เปลือก แข็ง 11 ชนิด หอย 15 ชนิด สัตว์ เลื้อย คลาน 13 ชนิด สัตว์ ครึ่ง บก ครึ่งน้ำ 11 ชนิด แมลง 11 ชนิด และ พืช อีก 37 ชนิด สัตว์ และ พืช เหล่า นี้ สามารถ เก็บ รวบรวม ได้ ใน สภาพ พื้นที่ ที่ หลาก หลาย ทั้ง ที่ เป็น แหล่ง อาศัย ที่ ถูก น้ำ ท่วม ถาวร หรือ ถูก น้ำ ท่วม ตาม ฤดูกาล เช่น แม่น้ำ ที่ มีน้ำ ไหล ตลอด ปี แอ่ง น้ำ หนอง น้ำ และ ป่า บุ่ง ป่า ทาม นอกจาก การ ใช้ ประโยชน์ โดยตรง ของ พื้นที่ ชุ่ม น้ำ ที่ ใช้ ใน การ ปลูก ข้าว และ การ จับ ปลา แล้ว พื้นที่ เหล่า นี้ ก็ ยัง มี ประโยชน์ ทาง อ้อม อีก มากมาย พื้นที่ ชุ่มน้ำ ทำ หน้าที่ กัก เก็บ น้ำ จาก น้ำ ท่วม ซึ่ง น้ำ ท่วม นี้ จะ เป็น อันตราย อย่าง ใหญ่ หลวง ใน ช่วง ฤดู ฝน อย่าง เช่น โตน เล สาป ใน ประเทศ กัมพูชาจะ ขยาย อาณา บริเวณ ของ มัน ถึง สี่ หรือ ห้า เท่า ใน ช่วง ฤดู ฝน ถ้า โตนเล สาปไม่ สามารถ กัก เก็บ น้ำ ได้ กรุง พนมเปญ ก็ จะ ถูก น้ำ ท่วม ทั้ง เมือง ทุก ปี เมือง ใหญ่ๆ หลาย เมือง ใน ลุ่ม แม่น้ำ รวม ทั้ง นครหลวง เวียงจันทน์ และ กรุง พนมเปญ ปล่อย น้ำ เสีย ลง สู่ พื้นที่ ชุ่มน้ำ ซึ่ง ก็ เป็นการ บำบัด น้ำ เสีย อย่าง มาก ก่อน ที่ น้ำ จะ ไหล รวม กันลง สู่ แม่น้ำ เนื่องจาก พื้นที่ ชุ่ม น้ำ เกิด ขึ้น ใน พื้นที่ รอย ต่อ ที่ มี การ เปลี่ยนแปลง จาก ระบบ นิเวศ น้ำ ซึ่ง ค่อยๆ เปลี่ยน ไป เป็น ระบบ นิเวศ บก ดัง นั้น ความ แตก ต่าง เพียง เล็ก น้อย ของ ปริมาณ ช่วง เวลา และ ระยะ ยาว ของ น้ำ จะ ก่อ ให้ เกิด การ เปลี่ยนแปลง อย่าง ใหญ่ หลวง ต่อ ธรรมชาติ ของ พื้นที่ ชุ่ม น้ำ กระบวนการรวม ทั้ง พืช และ สัตว์ ที่ มี ลักษณะ เฉพาะ
  • 17. 17 ความ หลาก หลาย ทาง ชีวภาพ สูง ลุ่ม แม่น้ำ โขง เป็น หนึ่ง ใน พื้นที่ ที่ มี ความ หลาก หลาย ทาง ชีวภาพ ที่ มาก ที่สุด แห่ง หนึ่ง ของ โลก และ เป็น หนึ่ง ใน พื้นที่ ที่ ถูก คุกคาม มาก ที่สุด แห่ง หนึ่ง ด้วย ระบบ นิเวศ ของ พื้นที่ ชุ่ม น้ำ และ ระบบ นิเวศ ป่า ของลุ่ม แม่น้ำ โขง นี้ เป็น แหล่ง ที่ อยู่ อาศัย ของ สัตว์ และ พืช ประจำ ถิ่น ที่ มี ลักษณะ เฉพาะ มากมาย หลาย ชนิด การ ประมาณ การ ครั้ง ล่าสุด ระบุ ว่า ภูมิภาค นี้ มี พันธุ์ พืช อยู่ 20,000 ชนิด สัตว์ เลี้ยง ลูก ด้วย นม 430 ชนิด นก 1,200 ชนิด สัตว์ เลื้อย คลาน และ สัตว์ ครึ่ง บก ครึ่ง น้ำ 800 ชนิด พันธุ์ ปลา อีก 850 ชนิด และ พันธุ์ พืช และ สัตว์ ใหม่ๆ ก็ ยัง ถูก ค้น พบ อีก เรื่อยๆ อย่างไร ก็ตาม การ เพิ่ม ขึ้น ของ จำนวน ประชากรและ รูปแบบ ของ การ บริโภค ที่ เพิ่ม ขึ้น นั้น สร้าง แรง กดดัน ให้ กับ สิ่ง แวดล้อม แหล่ง ที่ อยู่ ของ นก ที่ สำคัญ หลาย แห่ง ก็ เสื่อมโทรม ลง เนื่องจาก พื้นที่ ชุ่ม น้ำ นั้น แห้ง เหือด ลง