SlideShare una empresa de Scribd logo
1 de 72
 นศ.331          การผลิต รายการวิท ยุก ระจาย
                          เสีย ง 
 ภาพรวมของสื่อ วิท ยุใ นปัจ จุบ ัน
       สื่อวิทยุมีบทบาทสำาคัญมากในปัจจุบัน เพราะสามารถเข้าถึงคนได้
จำานวนมาก ๆ พร้อม ๆ กัน ทำาให้กลายเป็นสื่อมวลชนที่สำาคัญที่มีคนต้องการ
ใช้เป็นสื่อกลางในการดำาเนินกิจการ เพื่อเผยแพร่ประชาสัมพันธ์ และเป็น
เครื่องมือในการสื่อสารองค์กร ไม่ว่าจะเป็นภาคราชการ ธุรกิจเอกชน ก็ตาม
หากจำาแนกสถานีวิทยุตามลักษณะของเป้าหมายและประเภทของการ
ประกอบการนั้น หลักเกณฑ์สำาคัญในการจำาแนกประเภทอยู่ที่เรื่องเป้าหมาย
ขององค์กร ทั้งในด้านเศรษฐกิจ การเมือง และวัฒนธรรม และที่มาของราย
ได้ แบ่งได้ 5 ประเภท
 ประเภทการ
                   เป้า หมายของสถานีว ิท ยุ                ที่ม าของรายได้แ ละลัก ษณะส
 ประกอบการ
วิท ยุข องรัฐ      * รักษาประโยชน์ของชาติ         * รายได้จากงบประมาณ
(state radio)      * รักษาความมั่นคงของ           * เป็นเครื่องมือในการโฆษณาชวนเชื่อของ
                   รัฐบาลและรัฐ                   * ถูกใช้ในการแสวงหาประโยชน์อื่น ๆ



วิท ยุใ ต้ด ิน     * ต่อต้านรัฐบาล/รัฐ            * รายได้จากกลุ่มต่อต้านรัฐหรือองค์กรสนับ
(undergroun        * ต่อต้านวิทยุกระแสหลัก        * ผิดกฎหมาย ต้องดำาเนินการแบบไม่เปิดเผ
d radio)           * สร้างพื้นที่อิสระของตนเอง
                   เพื่อตอบสนองสิทธิ เสรีภาพ
                   ในการพูด แสดงความคิดเห็น




วิท ยุข องชุม ชน   * รักษาประโยชน์ของชุมชน        * รายได้จากสมาชิก ,เงินบริจาค กองทุนขอ
(community         * ไม่แสวงหากำาไร               จากองค์กรสาธารณะ โฆษณา
radio)                                            * กลุ่มองค์กรชุมชนเป็นเจ้าของและดำาเนินก
                                                  ร่วมสูง




วิท ยุข อง         * รักษาประโยชน์ของ             * รายได้จากภาษีเครื่องรับ


                        นศ.331 การผลิตรายการวิทยุกระจายเสียง/อ.อุดมวิทย์ นักดนตรี
2


 ประเภทการ
                  เป้า หมายของสถานีว ิท ยุ                   ที่ม าของรายได้แ ละลัก ษณะส
 ประกอบการ
สาธารณะ หรือ      สาธารณะ ขององค์กร หรือ            * รายได้จากงบประมาณ
วิท ยุบ ริก าร    สถาบันการศึกษา                    * รายได้จากส่วนแบ่งรายได้ของวิทยุ/โทรท
สาธารณะ           * มุ่งรักษาบรรทัดฐานทาง           *ไม่มีโฆษณา
(public           วัฒนธรรมของสังคม                  * องค์กรของรัฐเป็นเจ้าของและมีการดำาเนิน
service radio)    * ไม่แสวงหากำาไร                  จากการแทรกแซงหรือควบคุมของรัฐ
วิท ยุข อง        * รักษาประโยชน์ของธุรกิจ          * รายได้จากค่าโฆษณา
เอกชน หรือ        เอกชน                             * รายได้จากการขาย /ให้เช่าเวลา
วิท ยุเ ชิง       * มุ่งแสวงหากำาไรจากการ           * รายได้จากการขายผลิตภัณฑ์ที่สืบเนื่องจ
พาณิช ย์          ประกอบธุรกิจ
(commercial
radio)
สถานีว ิท ยุข องรัฐ
       วิทยุของรัฐมีเครือข่ายให้อยู่ 3 เครือข่าย คือ เครือข่ายวิทยุกระจาย
เสียงแห่งประเทศไทย ของกรมประชาสัมพันธ์ เครือข่ายวิทยุ อ.ส.ม.ท. ซึ่งมี
พันธกิจในด้านการสื่อสารมวลชน และเครือข่ายวิทยุของกองทัพต่าง ๆ ซึ่ง
ก่อตั้งขึ้นเพื่อดำาเนินการด้านความมั่นคง
       1. เครือ ข่า ยวิท ยุก ระจายเสีย งแห่ง ประเทศไทย (สวท.)
       ปัจจุบันกรมประชาสัมพันธ์มีเครือข่ายวิทยุกระจายเสียงแห่ง
ประเทศไทย 147 สถานี แบ่งเป็น ระบบเอเอ็ม 60 สถานี และระบบเอฟเอ็ม
87 สถานี (ไม่รวมคลื่นสั้นอีก 5 สถานี)
       ปัจจุบันแบ่งรายการออกอากาศเป็น 7 เครือข่าย ทั้งนี้เพื่อมุ่งเน้น
เนื้อหาให้เหมาะกับกลุ่มผู้ฟังเฉพาะกลุ่ม คือ
           • สวท.1 เครือข่ายแห่งชาติ หรือเครือข่ายเพื่อข้อมูลข่าวสารแห่ง
               รัฐและประชาชน (เอเอ็ม 891 เป็นแม่ข่าย ลูกข่ายเป็นเอเอ็ม 16
               สถานีทั่วประเทศ กลุ่มผู้ฟังเป้าหมาย คือ ผู้นำาทางสังคมทุกระดับ
               เครือข่ายนี้สถานีลูกข่ายจะผลิตรายการเองร้อยละ 20
           • สวท.2 เครือข่ายเพื่อการถ่ายทอดสด หรือเครือข่ายเพื่อส่งเสริม
               การปกครองระบอบประชาธิปไตย และส่งเสริมอาชีพ มีเอเอ็ม
               819 เป็นแม่ข่าย ส่วนลูกข่ายเป็นเอเอ็ม 27 สถานีทั่วประเทศ
               กลุ่มผู้ฟังเป้าหมาย คือ ประชาชนทั่วไป เกษตรกร และผู้ใช้
               แรงงาน เครือข่ายนี้สถานีลูกข่ายจะผลิตรายการเองร้อยละ 40
           • สวท.3 เครือข่ายเพื่อการท่องเที่ยว การกีฬา ศาสนา
               วัฒนธรรม หรือเครือข่ายเพื่อการพัฒนาคุณภาพชีวิตและสังคม
               มีคลื่นเอฟเอ็ม 92.5 เป็นแม่ข่าย ส่วนลูกข่ายเป็นเอฟเอ็ม 54
               สถานีทั่วประเทศ กลุ่มผู้ฟังเป้าหมาย คือ คนรุ่นใหม่ คนวัย
               ทำางาน เครือข่ายนี้สถานีลูกข่ายจะผลิตรายการเองร้อยละ 50



                        การผลิตรายการวิทยุกระจายเสียงเบื้องต้น/อ.ศราณี เวศยาสิรินทร์
3


         •  สวท.4 เครือข่ายเพื่อการศึกษา หรือ สวศ. ในปัจจุบัน เอเอ็ม
            1467 เป็นแม่ข่าย ส่วนลูกข่ายมีระบบเอเอ็ม 8 สถานี และเอฟ
            เอ็ม 2 สถานี กลุ่มผู้ฟังเป้าหมาย คือ นักเรียน นักศึกษา และผู้ที่
            สนใจด้านการศึกษา
         • สวท.5 เครือข่ายเพื่อข้อมูลข่าวสาร บริการจังหวัด หรือ สถานี
            วิทยุประจำาจังหวัดมีทั้งหมด 25 จังหวัด เป็นจังหวัดที่มีคุณสมบัติ
            อย่างใดอย่างหนึ่งเด่นชัดในการคัดเลือก เช่น เป็นจังหวัด CEO
            และจังหวัดเปรียบเทียบ จังหวัดท่องเที่ยว จังหวัดชายแดน
            จังหวัดที่มีศักยภาพทางด้านเศรษฐกิจ สังคม การเมือง เครือข่าย
            นี้มีระบบเอฟเอ็ม 23 สถานี เอเอ็ม 2 สถานี ถ่ายทอดข่าวและ
            รายการจากเอฟเอ็ม 92.5 ร้อยละ 50 และเป็นเครือข่ายนำาร่อง
         • สวท.6 เครือข่ายภาคภาษาต่างประเทศ – ในประเทศ มี
            ทั้งหมด 4 สถานี กลุ่มผู้ฟังเป้าหมาย คือ ชาวต่างชาติที่อาศัยอยู่
            ในประเทศไทย และพื้นที่ตะเข็บชายแดนลาว กัมพูชา พม่า เพื่อ
            สร้างความเข้าใจอันดี และส่งเสริมภาพลักษณ์ประเทศไทย
         • สวท.7 เครือข่ายคลื่นสั้นระหว่างประเทศ มี 2 สถานี ออก
            อากาศ 12 ภาษา โดยมีกลุ่มเป้าหมาย คือชาวต่างชาติ ณ
            ประเทศต่าง ๆ ทั่วโลก มีวัตถุประสงค์เพื่อชักจูงนักลงทุนต่าง
            ประเทศและส่งเสริมการท่องเที่ยว
      2. เครือ ข่า ยวิท ยุ อ.ส.ม.ท.
         ปัจจุบันมีทั้งสิ้น 62 สถานี เอเอ็ม 2 สถานี และเอฟเอ็ม 60 สถานี
(กรุงเทพมี 9 สถานี) โดยมีวัตถุประสงค์หลักเพื่อเชื่อมโยงสังคม
ประชาธิปไตย กำาหนดรูปแบบรายการใน 2 ลักษณะ
         • ลัก ษณะเครือ ข่า ยวิท ยุ อ.ส.ม.ท. ส่งสัญญาณผ่านดาวเทียม
            ออกอากาศพร้อมกันทั่วประเทศ มีสถานีวิทยุ อ.ส.ม.ท. 100.5
            เมกะเฮิรตซ์ เป็นแม่ข่าย รายการหลักคือรายการประเภทข่าว
            และรายการสาระความรู้
         • ลัก ษณะการจัด รายการตามประชากรที่อ ยู่อ าศัย ในเขต
            บริก าร จัดให้เหมาะสมกับพื้นที่ คือ กรุงเทพ ส่วนภูมิภาค
            จังหวัดใหญ่ และส่วนภูมิภาคจังหวัดเล็ก
      3. เครือ ข่า ยวิท ยุข องกองทัพ ต่า ง ๆ ได้แก่
         • สำา นัก ปลัด กระทรวงกลาโหม 3 สถานี
         • กองบัญ ชาการทหารสูง สุด 14 สถานี
         • กองทัพ บก 127 สถานี
         • กองทัพ เรือ 21 สถานี
         • กองทัพ อากาศ 36 สถานี
         • สำา นัก งานตำา รวจแห่ง ชาติ 44 สถานี

 ความหมายของการผลิต และการจัด รายการวิท ยุ


                       การผลิตรายการวิทยุกระจายเสียงเบื้องต้น/อ.ศราณี เวศยาสิรินทร์
4


       การออกอากาศทางวิทยุกระจายเสียงจะมีงานที่เกี่ยวข้องกันอยู่ 2 ขั้น
ตอน คือ
       1. การจัดรายการวิทยุ (Radio Programming)
       2. การผลิตรายการวิทยุ (Radio Program Production)
การจัด รายการวิท ยุ (Radio Programming)
       การจัด รายการวิท ยุ หมายถึง การกำาหนดแผนการออกอากาศ
รายการวิทยุกระจายเสียง โดยคำานึงถึงรูปแบบเนื้อหาและช่วงเวลาออก
อากาศที่เหมาะสมสอดคล้องกับความสนใจของกลุ่มเป้าหมายและกลุ่มผู้ฟัง
ทั่วไป ทั้งนี้เพื่อให้สามารถดึงดูดความสนใจของผู้ฟังให้ได้มากที่สุด
       สิ่งแรกที่จะต้องกระทำาเมื่อสถานีวิทยุที่จะออกอากาศกระจายเสียงคือ
การวางแผนการออกอากาศรายการต่าง ๆ ให้อยู่ในช่วงที่เหมาะสม โดย
ต้องคำานึงถึง
       1. รูปแบบและเนื้อหาของรายการว่ามีความเหมาะสมสอดคล้องกับ
           รสนิยม และความต้องการของกลุ่มผู้ฟังเป้าหมายและผู้ฟังทั่วไป
           หรือไม่
       2. ช่วงเวลาการออกอากาศที่สามารถเข้าถึงและมีสอดคล้องกับวิถีการ
           ดำาเนินชีวต (Life Style )ของกลุ่มผู้ฟังทั่วไปหรือไม่ เพื่อให้
                      ิ
           สามารถดึงดูดใจของกลุ่มผู้ฟังรายการที่จัดขึ้นให้ได้จำานวนมาก
           ที่สุด
        การจัดรายการวิทยุเปรียบเสมือนฝ่ายเสนาธิการที่ทำาหน้าที่ กำา หนด
ยุท ธวิธ ี (Strategy) โดยการวางแผนว่าจะดำาเนินการด้วยวิธีการอย่างไร
จึงจะทำาให้รายการประสบความสำาเร็จและสามารถแข่งขันกับสถานีคู่แข่งได้
ซึ่งการวางแผนในการจัดตารางรายการออกอากาศนั้น จะต้องมีการศึกษา
ค้นคว้าข้อมูลและปัจจัยต่าง ๆ มาประกอบเพื่อให้สามารถออกอากาศรายการ
ได้ตรงตามความต้องการและความสนใจของผู้ฟัง
การผลิต รายการวิท ยุ (Radio Program Production)
       การผลิต รายการวิท ยุ หมายถึง การนำาแผนการออกอากาศไป
ลงมือผลิตรายการให้มีรูปแบบและ
เนื้อหาตรงตามที่ฝ่ายจัดรายการกำาหนดไว้ โดยขั้นตอนของการผลิต
รายการวิทยุจะมีเรื่องของเทคนิคและวิธีการนำาเสนอเข้ามาเกี่ยวข้องด้วย
เพื่อให้รายการมีชีวิตชีวาน่าสนใจ และสร้างความประทับใจให้เกิดขึ้นกับผู้
ฟังรายการให้ได้มากที่สุด
       การผลิตรายการเป็นขั้นตอนการลงมือผลิตรายการ โดยผู้ผลิต
รายการต้องพยายามหากลวิธี (Tactics) ที่แยบยลมาใช้ เพื่อให้รายการที่
ผลิตออกมามีความน่าสนใจ จนสามารถดึงดูดกลุ่มเป้าหมายและผู้ฟังทั่วไป
ให้ติดตามรับฟังรายการได้เป็นจำานวนมาก
       สรุป การจัด รายการวิท ยุ เป็นงานที่เกี่ยวข้องกับนโยบายและการ
วางแผนของฝ่ายบริหาร กล่าวคือ ผู้บริหารสถานีจะเป็นผู้กำาหนดนโยบาย
ในการจัดรายการของแต่ละสถานี ส่วนผู้จัดรายการก็จะรับนโยบายนั้นมา

