SlideShare una empresa de Scribd logo
1 de 21
Descargar para leer sin conexión
ศาสนาพุทธ
ศาสนาพุทธเป็นศาสนาประเภท อเทวนิ
ยม และเป็นศาสนาที่มีผู้นับถือมากศาสนาหนึงของ
                                        ่
โลก รองจากศาสนาคริสต์ ศาสนาอิสลาม และ
ศาสนาฮินดู
ประวัติความเป็นมา
        เริ่มตั้งแต่สมัยพุทธกาล ผู้ประกาศศาสนาและเป็นศาสดาของ
ศาสนาพุทธ คือพระสัมมาสัมพุทธเจ้า ทรงตรัสรู้เมื่อวันขึ้น 15 ค่่า
เดือนวิสาขะหรือเดือน 6 ณ ใต้ต้นพระศรีมหาโพธิ์ ต่าบลอุรุเวลาเสนา
นิคม แคว้นมคธ ประเทศอินเดีย 45 ปี ก่อนพุทธศักราช ปัจจุบัน
สถานที่นี้ เรียกว่า พุทธคยา อยู่ห่างจากเมืองคยาประมาณ 11
กิโลเมตร ประวัติความเป็นมาของพุทธศาสนาหลังจากการประกาศ
ศาสนา เริ่มจากการแพร่หลายไปทั่วอินเดีย หลังพุทธปรินิพพาน 100
ปี จึงแตกเป็นนิกายย่อย โดยนิกายที่ส่าคัญคือเถรวาทและมหายาน
พระสัมมาสัมพุทธเจ้า หรือ พระพุทธเจ้า
                     เป็นพระสมัญญานามที่ใช้เรียกพระบรมศาสดาของ
                     ศาสนาพุทธ พระพุทธศาสนาทั้งฝ่ายเถรวาทและ
                     มหายานต่างนับถือพระพุทธเจ้าว่าเป็นศาสดาของตน
                     เหมือนกันแต่รายละเอียดปลีกย่อยต่างกัน
                     ฝ่ายเถรวาทให้ความส่าคัญกับพระพุทธเจ้า
                     พระองค์ปัจจุบันคือ "พระโคตมพุทธเจ้า"
        ซึ่งเชื่อว่าเป็นพระองค์ที่ 4 ในภัททกัปนี้ และมีกล่าวถึงพระพุทธเจ้า
ในอดีตกับในอนาคตบ้างแต่ไม่ให้ความส่าคัญเท่า ฝ่ายมหายานนับถือ
พระพุทธเจ้าของฝ่ายเถรวาททั้งหมดและเชื่อว่านอกจากพระพุทธเจ้า 28
พระองค์ ที่ระบุในพุทธวงศ์ของพระไตรปิฎกภาษาบาลีแล้ว ยังมี
พระพุทธเจ้าอีกมากมายเพิ่มเติมขึ้นมาจากต่านานของเถรวาท
เป้าหมายสูงสุด
         เป้าหมายสูงสุดของพระพุทธศาสนา คือ ความ
หลุดพ้นจากทุกข์ทั้งปวงโดยสิ้นเชิง ดับภพชาติ หยุด
การเวียนว่ายตายเกิดเพราะเมื่อไม่เกิดอีกเราก็ไม่ต้อง
แก่ ไม่ต้องเจ็บ ไม่ต้องตายและไม่ต้องทุกข์กายทุกข์ใจ
อีกต่อไป เปรียบเหมือนกับมนุษย์เป็นสัตว์ที่ไม่มีหาง
จึงไม่รู้สึกเจ็บปวดเพราะหางเป็นเหตุอีกต่อไป
คัมภีร์ศาสนาพุทธ
พระไตรปิฎก
         ศาสนาทุกศาสนา ย่อมมีคมภีร์หรือต่าราทางศาสนาเป็นหลักในการสั่ง
                                 ั
สอนพระไตรปิฎก หรือที่เรียกในภาษาบาลีว่า ติปิฎกหรือเตปิฎกนั้น เป็นคัมภีร์
หรือต่าราทางพระพุทธศาสนาเช่นเดียวกับไตรเวท
         ซึ่งเป็นคัมภีร์ของศาสนาพราหมณ์ ไบเบิ้ลของศาสนาคริสต์ อัลกุรอาน
ของ ศาสนาอิสลาม พระพุทธเจ้าประทานพระพุทธโอวาทไว้มากหลายต่าง
กาลเวลา ต่างสถานที่กัน พระสงฆ์สาวกซึ่งท่องจ่าไว้ได้ ได้จัดระเบียบเป็น
หมวดหมู่เป็นปิฎกต่างๆ หลังจากพระศาสดานิพพานแล้วเพื่อเป็นหลัก
พระพุทธศาสนา ดังที่พระพุทธเจ้าตรัสกับพระอานนท์ว่า “ธรรมและวินัยที่เรา
แสดงแล้ว บัญญัติแล้วแก่ท่านทั้งหลาย ธรรมและวินัยนั้นจะเป็นศาสดาของ
ท่านทั้งหลาย เมื่อเราล่วงลับไป”
มีหลักฐานก่าหนดลงได้ว่าในสมัยพระพุทธเจ้ายังไม่มีค่าว่า “พระไตรปิฎก”
มีแต่ค่าว่า “ธรรมวินัย” ค่าว่า พระไตรปิฎก หรือ ติปิฎก ในภาษาบาลีนั้นเกิดขึ้น
มาภายหลังที่ทาสังคายนาแล้ว ค่าว่า พระไตรปิฎก กล่าวโดยรูปศัพท์
                ่
แปลว่า ๓ คัมภีร์ เมื่อแยกเป็นค่าๆ ว่า พระ+ไตร+ ปิฎก ค่าว่า “พระ”
เป็นค่าแสดงความเคารพหรือยกย่อง ค่าว่า “ไตร” แปลว่า ๓ ค่าว่า “ปิฎก”
แปลได้ ๒ อย่างคือ แปลว่าคัมภีร์หรือต่านานอย่างหนึ่ง แปลว่ากระจาด
หรือตะกร้าอย่างหนึ่ง ที่ แปลว่ากระจาดหรือตะกร้า หมายความว่าเป็นที่รวบรวม
ค่าสั่งสอนของพระพุทธเจ้าไว้เป็นหมวด หมู่ ไม่ให้กระจัดกระจาย คล้ายกระจาด
หรือตะกร้าอันเป็นภาชนะใส่ของ ฉะนั้น เมื่อทราบแล้วว่า ค่าว่าพระไตรปิฎก
แปลว่า ๓ คัมภีร์ หรือ ๓ ปิฎก จึงควรทราบต่อไปว่า ๓ ปิฎกนั้นแบ่งออกดังนี้
(๑) วินัยปิฎก - ว่าด้วยวินัยหรือศีลของภิกษุ ภิกษุณี
(๒) สุตตันตปิฎก - ว่าด้วยพระธรรม เทศนาทั่วๆ ไป
(๓) อภิธัมมปิฎก - ว่าด้วยธรรมะล้วนๆ หรือธรรมะที่ส่าคัญ.
ความเป็นมาของพระไตรปิฎก
       พระสาวก ๔ รูป ผู้มีส่วนเกี่ยวข้องกับประวัติความเป็นมาแห่ง
พระไตรปิฎก คือ
   ๑. พระอานนท์ เป็นโอรสของเจ้าชายสุกโกทนศากยะ ผู้เป็นพระอนุชาของ
       พระเจ้าสุทโธทนะพระพุทธบิดา ท่านออกบวชแล้วได้เป็นผู้ที่สงฆ์เลือก
       ให้ท่าหน้าที่เป็นพุทธอุปฐาก คือ ผู้รับใช้ใกล้ชิดพระพุทธเจ้า พระ
       อานนท์ทรงจ่าพระพุทธวจนะได้มาก ท่านจึงมีส่วนส่าคัญในการ
       รวบรวมค่าสั่งสอนของพระพุทธเจ้า แล้วจัดเป็นหมวดหมู่ต่างๆ สืบมา
       จนทุกวันนี้
๒. พระอุบาลี เคยเป็นพนักงานรักษาภูษามาลาอยู่ในราช
ส่านักแห่งกรุงกบิลพัสดุ์ ท่านออกบวช พร้อมกับพระอานนท์และราชกุมารอื่นๆ
โดยได้รับเลือกจากเจ้าชายเหล่านั้นให้อุบาลีบวชก่อน พวกตนจะได้กราบไหว้
อุบาลีตามพรรษาอายุเป็นการแก้ทิฐมานะตั้งแต่เริ่มแรกในการออกบวช
                                     ิ
ท่านมีความสนใจก่าหนดจดจ่าทางพระวินัยเป็นพิเศษ จนแม้พระพุทธเจ้าก็ทรง
สรรเสริญท่านด้วย ท่านจึงได้รับมอบหมายให้เป็นผู้ตอบค่าถามเกี่ยวกับวินัยปิฎก จึง
นับว่าท่านเป็นผู้มีส่วนเกี่ยวข้อง โดยตรงในการช่วยรวบรวมข้อพระวินัยต่างๆ ให้เป็น
หมวดหมู่เป็นหลักฐานมาจนทุกวันนี้
๓. พระโสณกุฏิกัณณะ ไม่ได้เกี่ยวข้องโดยตรงกับพระไตรปิฎก แต่ประวัติ
ของท่านมีส่วนเป็น หลักฐานในการท่องจ่าพระไตรปิฎก เรืองของท่านมีปรากฏใน
                                                        ่
พระสุตตันตปิฎกความว่า เดิมท่านเป็น อุบาสกคอยรับใช้พระมหากัจจานเถระ
แล้วบรรพชาเป็นสามเณรอยู่ ๓ ปี จึงได้อุปสมบทเป็นภิกษุ ต่อมา ท่านได้เดินทาง
ไปเฝ้าพระผู้มพระภาค ณ เชตวนาราม พระพุทธเจ้าตรัสเชิญให้พระโสณะกล่าว
                ี
ธรรม ซึ่งท่านได้กล่าวสูตรถึง ๑๖ สูตร อันปรากฏในอัฏฐกวัคค์จนจบ เมื่อจบแล้ว
พระพุทธเจ้าทรงอนุโมทนาสรรเสริญความทรงจ่า และท่วงท่านองในการกล่าว
เรื่องนี้เป็นตัวอย่างอันดีในเรื่องความเป็นมาแห่งพระไตรปิฎกว่าได้มีการท่องจ่ากัน
ตั้งแต่ ครั้งพระพุทธเจ้ายังทรงมีพระชนม์อยู่
๔. พระมหากัสสปะ เป็นผู้บวชเมื่ออายุสูง แม้ท่านไม่ใคร่สั่งสอนใคร แต่ก็
สั่งสอนคนในทางปฏิบัติ คือท่าตัวเป็นแบบอย่าง เมื่อพระศาสดาปรินิพพานแล้ว
ท่านได้เป็นหัวหน้าชักชวนพระสงฆ์ให้ท่าสังคายนาคือ ร้อยกรอง หรือจัดระเบียบ
พระวินัย นับว่าท่านเป็นผู้มีส่วนส่าคัญยิ่งในการท่าให้เกิดพระไตรปิฎก
หลักธรรมคาสอน