การ แทะ เล็ม ของ สัตว์ มาก ไป การ เก็บ ดิน พีท (Peat Mining) การ ก่อสร้าง อ่าง เก็บ น้ำ การ ใช้ สาร กำจัด ศัตรู พืช ใน การ ทำการ เกษตร รวม ทั้ง การ เสื่ อม โทรม และ ทำให้ เกิด การ แยก กัน ของ ระบบ นิเวศ ส่วน การ ดำรงชีพ ของ นก เอง ก็ ถูก คุกคาม โดย การ เก็บ และ การ ล่า ไข่ นก ของ ชาว บ้าน เพื่อ ยังชีพ ส่วน พันธุ์ ปลา ใน แม่น้ำ โขง นั้น รวม ถึง ชนิด พันธุ์ ปลา ขนาด ใหญ่ บาง ชนิด มี สัญญาณ ให้ เห็น ว่า จำนวน ปลา ขนาด ใหญ่ กำลัง เริ่ม ลด น้อย ลง รวม ทั้ง ชนิด ที่ ถูก คุกคาม รุนแรง เช่น ปลา บึก (Pangasianodon gidas) การ คุกคาม เกิด ขึ้น ต่อ พันธุ์ ปลา ขนาด ใหญ่ ที่ ย้าย ถิ่น นี้ เกิด จาก การ พัฒนา โครงสร้าง พื้น ฐาน เช่นการ สร้าง เขื่อน ซึ่ง ก่อ ให้ เกิด การ เปลี่ยนแปลง การ ไหล ของ น้ำ ตาม ธรรมชาติ ของ แม่น้ำ และ ปิด กั้น เส้น ทาง ย้าย ถิ่น ของ ปลา และ เมื่อ ปลา ไม่ สามารถ อพยพ ขึ้น ลง ตาม ลำน้ำ แล้ว โอกาส ที่ มัน จะ แพร่ พันธุ์ ตาม ธรรมชาติ ก็ ลด ลง ด้วย ที่ราบ ลุ่ม แม่ โขง ตอน ล่าง ยัง สามารถ รักษา บาง แหล่ง ที่ อยู่ ให้ อยู่ ใน สภาพ ดั้งเดิม สำหรับ นก น้ำ ได้ โดย การ ที่ มัน ถูก ป้องกัน ไว้ ด้วย ชั้น ของ ป่า เต็ง รัง พื้นที่ ชุ่ม น้ำ ตาม ฤดูกาล ทุ่ง หญ้า และ แหล่ง ที่ อยู่ ตาม แม่น้ำ โตน เล สาป มี ความ สำคัญ ต่อ นก น้ำ ขนาด ใหญ่ มาก ใน ปี พ.ศ. 2549 รัฐบาล กัมพูชา ได้ จัดสรร ที่ดิน ที่ เป็น ทุ่ง หญ้า กว่า 258 ตาราง กิโลเมตร เพื่อ ป้องกัน แหล่ง นกน้ำอาศัย นี้ ไม่ ให้ กลาย เป็น นา ข้าว ถึง แม้ว่า แม่น้ำ โขง และ ลำน้ำ สาขา จะ ยัง ช่วย รักษา แหล่ง ที่ อยู่ อาศัย ริม น้ำ และ ชุมชน สอง สาม แหล่ง ที่ ยัง คง สภาพ เดิม ใน ภูมิภาค เอเชีย ตะวัน ออก เฉียง ใต้ พื้นที่ ชุ่ม น้ำ ที่ เป็น ที่ อยู่ ของ นก น้ำ ก็ ถูก มนุษย์ รุก ล้ำ ไป สร้าง ที่พัก อาศัย และ มี การ ใช้ เรือ ยนต์ เพื่อ กา รสัญจร นอกจาก นี้ พื้นที่ ชุ่ม น้ำ และ พื้นที่ ทุ่ง หญ้า บริเวณสามเหลี่ยม ปาก แม่น้ำ โขง ก็ ถูก คุกคาม โดย อุตสาหกรรม เกษตร ขนาด ใหญ่ ลุ่ม แม่น้ำ โขง เป็น บ้าน ของ สัตว์ ครึ่ง บก ครึ่ง น้ำ และ สัตว์ เลื้อย คลาน บาง พันธุ์ ที่ มี ความ พิเศษ แต่ ก็ ถูก คุกคาม เผ่า พันธุ์ ของ พวก มัน ถูก ทำลาย ไป มาก เต่า น้ำ และ เต่า ครึ่ง บก ครึ่ง น้ำ งู และ กิ้งก่า จำนวน มาก ถูก ล่า เพื่อ ยังชีพ และ ถูก จับ เพื่อ การ ค้า เป็น อาหาร และ ยา ตาม ตลาด ท้อง ถิ่น ที่ ประเทศ เวียดนาม มี การ ค้า สัตว์ เลื้อย คลาน มาก ที่สุด และ การ จับ สัตว์ เลื้อย คลาน เป็น จำนวน มาก นี้ ใน หลายๆ พื้นที่ ไม่มี ความ ยั่งยืน และ เป็นการ คุกคาม ต่อ การ ดำรง เผ่า พันธุ์ ของ สัตว์ บาง ชนิด อีก ด้วย