                      การผลิตรายการวิทยุกระจายเสียงเบื้องต้น/อ.ศราณี เวศยาสิรินทร์
5


จัดทำารายการ ขอบเขต ตลอดจนกำาหนดรูปแบบเนื้อหาและช่วงเวลาออก
อากาศ จากนั้นก็จะส่งต่อให้ฝ่ายผลิตรับตารางนั้นมาผลิตรายการนั้นมาผลิต
รูปแบบที่กำาหนดไว้ เช่น ฝ่ายบริหารอาจมอบนโยบายว่าในช่วงเวลา
6.00 – 9.00 น. เป็นช่วงเวลาที่คนส่วนใหญ่อยู่ระหว่างการเดินทาง มี
ความเครียดจากปัญหาจราจรที่ติดขัดและต้องการข่าวสารการจราจรมาก
ดังนั้นรายการในช่วงนี้จึงควรเป็นรายการเพลงเบา ๆ คลายเครียดสลับกับ
ข่าวสารการจราจรที่มีผู้แจ้งเข้ามา
    หลัก การจัด รายการวิท ยุ
       ปัจจุบันการจัดรายการวิทยุได้พัฒนารูปแบบรายการให้มีความหลาก
หลายเพื่อพยายามดึงดูดความสนใจของผู้ฟังเป้าหมายให้มากที่สุด โดยได้มี
การปรับเปลี่ยนแนวคิดเดิมในการจัดรายการ คือ การจัดรายการที่มีเนื้อหา
หลากหลายเพื่อกลุ่มผู้ฟังทุกเพศทุกวัย มาเป็นแนวคิดทางด้านการตลาด คือ
การจัดรายการที่มีเนื้อหาเป็นเอกลักษณ์เพื่อกลุ่มผู้ฟังเป้าหมายโดยเฉพาะ
ของสถานีนั้นๆ (Format Station) เช่น สถานีวิทยุเพื่อข่าวสาร สถานีวิทยุ
เพื่อกลุ่มวัยรุ่น ฯลฯ
       เป้าหมายสูงสุดที่ผู้บริหารสถานีวิทยุแต่ละแห่งต้องการ คือ ความ
สำาเร็จในการสร้าง “เรตติง ” (Rating) หรือจำานวนผู้ฟังรายการที่มีความ
                             ้
นิยมและพอใจในรายการหนึ่งๆ ทั้งนี้เพราะหากผลการสำารวจจำานวนผู้ฟัง
แต่ละรายการพบว่า รายการนั้นๆ ได้รับความนิยมและมีผู้ฟังเป็นจำานวน
มาก ก็ย่อมเป็นเครื่องบ่งชี้ได้ถึงความสำาเร็จในการจัดรายการนั่นเอง
ความสำา คัญ ของการจัด รายการที่ม ต ่อ การบริห ารงานของสถานี
                                     ี
และผู้ผ ลิต รายการ
        1. ช่ว ยกำา หนดทิศ ทางในการดำา เนิน งานของสถานีว ิท ยุ การ
วางแผนจัดทำาตารางออกอากาศรายการไว้ล่วงหน้าจะทำาให้สถานีดำาเนิน
การไปอย่างถูกต้องตามวัตถุประสงค์และเป้าหมายที่ได้วางไว้ โดยรายการ
วิทยุที่จะกำาหนดขึ้นแต่ละรายการนั้น ผู้จัดต้องรู้ถึงความต้องการของผู้ฟัง
ก่อนว่าเป็นกลุ่มใด ความต้องการอย่างไร และรายการประเภทใดเป็นที่
สนใจและอยู่ในความนิยม ข้อมูลเหล่านี้จะถูกนำามาใช้เป็นข้อมูลประกอบ
การสร้างสรรค์รายการให้สอดคล้องตามความต้องการและความนิยมของผู้
ฟัง เช่น สถานีวิทยุเพื่อการศึกษา สถานีวิทยุเพื่อวัยรุ่น เป็นต้น
        2. ช่ว ยให้ส ามารถมองเห็น ภาพลัก ษณ์โ ดยรวมหรือ ปรัช ญา
ในการดำา เนิน งานกระจายเสีย ง รายการวิทยุที่จัดทำาขึ้นจะแสดงให้เห็น
ถึงสัดส่วนของรายการในลักษณะต่างๆ ซึ่งรายการจะประกอบด้วยเนื้อหา
หรือประเภทของรายการชนิดใด ในสัดส่วนอย่างไรนั้นขึ้นอยู่กับนโยบาย
ของสถานีที่จะจัดทำารายการว่าเพื่อจุดประสงค์ใด เช่น คลื่นสปอตเรดิโอ มี
ปรัชญาเพื่อให้ข่าวสารด้านกีฬา เป็นต้น
        การประกาศภาพลักษณ์ของสถานี (Format Station) ว่าเป็นสถานี
ที่มุ่งจะนำาเสนอรายการประเภทใดนั้น มีประโยชน์ตอการจัดรายการดังนี้
                                                     ่

                      การผลิตรายการวิทยุกระจายเสียงเบื้องต้น/อ.ศราณี เวศยาสิรินทร์
6


           •     ช่วยให้เห็นว่าสถานีนั้น ๆ มีความเชี่ยวชาญหรือมีความถนัด
                 ในด้านใด
             • ช่วยให้ผู้ฟังรู้ว่าเมื่อต้องการข่าวสารหรือรูปแบบความบันเทิง
                 ชนิดใด ก็สามารถหมุนไปหาสถานีที่ต้องการได้โดยไม่ต้อง
                 จดจำาเวลาการออกอากาศ ดังนั้นจึงเป็นการสนองตอบต่อ
                 ความต้องการข่าวสารและรสนิยมในการหาความบันเทิงของ
                 แต่ละคน
             • ช่วยทำาให้ฝ่ายผลิตรายการสามารถกำาหนดเป้าหมายและ
                 ทิศทางในการผลิตรายการให้สอดคล้องกับภาพลักษณ์ที่ฝ่าย
                 บริหารและฝ่ายจัดรายการกำาหนด
       3. ช่ว ยให้ผ ู้บ ริห ารงานสถานีส ามารถจัด ลำา ดับ ความสำา คัญ
ของงานได้ถ ก ต้อ ง การวางแผนและจัดทำาตาราง
               ู
ออกอากาศไว้ล่วงหน้าจะช่วยให้ผู้บริหารทราบถึงขั้นตอนและช่วงเวลาใน
การทำางานว่าจะผลิตงานใดเป็นงานเร่งด่วน งานใดเป็นงานซับซ้อนที่จะ
ต้องใช้เวลา เพื่อที่จะสามารถผลิตรายการออกอากาศได้ทันตามความ
ต้องการ
       4. ช่ว ยให้ฝ ่า ยที่ร ับ ผิด ชอบสามารถตรวจสอบและควบคุม ได้
วิทยุจึงเปรียบเสมือนเป็นดาบสองคม เพราะถ้าวิทยุถูกใช้เป็นสื่อในการเผย
แพร่ข้อมูลข่าวสารที่เป็นพิษเป็นภัยแก่สังคมก็จะก่อให้เกิดโทษหรือเกิดความ
วุ่นวายในสังคมได้ การจัดรายการวิทยุที่แสดงให้เห็นถึงตารางเวลาออก
อากาศที่ชัดเจนถือเป็นสิ่งจำาเป็น เพื่อที่ฝ่ายที่รับผิดชอบจะได้ตรวจสอบรับ
ฟังได้ รวมทั้งจะได้พิจารณาความถูกต้องเหมาะสมของรายการที่จะออก
อากาศได้อย่างทันการ และสามารถควบคุมแก้ไขข้อผิดพลาดได้อย่างทัน
ท่วงที
       5. ช่ว ยให้ผ ฟ ัง ได้ร ู้ล ่ว งหน้า ว่า จะรับ ฟัง รายการอะไรได้จ าก
                      ู้
สถานีไ หนในเวลาใด การวางแผนจัดรายการวิทยุและกำาหนดเวลาใน
การออกอากาศไว้ล่วงหน้า จะทำาให้ผู้ฟังสามารถติดตามรับฟังรายการที่
ต้องการได้และยังเป็นส่วนหนึงของกระบวนการประชาสัมพันธ์เชิญชวนให้ผู้
                                   ่
ฟังติดตามเปิดรับฟังรายการที่ตนเองมีความสนใจอีกด้วย
 การวางแผนจัด รายการวิท ยุ
       การวางวัต ถุป ระสงค์ เป็นความจำาเป็นประการแรกที่ต้องคำานึงถึง
เมื่อวางแผนจัดรายการวิทยุ เนื่องจากมีความสำาคัญต่อผู้จัด ผู้ผลิต และ
ผู้รับฟังรายการดังนี้
       1. เป็น ตัว กำา หนดแนวทางในการจัด และผลิต รายการ งานจัด
รายการจะเกี่ยวข้องกับบุคคลหลายฝ่าย การมีวัตถุประสงค์ของรายการที่
ชัดเจนเปรียบเสมือนเป็นกรอบหรือกติกาในการทำางานให้มีเป้าหมายและ
ทิศทางเดียวกัน ซึ่งจะเป็นแนวทางในการกำาหนดเนื้อหาและรูปแบบใน



                       การผลิตรายการวิทยุกระจายเสียงเบื้องต้น/อ.ศราณี เวศยาสิรินทร์
7


การนำาเสนอ รวมทั้งการวางแผนการออกอากาศตามช่วงเวลาที่เหมาะสม
ซึ่งจะนำาไปสู่ความสำาเร็จตามวัตถุประสงค์ที่กำาหนดไว้
        2. เป็น หลัก ในการประเมิน คุณ ภาพรายการ การกำาหนด
วัตถุประสงค์เปรียบเสมือนการตั้งเป้าหมายในการทำางานไว้ เพราะ
กระบวนการในการจัดทำารายการวิทยุมิได้สิ้นสุดเพียงเพื่อการผลิตรายการ
แล้วออกอากาศเผยแพร่ได้ตามตารางเวลาที่กำาหนดไว้เท่านั้น แต่จะต้องมี
การติดตามประเมินผลเพื่อตรวจสอบว่ารายการที่ออกอากาศไปแล้วนั้น
ประสบผลสำาเร็จตามนโยบายหรือวัตถุประสงค์ที่กำาหนดไว้หรือไม่ นอกจาก
นี้วัตถุประสงค์ยังมีความสัมพันธ์กับการกำาหนดรูปแบบและวิธีการประเมินผล
รายการ
หลัก ในการกำา หนดวัต ถุป ระสงค์ข องรายการ
        ปัจจัยหรือองค์ประกอบที่ผู้จัดต้องพิจารณาประกอบการกำาหนด
วัตถุประสงค์ของรายการมีดังนี้
        1.วัต ถุป ระสงค์ข องทางราชการ คณะกรรมการกิจการวิทยุ
กระจายเสียงและวิทยุโทรทัศน์แห่งชาติ
(กกช.) ในสังกัดของกรมประชาสัมพันธ์ ซึ่งมีหน้าที่ในการควบคุมดูแล
นโยบายของสถานีวิทยุ ตรวจพิจารณารายการที่ไม่เหมาะสม งานเทคนิค
และการกำาหนดคลื่นความถี่ของวิทยุโทรทัศน์ โดยกำาหนดไว้เพื่อให้การ
บริการส่งวิทยุกระจายเสียงและวิทยุโทรทัศน์ให้เป็นไปตามเจตนารมณ์ของ
การผลิตสื่อเพื่อ การบริก ารสาธารณะที่เ ป็น ประโยชน์ต อ สาธารณชน่
อย่า งแท้จ ริง โดยมีวัตถุประสงค์ เพื่อ
     1. ส่งเสริมความรู้ ความเข้าใจ ความรับผิดชอบ และจิตสำานึกในเรื่องของ
        การปกครองในระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็น
        ประมุข
     2. เป็นสื่อกลางการให้ข้อมูลข่าวสาร การแลกเปลี่ยนความคิดเห็น เพื่อ
        ความเข้าใจอันดีและถูกต้อง โดยคำานึงถึงสิทธิความเสมอภาคในการ
        รับรู้ข้อมูลข่าวสารของประชาชน
     3. ส่งเสริมการศึกษา จริยธรรม ศิลปวัฒนธรรม ให้ความรู้ความบันเทิง
        ไม่ขัดกับขนบธรรมเนียมประเพณีและศีลธรรมอันดีงามของชาติ
     4. ส่งเสริมให้เกิดความรู้ความเข้าใจในการพัฒนาเศรษฐกิจ สังคม
        คุณภาพชีวิต ทรัพยากรธรรมชาติ และสิงแวดล้อมของชาติ
                                                   ่
        2. วัต ถุป ระสงค์ข องสถานีว ิท ยุก ระจายเสีย ง
        สถานีวิทยุที่มีอยู่ในปัจจุบันล้วนมีวัตถุประสงค์และเป้าหมายของตนเอง
โดยเฉพาะเพื่อที่จะใช้เ ป็น กรอบในการทำา ความเข้า ใจร่ว มกัน นับ
ตั้งแต่ผู้บริหารสถานีซึ่งเป็นผู้กำาหนดควบคุมนโยบาย ผู้จัดรายการซึ่งทำา
หน้าในการวางแผนกำาหนดเนื้อหา รูปแบบรายการ และเวลาออกอากาศ
ตลอดจนถึงฝ่ายผลิตรายการซึ่งเป็นผู้ลงมือผลิตรายการให้ได้รายการที่มี
คุณภาพ สามารถเข้าถึงกลุ่มเป้าหมาย และเกิดผลจากการรับฟังรายการได้
ตรงตามวัตถุประสงค์ที่สถานีวิทยุแห่งนั้นได้กำาหนดไว้

                       การผลิตรายการวิทยุกระจายเสียงเบื้องต้น/อ.ศราณี เวศยาสิรินทร์
8



        ตัว อย่า ง
              ชื่อสถานี สถานีวิทยุกระจายเสียง 919 กรป. กลาง
              วัตถุประสงค์ของสถานี
           1. สร้างเสริมให้ประชาชนเกิดความสามัคคีและจงรักภักดีใน
              สถาบันชาติ ศาสนา และพระมหากษัตริย์
           2. สร้างเสริมนโยบายอันเป็นประโยชน์ต่อส่วนรวมของชาติทั้งใน
              ด้านการเมือง การทหาร การเศรษฐกิจ และสังคมจิตวิทยา
           3. ต่อต้านการโฆษณาชวนเชือขิงฝ่ายตรงข้าม รวมทั้งปฏิบัติการ
                                       ่
              เพื่อผลทางจิตวิทยา ให้ประชาชนมีความเข้าใจเจตนาอันดีของ
              รัฐบาล
           4. เผยแพร่วิทยาการอันเกี่ยวกับอาชีพ และความเป็นอยู่ของ
              ประชาชนทั้งทางเศรษฐกิจ และสังคม
           5. ให้ความรู้ ความบันเทิง ซึ่งชอบด้วยกฎหมาย ประเพณี
              วัฒนธรรม และศีลธรรมอันดีงามของชาติ
           6. เป็นเครื่องมือในการประชาสัมพันธ์ให้กับ บก. ทหารสูงสุด
      วัตถุประสงค์ของสถานีจะบ่งบอกทิศทางส่วนใหญ่ขอรายการ เป็นการ
แสดงออกถึงเอกลักษณ์ที่โดดเด่นของสถานี และเป็นจุดขายที่ดึงดูดใจให้ผู้
ฟังสามารถเลือกและติดตามฟังการกระจายเสียงของสถานีที่มีเนื้อหารายการ
ตรงกับความสนใจของตน
      3. ความต้อ งการของกลุ่ม ผูฟ ัง้
      การกำาหนดวัตถุประสงค์ของรายการจะต้องพิจารณาจากความสนใจ
และความต้องการของกลุ่มผู้ฟังด้วย โดยผู้จัดรายการจำาเป็นต้องเก็บ
รวบรวมข้อมูลและศึกษาความรู้เกี่ยวผู้ฟังกลุ่มเป้าหมายได้มากที่สุด เพื่อที่จะ
นำาข้อมูลเหล่านี้ไปประกอบการกำาหนดวัตถุประสงค์ของรายการต่อไป
      การเก็บ รวบรวมข้อ มูล ทีเ กี่ย วข้อ งกับ ผู้ฟ ง อาจทำาได้โดยวิธีการต่อ
                                 ่                  ั
ไปนี้
           1. การศึกษาลักษณะของทางประชากรศาสตร์ เช่น อาชีพ อายุ
              ระดับการศึกษา รูปแบบการใช้ชีวิต (Life Style) ฯลฯ
           2. การสำารวจสอบถามความคิดเห็น เพื่อทราบถึงพฤติกรรมการรับ
              ฟัง ความสนใจ และเจตคติในเรื่องต่าง ๆ
 ประเภทของรายการวิท ยุ
     ประเภทของรายการวิท ยุ สามารถแบ่งประเภทรายการวิทยุตาม
ลักษณะของรายการมีอยู่ 4 ลักษณะ คือ
     1. การแบ่ง ประเภทตามบทบาทหน้า ที่ข องสื่อ มวลชน แบ่งออก
เป็น 4 ประเภท คือ
        1. รายการข่าวสาร ทำาหน้าที่ให้ข้อมูลข่าวสารที่เกิดขึ้นในสังคม
           ว่า ในขณะนันเกิดอะไรที่ไหน เมื่อไหร่ และอย่างไร
                      ้