ธรรมส่าหรับการครองเรือนในชีวิตของบุคคลทั่วไป
สาระชีวิต หัวใจพระพุทธศาสนา
1. ไม่ท่าความชั่วทั้งปวง
2. ท่าความดีให้ถึงพร้อม
3. ท่าจิตใจให้บริสุทธิ์ผ่องใส
สาระชีวิต : ฆราวาสธรรม ๔

 คือ ธรรมส่าหรับการครองเรือนในชีวิตของบุคคลทั่วไปได้แก่
 1. สัจจะ คือ พูดจริงท่าจริงและซื่อตรง
2. ทมะ คือ ฝึกหัดแก้ไขปรับปรุง
3. ขันติ คือ อดทนตั้งใจและขยัน
4. จาคะ คือ เสียสละ
     สาระชีวิต : อิทธิบาท 4 หรือธรรมที่ช่วยให้สาเร็จในสิ่งที่ประสงค์

1. ฉันทะ คือ ความพอใจรักใคร่
2. วิริยะ คือ ความเพียร
3. จิตตะ คือ เอาใจฝักใฝ่ ไม่วางธุระ
4. วิมังสา คือ หมั่นตริตรอง พิจารณาเหตุผล
สาระชีวิต : ธรรมคุ้มครองโลก
    1. หิริ คือ ความละอายใจในการท่าบาป
    2. โอตตัปปะ คือ ความเกรงกลัวผลของการท่าชั่ว
     สาระชีวต : มรรคอันมีองค์ 8 นี้เป็นข้อปฏิบัติแบบสายกลาง
               ิ
(มัชฌิมาปฏิปทา)
    1. สัมมาทิฐิ คือ มีปัญญาอันเห็นชอบได้แก่การเห็นในอริยสัจ ๔ คือ
              — กข์
               - ทุ
              — ที่ท่าให้เกิดทุกข์ (สมุทย)
               - เหตุ                   ั
              — บทุกข์ (นิโรธ)
               - ความดั
              —อปฏิบัติให้ถึงความดับทุกข์ (มรรค)
               - ข้
2. สัมมาสังกัปปะ คือด่าริชอบ ได้แก่
             - ด่
             —าริที่จะออกจากกาม (เนกขัมมะ)
             - ด่
             —าริในการไม่พยาบาทปองร้ายผู้อื่น
             - ด่
             —าริในการไม่เบียดเบียนผู้อื่น
  สาระชีวิต : มรรคอันมีองค์ 8 นี้เป็นข้อปฏิบัติแบบสายกลาง (มัชฌิมาปฏิปทา)
ได้แก่
             3. สัมมาวาจา คือ เจรจาชอบ ได้แก่การเว้นจากวจีทุจริต 4 คือ
                  ไม่ประพฤติชั่วทางวาจาอันได้แก่
                          - ไม่
                          — พูดเท็จ
                          - ไม่
                          — พูดส่อเสียด ยุยงให้แตกร้าวกัน
                          - ไม่
                          — พูดค่าหยาบคาย
                          - ไม่
                          — พูดเพ้อเจ้อ เหลวไหลไร้สาระ
4. สัมมากัมมันตะ คือท่าการงานชอบโดยประกอบการงานที่ไม่ผิดประเพณี
ไม่ผิดกฎหมาย ไม่ผิด ศีลธรรม และเว้นจากการทุจริต 3 อย่าง ได้แก่
                         - การเบี
                         — ยดเบียนฆ่าสัตว์ตัดชีวิต
                         - การลั
                         — กขโมย และการฉ้อฉลคดโกง แกล้งท่าลายผู้อื่น
                         - การประพฤติผิดในกาม
                         —
 สาระชีวิต : มรรคอันมีองค์ 8 นี้เป็นข้อปฏิบัติแบบสายกลาง (มัชฌิมาปฏิปทา)
ได้แก่
             5. สัมมาอาชีวะ คือเลี้ยงชีวิตชอบได้แก่ การเว้นจากการเลี้ยงชีพ
ในทางที่ผิด การประกอบสัมมา
อาชีพคือ
             - เว้
             —นจากการค้าขายเครื่องประหารมนุษย์และสัตว์
             - เว้
             —นจากการค้าขายมนุษย์ไปเป็นทาส
             - เว้
             —นจากการค้าสัตว์ส่าหรับฆ่าเป็นอาหาร
             - เว้
             —นจากการค้าขายน้่าเมา
             - เว้
             —นจากการค้าขายยาพิษ
6. สัมมาวายามะ คือมีความเพียรชอบ 4 ประการได้แก่
             - เพี
             — ยรระวังมิให้บาปหรือความชั่วเกิดขึ้น
             - เพี
             — ยรละบาปหรือความชั่วที่เกิดขึ้นแล้ว
             - เพี
             — ยรท่ากุศลหรือความดีให้เกิดขึ้น
             - เพี
             — ยรรักษากุศลหรือความดีที่เกิดขึ้นแล้วให้คงอยู่
 สาระชีวิต : มรรคอันมีองค์ 8 นี้เป็นข้อปฏิบัติแบบสายกลาง (มัชฌิมาปฏิปทา) ได้แก่
7. สัมมาสติ คือระลึกชอบได้แก่ การระลึกวิปัฏฐานได้แก่ การ ระลึกในกาย เวทนา
จิตและธรรม 4 ประการคือ
         - พิจารณากาย ระลึกได้เมื่อรู้สึกสบายหรือไม่สบาย พิจารณาลมหายใจเข้าออก
         - พิ
         —จารณาเวทนา ระลึกได้เมื่อรู้สึกสุขหรือทุกข์ หรือเฉย ๆ มีราคะ โทสะ โมหะ
หรือไม่
         - พิจารณาจิต ระลึกได้ว่าจิตก่าลังเศร้าหมองหรือผ่องแผ้ว รู้เท่าทันความนึกคิด
         - พิจารณาธรรมให้เกิดปัญญา ระลึกได้ว่าอารมณ์อะไร ก่าลังผ่านเข้ามาในใจ
พุทธศาสนสถาน แปลโดยตรงได้ความว่า สถานที่ หรือสิ่งก่อสร้าง ซึ่ง
สร้างขึ้นเพื่อใช้ในกิจการ หรือเกี่ยวข้องกับ พระพุทธศาสนา ได้แก่
ส่านักสงฆ์ วัดวาอาราม โบสถ์ วิหาร เจดีย์ และสถูป เป็นต้น เป็นสถานที่ซึ่งใช้
ประกอบพิธีทางศาสนา เป็นที่พ่านักของพระภิกษุ เและเป็นอนุสรณ์ให้ระลึกถึง
คุณพระรัตนตรัย ซึ่งพุทธศาสนิกชนนิยมไปกราบไหว้บูชา และร่วมกิจกรรมต่างๆ
วัดวิหารอุโบสถเจดีย์
ศาสนพิธี
          หมายถึง ระเบียบแบบแผนหรือแบบอย่างที่ถือปฎิบัตในศาสนา
                                                             ิ
 เมื่อน่ามาใช้ในพระพุทธศาสนา จึงหมายถึงระเบียบแบบแผนหรือแบบ
อย่างที่พึงปฎิบัตในพระพุทธศาสนา ศาสนพิธีต่างๆช่วยท่าให้ความศรัทธาต่อพระ
                 ิ
พุทธศาสนิกชนมีความแน่นแฟ้นยิ่งขึ้นเป็นสิ่งตอกย้่าใจให้ระลึกถึงคุณของพระ
รัตนตรัยได้อย่างดีเยี่ยม จึงเป็นระเบียบแบบแผนอันดีงามที่ควรรักษาไว้คู่กับ
พระพุทธศาสนาตลอดไป
ศาสนพิธี เป็นพิธีกรรมทางศาสนาซึ่งถือปฏิบัติเป็นแบบอย่าง เป็นธรรมเนียมสืบ
ต่อกันมา เพื่อความเป็นระเบียบเรียบร้อยสวยงามเป็นแบบเดียวกัน
 เหตุให้เกิดศาสนพิธีนี้คือความนิยมท่าบุญของพุทธศาสนิกชนซึ่งไม่ว่าจะ
ปรารภเหตุอะไรท่ากัน ก็มักจะให้ตรงและครบตามหลักวิธีท่าบุญในทาง
พระพุทธศาสนา ซึ่งพระสัมมาสัมพุทธเจ้าทรงแนะแนวไว้ 3 หลัก คือ
     1. ทาน การบริจาควัตถุสิ่งของของตนเพื่อประโยชน์แก่ผู้อื่น
     2. ศีล การรักษากายวาจาให้สงบเรียบร้อย
     3. ภาวนา การยกระดับจิตให้สูงขึ้นด้วยการอบรมให้สงบนิ่งและ
ให้เกิดปัญญา
สมาชิกกลุ่ม

1. นางสาวอรญา รชตะโสฬส เลขที่ 18
2. นางสาวกัญจณ์ชญา สมหวัง เลขที่ 27
3. นางสาวกัญญาภัค โพธิยา เลขที่ 28
    ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6/13

Más contenido relacionado

La actualidad más candente

พระพุทธศาสนาวัชรยาน Vajrayana Buddhism
พระพุทธศาสนาวัชรยาน Vajrayana Buddhismพระพุทธศาสนาวัชรยาน Vajrayana Buddhism
พระพุทธศาสนาวัชรยาน Vajrayana Buddhism
Padvee Academy
 
ศาสนาสากล โดย ครูอัมพร
ศาสนาสากล                โดย ครูอัมพรศาสนาสากล                โดย ครูอัมพร
ศาสนาสากล โดย ครูอัมพร
ampy48
 
สัทธรรมปุณฑริกสูตร (The Lotus of The True Law)
สัทธรรมปุณฑริกสูตร (The Lotus of The True Law)สัทธรรมปุณฑริกสูตร (The Lotus of The True Law)
สัทธรรมปุณฑริกสูตร (The Lotus of The True Law)
Padvee Academy
 
เปรียบเทียบพุทธปรัชญาและปรัชญาลัทธิครูทั้ง ๖
เปรียบเทียบพุทธปรัชญาและปรัชญาลัทธิครูทั้ง ๖เปรียบเทียบพุทธปรัชญาและปรัชญาลัทธิครูทั้ง ๖
เปรียบเทียบพุทธปรัชญาและปรัชญาลัทธิครูทั้ง ๖
Anchalee BuddhaBucha
 
พุทธวิธีคลายเครียด
พุทธวิธีคลายเครียดพุทธวิธีคลายเครียด
พุทธวิธีคลายเครียด
Padvee Academy
 
แนวคิดเรื่องการพยากรณ์ในคัมภีร์พุทธศาสนา
แนวคิดเรื่องการพยากรณ์ในคัมภีร์พุทธศาสนาแนวคิดเรื่องการพยากรณ์ในคัมภีร์พุทธศาสนา
แนวคิดเรื่องการพยากรณ์ในคัมภีร์พุทธศาสนา
Padvee Academy
 
วิชาพระพุทธศาสนามหายาน ตอน นิกายโยคาจาร
วิชาพระพุทธศาสนามหายาน ตอน นิกายโยคาจารวิชาพระพุทธศาสนามหายาน ตอน นิกายโยคาจาร
วิชาพระพุทธศาสนามหายาน ตอน นิกายโยคาจาร
Padvee Academy
 
หลักธรรมทางพระพุทธศาสนา
หลักธรรมทางพระพุทธศาสนาหลักธรรมทางพระพุทธศาสนา
หลักธรรมทางพระพุทธศาสนา
primpatcha
 
ปรัชญาทั่วไป ตอน ปรัชญาอินเดีย
ปรัชญาทั่วไป ตอน ปรัชญาอินเดียปรัชญาทั่วไป ตอน ปรัชญาอินเดีย
ปรัชญาทั่วไป ตอน ปรัชญาอินเดีย
Padvee Academy
 
หลักธรรมทางพระพุทธศาสนา
หลักธรรมทางพระพุทธศาสนาหลักธรรมทางพระพุทธศาสนา
หลักธรรมทางพระพุทธศาสนา
magicgirl123
 