                       การผลิตรายการวิทยุกระจายเสียงเบื้องต้น/อ.ศราณี เวศยาสิรินทร์
9


           2. รายการให้ความรู้ ทำาหน้าที่ให้ความรู้กับประชาชน เสริมสร้าง
              สติปัญญาในเรื่องต่าง ๆ
           3. รายการแสดงความคิดเห็น ทำาหน้าที่เป็นเวทีกลางให้ฝ่ายต่าง ๆ
              ได้แสดงความคิดเห็น
           4. รายการบันเทิง ทำาหน้าที่ให้ความสนุกสนานเพลิดเพลินแก่
              ประชาชน
           5. รายการบริการสาธารณะประโยชน์ ทำาหน้าที่ให้บริการ
              สาธารณะและเปิดโอกาสให้ประชาชน
ได้เข้ามาใช้ประโยชน์อย่างเสมอภาค เช่น รายการที่เปิดให้ประชาชนเข้า
มาร้องทุกข์ในเรื่องที่ไม่ได้รับความเป็นธรรมจากสังคม เป็นต้น
       การแบ่งรายการตามลักษณะหน้าที่ของสื่อมวลชนเป็นการแบ่งรายการ
อย่างกว้าง ๆ เพราะชื่อรายการจะคลอบคลุมลักษณะ เนื้อหา และวิธี
การนำาเสนอรายการไว้กว้างมาก เช่น รายการบันเทิง หมายรวมถึง
รายการดนตรี ละคร รายการการศึกษา , รายการสารคดี , รายการ
สนทนาที่มุ่งความรู้ ฯลฯ
       2. การแบ่ง ประเภทตามลัก ษณะเนื้อ หาของรายการ
(Content)
       การแบ่งประเภทรายการตามลักษณะนี้ มีจุดมุ่งหมายเพื่อต้องการเน้น
ให้ผู้ได้ยินชื่อรายการได้ทราบว่ารายการนั้นจะมีเ นือ หาอย่า งไร เช่น
                                                   ้
รายการดนตรี รายการกีฬา รายการข่าว รายการธรรมะ รายการเกษตร
ฯลฯ โดยชื่อรายการดังกล่าวนี้จะไม่สะท้อนให้เห็นถึงวิธีการเสนอรายการ
ซึ่งอาจจะเป็นรูปแบบใดก็ได้ขึ้นอยู่กับผู้จัดรายการจะเห็นเหมาะสม เช่น
รายการเกษตร อาจมีการเสนอในรูปแบบของนิตยสารทางอากาศ ละคร
หรือการอภิปรายก็ได้
       3. การแบ่ง ประเภทตามลัก ษณะรูป แบบการเสนอรายการ
(Format)
       การแบ่งประเภทตามรายการลักษณะนี้ มีจุดมุ่งหมายเพื่อต้องการเน้น
ให้ผู้ได้ยินชื่อรายการได้ทราบว่ารายการนั้นจะมีว ธ ีก ารนำา เสนอรูป แบบ
                                                 ิ
ใด เช่น รายการอภิปราย รายการสัมภาษณ์ รายการนิตยสารทางอากาศ
รายการตอบปัญหาทางอากาศ ฯลฯ
       4. การแบ่ง ประเภทตามกลุ่ม ผูฟ ัง เป็น หลัก (Target
                                         ้
Audience)
       การแบ่งประเภทรายการตามลักษณะนี้ มีจุดมุ่งหมายเพื่อต้องการเน้น
ให้ได้ยินชื่อรายการได้ทราบว่ารายการนั้นมีก ลุม เป้า หมายเป็น ใคร เช่น
                                               ่
รายการเด็ก รายการแม่บ้าน รายการเกษตร รายการสำาหรับผู้หญิง ฯลฯ
ซึ่งถึงแม้ว่ารายการจะระบุเจาะจงตัวผู้ฟังไว้โดยเฉพาะ แต่เนื้อหาก็บ่งให้
เข้าใจอย่างกว้าง ๆ ว่าจะเป็นเนื้อหาที่เป็นประโยชน์ และอยู่ในความสนใจ
ของคนกลุ่มนั้นเท่านั้น



                      การผลิตรายการวิทยุกระจายเสียงเบื้องต้น/อ.ศราณี เวศยาสิรินทร์
10


        การแบ่งประเภทรายการนี้ไม่ถือเป็นเรื่องที่เป็นหลักการตายตัวนัก
เช่น ในประเทศอังกฤษที่มีสถานีวิทยุ BBC จะแบ่งประเภทรายการตาม
ลักษณะของวิธีการนำาเสนอเป็นหลัก ในประเทศสหรัฐอเมริกาการเรียกชื่อ
รายการจะให้ความสำาคัญกับลักษณะรูปแบบรายการนำาเสนอเป็นหลัก ใน
ประเทศสหรัฐอเมริกาการเรียกชื่อรายการจะให้ความสำาคัญกับลักษณะรูป
แบบการนำาเสนอรายการ (Program Format) ที่เน้นกลุ่มผู้ฟังเป้าหมาย
เป็นหลัก ส่วนในประเทศไทยนั้นจะรับอิทธิพลด้านความคิดมาจากทั้ง
อังกฤษและอเมริกา ดังนั้นจึงมีการเรียกชื่อและแบ่งประเภทแตกต่างผสม
ปนเปกันไป
        การจัดรายการบางจำาพวก เช่น รายการปกิณกะบันเทิง (Variety
Program) จะไม่สามารถใช้เกณฑ์ใดเกณฑ์หนึ่งที่กล่าวมาแล้วได้ เพราะมี
ลักษณะผสมผสานกันไปหมด คือ บางครั้งเป็นรายการที่ไม่มีแกนกลางของ
เนื้อหา (Theme) และไม่มีรูปแบบรายการที่มีลักษณะโดดเด่นต่อเนื่อง แต่
มีการเสนอเนื้อหาที่หลากหลายโดยใช้วิธีการนำาเสนอหลายๆรูปแบบ ซึ่ง
รายการลักษณะนี้ส่วนใหญ่จะเป็นรายการที่เน้นความบันเทิงเป็นหลัก แต่ก็
มีผู้โต้แย้งว่าไม่ใช่รายการบันเทิงเพราะมีเนื้อหาที่มีสาระความรู้อยู่ด้วย จึง
จัดเป็นรายการจำาพวกสัพเพเหระ

 องค์ป ระกอบที่ส ำา คัญ ในการผลิต รายการวิท ยุก ระจายเสีย ง
      1.   วัตถุประสงค์ของรายการ
      2.   ผู้ฟัง (Audience)
      3.   เนื้อหา (Content)
      4.   วิธีการนำาเสนอรายการ (Program Presentation)
      5.   เวลาออกอากาศ (Program Scheduling)
      6.   การประเมินผลรายการ (Program Evaluation)
        1. วัต ถุป ระสงค์ข องรายการ
        วัต ถุป ระสงค์ข องรายการ ถือเป็นองค์ประกอบแรกที่สำาคัญ เพราะ
จะเป็นสิ่งกำาหนดรูปแบบในเรื่องของผู้ฟังกลุ่มเป้าหมาย เนื้อหา วิธีการนำา
เสนอ เวลาออกอากาศ และประเมินผลรายการ โดยการกำาหนด
วัตถุประสงค์ที่ดีจะสามารถบอกจุดมุ่งหมายของรายการได้ การจัดรายการ
วิทยุจึงจำาเป็นต้องคำานึงถึงการกำา หนดวัต ถุป ระสงค์เ ป็น ลำา ดับ แรก ซึ่ง
เมื่อกำาหนดวัตถุประสงค์ของรายการแล้ว ก็จะต้องคำานึงถึงวัตถุประสงค์
เฉพาะส่วนของรายการด้วย เพื่อที่จะสามารถพัฒนารูปแบบและเนื้อหาให้มี
ความสอดคล้องกัน
        2. ผู้ฟ ง (Audience)
                ั
        ผู้ฟ ัง หมายถึง กลุ่มผู้ฟังที่เป็นเป้าหมายในการจัดรายการ (Target
Audience) ซึ่งเป็นผู้ที่จะตัดสินว่ารายการที่จัดขึ้นนั้นประสบผลสำาเร็จหรือ
ไม่ โดยแนวคิดเกี่ยวกับ “ผู้ฟัง” ตามระบบสื่อสารมวลชน คือ


                       การผลิตรายการวิทยุกระจายเสียงเบื้องต้น/อ.ศราณี เวศยาสิรินทร์
11


        1. เป็นกลุ่มคนที่กระจัดกระจาย ไม่เป็นกลุ่มก้อน
        2. มีความแตกต่างกันในด้านประชากรศาสตร์ เช่น อายุ เพศ
        อาชีพ ขนาดครอบครัว ตำาแหน่งในครอบครัว รายได้ การศึกษา
        ภูมิลำาเนา ศาสนา เชื้อชาติ ฯลฯ
        การจัดและผลิตรายการจะมีการแบ่งเกรดของผู้ฟังออกเป็น 3 เกรด
        คือ
        1. ผู้ฟ ัง เกรด A คือ กลุ่มผู้ฟังระดับสูง ได้แก่ กลุ่มคนที่มีการ
            ศึกษา อาชีพ ฐานะทางเศรษฐกิจสูง
        2. ผู้ฟ ัง เกรด B คือ กลุ่มผู้ฟังระดับกลางค่อนข้างสูง ได้แก่ กลุ่ม
            คนที่มีการศึกษาระดับปริญญาขึ้นไป
        3. ผู้ฟ ัง เกรด C คือ กลุ่มผู้ฟังระดับกลางค่อนข้างตำ่า ได้แก่ กลุ่ม
            คนที่มีการศึกษาระดับอนุปริญญาลงไป ซึ่งมีคุณค่าในเชิงการ
            ตลาดน้อยมาก
        ในการผลิตรายการ จะต้องมีความรู้ความเข้าใจเบื้องต้นเกี่ยวกับ
คุณลักษณะพื้นฐานที่แตกต่างกันของกลุ่มผู้ฟังแต่ละกลุ่ม โดยคำาถามแรกที่
ผู้จัดรายการจะต้องตอบให้ได้ คือ ใครเป็นกลุ่มผู้ฟังเป้าหมายหลักและกลุ่ม
ผู้ฟังเป้าหมายรอง ซึ่งผลที่เกิดขึ้นจากการรับฟังรายการจะแตกต่างกันไป
ตามพื้นฐานทางวัฒนธรรม สังคม และจิตวิทยา ดังนั้นจึงจำาเป็นต้องทำาการ
ศึกษาข้อมูลหรือคุณลักษณะโดยรวมเกี่ยวกับกลุ่มผู้ฟังเป้าหมาย เพื่อให้
สามารถจัดวางเนื้อหา รูปแบบรายการ และช่วงเวลาออกอากาศให้
สอดคล้องกับความต้องการและความสนใจของกลุ่มผู้ฟัง
การแบ่ง กลุ่ม ผู้ฟ ง (Segmentation of Audiences)
                     ั
       กลุ่มผู้ฟังวิทยุในปัจจุบันมักจะมีขนาดไม่ใหญ่นัก เพราะประชาชนมี
รสนิยมในการรับฟังที่แตกต่างกันดังนั้นการจัดรายการจึงต้องแบ่งกลุ่มผู้ฟัง
เป้าหมาย (Specific Target Audience) ออกเป็นกลุ่ม ๆ โดยเฉพาะ
เพื่อให้รายการวิทยุสามารถเข้าถึงผู้ฟังได้อย่างมีประสิทธิผลมากที่สุด
       โรเจอร์ (Rogers) ได้กล่าวถึงลักษณะของผู้รับสารว่า สิ่งที่เป็น
อุปสรรคต่อการสื่อสารในลักษณะของ Mass Production ที่ส่งผ่าน
สื่อมวลชน (Mass Media) คือความเป็นปัจเจก และความไม่เป็นกลุ่ม
ก้อนของผู้รับสารในสังคมข่าวสาร (Information Society)
       เดอ เฟลอร์ และบาลโลเคียช (De Fleur and Ball – Rokeach)
ได้ทำาการวิจัยเรื่องการแบ่งส่วนทางเชิงสังคม โดยได้ศึกษาเกี่ยวกับความ
แตกต่างกันของผู้รับสารและผลในการตอบสนองที่แตกต่างกันต่อการกระตุ้
นของสื่อว่า กลุ่มต่าง ๆ ทางสังคมจะมีปฏิกิริยามากหรือน้อยแตกต่างกันจาก
การใช้สื่อสารชุดเดียวกัน ดังนั้น จึงก่อให้เกิดแนวคิดในการวางแผนการ
สื่อสารที่คำานึงถึงการจำาแนกกลุ่มผู้ฟังเป้าหมายให้แยกออกเป็นกลุ่มย่อย
(Subaudiences) หรือเรียกว่า “ส่ว นแบ่ง ทางการตลาด ” โดยแนวคิดนี้



                       การผลิตรายการวิทยุกระจายเสียงเบื้องต้น/อ.ศราณี เวศยาสิรินทร์
12


ยอมรับในความแตกต่างของผู้รับสารซึ่ง
ดูภายนอกจะมีความเหมือนกัน แต่มีความแตกต่างกันในความเหมือน
       เวนเดล สมิท (Wendell Smith) ได้วิจัยในเรื่องการแบ่งกลุ่มผู้รับ
สาร โดยได้พิมพ์หนังสือเกี่ยวกับเรื่องการแบ่งส่วนตลาดของคนอเมริกันออก
เป็นกลุ่มเฉพาะ (Product Differentiation and Market
Segmentation as Alternative Production Strategies) ซึ่งจะ
ทำาให้เกิดแนวโน้ม 4 ประการ คือ
       1. จำา นวนประชากรของโลกที่เ พิม ขึน จะมีผลทำาให้เกิดการแบ่ง
                                              ่ ้
ส่วนของตลาดออกเป็นกลุ่มย่อย ๆ โดยเฉพาะ เช่น ตลาดวัยรุ่น ตลาดเด็ก
เล็ก ฯลฯ ซึ่งการที่มีจำานวนประชากรเพิ่มขึ้นนั้นจะทำาให้การแบ่งตลาดแต่ละ
ส่วนมีขนาดใหญ่พอที่จะใช้ประโยชน์ในเชิงธุรกิจได้
       2. ผลิต ภัณ ฑ์ส ิน ค้า เพือ การบริโ ภคมีแ บรนด์ (Brand) ทีแ ตก
                                 ่                                   ่
ต่า งกัน มากขึน คือสามารถผลิตสินค้าชนิดเดียวกันแต่กำาหนดยี่ห้อได้มาก
                ้
ขึ้น จึงทำาให้สินค้าแต่ละแบรนด์ต้องพยายามหาส่วนแบ่งทางการตลาด
(Market Segment) ซึ่งสามารถเข้ายึดครองได้ เช่น การเจาะตลาด
เฉพาะกลุ่มผู้รักษาสุขภาพ การเจาะตลาดเฉพาะกลุ่มวัยรุ่น ฯลฯ
       3. เกิด ลัท ธิป ัจ เจกนิย ม ( Individualism) หรือ ยุค แห่ง ตัว
ฉัน (Age of Me) ซึ่งจะก่อตัวเป็นส่วนเฉพาะอีกส่วนหนึ่ง คือ แนวคิด
ของคนในยุคหลังสมัยใหม่ (Post Modernization) นัน คนจะมีความ
                                                         ้
ต้องการเฉพาะตัว ในเรื่องรสนิยม วิถชีวิต และมีความเป็นตัวของตัวเอง
                                        ี
มากขึ้น
       4. สือ จะเน้น เนือ หาเฉพาะมากขึน โดยมีแนวโน้มที่จะ
            ่              ้                ้
เปลี่ยนแปลงจากการแพร่กระจายออกไปในวงกว้าง (Broadcasting) คือ
มีเนื้อหาครอบคลุมคนทั้งประเทศ ไปสู่การแพร่กระจายในวงแคบ
(Narrowcasting) โดยเพิ่มความเป็นไปได้ในการเข้าถึงตลาดส่วนย่อยให้
มากขึ้น คือ มีเนื้อหารายการครอบคลุมเฉพาะตลาดส่วนย่อย ซึ่งมีความ
สนใจและความต้องการในเรื่องใดเรื่องหนึ่งเฉพาะ ทั้งนี้เป็นผลมาจากการ
เสื่อมสลายของกลุ่มผู้ฟังในลักษณะเชื้อชาติ (National Audiences)
       ปัจจุบันมีสถานีวิทยุเกิดขึ้นเป็นจำานวนมาก ดังนั้นจึงมีการจัดรายการ
โดยเน้นกลุ่มในเป้าหมายเฉพาะกลุ่มมากขึ้น ทั้งนี้เพราะการเจาะตลาดจะ
ทำาให้มีฐานตลาดที่ใหญ่พอที่จะขายโฆษณาได้ และทำาการกำาหนดกลุ่มเป้า
หมายเฉพาะก็จะทำาง่ายต่อการจัดรายการให้ตรงกับกลุ่มเป้าหมายนั้น
       การแบ่งกลุ่มผู้ฟังสามารถแบ่งได้ 2 วิธีดงนี้ คือ
                                                ั
       1. การแบ่ง กลุ่ม ผู้ฟ ง ตามลัก ษณะทางประชากร
                               ั
(Segmentation by Demographic Characteristics) ถือเป็น
วิธีการพื้นฐานที่นิยมใช้กันมาก โดยกลุ่มผู้ฟังจะถูกแบ่งตามระดับอายุ เพศ
อาชีพ ขนาดครอบครัว รายได้ การศึกษา ภูมิลำาเนา ศาสนา เชื้อชาติ
สัญชาติ ฯลฯเช่น หากจะจัดรายการเผยแพร่ความรู้เกี่ยวกับโรคเอดส์ ก็
ควรกำาหนดกลุ่มเป้าหมายที่มีอายุ 18 – 30 ปี เป็นวัยที่เสี่ยงต่อการติด

                      การผลิตรายการวิทยุกระจายเสียงเบื้องต้น/อ.ศราณี เวศยาสิรินทร์
13


เอดส์ หรือการกำาหนดกลุ่มผู้ฟังที่เป็นเกษตรกรก็ย่อมที่จะสนใจเนื้อหาที่
เกี่ยวกับการเกษตร ฯลฯ
        2. การแบ่ง กลุ่ม ผู้ฟ ง ตามลัก ษณะของพฤติก รรม (Behavior)
                                 ั
เป็นการแบ่งตาม “รูป แบบการดำา รงชีว ต ”        ิ
( Life Style) ซึ่งหมายถึง วิถีการดำาเนินชีวิตของคน หรือพฤติกรรมการ
ดำารงชีวตในแต่ละวันที่ทำาให้เรามีความเป็นตัวของตัวเองและแตกต่างไปจาก
          ิ
ผู้อื่น โดยอาจรวมถึงพฤติกรรมในการพักผ่อนย่อยใจการรับประทานอาหาร
การเดินทางเพื่อการท่องเที่ยว การเปิดรับข่าวสาร และการสังคม ฯลฯ เช่น
            • คนทำางานในกรุงเทพฯ มักจะฟังวิทยุในช่วง 6.00-8.00
              น.โดยจะฟังในขณะเตรียมตัวไปทำางานหรือฟังจากวิทยุใน
              รถยนต์ระหว่างการเดินทาง ดังนั้นจึงเหมาะกับการจัดรายการ
              ประเภทข่าวสาร ข่าวจราจร ฯลฯ
            • วัยรุ่นซึ่งเป็นกลุ่มผู้ฟังที่ชอบนอนรอบดึก มักจะฟังวิทยุในช่วง
              เวลา 20.00 – 24.00 น. เพื่อเป็นเพื่อนในระหว่างการ
              ทำาการบ้านหรือดูหนังสือ
            • กลุ่มเกษตรกรมักจะฟังวิทยุในตอนเช้า คือ ช่วงเวลา 5.00 -
              6.00 น. และช่วงเวลา 18.00 -19.00 น. ซึ่งเป็นช่วงเวลา
              หลังจากกลับจากการทำางาน
        การที่ผู้จัดรายการเข้าใจถึงรูปแบบการใช้ชีวิต (Life Style) หรือ
ลักษณะพฤติกรรมของกลุ่มเป้าหมาย ก็จะเป็นประโยชน์ตอการจัดรายการ
                                                            ่
ให้มีเนื้อหาและรูปแบบการนำาเสนอที่สอดคล้องกับรสนิยมและความต้องการ
ของกลุ่มเป้าหมาย อันจะทำาให้รายการที่จัดตั้งขึ้นประสบผลสำาเร็จตามวัตถุ
ประสงที่ตั้งไว้



การสำา รวจความสนใจและกลุ่ม ผู้ฟ ง เป้า หมาย
                                         ั
       การสำารวจวิจัยเพื่อหาข้อมูลเบื้องต้นเกี่ยวกับผู้ฟังรายการนับเป็นสิ่ง
สำาคัญ เพราะเป็นสิ่งที่ผู้จัดรายการจะได้นำาข้อมูลมาใช้ในการปรับปรุงงาน
และกำาหนดแนวทางในการดำาเนินงานของสถานี นอกจากนี้บริษัทห้างร้านผู้
ว่าจ้างก็มีความสนใจต้องการทราบประสิทธิผลในการดำาเนินการของสถานี
วิทยุว่า สถานีใดมีผู้นิยมติดตามมาก รายการลักษณะใดเป็นที่ชื่นชอบของ
คนกลุ่มใด เป็นต้น
       ประเด็นที่ต้องมีการสำารวจกลุ่มผู้ฟังเพื่อแสวงหาข้อเท็จจริงพื้นฐาน
ได้แก่
       1. ใครเป็นผู้ฟังสถานีวิทยุแห่งนี้บ้าง
       2. ผู้ฟังฟังในเวลาช่วงใด นานเท่าไร บ่อยแค่ไหน
       3. มีความเห็นต่อรายการอย่างไร ชอบหรือไม่ชอบ เพราะอะไร



                       การผลิตรายการวิทยุกระจายเสียงเบื้องต้น/อ.ศราณี เวศยาสิรินทร์
14


     4. ผู้ฟังมีคุณลักษณะโดยรวมอย่างไร เช่น เพศ อายุ การศึกษา
     อาชีพ และอยู่ที่ไหน
      5. ผู้ฟังต้องการให้ปรับปรุงรายการ เนื้อหา วิธีการนำาเสนออย่างไร
     หรือไม่
     ข้อมูลเบื้องต้นเหล่านี้จะมีคุณค่าในการวางแผนจัดและผลิตรายการ
เพราะจะเป็นประโยชน์ในการกำาหนดกลุ่มผู้ฟังเป้าหมาย เนื้อหา วิธีการนำา
เสนอ และช่วงเวลาที่เหมาะสมกับผู้ฟังกลุ่มเป้าหมายต่อไป
3. เนือ หา (Content)
      ้
        เนือ หา หมายถึง เรื่องราวที่ผู้จัดรายการต้องการให้ผู้ฟังเป้าหมาย
           ้
ได้รับฟัง แต่เนื่องจากผู้ฟังมีความแตกต่างกันจึงมีความสนใจและความ
ต้องการเนื้อหารสาระของรายการที่แตกต่างไปด้วย ดังนั้นผลที่ได้จากการ
ศึกษาคุณลักษณะโดยรวมของกลุ่มเป้าหมาย เช่น เพศ อายุ การศึกษา
ฯลฯ จะช่วยให้ผู้จัดรายการสามารถรู้ว่าจะจัดรายการให้มีเนื้อหารอย่างไร
จึงจะเหมาะกับผู้ฟังกลุ่มนั้น รวมทั้งควรจะมีวิธีการเสนอรายการอย่างไรจึง
จะดึงดูดความสนใจได้อย่างไม่เบื่อ เช่น
             • กลุ่มผู้ฟังที่มีการศึกษาสูง หรือผู้ฟังเกรด A,B จะชอบรายการ
               เกี่ยวกับความรู้ทางด้านการวิเคราะห์สถานการณ์บ้านเมือง ข่าว
               เศรษฐกิจ การสนทนาอภิปรายปัญหาต่าง ๆ
             • กลุ่มผู้ฟังที่มีการศึกษาไม่สูง หรือผู้ฟังเกรด C จะชอบ
               รายการข่าวเบาสมอง (Soft News) รายการละครข่าว (
               การนำาข่าว Soft News ในหนังสือพิมพ์มาเสนอในรูปของ
               ละคร) รายการตลก ( Comedy) รายการเพลงลูกทุ่ง รายการ
               เล่าข่าว (การนำาเอาข่าวในหนังสือพิมพ์มานำาเสนอในรูปแบบ
               การเล่าให้ฟัง เหมาะสำาหรับผู้ฟังทั้งเกรด B,C เช่น รายการ
               วิทยุทหารอากาศ)
        การพิจารณาว่าเนื้อหาใดจะเหมาะสมกับผู้ฟังกลุ่มเป้าหมายหรือไม่นั้น
ขึ้นอยู่กับการตัดสินใจของผู้จัดรายการและนโยบายของผู้บริหารสถานี
4. วิธ ีก ารนำา เสนอรายการ (Program Presentation)
       วิธีการนำาเสนอรายการ (Format) เป็นองค์ประกอบความสำาเร็จของ
รายการที่สำาคัญอีกอย่างหนึ่ง เพราะเป็นกลวิธีที่สำาคัญที่จะทำาให้รายการมี
ชีวตชีวาสอดคล้องกับธรรมชาติและรสนิยมของผู้ฟัง โดยวิธีการนำาเสนอ
   ิ
รายการจะแตกต่างกันไปตามลักษณะพื้นฐานและรสนิยมของกลุ่มผู้ฟังเป้า
หมาย เช่น หากต้องการจัดรายการเกี่ยวกับความรู้เรื่องโรคเอดส์ให้กลุ่มผู้
ฟังวัยต่าง ๆ ก็ควรนำาเสนอในรูปแบบดังนี้
           • กลุ่มวัยรุ่น ควรนำาเสนอในรูปสาระบันเทิง คือ การให้ความรู้
              ควบคู่กับการบันเทิง เช่น รายการเกมที่สอดแทรกความรู้เกี่ยว
              กับโรคเอดส์โดยเปิดโอกาสให้ผู้ฟังโทรศัพท์เข้ามาร่วมด้วย
              หรืออาจจัดเป็นรายการเพลงที่แทรกความรู้เรื่องโรคเอดส์ก็ได้

                      การผลิตรายการวิทยุกระจายเสียงเบื้องต้น/อ.ศราณี เวศยาสิรินทร์
15


          • กลุ่มผู้ฟังที่มีการศึกษาสูง ควรนำาเสนอในรูปของการเชิญนัก
              วิชาการมาบรรยาย หรืออาจจัดเป็นรายการเพลงที่เหมาะกับ
              รสนิยมของคนกลุ่มนี้สลับกับการให้ความรู้
          • กลุ่มผู้ฟังที่มีการศึกษาไม่สูง ควรนำาเสนอในรูปของรายการ
              เพลงลูกทุ่งที่เหมาะกับการให้ความรู้ หรืออาจจัดเป็นละครวิทยุ
              ที่มีเนื้อหาเกี่ยวกับโรคเอดส์
       ข้อควรคำานึงถึงในการจัดรายการวิทยุ คือ วิทยุเป็นสื่อที่รับได้ทาง
เสียงอย่างเดียว ผู้ฟังต้องใช้จินตนาการสูงในการรับรู้เนื้อหาสาระที่ผู้ส่งสาร
ส่งออกไป และผู้ฟังวิทยุส่วนใหญ่จะไม่ได้เปิดวิทยุฟังอย่างตั้งใจเหมือนการ
ดูโทรทัศน์หรืออ่านหนังสือ แต่อาจฟังวิทยุในขณะที่ทำาอย่างอื่นไปด้วย ดัง
นั้นการเสนอรายการจึงต้องดำาเนินอย่างมีศิลปะ คือ มีความคิดริเริ่ม
สร้างสรรค์ในการหากลวิธีที่จะเสนอเนื้อหาที่สามารถทำาให้ผู้ฟังเกิด
จินตนาการ และได้รับความรู้ข่าวสารหรือเรื่องราวต่าง ๆ ได้โดยไม่รู้สึกตัว
       การที่จะใช้วิธีการนำาเสนอให้รายการประสบความสำาเร็จได้นั้น ผู้จัด
รายการต้องเข้าใจธรรมชาติของผู้ฟังกลุ่มเป้าหมาย และต้องพิจารณาว่า
เนื้อหาที่ต้องการนำาเสนอนั้นมีลักษณะอย่างไร สมควรที่จะนำาเสนอด้วยรูป
แบบใดจึงจะสามารถเข้าถึงและดึงความสนใจของกลุ่มผู้ฟังเป้าหมายได้มาก
ที่สุด
รูป แบบหรือ วิธ ก ารนำา เสนอรายการ ที่มีอยู่ในปัจจุบัน มีดงนี้
                     ี                                        ั
       1.รายการข่า ว (News Program )
       รายการที่จัดขึ้นเพื่อรายงานเหตุการณ์สำาคัญ ๆ ที่เกิดขึ้นในวันหนึ่ง ๆ
เพื่อให้ผู้ฟังรู้ว่า ใคร ทำาอะไร ที่ไหน เมื่อไหร่ และอย่างไร จึงเป็นการ
เสนอข่าวมิติเดียวที่อาจมีทั้งแบบเขียนเพื่อให้ผู้อ่านอ่านการบันทึกเสียง หรือ
รายงานจากเหตุการณ์มาเสนอให้ฟัง โดยสามารถแยกประเภทตามการนำา
เสนอได้ดังนี้
           • การสรุปข่าว
           • การวิเคราะห์ข่าว
           • การวิจารณ์ข่าว
           • ละครข่าว
           • การเล่าข่าว
       2. รายการพูด คุย บทความ บรรยาย (Talk Program)
       เป็นลักษณะรายการที่ใช้พูดคุย บรรยาย จะมีบทหรือไม่มีก็ได้ แต่มี
วัตถุประสงค์ต้องดึงดูดใจให้ผู้ฟังสนใจเป็นสำาคัญ
           • รายการพูดคุย
           • รายการบทความ
           • รายการบรรยาย