หลักธรรมพุทธศาสนา
หลักธรรมพุทธศาสนาหลักธรรมพุทธศาสนา
หลักธรรมพุทธศาสนา
kruudompcccr
 

La actualidad más candente (20)

ความรู้พื้นฐานและบ่อเกิดพุทธศาสนามหายาน
ความรู้พื้นฐานและบ่อเกิดพุทธศาสนามหายานความรู้พื้นฐานและบ่อเกิดพุทธศาสนามหายาน
ความรู้พื้นฐานและบ่อเกิดพุทธศาสนามหายาน
 
อัคคิวัจฉโคตตสูตร บ่อเกิดแนวคิดมหายาน
อัคคิวัจฉโคตตสูตร บ่อเกิดแนวคิดมหายานอัคคิวัจฉโคตตสูตร บ่อเกิดแนวคิดมหายาน
อัคคิวัจฉโคตตสูตร บ่อเกิดแนวคิดมหายาน
 
พระพุทธศาสนาวัชรยาน Vajrayana Buddhism
พระพุทธศาสนาวัชรยาน Vajrayana Buddhismพระพุทธศาสนาวัชรยาน Vajrayana Buddhism
พระพุทธศาสนาวัชรยาน Vajrayana Buddhism
 
วิชาพุทธปรัชญา : พื้นฐานพุทธปรัชญา
วิชาพุทธปรัชญา : พื้นฐานพุทธปรัชญาวิชาพุทธปรัชญา : พื้นฐานพุทธปรัชญา
วิชาพุทธปรัชญา : พื้นฐานพุทธปรัชญา
 
แผ่นพับวันมาฆบูชา
แผ่นพับวันมาฆบูชาแผ่นพับวันมาฆบูชา
แผ่นพับวันมาฆบูชา
 
ศาสนาสากล โดย ครูอัมพร
ศาสนาสากล                โดย ครูอัมพรศาสนาสากล                โดย ครูอัมพร
ศาสนาสากล โดย ครูอัมพร
 
สัทธรรมปุณฑริกสูตร (The Lotus of The True Law)
สัทธรรมปุณฑริกสูตร (The Lotus of The True Law)สัทธรรมปุณฑริกสูตร (The Lotus of The True Law)
สัทธรรมปุณฑริกสูตร (The Lotus of The True Law)
 
เปรียบเทียบพุทธปรัชญาและปรัชญาลัทธิครูทั้ง ๖
เปรียบเทียบพุทธปรัชญาและปรัชญาลัทธิครูทั้ง ๖เปรียบเทียบพุทธปรัชญาและปรัชญาลัทธิครูทั้ง ๖
เปรียบเทียบพุทธปรัชญาและปรัชญาลัทธิครูทั้ง ๖
 
พุทธศาสนามหายาน ตอน นิกายมาธยมิกะ
พุทธศาสนามหายาน ตอน นิกายมาธยมิกะพุทธศาสนามหายาน ตอน นิกายมาธยมิกะ
พุทธศาสนามหายาน ตอน นิกายมาธยมิกะ
 
พุทธวิธีคลายเครียด
พุทธวิธีคลายเครียดพุทธวิธีคลายเครียด
พุทธวิธีคลายเครียด
 
วันอาสาฬหบูชา
วันอาสาฬหบูชาวันอาสาฬหบูชา
วันอาสาฬหบูชา
 
แนวคิดเรื่องการพยากรณ์ในคัมภีร์พุทธศาสนา
แนวคิดเรื่องการพยากรณ์ในคัมภีร์พุทธศาสนาแนวคิดเรื่องการพยากรณ์ในคัมภีร์พุทธศาสนา
แนวคิดเรื่องการพยากรณ์ในคัมภีร์พุทธศาสนา
 
ชีวิตและผลงานของพระอนุรุทธะ
ชีวิตและผลงานของพระอนุรุทธะชีวิตและผลงานของพระอนุรุทธะ
ชีวิตและผลงานของพระอนุรุทธะ
 
ชีวประวัติและอุดมคติแห่งชีวิตของท่านพุทธทาสภิกขุ
ชีวประวัติและอุดมคติแห่งชีวิตของท่านพุทธทาสภิกขุชีวประวัติและอุดมคติแห่งชีวิตของท่านพุทธทาสภิกขุ
ชีวประวัติและอุดมคติแห่งชีวิตของท่านพุทธทาสภิกขุ
 
วิชาพระพุทธศาสนามหายาน ตอน นิกายโยคาจาร
วิชาพระพุทธศาสนามหายาน ตอน นิกายโยคาจารวิชาพระพุทธศาสนามหายาน ตอน นิกายโยคาจาร
วิชาพระพุทธศาสนามหายาน ตอน นิกายโยคาจาร
 
หลักธรรมทางพระพุทธศาสนา
หลักธรรมทางพระพุทธศาสนาหลักธรรมทางพระพุทธศาสนา
หลักธรรมทางพระพุทธศาสนา
 
พระพุทธศาสนา
พระพุทธศาสนาพระพุทธศาสนา
พระพุทธศาสนา
 
ปรัชญาทั่วไป ตอน ปรัชญาอินเดีย
ปรัชญาทั่วไป ตอน ปรัชญาอินเดียปรัชญาทั่วไป ตอน ปรัชญาอินเดีย
ปรัชญาทั่วไป ตอน ปรัชญาอินเดีย
 
หลักธรรมทางพระพุทธศาสนา
หลักธรรมทางพระพุทธศาสนาหลักธรรมทางพระพุทธศาสนา
หลักธรรมทางพระพุทธศาสนา
 
หลักธรรมพุทธศาสนา
หลักธรรมพุทธศาสนาหลักธรรมพุทธศาสนา
หลักธรรมพุทธศาสนา
 

Destacado

Jet5 presentation 07-2012
Jet5 presentation 07-2012Jet5 presentation 07-2012
Jet5 presentation 07-2012
Jet5
 
Digest jet5-n35-20-06-12
Digest jet5-n35-20-06-12Digest jet5-n35-20-06-12
Digest jet5-n35-20-06-12
Jet5
 
Digest jet5-n36-27-06-12
Digest jet5-n36-27-06-12Digest jet5-n36-27-06-12
Digest jet5-n36-27-06-12
Jet5
 
Digest jet5-n37-04-07-12
Digest jet5-n37-04-07-12Digest jet5-n37-04-07-12
Digest jet5-n37-04-07-12
Jet5
 

Destacado (17)

Pespsi
PespsiPespsi
Pespsi
 
Jet5 presentation 07-2012
Jet5 presentation 07-2012Jet5 presentation 07-2012
Jet5 presentation 07-2012
 
Tutorial english speakers
Tutorial english speakersTutorial english speakers
Tutorial english speakers
 
Jet5 portfolio-2012
Jet5 portfolio-2012Jet5 portfolio-2012
Jet5 portfolio-2012
 
Digest jet5-n35-20-06-12
Digest jet5-n35-20-06-12Digest jet5-n35-20-06-12
Digest jet5-n35-20-06-12
 
Progettazione e sviluppo di applicazioni web 2.0 con PHP e Ajax
Progettazione e sviluppo di applicazioni web 2.0 con PHP e AjaxProgettazione e sviluppo di applicazioni web 2.0 con PHP e Ajax
Progettazione e sviluppo di applicazioni web 2.0 con PHP e Ajax
 
Ecommerce World, WooCommerce
Ecommerce World, WooCommerceEcommerce World, WooCommerce
Ecommerce World, WooCommerce
 
Audio powerpoint
Audio powerpointAudio powerpoint
Audio powerpoint
 
Studio e caratterizzazione dell'impatto dei protocolli di routing sull'autono...
Studio e caratterizzazione dell'impatto dei protocolli di routing sull'autono...Studio e caratterizzazione dell'impatto dei protocolli di routing sull'autono...
Studio e caratterizzazione dell'impatto dei protocolli di routing sull'autono...
 