                       การผลิตรายการวิทยุกระจายเสียงเบื้องต้น/อ.ศราณี เวศยาสิรินทร์
16



        3. รายการสัม ภาษณ์ (Interview Program) และรายการ
สนทนา (Conversational Program)
        เป็นการนำาเสนอถึงการแสดงความคิดเห็นของผู้ร่วมรายการ ซึ่งมี 2
คนขึ้นไป
           • รายการสัมภาษณ์
           • รายการสนทนา
        4. รายการอภิป ราย (Discussion Program)
        เป็นรายการพูดคุยแสดงความคิดเห็นในหัวข้อใดหัวข้อหนึ่ง โดยผู้
ร่วมอภิปรายหลายคน และมีผู้ดำาเนินการอภิปราย 1 คนเปรียบเสมือนเวทีที่
เปิดโอกาสให้คนในสังคมได้แสดงความคิดเห็นที่หลากหลาย
        5. รายการบรรยายเหตุก ารณ์ (Commentary Program)
        มีผู้บรรยาย (Commentator/Narrator) ทำาหน้าที่เป็นสื่อกลางใน
การถ่ายทอดเหตุการณ์ที่กำาลังเกิดขึ้นไปสู่ผู้ฟัง
        6.รายการตอบปัญ หา (Quiz Program)
        เป็นรายการที่มุ่งสร้างความสัมพันธ์โดยให้ผู้ฟังได้มีส่วนร่วมกับ
รายการ ซึ่งถือเป็นการสื่อสารแบบสองทาง (Two-Ways
Communication) เปิดโอกาสให้ผู้ฟังร่วมตอบปัญหาทางโทรศัพท์ หรือ
เขียนจดหมายในปัจจุบันรายการประเภทนี้มักถูกนำามาประกอบกับรายการ
อื่นหรือเป็นส่วนย่อย ๆ คั่นรายการ
        7. รายการเพลง (Music Program)
        รายการบันเทิงเป็นพื้นฐานของวิทยุ การจัดรายการเพลงนี้ควรให้
ความสนใจเป็นพิเศษกับเพลง เช่น การกำาหนดประเภทเพลงที่จะเสนอ
การกำาหนดแกนกลางของเรื่อง (Theme) เกี่ยวกับเพลง
        8. รายการละคร (Radio Drama) นิท าน (Radio Play)
        การจัดรายการละครและนิทานสำาหรับวิทยุเพื่อการศึกษาจะมุ่งให้ความ
รู้และความบันเทิง โดยจะสอดแทรกความรู้ให้เหมาะกับลักษณะ รสนิยม
ความต้องการ หรือสภาพปัญหาของกลุ่มผู้ฟัง ซึ่งรายการละครจะมีทั้งบท
พูด บทบรรยาย เพลง และเสียงประกอบเพื่อให้เกิดความสมจริงสมจัง และ
ใช้เสียงเพื่อสร้างจินตนาการ
        9. Vox Pop
        คำาว่า Vox Pop มาจากคำาว่า Vox Populi หรือ Voice of
People หมายถึง เสียงของความคิดเห็นที่แตกต่างจากบุคคลที่หลากหลาย
ต่อเรื่องหรือประเด็นปัญหาเดียวกัน มักใช้แทรกในรายการประเภทอื่น ๆ
เพื่อทำาให้รายการน่าสนใจขึ้น
        10. รายการสารคดี (Documentary or Feature)
        เป็นการนำาเสนอเนื้อหาสาระเรื่อ งใดเรื่อ งหนึง อย่างละเอียดทุกแง่มุม
                                                       ่
โดยต้องพยายามให้มีรูปแบบวิธีการนำาเสนอที่หลากหลาย แต่ต้องคำานึงถึง
ความมีเอกภาพของรายการด้วย (นำา เสนอเพีย งเรือ งเดีย ว )
                                                     ่

                       การผลิตรายการวิทยุกระจายเสียงเบื้องต้น/อ.ศราณี เวศยาสิรินทร์
17


        11. รายการนิต ยสารทางอากาศ (Magazine Program)
        เป็นรายการที่นำาเอกเรื่องราวที่เป็นสาระควบคู่ไปกับความบันเทิงใน
ประเด็นใดประเด็นหนึ่ง แต่มีวิธีการานำาเสนอเนื้อหาที่หลากหลายแง่มุมมา
รวมกันไว้ในรายการเดียว โดยมี “บทเชื่อมรายการ” อย่างราบรื่นและมีแกน
เรื่อง (Theme) ที่เป็นอันหนึ่งอันเดียวกัน (Unity) มีห ลายเรือ งใน
                                                             ่
รายการเดีย วกัน แต่ส ามารถเชือ มโยงให้ห ว ข้อ ทีต ่า งกัน เป็น
                                      ่          ั      ่
รายการเดีย วกัน ได้อ ย่า งสอดคล้อ งกลมกลืน
        12. รายการปกิณ กะ (Variety Program)
        เป็นรายการวิทยุที่นำาเอารายการเบ็ดเตล็ดย่อย ๆ หรือรายการใน
ลักษณะสัพเพเหระ สิ่งละอันพันละน้อย หลากหลายเรื่องราวมารวมกันอยู่ใน
รายการเดียว แต่ไม่ต้องมีบทเชื่อมโยงให้รายการเป็นอันหนึ่งอันเดียวกัน
เหมือนกับรายการนิตยสาร เนื้อหาจึงมีหลากหลายรูปแบบ มุ่งเน้นในเรื่อง
ความบันเทิงเป็นหลัก
        13. สปอต (Spot Annoucement)
        หรือ การโฆษณาประชาสัมพันธ์เชิญชวน ใช้เวลาสั้น และข้อความ
สั้น ๆ มีเพลง เสียงประกอบร่วมด้วยเพื่อผลในการโฆษณา ประชาสัมพันธ์
เชิญชวน หรือรณรงค์เพื่อให้เกิดความร่วมมือจากผู้ฟัง
        14. Phone in Program
        เป็นรายการโทรศัพท์สดจากผู้ฟัง ในรูปแบบรายการให้ความรู้เปิด
โอกาสให้ผู้ฟังมีส่วนร่วมในรายการด้วยการโทรศัพท์เข้ามาเพื่อออกอากาศ
เป็นลักษณะการสื่อสารแบบ 2 ทาง (Two-Ways Communication)
ทำาให้ผู้ฟังรู้สึกใกล้ชิดเป็นส่วนหนึ่งของรายการ
5. การจัด ตารางเวลาออกอากาศ
       เวลาในการออกอากาศมีส่วนสัมพันธ์กับผู้ฟังเป้าหมายและความสำาเร็จ
ของรายการเป็นอย่างมาก โดยปัจจัยที่จะบ่งบอกว่ารายการนั้นประสบความ
สำาเร็จหรือไม่ คือ จำานวนผู้ฟัง ดังนั้น การจัด ตารางเวลาออกอากาศ
หมายถึง ช่วงเวลาออกอากาศที่กลุ่มผู้ฟังเป้าหมายพร้อมที่จะรับฟังรายการ
จากสถานีวิทยุ ในการจัดรายการจึงควรวางรูปแบบและเวลาในการออก
อากาศให้สัมพันธ์กับรูปแบบการดำารงชีวิต (Life Style) และสภาพหรือ
สภาวะความพร้อมในการรับฟังรายการของกลุ่มผู้ฟังเป้าหมายในขณะนั้น
ด้วย เช่น รายการเพลง รายการข่าวประเภท Soft News เป็นต้น
       การกำาหนดตารางเวลาออกอากาศนั้น บางครั้งผู้บริหารสถานีวิทยุจะ
เป็นผู้วางนโยบายเกี่ยวกับเวลาออกอากาศโดยกำาหนดลักษณะของผู้ฟัง
แต่ละช่วงเวลา แต่ถ้าสถานีวิทยุแห่งนั้นไม่ได้กำาหนดไว้ ผู้จัดและผู้ผลิต
รายการก็จะต้องค้นหาเองว่าช่วงเวลานั้นเหมาะกับผู้ฟังกลุ่มไหน แล้วจึงมา
วางแผนจัดรายการให้มีเนื้อหาและรูปแบบการนำาเสนอรายการให้เหมาะกับ
ความสนใจและรสนิยมของผู้ฟังกลุ่มนั้นในเวลานั้น
ปัจ จัย ที่ม ีผ ลต่อ การจัด ตารางเวลาออกอากาศ


                      การผลิตรายการวิทยุกระจายเสียงเบื้องต้น/อ.ศราณี เวศยาสิรินทร์
นศ.331
นศ.331
นศ.331
นศ.331
นศ.331
นศ.331
นศ.331
นศ.331
นศ.331
นศ.331
นศ.331
นศ.331
นศ.331
นศ.331
นศ.331
นศ.331
นศ.331
นศ.331
นศ.331
นศ.331
นศ.331
นศ.331
นศ.331
นศ.331
นศ.331
นศ.331
นศ.331
นศ.331
นศ.331
นศ.331
นศ.331
นศ.331
นศ.331
นศ.331
นศ.331
นศ.331
นศ.331
นศ.331
นศ.331
นศ.331
นศ.331
นศ.331
นศ.331
นศ.331
นศ.331
นศ.331
นศ.331
นศ.331
นศ.331
นศ.331
นศ.331
นศ.331
นศ.331
นศ.331
นศ.331

Más contenido relacionado

La actualidad más candente

วิธีการหรือลักษณะต้องห้ามการหาเสียง
วิธีการหรือลักษณะต้องห้ามการหาเสียงวิธีการหรือลักษณะต้องห้ามการหาเสียง
วิธีการหรือลักษณะต้องห้ามการหาเสียงKosamphee Wittaya School
 
ผังเมืองรวมเมืองท่าโขลง คลองหลวง-รังสิต จังหวัดปทุมธานี พ.ศ.2552
ผังเมืองรวมเมืองท่าโขลง คลองหลวง-รังสิต จังหวัดปทุมธานี พ.ศ.2552ผังเมืองรวมเมืองท่าโขลง คลองหลวง-รังสิต จังหวัดปทุมธานี พ.ศ.2552
ผังเมืองรวมเมืองท่าโขลง คลองหลวง-รังสิต จังหวัดปทุมธานี พ.ศ.2552ดิเรก ดวงเพ็ชร์
 
พ.อ.ดร.เศรษฐพงค์ Infrastructure sharing
พ.อ.ดร.เศรษฐพงค์ Infrastructure sharingพ.อ.ดร.เศรษฐพงค์ Infrastructure sharing
พ.อ.ดร.เศรษฐพงค์ Infrastructure sharingSettapong-Broadband
 
พ.อ.ดร.เศรษฐพงค์ 700 mhz future broadband
พ.อ.ดร.เศรษฐพงค์   700 mhz future broadbandพ.อ.ดร.เศรษฐพงค์   700 mhz future broadband
พ.อ.ดร.เศรษฐพงค์ 700 mhz future broadbandSettapong Malisuwan
 
แผนที่ยุทธศาสตร์ (Strategy map) 5Y Radio + TV
แผนที่ยุทธศาสตร์ (Strategy map)  5Y  Radio + TVแผนที่ยุทธศาสตร์ (Strategy map)  5Y  Radio + TV
แผนที่ยุทธศาสตร์ (Strategy map) 5Y Radio + TVVictor Ronin
 
ผังพัฒนาพื้นที่เฉพาะรอบสถานีรถไฟฟ้าสีแดง2
ผังพัฒนาพื้นที่เฉพาะรอบสถานีรถไฟฟ้าสีแดง2ผังพัฒนาพื้นที่เฉพาะรอบสถานีรถไฟฟ้าสีแดง2
ผังพัฒนาพื้นที่เฉพาะรอบสถานีรถไฟฟ้าสีแดง2yahapop
 
กระบวนการต่อต้านยาเสพติด
กระบวนการต่อต้านยาเสพติดกระบวนการต่อต้านยาเสพติด
กระบวนการต่อต้านยาเสพติดkittisak sapphajak
 
ผู้ให้บริการเชื่อมต่อ Internet
ผู้ให้บริการเชื่อมต่อ Internetผู้ให้บริการเชื่อมต่อ Internet
ผู้ให้บริการเชื่อมต่อ InternetNapatt Psn
 
แผนป้องกันและปราบปรามการทุจริต
แผนป้องกันและปราบปรามการทุจริตแผนป้องกันและปราบปรามการทุจริต
แผนป้องกันและปราบปรามการทุจริตpor
 

La actualidad más candente (12)

วิธีการหรือลักษณะต้องห้ามการหาเสียง
วิธีการหรือลักษณะต้องห้ามการหาเสียงวิธีการหรือลักษณะต้องห้ามการหาเสียง
วิธีการหรือลักษณะต้องห้ามการหาเสียง
 
ผังเมืองรวมเมืองท่าโขลง คลองหลวง-รังสิต จังหวัดปทุมธานี พ.ศ.2552
ผังเมืองรวมเมืองท่าโขลง คลองหลวง-รังสิต จังหวัดปทุมธานี พ.ศ.2552ผังเมืองรวมเมืองท่าโขลง คลองหลวง-รังสิต จังหวัดปทุมธานี พ.ศ.2552
ผังเมืองรวมเมืองท่าโขลง คลองหลวง-รังสิต จังหวัดปทุมธานี พ.ศ.2552
 
พ.อ.ดร.เศรษฐพงค์ Infrastructure sharing
พ.อ.ดร.เศรษฐพงค์ Infrastructure sharingพ.อ.ดร.เศรษฐพงค์ Infrastructure sharing
พ.อ.ดร.เศรษฐพงค์ Infrastructure sharing
 
พ.อ.ดร.เศรษฐพงค์ 700 mhz future broadband
พ.อ.ดร.เศรษฐพงค์   700 mhz future broadbandพ.อ.ดร.เศรษฐพงค์   700 mhz future broadband
พ.อ.ดร.เศรษฐพงค์ 700 mhz future broadband
 
McKinsey's 7S กรณีศึกษา Grammy
McKinsey's 7S กรณีศึกษา Grammy McKinsey's 7S กรณีศึกษา Grammy
McKinsey's 7S กรณีศึกษา Grammy
 
แผนที่ยุทธศาสตร์ (Strategy map) 5Y Radio + TV
แผนที่ยุทธศาสตร์ (Strategy map)  5Y  Radio + TVแผนที่ยุทธศาสตร์ (Strategy map)  5Y  Radio + TV
แผนที่ยุทธศาสตร์ (Strategy map) 5Y Radio + TV
 
ผังพัฒนาพื้นที่เฉพาะรอบสถานีรถไฟฟ้าสีแดง2
ผังพัฒนาพื้นที่เฉพาะรอบสถานีรถไฟฟ้าสีแดง2ผังพัฒนาพื้นที่เฉพาะรอบสถานีรถไฟฟ้าสีแดง2
ผังพัฒนาพื้นที่เฉพาะรอบสถานีรถไฟฟ้าสีแดง2
 
กระบวนการต่อต้านยาเสพติด
กระบวนการต่อต้านยาเสพติดกระบวนการต่อต้านยาเสพติด
กระบวนการต่อต้านยาเสพติด
 
การสื่อสาร
การสื่อสารการสื่อสาร
การสื่อสาร
 
ผู้ให้บริการเชื่อมต่อ Internet
ผู้ให้บริการเชื่อมต่อ Internetผู้ให้บริการเชื่อมต่อ Internet
ผู้ให้บริการเชื่อมต่อ Internet
 
แผนป้องกันและปราบปรามการทุจริต
แผนป้องกันและปราบปรามการทุจริตแผนป้องกันและปราบปรามการทุจริต
แผนป้องกันและปราบปรามการทุจริต
 
Ple
PlePle
Ple
 

Destacado

สคริปบทสารคดี ตลาดสามชุก
สคริปบทสารคดี ตลาดสามชุกสคริปบทสารคดี ตลาดสามชุก
สคริปบทสารคดี ตลาดสามชุกRuzz Vimolrut
 
รายการนิตยสารทางอากาศ
รายการนิตยสารทางอากาศรายการนิตยสารทางอากาศ
รายการนิตยสารทางอากาศPiyatida Sriwichai
 
บทวิทยุน้ำชา
บทวิทยุน้ำชาบทวิทยุน้ำชา
บทวิทยุน้ำชา-sky Berry
 
รายการนิตยสารทางอากาศ
รายการนิตยสารทางอากาศรายการนิตยสารทางอากาศ
รายการนิตยสารทางอากาศWichuta Junkhaw
 
Proposal รายการอยากรู้ป่ะ !
Proposal  รายการอยากรู้ป่ะ !Proposal  รายการอยากรู้ป่ะ !
Proposal รายการอยากรู้ป่ะ !Tanpisit Lerdbamrungchai
 
รายการวิทยุประเภทนิตยสารทางอากาศ
รายการวิทยุประเภทนิตยสารทางอากาศรายการวิทยุประเภทนิตยสารทางอากาศ
รายการวิทยุประเภทนิตยสารทางอากาศAimy Blythe
 
Proposal รายการห๊ะอะไรนะ
Proposal รายการห๊ะอะไรนะProposal รายการห๊ะอะไรนะ
Proposal รายการห๊ะอะไรนะTanpisit Lerdbamrungchai
 

Destacado (12)

สคริปบทสารคดี ตลาดสามชุก
สคริปบทสารคดี ตลาดสามชุกสคริปบทสารคดี ตลาดสามชุก
สคริปบทสารคดี ตลาดสามชุก
 
รายการนิตยสารทางอากาศ
รายการนิตยสารทางอากาศรายการนิตยสารทางอากาศ
รายการนิตยสารทางอากาศ
 
บทวิทยุน้ำชา
บทวิทยุน้ำชาบทวิทยุน้ำชา
บทวิทยุน้ำชา
 
รายการนิตยสารทางอากาศ
รายการนิตยสารทางอากาศรายการนิตยสารทางอากาศ
รายการนิตยสารทางอากาศ
 
Proposal รายการอยากรู้ป่ะ !
Proposal  รายการอยากรู้ป่ะ !Proposal  รายการอยากรู้ป่ะ !
Proposal รายการอยากรู้ป่ะ !
 
Radio drama
Radio dramaRadio drama
Radio drama
 
Musicprogram
MusicprogramMusicprogram
Musicprogram
 
รายการวิทยุประเภทนิตยสารทางอากาศ
รายการวิทยุประเภทนิตยสารทางอากาศรายการวิทยุประเภทนิตยสารทางอากาศ
รายการวิทยุประเภทนิตยสารทางอากาศ
 
Radio Magazine
Radio MagazineRadio Magazine
Radio Magazine
 
Script Coyote
Script CoyoteScript Coyote
Script Coyote
 
Resume2
Resume2Resume2
Resume2
 
Proposal รายการห๊ะอะไรนะ
Proposal รายการห๊ะอะไรนะProposal รายการห๊ะอะไรนะ
Proposal รายการห๊ะอะไรนะ
 

Similar a นศ.331

นักจัดรายการวิทยุ ส่ง
นักจัดรายการวิทยุ ส่งนักจัดรายการวิทยุ ส่ง
นักจัดรายการวิทยุ ส่งSRINAKARIN MOTHER PRINCESS SCHOOL
 
แผนที่ยุทธศาสตร์ (Strategy map) 5 Y (Score)
แผนที่ยุทธศาสตร์ (Strategy map) 5 Y (Score)แผนที่ยุทธศาสตร์ (Strategy map) 5 Y (Score)
แผนที่ยุทธศาสตร์ (Strategy map) 5 Y (Score)Victor Ronin
 
การกำกับดูแลการเปลี่ยนผ่านสู่ทีวีดิจิทัล
การกำกับดูแลการเปลี่ยนผ่านสู่ทีวีดิจิทัลการกำกับดูแลการเปลี่ยนผ่านสู่ทีวีดิจิทัล
การกำกับดูแลการเปลี่ยนผ่านสู่ทีวีดิจิทัลIsriya Paireepairit
 
ผลการดำเนินงานกองทุนฯ ในพื้นที่
ผลการดำเนินงานกองทุนฯ ในพื้นที่ผลการดำเนินงานกองทุนฯ ในพื้นที่
ผลการดำเนินงานกองทุนฯ ในพื้นที่kalayaW
 
ตัวอย่าง การจัดทำโครงการและการประเมินผลด้านสุขภาพ
ตัวอย่าง การจัดทำโครงการและการประเมินผลด้านสุขภาพตัวอย่าง การจัดทำโครงการและการประเมินผลด้านสุขภาพ
ตัวอย่าง การจัดทำโครงการและการประเมินผลด้านสุขภาพWC Triumph
 
Year Plan for CMC Smo Banshi 54
Year Plan for CMC Smo Banshi 54Year Plan for CMC Smo Banshi 54
Year Plan for CMC Smo Banshi 54Peesadech Pechnoi
 
เทคโนโลยีสารสนเทศกับการประชาสัมพันธ์
เทคโนโลยีสารสนเทศกับการประชาสัมพันธ์เทคโนโลยีสารสนเทศกับการประชาสัมพันธ์
เทคโนโลยีสารสนเทศกับการประชาสัมพันธ์สราวุฒิ จบศรี
 
การใช้สื่อและกิจกรรมในงานประชาสัมพันธ์องค์กร
การใช้สื่อและกิจกรรมในงานประชาสัมพันธ์องค์กรการใช้สื่อและกิจกรรมในงานประชาสัมพันธ์องค์กร
การใช้สื่อและกิจกรรมในงานประชาสัมพันธ์องค์กรRattanaporn Sarapee
 
Pmt ผลการประชุม ร่างเป้าหมายและยุทธศาสตร์หลัก
Pmt ผลการประชุม ร่างเป้าหมายและยุทธศาสตร์หลักPmt ผลการประชุม ร่างเป้าหมายและยุทธศาสตร์หลัก
Pmt ผลการประชุม ร่างเป้าหมายและยุทธศาสตร์หลักpromboon09
 
แผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์สำเร็จรูป
แผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์สำเร็จรูปแผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์สำเร็จรูป
แผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์สำเร็จรูปสปสช นครสวรรค์
 
ระบบสุขภาพอำเภอ Ln นำเสนอประชุมขับเคลื่อนยุทธศาสตร์2
ระบบสุขภาพอำเภอ Ln นำเสนอประชุมขับเคลื่อนยุทธศาสตร์2ระบบสุขภาพอำเภอ Ln นำเสนอประชุมขับเคลื่อนยุทธศาสตร์2
ระบบสุขภาพอำเภอ Ln นำเสนอประชุมขับเคลื่อนยุทธศาสตร์2กันย์ สมรักษ์
 
Thai rice to vietnam project
Thai rice to vietnam projectThai rice to vietnam project
Thai rice to vietnam projectwat5tawe
 
BusThai Digest
BusThai DigestBusThai Digest
BusThai Digestchampoo13
 
Presentation Bus Thai Digest
Presentation Bus Thai DigestPresentation Bus Thai Digest
Presentation Bus Thai Digestchampoo13
 
ผู้ใช้บริการเชื่อมต่ออินเตอร์เน็ต
ผู้ใช้บริการเชื่อมต่ออินเตอร์เน็ต ผู้ใช้บริการเชื่อมต่ออินเตอร์เน็ต
ผู้ใช้บริการเชื่อมต่ออินเตอร์เน็ต Supitcha Kietkittinan
 
เวียดนาม Brand planing
เวียดนาม Brand planingเวียดนาม Brand planing
เวียดนาม Brand planingwat5tawe
 
นโยบาย พรรครักษ์สันติ
นโยบาย พรรครักษ์สันตินโยบาย พรรครักษ์สันติ
นโยบาย พรรครักษ์สันติsuthat22
 
SET Corner Khon Kaen University
SET Corner Khon Kaen UniversitySET Corner Khon Kaen University
SET Corner Khon Kaen Universitykkuaglibrary
 

Similar a นศ.331 (20)

นักจัดรายการวิทยุ ส่ง
นักจัดรายการวิทยุ ส่งนักจัดรายการวิทยุ ส่ง
นักจัดรายการวิทยุ ส่ง
 
แผนที่ยุทธศาสตร์ (Strategy map) 5 Y (Score)
แผนที่ยุทธศาสตร์ (Strategy map) 5 Y (Score)แผนที่ยุทธศาสตร์ (Strategy map) 5 Y (Score)
แผนที่ยุทธศาสตร์ (Strategy map) 5 Y (Score)
 
การกำกับดูแลการเปลี่ยนผ่านสู่ทีวีดิจิทัล
การกำกับดูแลการเปลี่ยนผ่านสู่ทีวีดิจิทัลการกำกับดูแลการเปลี่ยนผ่านสู่ทีวีดิจิทัล
การกำกับดูแลการเปลี่ยนผ่านสู่ทีวีดิจิทัล
 
ผลการดำเนินงานกองทุนฯ ในพื้นที่
ผลการดำเนินงานกองทุนฯ ในพื้นที่ผลการดำเนินงานกองทุนฯ ในพื้นที่
ผลการดำเนินงานกองทุนฯ ในพื้นที่
 
ตัวอย่าง การจัดทำโครงการและการประเมินผลด้านสุขภาพ
ตัวอย่าง การจัดทำโครงการและการประเมินผลด้านสุขภาพตัวอย่าง การจัดทำโครงการและการประเมินผลด้านสุขภาพ
ตัวอย่าง การจัดทำโครงการและการประเมินผลด้านสุขภาพ
 
Year Plan for CMC Smo Banshi 54
Year Plan for CMC Smo Banshi 54Year Plan for CMC Smo Banshi 54
Year Plan for CMC Smo Banshi 54
 
เทคโนโลยีสารสนเทศกับการประชาสัมพันธ์
เทคโนโลยีสารสนเทศกับการประชาสัมพันธ์เทคโนโลยีสารสนเทศกับการประชาสัมพันธ์
เทคโนโลยีสารสนเทศกับการประชาสัมพันธ์
 
Integrated social media approaches for effectively engaging youth
Integrated social media approaches for effectively engaging youthIntegrated social media approaches for effectively engaging youth
Integrated social media approaches for effectively engaging youth
 
Model for Safe and Creative Media (draft)Fund Act Movement
Model for Safe and Creative Media (draft)Fund Act Movement Model for Safe and Creative Media (draft)Fund Act Movement
Model for Safe and Creative Media (draft)Fund Act Movement
 
การใช้สื่อและกิจกรรมในงานประชาสัมพันธ์องค์กร
การใช้สื่อและกิจกรรมในงานประชาสัมพันธ์องค์กรการใช้สื่อและกิจกรรมในงานประชาสัมพันธ์องค์กร
การใช้สื่อและกิจกรรมในงานประชาสัมพันธ์องค์กร
 
Pmt ผลการประชุม ร่างเป้าหมายและยุทธศาสตร์หลัก
Pmt ผลการประชุม ร่างเป้าหมายและยุทธศาสตร์หลักPmt ผลการประชุม ร่างเป้าหมายและยุทธศาสตร์หลัก
Pmt ผลการประชุม ร่างเป้าหมายและยุทธศาสตร์หลัก
 
แผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์สำเร็จรูป
แผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์สำเร็จรูปแผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์สำเร็จรูป
แผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์สำเร็จรูป
 
ระบบสุขภาพอำเภอ Ln นำเสนอประชุมขับเคลื่อนยุทธศาสตร์2
ระบบสุขภาพอำเภอ Ln นำเสนอประชุมขับเคลื่อนยุทธศาสตร์2ระบบสุขภาพอำเภอ Ln นำเสนอประชุมขับเคลื่อนยุทธศาสตร์2
ระบบสุขภาพอำเภอ Ln นำเสนอประชุมขับเคลื่อนยุทธศาสตร์2
 
Thai rice to vietnam project
Thai rice to vietnam projectThai rice to vietnam project
Thai rice to vietnam project
 
BusThai Digest
BusThai DigestBusThai Digest
BusThai Digest
 
Presentation Bus Thai Digest
Presentation Bus Thai DigestPresentation Bus Thai Digest
Presentation Bus Thai Digest
 
ผู้ใช้บริการเชื่อมต่ออินเตอร์เน็ต
ผู้ใช้บริการเชื่อมต่ออินเตอร์เน็ต ผู้ใช้บริการเชื่อมต่ออินเตอร์เน็ต
ผู้ใช้บริการเชื่อมต่ออินเตอร์เน็ต
 
เวียดนาม Brand planing
เวียดนาม Brand planingเวียดนาม Brand planing
เวียดนาม Brand planing
 
นโยบาย พรรครักษ์สันติ
นโยบาย พรรครักษ์สันตินโยบาย พรรครักษ์สันติ
นโยบาย พรรครักษ์สันติ
 
SET Corner Khon Kaen University
SET Corner Khon Kaen UniversitySET Corner Khon Kaen University
SET Corner Khon Kaen University
 

Más de Udomwit Nakdontree (11)

Line27 28june2014-kawila-cmu
Line27 28june2014-kawila-cmuLine27 28june2014-kawila-cmu
Line27 28june2014-kawila-cmu
 
Computergraphics l1
Computergraphics l1Computergraphics l1
Computergraphics l1
 
Multimedia1
Multimedia1Multimedia1
Multimedia1
 
Computer graphics 1/15 Intro
Computer graphics 1/15 IntroComputer graphics 1/15 Intro
Computer graphics 1/15 Intro
 
Webdesign2
Webdesign2Webdesign2
Webdesign2
 
Webdesign3
Webdesign3Webdesign3
Webdesign3
 
Social network 54
Social network 54Social network 54
Social network 54
 
Sn54 part4-slide share
Sn54 part4-slide shareSn54 part4-slide share
Sn54 part4-slide share
 