Resume
ResumeResume
Resume
 
Jet5 2012 brief-profile
Jet5 2012 brief-profileJet5 2012 brief-profile
Jet5 2012 brief-profile
 
Jet5 presentation 07-2012
Jet5 presentation 07-2012Jet5 presentation 07-2012
Jet5 presentation 07-2012
 
Digest jet5-n36-27-06-12
Digest jet5-n36-27-06-12Digest jet5-n36-27-06-12
Digest jet5-n36-27-06-12
 
Digest jet5-n37-04-07-12
Digest jet5-n37-04-07-12Digest jet5-n37-04-07-12
Digest jet5-n37-04-07-12
 
Le reti - Come il nostro PC è connesso con la Internet.
Le reti - Come il nostro PC è connesso con la Internet.Le reti - Come il nostro PC è connesso con la Internet.
Le reti - Come il nostro PC è connesso con la Internet.
 
Albañileria arq. morquecho
Albañileria arq. morquechoAlbañileria arq. morquecho
Albañileria arq. morquecho
 
Search Engine Optimisation Basics (SEO) for Business Owners & Corporates
Search Engine Optimisation Basics (SEO) for Business Owners & CorporatesSearch Engine Optimisation Basics (SEO) for Business Owners & Corporates
Search Engine Optimisation Basics (SEO) for Business Owners & Corporates
 

Similar a ส อการเร_ยนร__เร__องศาสนาพ_ทธ

แรงบันดาลใจจากความตาย
แรงบันดาลใจจากความตาย แรงบันดาลใจจากความตาย
แรงบันดาลใจจากความตาย
Maha Duangthip Dhamma
 
03ศาสนาเชน...ใหม่ 007
03ศาสนาเชน...ใหม่ 00703ศาสนาเชน...ใหม่ 007
03ศาสนาเชน...ใหม่ 007
Dream'Es W.c.
 
ติวศาสนา55
ติวศาสนา55ติวศาสนา55
ติวศาสนา55
Kwandjit Boonmak
 
โพชฌงค์ พุทธวิธีเสริมสุขภาพ
โพชฌงค์ พุทธวิธีเสริมสุขภาพโพชฌงค์ พุทธวิธีเสริมสุขภาพ
โพชฌงค์ พุทธวิธีเสริมสุขภาพ
Tongsamut vorasan
 
พระพรหมคุณาภรณ์ (ป.อ. ปยุตฺโต) โพชฌงค์ พุทธวิธีเสริมสุขภาพ
พระพรหมคุณาภรณ์ (ป.อ. ปยุตฺโต)   โพชฌงค์ พุทธวิธีเสริมสุขภาพพระพรหมคุณาภรณ์ (ป.อ. ปยุตฺโต)   โพชฌงค์ พุทธวิธีเสริมสุขภาพ
พระพรหมคุณาภรณ์ (ป.อ. ปยุตฺโต) โพชฌงค์ พุทธวิธีเสริมสุขภาพ
Tongsamut vorasan
 
Wansamkarn tippaya
Wansamkarn tippayaWansamkarn tippaya
Wansamkarn tippaya
tippaya6563
 
แนวคิดเรื่องกรรมและความจริงสูงสุดของศาสนาเชน
แนวคิดเรื่องกรรมและความจริงสูงสุดของศาสนาเชนแนวคิดเรื่องกรรมและความจริงสูงสุดของศาสนาเชน
แนวคิดเรื่องกรรมและความจริงสูงสุดของศาสนาเชน
Tongsamut vorasan
 
สุภีร์ ทุมทอง สติปัฏฐาน ๔ เสันทางตรงสู่พระนิพพาน
สุภีร์ ทุมทอง   สติปัฏฐาน ๔ เสันทางตรงสู่พระนิพพาน สุภีร์ ทุมทอง   สติปัฏฐาน ๔ เสันทางตรงสู่พระนิพพาน
สุภีร์ ทุมทอง สติปัฏฐาน ๔ เสันทางตรงสู่พระนิพพาน
Tongsamut vorasan
 
ศาสนาเปรียบเทียบ 1
ศาสนาเปรียบเทียบ 1ศาสนาเปรียบเทียบ 1
ศาสนาเปรียบเทียบ 1
thnaporn999
 
บทที่ 4 วิสุทธิ
บทที่ 4 วิสุทธิบทที่ 4 วิสุทธิ
บทที่ 4 วิสุทธิ
Onpa Akaradech
 
หลักการหรือคำสอนแห่งพระพุทธศาสนา
หลักการหรือคำสอนแห่งพระพุทธศาสนาหลักการหรือคำสอนแห่งพระพุทธศาสนา
หลักการหรือคำสอนแห่งพระพุทธศาสนา
New Nan
 

Similar a ส อการเร_ยนร__เร__องศาสนาพ_ทธ (20)

สาระสำคัญของศาสนา
สาระสำคัญของศาสนา สาระสำคัญของศาสนา
สาระสำคัญของศาสนา
 
แรงบันดาลใจจากความตาย
แรงบันดาลใจจากความตาย แรงบันดาลใจจากความตาย
แรงบันดาลใจจากความตาย
 
รวมหลักธรรมสำหรับท่องจำแบบย่อ ธศ ตรี
รวมหลักธรรมสำหรับท่องจำแบบย่อ ธศ ตรีรวมหลักธรรมสำหรับท่องจำแบบย่อ ธศ ตรี
รวมหลักธรรมสำหรับท่องจำแบบย่อ ธศ ตรี
 
ครูพัชราภรณ์ เหมือนรุ่ง
ครูพัชราภรณ์    เหมือนรุ่งครูพัชราภรณ์    เหมือนรุ่ง
ครูพัชราภรณ์ เหมือนรุ่ง
 
หลักธรรม ของ นักบริหาร
หลักธรรม ของ นักบริหารหลักธรรม ของ นักบริหาร
หลักธรรม ของ นักบริหาร
 
โครงงานรื่องผีเปรตและตำนานความเชื่อ
โครงงานรื่องผีเปรตและตำนานความเชื่อโครงงานรื่องผีเปรตและตำนานความเชื่อ
โครงงานรื่องผีเปรตและตำนานความเชื่อ
 
03ศาสนาเชน...ใหม่ 007
03ศาสนาเชน...ใหม่ 00703ศาสนาเชน...ใหม่ 007
03ศาสนาเชน...ใหม่ 007
 
ติวศาสนา55
ติวศาสนา55ติวศาสนา55
ติวศาสนา55
 
ติวศาสนา55
ติวศาสนา55ติวศาสนา55
ติวศาสนา55
 
โพชฌงค์ พุทธวิธีเสริมสุขภาพ
โพชฌงค์ พุทธวิธีเสริมสุขภาพโพชฌงค์ พุทธวิธีเสริมสุขภาพ
โพชฌงค์ พุทธวิธีเสริมสุขภาพ
 
พระพรหมคุณาภรณ์ (ป.อ. ปยุตฺโต) โพชฌงค์ พุทธวิธีเสริมสุขภาพ
พระพรหมคุณาภรณ์ (ป.อ. ปยุตฺโต)   โพชฌงค์ พุทธวิธีเสริมสุขภาพพระพรหมคุณาภรณ์ (ป.อ. ปยุตฺโต)   โพชฌงค์ พุทธวิธีเสริมสุขภาพ
พระพรหมคุณาภรณ์ (ป.อ. ปยุตฺโต) โพชฌงค์ พุทธวิธีเสริมสุขภาพ
 
Wansamkarn tippaya
Wansamkarn tippayaWansamkarn tippaya
Wansamkarn tippaya
 
คำนำทำ1
คำนำทำ1คำนำทำ1
คำนำทำ1
 
333
333333
333
 
แนวคิดเรื่องกรรมและความจริงสูงสุดของศาสนาเชน
แนวคิดเรื่องกรรมและความจริงสูงสุดของศาสนาเชนแนวคิดเรื่องกรรมและความจริงสูงสุดของศาสนาเชน
แนวคิดเรื่องกรรมและความจริงสูงสุดของศาสนาเชน
 