Sn54 part1-theory
Sn54 part1-theorySn54 part1-theory
Sn54 part1-theory
 
Sn54 part3-youtube
Sn54 part3-youtubeSn54 part3-youtube
Sn54 part3-youtube
 
Sn54 part2-facebook
Sn54 part2-facebookSn54 part2-facebook
Sn54 part2-facebook
 

นศ.331

  • 1.  นศ.331 การผลิต รายการวิท ยุก ระจาย เสีย ง   ภาพรวมของสื่อ วิท ยุใ นปัจ จุบ ัน สื่อวิทยุมีบทบาทสำาคัญมากในปัจจุบัน เพราะสามารถเข้าถึงคนได้ จำานวนมาก ๆ พร้อม ๆ กัน ทำาให้กลายเป็นสื่อมวลชนที่สำาคัญที่มีคนต้องการ ใช้เป็นสื่อกลางในการดำาเนินกิจการ เพื่อเผยแพร่ประชาสัมพันธ์ และเป็น เครื่องมือในการสื่อสารองค์กร ไม่ว่าจะเป็นภาคราชการ ธุรกิจเอกชน ก็ตาม หากจำาแนกสถานีวิทยุตามลักษณะของเป้าหมายและประเภทของการ ประกอบการนั้น หลักเกณฑ์สำาคัญในการจำาแนกประเภทอยู่ที่เรื่องเป้าหมาย ขององค์กร ทั้งในด้านเศรษฐกิจ การเมือง และวัฒนธรรม และที่มาของราย ได้ แบ่งได้ 5 ประเภท ประเภทการ เป้า หมายของสถานีว ิท ยุ ที่ม าของรายได้แ ละลัก ษณะส ประกอบการ วิท ยุข องรัฐ * รักษาประโยชน์ของชาติ * รายได้จากงบประมาณ (state radio) * รักษาความมั่นคงของ * เป็นเครื่องมือในการโฆษณาชวนเชื่อของ รัฐบาลและรัฐ * ถูกใช้ในการแสวงหาประโยชน์อื่น ๆ วิท ยุใ ต้ด ิน * ต่อต้านรัฐบาล/รัฐ * รายได้จากกลุ่มต่อต้านรัฐหรือองค์กรสนับ (undergroun * ต่อต้านวิทยุกระแสหลัก * ผิดกฎหมาย ต้องดำาเนินการแบบไม่เปิดเผ d radio) * สร้างพื้นที่อิสระของตนเอง เพื่อตอบสนองสิทธิ เสรีภาพ ในการพูด แสดงความคิดเห็น วิท ยุข องชุม ชน * รักษาประโยชน์ของชุมชน * รายได้จากสมาชิก ,เงินบริจาค กองทุนขอ (community * ไม่แสวงหากำาไร จากองค์กรสาธารณะ โฆษณา radio) * กลุ่มองค์กรชุมชนเป็นเจ้าของและดำาเนินก ร่วมสูง วิท ยุข อง * รักษาประโยชน์ของ * รายได้จากภาษีเครื่องรับ นศ.331 การผลิตรายการวิทยุกระจายเสียง/อ.อุดมวิทย์ นักดนตรี
  • 2. 2 ประเภทการ เป้า หมายของสถานีว ิท ยุ ที่ม าของรายได้แ ละลัก ษณะส ประกอบการ สาธารณะ หรือ สาธารณะ ขององค์กร หรือ * รายได้จากงบประมาณ วิท ยุบ ริก าร สถาบันการศึกษา * รายได้จากส่วนแบ่งรายได้ของวิทยุ/โทรท สาธารณะ * มุ่งรักษาบรรทัดฐานทาง *ไม่มีโฆษณา (public วัฒนธรรมของสังคม * องค์กรของรัฐเป็นเจ้าของและมีการดำาเนิน service radio) * ไม่แสวงหากำาไร จากการแทรกแซงหรือควบคุมของรัฐ วิท ยุข อง * รักษาประโยชน์ของธุรกิจ * รายได้จากค่าโฆษณา เอกชน หรือ เอกชน * รายได้จากการขาย /ให้เช่าเวลา วิท ยุเ ชิง * มุ่งแสวงหากำาไรจากการ * รายได้จากการขายผลิตภัณฑ์ที่สืบเนื่องจ พาณิช ย์ ประกอบธุรกิจ (commercial radio) สถานีว ิท ยุข องรัฐ วิทยุของรัฐมีเครือข่ายให้อยู่ 3 เครือข่าย คือ เครือข่ายวิทยุกระจาย เสียงแห่งประเทศไทย ของกรมประชาสัมพันธ์ เครือข่ายวิทยุ อ.ส.ม.ท. ซึ่งมี พันธกิจในด้านการสื่อสารมวลชน และเครือข่ายวิทยุของกองทัพต่าง ๆ ซึ่ง ก่อตั้งขึ้นเพื่อดำาเนินการด้านความมั่นคง 1. เครือ ข่า ยวิท ยุก ระจายเสีย งแห่ง ประเทศไทย (สวท.) ปัจจุบันกรมประชาสัมพันธ์มีเครือข่ายวิทยุกระจายเสียงแห่ง ประเทศไทย 147 สถานี แบ่งเป็น ระบบเอเอ็ม 60 สถานี และระบบเอฟเอ็ม 87 สถานี (ไม่รวมคลื่นสั้นอีก 5 สถานี) ปัจจุบันแบ่งรายการออกอากาศเป็น 7 เครือข่าย ทั้งนี้เพื่อมุ่งเน้น เนื้อหาให้เหมาะกับกลุ่มผู้ฟังเฉพาะกลุ่ม คือ • สวท.1 เครือข่ายแห่งชาติ หรือเครือข่ายเพื่อข้อมูลข่าวสารแห่ง รัฐและประชาชน (เอเอ็ม 891 เป็นแม่ข่าย ลูกข่ายเป็นเอเอ็ม 16 สถานีทั่วประเทศ กลุ่มผู้ฟังเป้าหมาย คือ ผู้นำาทางสังคมทุกระดับ เครือข่ายนี้สถานีลูกข่ายจะผลิตรายการเองร้อยละ 20 • สวท.2 เครือข่ายเพื่อการถ่ายทอดสด หรือเครือข่ายเพื่อส่งเสริม การปกครองระบอบประชาธิปไตย และส่งเสริมอาชีพ มีเอเอ็ม 819 เป็นแม่ข่าย ส่วนลูกข่ายเป็นเอเอ็ม 27 สถานีทั่วประเทศ กลุ่มผู้ฟังเป้าหมาย คือ ประชาชนทั่วไป เกษตรกร และผู้ใช้ แรงงาน เครือข่ายนี้สถานีลูกข่ายจะผลิตรายการเองร้อยละ 40 • สวท.3 เครือข่ายเพื่อการท่องเที่ยว การกีฬา ศาสนา วัฒนธรรม หรือเครือข่ายเพื่อการพัฒนาคุณภาพชีวิตและสังคม มีคลื่นเอฟเอ็ม 92.5 เป็นแม่ข่าย ส่วนลูกข่ายเป็นเอฟเอ็ม 54 สถานีทั่วประเทศ กลุ่มผู้ฟังเป้าหมาย คือ คนรุ่นใหม่ คนวัย ทำางาน เครือข่ายนี้สถานีลูกข่ายจะผลิตรายการเองร้อยละ 50 การผลิตรายการวิทยุกระจายเสียงเบื้องต้น/อ.ศราณี เวศยาสิรินทร์
  • 3. 3 • สวท.4 เครือข่ายเพื่อการศึกษา หรือ สวศ. ในปัจจุบัน เอเอ็ม 1467 เป็นแม่ข่าย ส่วนลูกข่ายมีระบบเอเอ็ม 8 สถานี และเอฟ เอ็ม 2 สถานี กลุ่มผู้ฟังเป้าหมาย คือ นักเรียน นักศึกษา และผู้ที่ สนใจด้านการศึกษา • สวท.5 เครือข่ายเพื่อข้อมูลข่าวสาร บริการจังหวัด หรือ สถานี วิทยุประจำาจังหวัดมีทั้งหมด 25 จังหวัด เป็นจังหวัดที่มีคุณสมบัติ อย่างใดอย่างหนึ่งเด่นชัดในการคัดเลือก เช่น เป็นจังหวัด CEO และจังหวัดเปรียบเทียบ จังหวัดท่องเที่ยว จังหวัดชายแดน จังหวัดที่มีศักยภาพทางด้านเศรษฐกิจ สังคม การเมือง เครือข่าย นี้มีระบบเอฟเอ็ม 23 สถานี เอเอ็ม 2 สถานี ถ่ายทอดข่าวและ รายการจากเอฟเอ็ม 92.5 ร้อยละ 50 และเป็นเครือข่ายนำาร่อง • สวท.6 เครือข่ายภาคภาษาต่างประเทศ – ในประเทศ มี ทั้งหมด 4 สถานี กลุ่มผู้ฟังเป้าหมาย คือ ชาวต่างชาติที่อาศัยอยู่ ในประเทศไทย และพื้นที่ตะเข็บชายแดนลาว กัมพูชา พม่า เพื่อ สร้างความเข้าใจอันดี และส่งเสริมภาพลักษณ์ประเทศไทย • สวท.7 เครือข่ายคลื่นสั้นระหว่างประเทศ มี 2 สถานี ออก อากาศ 12 ภาษา โดยมีกลุ่มเป้าหมาย คือชาวต่างชาติ ณ ประเทศต่าง ๆ ทั่วโลก มีวัตถุประสงค์เพื่อชักจูงนักลงทุนต่าง ประเทศและส่งเสริมการท่องเที่ยว 2. เครือ ข่า ยวิท ยุ อ.ส.ม.ท. ปัจจุบันมีทั้งสิ้น 62 สถานี เอเอ็ม 2 สถานี และเอฟเอ็ม 60 สถานี (กรุงเทพมี 9 สถานี) โดยมีวัตถุประสงค์หลักเพื่อเชื่อมโยงสังคม ประชาธิปไตย กำาหนดรูปแบบรายการใน 2 ลักษณะ • ลัก ษณะเครือ ข่า ยวิท ยุ อ.ส.ม.ท. ส่งสัญญาณผ่านดาวเทียม ออกอากาศพร้อมกันทั่วประเทศ มีสถานีวิทยุ อ.ส.ม.ท. 100.5 เมกะเฮิรตซ์ เป็นแม่ข่าย รายการหลักคือรายการประเภทข่าว และรายการสาระความรู้ • ลัก ษณะการจัด รายการตามประชากรที่อ ยู่อ าศัย ในเขต บริก าร จัดให้เหมาะสมกับพื้นที่ คือ กรุงเทพ ส่วนภูมิภาค จังหวัดใหญ่ และส่วนภูมิภาคจังหวัดเล็ก 3. เครือ ข่า ยวิท ยุข องกองทัพ ต่า ง ๆ ได้แก่ • สำา นัก ปลัด กระทรวงกลาโหม 3 สถานี • กองบัญ ชาการทหารสูง สุด 14 สถานี • กองทัพ บก 127 สถานี • กองทัพ เรือ 21 สถานี • กองทัพ อากาศ 36 สถานี • สำา นัก งานตำา รวจแห่ง ชาติ 44 สถานี  ความหมายของการผลิต และการจัด รายการวิท ยุ การผลิตรายการวิทยุกระจายเสียงเบื้องต้น/อ.ศราณี เวศยาสิรินทร์
  • 4. 4 การออกอากาศทางวิทยุกระจายเสียงจะมีงานที่เกี่ยวข้องกันอยู่ 2 ขั้น ตอน คือ 1. การจัดรายการวิทยุ (Radio Programming) 2. การผลิตรายการวิทยุ (Radio Program Production) การจัด รายการวิท ยุ (Radio Programming) การจัด รายการวิท ยุ หมายถึง การกำาหนดแผนการออกอากาศ รายการวิทยุกระจายเสียง โดยคำานึงถึงรูปแบบเนื้อหาและช่วงเวลาออก อากาศที่เหมาะสมสอดคล้องกับความสนใจของกลุ่มเป้าหมายและกลุ่มผู้ฟัง ทั่วไป ทั้งนี้เพื่อให้สามารถดึงดูดความสนใจของผู้ฟังให้ได้มากที่สุด สิ่งแรกที่จะต้องกระทำาเมื่อสถานีวิทยุที่จะออกอากาศกระจายเสียงคือ การวางแผนการออกอากาศรายการต่าง ๆ ให้อยู่ในช่วงที่เหมาะสม โดย ต้องคำานึงถึง 1. รูปแบบและเนื้อหาของรายการว่ามีความเหมาะสมสอดคล้องกับ รสนิยม และความต้องการของกลุ่มผู้ฟังเป้าหมายและผู้ฟังทั่วไป หรือไม่ 2. ช่วงเวลาการออกอากาศที่สามารถเข้าถึงและมีสอดคล้องกับวิถีการ ดำาเนินชีวต (Life Style )ของกลุ่มผู้ฟังทั่วไปหรือไม่ เพื่อให้ ิ สามารถดึงดูดใจของกลุ่มผู้ฟังรายการที่จัดขึ้นให้ได้จำานวนมาก ที่สุด การจัดรายการวิทยุเปรียบเสมือนฝ่ายเสนาธิการที่ทำาหน้าที่ กำา หนด ยุท ธวิธ ี (Strategy) โดยการวางแผนว่าจะดำาเนินการด้วยวิธีการอย่างไร จึงจะทำาให้รายการประสบความสำาเร็จและสามารถแข่งขันกับสถานีคู่แข่งได้ ซึ่งการวางแผนในการจัดตารางรายการออกอากาศนั้น จะต้องมีการศึกษา ค้นคว้าข้อมูลและปัจจัยต่าง ๆ มาประกอบเพื่อให้สามารถออกอากาศรายการ ได้ตรงตามความต้องการและความสนใจของผู้ฟัง การผลิต รายการวิท ยุ (Radio Program Production) การผลิต รายการวิท ยุ หมายถึง การนำาแผนการออกอากาศไป ลงมือผลิตรายการให้มีรูปแบบและ เนื้อหาตรงตามที่ฝ่ายจัดรายการกำาหนดไว้ โดยขั้นตอนของการผลิต รายการวิทยุจะมีเรื่องของเทคนิคและวิธีการนำาเสนอเข้ามาเกี่ยวข้องด้วย เพื่อให้รายการมีชีวิตชีวาน่าสนใจ และสร้างความประทับใจให้เกิดขึ้นกับผู้ ฟังรายการให้ได้มากที่สุด การผลิตรายการเป็นขั้นตอนการลงมือผลิตรายการ โดยผู้ผลิต รายการต้องพยายามหากลวิธี (Tactics) ที่แยบยลมาใช้ เพื่อให้รายการที่ ผลิตออกมามีความน่าสนใจ จนสามารถดึงดูดกลุ่มเป้าหมายและผู้ฟังทั่วไป ให้ติดตามรับฟังรายการได้เป็นจำานวนมาก สรุป การจัด รายการวิท ยุ เป็นงานที่เกี่ยวข้องกับนโยบายและการ วางแผนของฝ่ายบริหาร กล่าวคือ ผู้บริหารสถานีจะเป็นผู้กำาหนดนโยบาย ในการจัดรายการของแต่ละสถานี ส่วนผู้จัดรายการก็จะรับนโยบายนั้นมา การผลิตรายการวิทยุกระจายเสียงเบื้องต้น/อ.ศราณี เวศยาสิรินทร์