สุภีร์ ทุมทอง สติปัฏฐาน ๔ เสันทางตรงสู่พระนิพพาน
สุภีร์ ทุมทอง   สติปัฏฐาน ๔ เสันทางตรงสู่พระนิพพาน สุภีร์ ทุมทอง   สติปัฏฐาน ๔ เสันทางตรงสู่พระนิพพาน
สุภีร์ ทุมทอง สติปัฏฐาน ๔ เสันทางตรงสู่พระนิพพาน
 
ศาสนาเปรียบเทียบ 1
ศาสนาเปรียบเทียบ 1ศาสนาเปรียบเทียบ 1
ศาสนาเปรียบเทียบ 1
 
บทที่ 4 วิสุทธิ
บทที่ 4 วิสุทธิบทที่ 4 วิสุทธิ
บทที่ 4 วิสุทธิ
 
หลักการหรือคำสอนแห่งพระพุทธศาสนา
หลักการหรือคำสอนแห่งพระพุทธศาสนาหลักการหรือคำสอนแห่งพระพุทธศาสนา
หลักการหรือคำสอนแห่งพระพุทธศาสนา
 
สมุดประจำตัวสำหรับผู้เขาค่ายคุณธรรม
สมุดประจำตัวสำหรับผู้เขาค่ายคุณธรรมสมุดประจำตัวสำหรับผู้เขาค่ายคุณธรรม
สมุดประจำตัวสำหรับผู้เขาค่ายคุณธรรม
 

Más de Orraya Swager

ใบงานที่ 6 เรื่อง โครงงานประเภท“การทดลองทฤษฎี”
ใบงานที่ 6 เรื่อง โครงงานประเภท“การทดลองทฤษฎี”ใบงานที่ 6 เรื่อง โครงงานประเภท“การทดลองทฤษฎี”
ใบงานที่ 6 เรื่อง โครงงานประเภท“การทดลองทฤษฎี”
Orraya Swager
 
ใบงานที่ 7 เรื่อง โครงงานประเภท “การประยุกต์ใช้งาน”
ใบงานที่ 7 เรื่อง โครงงานประเภท “การประยุกต์ใช้งาน”ใบงานที่ 7 เรื่อง โครงงานประเภท “การประยุกต์ใช้งาน”
ใบงานที่ 7 เรื่อง โครงงานประเภท “การประยุกต์ใช้งาน”
Orraya Swager
 

Más de Orraya Swager (13)

Projectm6 2-2554
Projectm6 2-2554Projectm6 2-2554
Projectm6 2-2554
 
Projectm6 2-2554
Projectm6 2-2554Projectm6 2-2554
Projectm6 2-2554
 
K14
K14K14
K14
 
K13
K13K13
K13
 
K11
K11K11
K11
 
K10
K10K10
K10
 
K16
K16K16
K16
 
K15
K15K15
K15
 
K9
K9K9
K9
 
ใบงานที่ 6 เรื่อง โครงงานประเภท“การทดลองทฤษฎี”
ใบงานที่ 6 เรื่อง โครงงานประเภท“การทดลองทฤษฎี”ใบงานที่ 6 เรื่อง โครงงานประเภท“การทดลองทฤษฎี”
ใบงานที่ 6 เรื่อง โครงงานประเภท“การทดลองทฤษฎี”
 
ใบงานที่ 7 เรื่อง โครงงานประเภท “การประยุกต์ใช้งาน”
ใบงานที่ 7 เรื่อง โครงงานประเภท “การประยุกต์ใช้งาน”ใบงานที่ 7 เรื่อง โครงงานประเภท “การประยุกต์ใช้งาน”
ใบงานที่ 7 เรื่อง โครงงานประเภท “การประยุกต์ใช้งาน”
 
งานคอม
งานคอมงานคอม
งานคอม
 
ใบงานสำรวจตนเอง M6ok
ใบงานสำรวจตนเอง M6okใบงานสำรวจตนเอง M6ok
ใบงานสำรวจตนเอง M6ok
 

ส อการเร_ยนร__เร__องศาสนาพ_ทธ

  • 3. ประวัติความเป็นมา เริ่มตั้งแต่สมัยพุทธกาล ผู้ประกาศศาสนาและเป็นศาสดาของ ศาสนาพุทธ คือพระสัมมาสัมพุทธเจ้า ทรงตรัสรู้เมื่อวันขึ้น 15 ค่่า เดือนวิสาขะหรือเดือน 6 ณ ใต้ต้นพระศรีมหาโพธิ์ ต่าบลอุรุเวลาเสนา นิคม แคว้นมคธ ประเทศอินเดีย 45 ปี ก่อนพุทธศักราช ปัจจุบัน สถานที่นี้ เรียกว่า พุทธคยา อยู่ห่างจากเมืองคยาประมาณ 11 กิโลเมตร ประวัติความเป็นมาของพุทธศาสนาหลังจากการประกาศ ศาสนา เริ่มจากการแพร่หลายไปทั่วอินเดีย หลังพุทธปรินิพพาน 100 ปี จึงแตกเป็นนิกายย่อย โดยนิกายที่ส่าคัญคือเถรวาทและมหายาน
  • 4. พระสัมมาสัมพุทธเจ้า หรือ พระพุทธเจ้า เป็นพระสมัญญานามที่ใช้เรียกพระบรมศาสดาของ ศาสนาพุทธ พระพุทธศาสนาทั้งฝ่ายเถรวาทและ มหายานต่างนับถือพระพุทธเจ้าว่าเป็นศาสดาของตน เหมือนกันแต่รายละเอียดปลีกย่อยต่างกัน ฝ่ายเถรวาทให้ความส่าคัญกับพระพุทธเจ้า พระองค์ปัจจุบันคือ "พระโคตมพุทธเจ้า" ซึ่งเชื่อว่าเป็นพระองค์ที่ 4 ในภัททกัปนี้ และมีกล่าวถึงพระพุทธเจ้า ในอดีตกับในอนาคตบ้างแต่ไม่ให้ความส่าคัญเท่า ฝ่ายมหายานนับถือ พระพุทธเจ้าของฝ่ายเถรวาททั้งหมดและเชื่อว่านอกจากพระพุทธเจ้า 28 พระองค์ ที่ระบุในพุทธวงศ์ของพระไตรปิฎกภาษาบาลีแล้ว ยังมี พระพุทธเจ้าอีกมากมายเพิ่มเติมขึ้นมาจากต่านานของเถรวาท
  • 5. เป้าหมายสูงสุด เป้าหมายสูงสุดของพระพุทธศาสนา คือ ความ หลุดพ้นจากทุกข์ทั้งปวงโดยสิ้นเชิง ดับภพชาติ หยุด การเวียนว่ายตายเกิดเพราะเมื่อไม่เกิดอีกเราก็ไม่ต้อง แก่ ไม่ต้องเจ็บ ไม่ต้องตายและไม่ต้องทุกข์กายทุกข์ใจ อีกต่อไป เปรียบเหมือนกับมนุษย์เป็นสัตว์ที่ไม่มีหาง จึงไม่รู้สึกเจ็บปวดเพราะหางเป็นเหตุอีกต่อไป
  • 6. คัมภีร์ศาสนาพุทธ พระไตรปิฎก ศาสนาทุกศาสนา ย่อมมีคมภีร์หรือต่าราทางศาสนาเป็นหลักในการสั่ง ั สอนพระไตรปิฎก หรือที่เรียกในภาษาบาลีว่า ติปิฎกหรือเตปิฎกนั้น เป็นคัมภีร์ หรือต่าราทางพระพุทธศาสนาเช่นเดียวกับไตรเวท ซึ่งเป็นคัมภีร์ของศาสนาพราหมณ์ ไบเบิ้ลของศาสนาคริสต์ อัลกุรอาน ของ ศาสนาอิสลาม พระพุทธเจ้าประทานพระพุทธโอวาทไว้มากหลายต่าง กาลเวลา ต่างสถานที่กัน พระสงฆ์สาวกซึ่งท่องจ่าไว้ได้ ได้จัดระเบียบเป็น หมวดหมู่เป็นปิฎกต่างๆ หลังจากพระศาสดานิพพานแล้วเพื่อเป็นหลัก พระพุทธศาสนา ดังที่พระพุทธเจ้าตรัสกับพระอานนท์ว่า “ธรรมและวินัยที่เรา แสดงแล้ว บัญญัติแล้วแก่ท่านทั้งหลาย ธรรมและวินัยนั้นจะเป็นศาสดาของ ท่านทั้งหลาย เมื่อเราล่วงลับไป”
  • 7. มีหลักฐานก่าหนดลงได้ว่าในสมัยพระพุทธเจ้ายังไม่มีค่าว่า “พระไตรปิฎก” มีแต่ค่าว่า “ธรรมวินัย” ค่าว่า พระไตรปิฎก หรือ ติปิฎก ในภาษาบาลีนั้นเกิดขึ้น มาภายหลังที่ทาสังคายนาแล้ว ค่าว่า พระไตรปิฎก กล่าวโดยรูปศัพท์ ่ แปลว่า ๓ คัมภีร์ เมื่อแยกเป็นค่าๆ ว่า พระ+ไตร+ ปิฎก ค่าว่า “พระ” เป็นค่าแสดงความเคารพหรือยกย่อง ค่าว่า “ไตร” แปลว่า ๓ ค่าว่า “ปิฎก” แปลได้ ๒ อย่างคือ แปลว่าคัมภีร์หรือต่านานอย่างหนึ่ง แปลว่ากระจาด หรือตะกร้าอย่างหนึ่ง ที่ แปลว่ากระจาดหรือตะกร้า หมายความว่าเป็นที่รวบรวม ค่าสั่งสอนของพระพุทธเจ้าไว้เป็นหมวด หมู่ ไม่ให้กระจัดกระจาย คล้ายกระจาด หรือตะกร้าอันเป็นภาชนะใส่ของ ฉะนั้น เมื่อทราบแล้วว่า ค่าว่าพระไตรปิฎก แปลว่า ๓ คัมภีร์ หรือ ๓ ปิฎก จึงควรทราบต่อไปว่า ๓ ปิฎกนั้นแบ่งออกดังนี้ (๑) วินัยปิฎก - ว่าด้วยวินัยหรือศีลของภิกษุ ภิกษุณี (๒) สุตตันตปิฎก - ว่าด้วยพระธรรม เทศนาทั่วๆ ไป (๓) อภิธัมมปิฎก - ว่าด้วยธรรมะล้วนๆ หรือธรรมะที่ส่าคัญ.
  • 8. ความเป็นมาของพระไตรปิฎก พระสาวก ๔ รูป ผู้มีส่วนเกี่ยวข้องกับประวัติความเป็นมาแห่ง พระไตรปิฎก คือ ๑. พระอานนท์ เป็นโอรสของเจ้าชายสุกโกทนศากยะ ผู้เป็นพระอนุชาของ พระเจ้าสุทโธทนะพระพุทธบิดา ท่านออกบวชแล้วได้เป็นผู้ที่สงฆ์เลือก ให้ท่าหน้าที่เป็นพุทธอุปฐาก คือ ผู้รับใช้ใกล้ชิดพระพุทธเจ้า พระ อานนท์ทรงจ่าพระพุทธวจนะได้มาก ท่านจึงมีส่วนส่าคัญในการ รวบรวมค่าสั่งสอนของพระพุทธเจ้า แล้วจัดเป็นหมวดหมู่ต่างๆ สืบมา จนทุกวันนี้
  • 9. ๒. พระอุบาลี เคยเป็นพนักงานรักษาภูษามาลาอยู่ในราช ส่านักแห่งกรุงกบิลพัสดุ์ ท่านออกบวช พร้อมกับพระอานนท์และราชกุมารอื่นๆ โดยได้รับเลือกจากเจ้าชายเหล่านั้นให้อุบาลีบวชก่อน พวกตนจะได้กราบไหว้ อุบาลีตามพรรษาอายุเป็นการแก้ทิฐมานะตั้งแต่เริ่มแรกในการออกบวช ิ ท่านมีความสนใจก่าหนดจดจ่าทางพระวินัยเป็นพิเศษ จนแม้พระพุทธเจ้าก็ทรง สรรเสริญท่านด้วย ท่านจึงได้รับมอบหมายให้เป็นผู้ตอบค่าถามเกี่ยวกับวินัยปิฎก จึง นับว่าท่านเป็นผู้มีส่วนเกี่ยวข้อง โดยตรงในการช่วยรวบรวมข้อพระวินัยต่างๆ ให้เป็น หมวดหมู่เป็นหลักฐานมาจนทุกวันนี้
  • 10. ๓. พระโสณกุฏิกัณณะ ไม่ได้เกี่ยวข้องโดยตรงกับพระไตรปิฎก แต่ประวัติ ของท่านมีส่วนเป็น หลักฐานในการท่องจ่าพระไตรปิฎก เรืองของท่านมีปรากฏใน ่ พระสุตตันตปิฎกความว่า เดิมท่านเป็น อุบาสกคอยรับใช้พระมหากัจจานเถระ แล้วบรรพชาเป็นสามเณรอยู่ ๓ ปี จึงได้อุปสมบทเป็นภิกษุ ต่อมา ท่านได้เดินทาง ไปเฝ้าพระผู้มพระภาค ณ เชตวนาราม พระพุทธเจ้าตรัสเชิญให้พระโสณะกล่าว ี ธรรม ซึ่งท่านได้กล่าวสูตรถึง ๑๖ สูตร อันปรากฏในอัฏฐกวัคค์จนจบ เมื่อจบแล้ว พระพุทธเจ้าทรงอนุโมทนาสรรเสริญความทรงจ่า และท่วงท่านองในการกล่าว เรื่องนี้เป็นตัวอย่างอันดีในเรื่องความเป็นมาแห่งพระไตรปิฎกว่าได้มีการท่องจ่ากัน ตั้งแต่ ครั้งพระพุทธเจ้ายังทรงมีพระชนม์อยู่
  • 11. ๔. พระมหากัสสปะ เป็นผู้บวชเมื่ออายุสูง แม้ท่านไม่ใคร่สั่งสอนใคร แต่ก็ สั่งสอนคนในทางปฏิบัติ คือท่าตัวเป็นแบบอย่าง เมื่อพระศาสดาปรินิพพานแล้ว ท่านได้เป็นหัวหน้าชักชวนพระสงฆ์ให้ท่าสังคายนาคือ ร้อยกรอง หรือจัดระเบียบ พระวินัย นับว่าท่านเป็นผู้มีส่วนส่าคัญยิ่งในการท่าให้เกิดพระไตรปิฎก
  • 13. สาระชีวิต : ฆราวาสธรรม ๔ คือ ธรรมส่าหรับการครองเรือนในชีวิตของบุคคลทั่วไปได้แก่ 1. สัจจะ คือ พูดจริงท่าจริงและซื่อตรง 2. ทมะ คือ ฝึกหัดแก้ไขปรับปรุง 3. ขันติ คือ อดทนตั้งใจและขยัน 4. จาคะ คือ เสียสละ สาระชีวิต : อิทธิบาท 4 หรือธรรมที่ช่วยให้สาเร็จในสิ่งที่ประสงค์ 1. ฉันทะ คือ ความพอใจรักใคร่ 2. วิริยะ คือ ความเพียร 3. จิตตะ คือ เอาใจฝักใฝ่ ไม่วางธุระ 4. วิมังสา คือ หมั่นตริตรอง พิจารณาเหตุผล
  • 14. สาระชีวิต : ธรรมคุ้มครองโลก 1. หิริ คือ ความละอายใจในการท่าบาป 2. โอตตัปปะ คือ ความเกรงกลัวผลของการท่าชั่ว สาระชีวต : มรรคอันมีองค์ 8 นี้เป็นข้อปฏิบัติแบบสายกลาง ิ (มัชฌิมาปฏิปทา) 1. สัมมาทิฐิ คือ มีปัญญาอันเห็นชอบได้แก่การเห็นในอริยสัจ ๔ คือ — กข์ - ทุ — ที่ท่าให้เกิดทุกข์ (สมุทย) - เหตุ ั — บทุกข์ (นิโรธ) - ความดั —อปฏิบัติให้ถึงความดับทุกข์ (มรรค) - ข้
  • 15. 2. สัมมาสังกัปปะ คือด่าริชอบ ได้แก่ - ด่ —าริที่จะออกจากกาม (เนกขัมมะ) - ด่ —าริในการไม่พยาบาทปองร้ายผู้อื่น - ด่ —าริในการไม่เบียดเบียนผู้อื่น สาระชีวิต : มรรคอันมีองค์ 8 นี้เป็นข้อปฏิบัติแบบสายกลาง (มัชฌิมาปฏิปทา) ได้แก่ 3. สัมมาวาจา คือ เจรจาชอบ ได้แก่การเว้นจากวจีทุจริต 4 คือ ไม่ประพฤติชั่วทางวาจาอันได้แก่ - ไม่ — พูดเท็จ - ไม่ — พูดส่อเสียด ยุยงให้แตกร้าวกัน - ไม่ — พูดค่าหยาบคาย - ไม่ — พูดเพ้อเจ้อ เหลวไหลไร้สาระ
  • 16. 4. สัมมากัมมันตะ คือท่าการงานชอบโดยประกอบการงานที่ไม่ผิดประเพณี ไม่ผิดกฎหมาย ไม่ผิด ศีลธรรม และเว้นจากการทุจริต 3 อย่าง ได้แก่ - การเบี — ยดเบียนฆ่าสัตว์ตัดชีวิต - การลั — กขโมย และการฉ้อฉลคดโกง แกล้งท่าลายผู้อื่น - การประพฤติผิดในกาม — สาระชีวิต : มรรคอันมีองค์ 8 นี้เป็นข้อปฏิบัติแบบสายกลาง (มัชฌิมาปฏิปทา) ได้แก่ 5. สัมมาอาชีวะ คือเลี้ยงชีวิตชอบได้แก่ การเว้นจากการเลี้ยงชีพ ในทางที่ผิด การประกอบสัมมา อาชีพคือ - เว้ —นจากการค้าขายเครื่องประหารมนุษย์และสัตว์ - เว้ —นจากการค้าขายมนุษย์ไปเป็นทาส - เว้ —นจากการค้าสัตว์ส่าหรับฆ่าเป็นอาหาร - เว้ —นจากการค้าขายน้่าเมา - เว้ —นจากการค้าขายยาพิษ
  • 17. 6. สัมมาวายามะ คือมีความเพียรชอบ 4 ประการได้แก่ - เพี — ยรระวังมิให้บาปหรือความชั่วเกิดขึ้น - เพี — ยรละบาปหรือความชั่วที่เกิดขึ้นแล้ว - เพี — ยรท่ากุศลหรือความดีให้เกิดขึ้น - เพี — ยรรักษากุศลหรือความดีที่เกิดขึ้นแล้วให้คงอยู่ สาระชีวิต : มรรคอันมีองค์ 8 นี้เป็นข้อปฏิบัติแบบสายกลาง (มัชฌิมาปฏิปทา) ได้แก่ 7. สัมมาสติ คือระลึกชอบได้แก่ การระลึกวิปัฏฐานได้แก่ การ ระลึกในกาย เวทนา จิตและธรรม 4 ประการคือ - พิจารณากาย ระลึกได้เมื่อรู้สึกสบายหรือไม่สบาย พิจารณาลมหายใจเข้าออก - พิ —จารณาเวทนา ระลึกได้เมื่อรู้สึกสุขหรือทุกข์ หรือเฉย ๆ มีราคะ โทสะ โมหะ หรือไม่ - พิจารณาจิต ระลึกได้ว่าจิตก่าลังเศร้าหมองหรือผ่องแผ้ว รู้เท่าทันความนึกคิด - พิจารณาธรรมให้เกิดปัญญา ระลึกได้ว่าอารมณ์อะไร ก่าลังผ่านเข้ามาในใจ
  • 18. พุทธศาสนสถาน แปลโดยตรงได้ความว่า สถานที่ หรือสิ่งก่อสร้าง ซึ่ง สร้างขึ้นเพื่อใช้ในกิจการ หรือเกี่ยวข้องกับ พระพุทธศาสนา ได้แก่ ส่านักสงฆ์ วัดวาอาราม โบสถ์ วิหาร เจดีย์ และสถูป เป็นต้น เป็นสถานที่ซึ่งใช้ ประกอบพิธีทางศาสนา เป็นที่พ่านักของพระภิกษุ เและเป็นอนุสรณ์ให้ระลึกถึง คุณพระรัตนตรัย ซึ่งพุทธศาสนิกชนนิยมไปกราบไหว้บูชา และร่วมกิจกรรมต่างๆ วัดวิหารอุโบสถเจดีย์
  • 19. ศาสนพิธี หมายถึง ระเบียบแบบแผนหรือแบบอย่างที่ถือปฎิบัตในศาสนา ิ เมื่อน่ามาใช้ในพระพุทธศาสนา จึงหมายถึงระเบียบแบบแผนหรือแบบ อย่างที่พึงปฎิบัตในพระพุทธศาสนา ศาสนพิธีต่างๆช่วยท่าให้ความศรัทธาต่อพระ ิ พุทธศาสนิกชนมีความแน่นแฟ้นยิ่งขึ้นเป็นสิ่งตอกย้่าใจให้ระลึกถึงคุณของพระ รัตนตรัยได้อย่างดีเยี่ยม จึงเป็นระเบียบแบบแผนอันดีงามที่ควรรักษาไว้คู่กับ พระพุทธศาสนาตลอดไป
  • 20. ศาสนพิธี เป็นพิธีกรรมทางศาสนาซึ่งถือปฏิบัติเป็นแบบอย่าง เป็นธรรมเนียมสืบ ต่อกันมา เพื่อความเป็นระเบียบเรียบร้อยสวยงามเป็นแบบเดียวกัน เหตุให้เกิดศาสนพิธีนี้คือความนิยมท่าบุญของพุทธศาสนิกชนซึ่งไม่ว่าจะ ปรารภเหตุอะไรท่ากัน ก็มักจะให้ตรงและครบตามหลักวิธีท่าบุญในทาง พระพุทธศาสนา ซึ่งพระสัมมาสัมพุทธเจ้าทรงแนะแนวไว้ 3 หลัก คือ 1. ทาน การบริจาควัตถุสิ่งของของตนเพื่อประโยชน์แก่ผู้อื่น 2. ศีล การรักษากายวาจาให้สงบเรียบร้อย 3. ภาวนา การยกระดับจิตให้สูงขึ้นด้วยการอบรมให้สงบนิ่งและ ให้เกิดปัญญา
  • 21. สมาชิกกลุ่ม 1. นางสาวอรญา รชตะโสฬส เลขที่ 18 2. นางสาวกัญจณ์ชญา สมหวัง เลขที่ 27 3. นางสาวกัญญาภัค โพธิยา เลขที่ 28 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6/13