  • 5. 5 จัดทำารายการ ขอบเขต ตลอดจนกำาหนดรูปแบบเนื้อหาและช่วงเวลาออก อากาศ จากนั้นก็จะส่งต่อให้ฝ่ายผลิตรับตารางนั้นมาผลิตรายการนั้นมาผลิต รูปแบบที่กำาหนดไว้ เช่น ฝ่ายบริหารอาจมอบนโยบายว่าในช่วงเวลา 6.00 – 9.00 น. เป็นช่วงเวลาที่คนส่วนใหญ่อยู่ระหว่างการเดินทาง มี ความเครียดจากปัญหาจราจรที่ติดขัดและต้องการข่าวสารการจราจรมาก ดังนั้นรายการในช่วงนี้จึงควรเป็นรายการเพลงเบา ๆ คลายเครียดสลับกับ ข่าวสารการจราจรที่มีผู้แจ้งเข้ามา  หลัก การจัด รายการวิท ยุ ปัจจุบันการจัดรายการวิทยุได้พัฒนารูปแบบรายการให้มีความหลาก หลายเพื่อพยายามดึงดูดความสนใจของผู้ฟังเป้าหมายให้มากที่สุด โดยได้มี การปรับเปลี่ยนแนวคิดเดิมในการจัดรายการ คือ การจัดรายการที่มีเนื้อหา หลากหลายเพื่อกลุ่มผู้ฟังทุกเพศทุกวัย มาเป็นแนวคิดทางด้านการตลาด คือ การจัดรายการที่มีเนื้อหาเป็นเอกลักษณ์เพื่อกลุ่มผู้ฟังเป้าหมายโดยเฉพาะ ของสถานีนั้นๆ (Format Station) เช่น สถานีวิทยุเพื่อข่าวสาร สถานีวิทยุ เพื่อกลุ่มวัยรุ่น ฯลฯ เป้าหมายสูงสุดที่ผู้บริหารสถานีวิทยุแต่ละแห่งต้องการ คือ ความ สำาเร็จในการสร้าง “เรตติง ” (Rating) หรือจำานวนผู้ฟังรายการที่มีความ ้ นิยมและพอใจในรายการหนึ่งๆ ทั้งนี้เพราะหากผลการสำารวจจำานวนผู้ฟัง แต่ละรายการพบว่า รายการนั้นๆ ได้รับความนิยมและมีผู้ฟังเป็นจำานวน มาก ก็ย่อมเป็นเครื่องบ่งชี้ได้ถึงความสำาเร็จในการจัดรายการนั่นเอง ความสำา คัญ ของการจัด รายการที่ม ต ่อ การบริห ารงานของสถานี ี และผู้ผ ลิต รายการ 1. ช่ว ยกำา หนดทิศ ทางในการดำา เนิน งานของสถานีว ิท ยุ การ วางแผนจัดทำาตารางออกอากาศรายการไว้ล่วงหน้าจะทำาให้สถานีดำาเนิน การไปอย่างถูกต้องตามวัตถุประสงค์และเป้าหมายที่ได้วางไว้ โดยรายการ วิทยุที่จะกำาหนดขึ้นแต่ละรายการนั้น ผู้จัดต้องรู้ถึงความต้องการของผู้ฟัง ก่อนว่าเป็นกลุ่มใด ความต้องการอย่างไร และรายการประเภทใดเป็นที่ สนใจและอยู่ในความนิยม ข้อมูลเหล่านี้จะถูกนำามาใช้เป็นข้อมูลประกอบ การสร้างสรรค์รายการให้สอดคล้องตามความต้องการและความนิยมของผู้ ฟัง เช่น สถานีวิทยุเพื่อการศึกษา สถานีวิทยุเพื่อวัยรุ่น เป็นต้น 2. ช่ว ยให้ส ามารถมองเห็น ภาพลัก ษณ์โ ดยรวมหรือ ปรัช ญา ในการดำา เนิน งานกระจายเสีย ง รายการวิทยุที่จัดทำาขึ้นจะแสดงให้เห็น ถึงสัดส่วนของรายการในลักษณะต่างๆ ซึ่งรายการจะประกอบด้วยเนื้อหา หรือประเภทของรายการชนิดใด ในสัดส่วนอย่างไรนั้นขึ้นอยู่กับนโยบาย ของสถานีที่จะจัดทำารายการว่าเพื่อจุดประสงค์ใด เช่น คลื่นสปอตเรดิโอ มี ปรัชญาเพื่อให้ข่าวสารด้านกีฬา เป็นต้น การประกาศภาพลักษณ์ของสถานี (Format Station) ว่าเป็นสถานี ที่มุ่งจะนำาเสนอรายการประเภทใดนั้น มีประโยชน์ตอการจัดรายการดังนี้ ่ การผลิตรายการวิทยุกระจายเสียงเบื้องต้น/อ.ศราณี เวศยาสิรินทร์
  • 6. 6 • ช่วยให้เห็นว่าสถานีนั้น ๆ มีความเชี่ยวชาญหรือมีความถนัด ในด้านใด • ช่วยให้ผู้ฟังรู้ว่าเมื่อต้องการข่าวสารหรือรูปแบบความบันเทิง ชนิดใด ก็สามารถหมุนไปหาสถานีที่ต้องการได้โดยไม่ต้อง จดจำาเวลาการออกอากาศ ดังนั้นจึงเป็นการสนองตอบต่อ ความต้องการข่าวสารและรสนิยมในการหาความบันเทิงของ แต่ละคน • ช่วยทำาให้ฝ่ายผลิตรายการสามารถกำาหนดเป้าหมายและ ทิศทางในการผลิตรายการให้สอดคล้องกับภาพลักษณ์ที่ฝ่าย บริหารและฝ่ายจัดรายการกำาหนด 3. ช่ว ยให้ผ ู้บ ริห ารงานสถานีส ามารถจัด ลำา ดับ ความสำา คัญ ของงานได้ถ ก ต้อ ง การวางแผนและจัดทำาตาราง ู ออกอากาศไว้ล่วงหน้าจะช่วยให้ผู้บริหารทราบถึงขั้นตอนและช่วงเวลาใน การทำางานว่าจะผลิตงานใดเป็นงานเร่งด่วน งานใดเป็นงานซับซ้อนที่จะ ต้องใช้เวลา เพื่อที่จะสามารถผลิตรายการออกอากาศได้ทันตามความ ต้องการ 4. ช่ว ยให้ฝ ่า ยที่ร ับ ผิด ชอบสามารถตรวจสอบและควบคุม ได้ วิทยุจึงเปรียบเสมือนเป็นดาบสองคม เพราะถ้าวิทยุถูกใช้เป็นสื่อในการเผย แพร่ข้อมูลข่าวสารที่เป็นพิษเป็นภัยแก่สังคมก็จะก่อให้เกิดโทษหรือเกิดความ วุ่นวายในสังคมได้ การจัดรายการวิทยุที่แสดงให้เห็นถึงตารางเวลาออก อากาศที่ชัดเจนถือเป็นสิ่งจำาเป็น เพื่อที่ฝ่ายที่รับผิดชอบจะได้ตรวจสอบรับ ฟังได้ รวมทั้งจะได้พิจารณาความถูกต้องเหมาะสมของรายการที่จะออก อากาศได้อย่างทันการ และสามารถควบคุมแก้ไขข้อผิดพลาดได้อย่างทัน ท่วงที 5. ช่ว ยให้ผ ฟ ัง ได้ร ู้ล ่ว งหน้า ว่า จะรับ ฟัง รายการอะไรได้จ าก ู้ สถานีไ หนในเวลาใด การวางแผนจัดรายการวิทยุและกำาหนดเวลาใน การออกอากาศไว้ล่วงหน้า จะทำาให้ผู้ฟังสามารถติดตามรับฟังรายการที่ ต้องการได้และยังเป็นส่วนหนึงของกระบวนการประชาสัมพันธ์เชิญชวนให้ผู้ ่ ฟังติดตามเปิดรับฟังรายการที่ตนเองมีความสนใจอีกด้วย  การวางแผนจัด รายการวิท ยุ การวางวัต ถุป ระสงค์ เป็นความจำาเป็นประการแรกที่ต้องคำานึงถึง เมื่อวางแผนจัดรายการวิทยุ เนื่องจากมีความสำาคัญต่อผู้จัด ผู้ผลิต และ ผู้รับฟังรายการดังนี้ 1. เป็น ตัว กำา หนดแนวทางในการจัด และผลิต รายการ งานจัด รายการจะเกี่ยวข้องกับบุคคลหลายฝ่าย การมีวัตถุประสงค์ของรายการที่ ชัดเจนเปรียบเสมือนเป็นกรอบหรือกติกาในการทำางานให้มีเป้าหมายและ ทิศทางเดียวกัน ซึ่งจะเป็นแนวทางในการกำาหนดเนื้อหาและรูปแบบใน การผลิตรายการวิทยุกระจายเสียงเบื้องต้น/อ.ศราณี เวศยาสิรินทร์
  • 7. 7 การนำาเสนอ รวมทั้งการวางแผนการออกอากาศตามช่วงเวลาที่เหมาะสม ซึ่งจะนำาไปสู่ความสำาเร็จตามวัตถุประสงค์ที่กำาหนดไว้ 2. เป็น หลัก ในการประเมิน คุณ ภาพรายการ การกำาหนด วัตถุประสงค์เปรียบเสมือนการตั้งเป้าหมายในการทำางานไว้ เพราะ กระบวนการในการจัดทำารายการวิทยุมิได้สิ้นสุดเพียงเพื่อการผลิตรายการ แล้วออกอากาศเผยแพร่ได้ตามตารางเวลาที่กำาหนดไว้เท่านั้น แต่จะต้องมี การติดตามประเมินผลเพื่อตรวจสอบว่ารายการที่ออกอากาศไปแล้วนั้น ประสบผลสำาเร็จตามนโยบายหรือวัตถุประสงค์ที่กำาหนดไว้หรือไม่ นอกจาก นี้วัตถุประสงค์ยังมีความสัมพันธ์กับการกำาหนดรูปแบบและวิธีการประเมินผล รายการ หลัก ในการกำา หนดวัต ถุป ระสงค์ข องรายการ ปัจจัยหรือองค์ประกอบที่ผู้จัดต้องพิจารณาประกอบการกำาหนด วัตถุประสงค์ของรายการมีดังนี้ 1.วัต ถุป ระสงค์ข องทางราชการ คณะกรรมการกิจการวิทยุ กระจายเสียงและวิทยุโทรทัศน์แห่งชาติ (กกช.) ในสังกัดของกรมประชาสัมพันธ์ ซึ่งมีหน้าที่ในการควบคุมดูแล นโยบายของสถานีวิทยุ ตรวจพิจารณารายการที่ไม่เหมาะสม งานเทคนิค และการกำาหนดคลื่นความถี่ของวิทยุโทรทัศน์ โดยกำาหนดไว้เพื่อให้การ บริการส่งวิทยุกระจายเสียงและวิทยุโทรทัศน์ให้เป็นไปตามเจตนารมณ์ของ การผลิตสื่อเพื่อ การบริก ารสาธารณะที่เ ป็น ประโยชน์ต อ สาธารณชน่ อย่า งแท้จ ริง โดยมีวัตถุประสงค์ เพื่อ 1. ส่งเสริมความรู้ ความเข้าใจ ความรับผิดชอบ และจิตสำานึกในเรื่องของ การปกครองในระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็น ประมุข 2. เป็นสื่อกลางการให้ข้อมูลข่าวสาร การแลกเปลี่ยนความคิดเห็น เพื่อ ความเข้าใจอันดีและถูกต้อง โดยคำานึงถึงสิทธิความเสมอภาคในการ รับรู้ข้อมูลข่าวสารของประชาชน 3. ส่งเสริมการศึกษา จริยธรรม ศิลปวัฒนธรรม ให้ความรู้ความบันเทิง ไม่ขัดกับขนบธรรมเนียมประเพณีและศีลธรรมอันดีงามของชาติ 4. ส่งเสริมให้เกิดความรู้ความเข้าใจในการพัฒนาเศรษฐกิจ สังคม คุณภาพชีวิต ทรัพยากรธรรมชาติ และสิงแวดล้อมของชาติ ่ 2. วัต ถุป ระสงค์ข องสถานีว ิท ยุก ระจายเสีย ง สถานีวิทยุที่มีอยู่ในปัจจุบันล้วนมีวัตถุประสงค์และเป้าหมายของตนเอง โดยเฉพาะเพื่อที่จะใช้เ ป็น กรอบในการทำา ความเข้า ใจร่ว มกัน นับ ตั้งแต่ผู้บริหารสถานีซึ่งเป็นผู้กำาหนดควบคุมนโยบาย ผู้จัดรายการซึ่งทำา หน้าในการวางแผนกำาหนดเนื้อหา รูปแบบรายการ และเวลาออกอากาศ ตลอดจนถึงฝ่ายผลิตรายการซึ่งเป็นผู้ลงมือผลิตรายการให้ได้รายการที่มี คุณภาพ สามารถเข้าถึงกลุ่มเป้าหมาย และเกิดผลจากการรับฟังรายการได้ ตรงตามวัตถุประสงค์ที่สถานีวิทยุแห่งนั้นได้กำาหนดไว้ การผลิตรายการวิทยุกระจายเสียงเบื้องต้น/อ.ศราณี เวศยาสิรินทร์
  • 8. 8 ตัว อย่า ง ชื่อสถานี สถานีวิทยุกระจายเสียง 919 กรป. กลาง วัตถุประสงค์ของสถานี 1. สร้างเสริมให้ประชาชนเกิดความสามัคคีและจงรักภักดีใน สถาบันชาติ ศาสนา และพระมหากษัตริย์ 2. สร้างเสริมนโยบายอันเป็นประโยชน์ต่อส่วนรวมของชาติทั้งใน ด้านการเมือง การทหาร การเศรษฐกิจ และสังคมจิตวิทยา 3. ต่อต้านการโฆษณาชวนเชือขิงฝ่ายตรงข้าม รวมทั้งปฏิบัติการ ่ เพื่อผลทางจิตวิทยา ให้ประชาชนมีความเข้าใจเจตนาอันดีของ รัฐบาล 4. เผยแพร่วิทยาการอันเกี่ยวกับอาชีพ และความเป็นอยู่ของ ประชาชนทั้งทางเศรษฐกิจ และสังคม 5. ให้ความรู้ ความบันเทิง ซึ่งชอบด้วยกฎหมาย ประเพณี วัฒนธรรม และศีลธรรมอันดีงามของชาติ 6. เป็นเครื่องมือในการประชาสัมพันธ์ให้กับ บก. ทหารสูงสุด วัตถุประสงค์ของสถานีจะบ่งบอกทิศทางส่วนใหญ่ขอรายการ เป็นการ แสดงออกถึงเอกลักษณ์ที่โดดเด่นของสถานี และเป็นจุดขายที่ดึงดูดใจให้ผู้ ฟังสามารถเลือกและติดตามฟังการกระจายเสียงของสถานีที่มีเนื้อหารายการ ตรงกับความสนใจของตน 3. ความต้อ งการของกลุ่ม ผูฟ ัง้ การกำาหนดวัตถุประสงค์ของรายการจะต้องพิจารณาจากความสนใจ และความต้องการของกลุ่มผู้ฟังด้วย โดยผู้จัดรายการจำาเป็นต้องเก็บ รวบรวมข้อมูลและศึกษาความรู้เกี่ยวผู้ฟังกลุ่มเป้าหมายได้มากที่สุด เพื่อที่จะ นำาข้อมูลเหล่านี้ไปประกอบการกำาหนดวัตถุประสงค์ของรายการต่อไป การเก็บ รวบรวมข้อ มูล ทีเ กี่ย วข้อ งกับ ผู้ฟ ง อาจทำาได้โดยวิธีการต่อ ่ ั ไปนี้ 1. การศึกษาลักษณะของทางประชากรศาสตร์ เช่น อาชีพ อายุ ระดับการศึกษา รูปแบบการใช้ชีวิต (Life Style) ฯลฯ 2. การสำารวจสอบถามความคิดเห็น เพื่อทราบถึงพฤติกรรมการรับ ฟัง ความสนใจ และเจตคติในเรื่องต่าง ๆ  ประเภทของรายการวิท ยุ ประเภทของรายการวิท ยุ สามารถแบ่งประเภทรายการวิทยุตาม ลักษณะของรายการมีอยู่ 4 ลักษณะ คือ 1. การแบ่ง ประเภทตามบทบาทหน้า ที่ข องสื่อ มวลชน แบ่งออก เป็น 4 ประเภท คือ 1. รายการข่าวสาร ทำาหน้าที่ให้ข้อมูลข่าวสารที่เกิดขึ้นในสังคม ว่า ในขณะนันเกิดอะไรที่ไหน เมื่อไหร่ และอย่างไร ้ การผลิตรายการวิทยุกระจายเสียงเบื้องต้น/อ.ศราณี เวศยาสิรินทร์
  • 9. 9 2. รายการให้ความรู้ ทำาหน้าที่ให้ความรู้กับประชาชน เสริมสร้าง สติปัญญาในเรื่องต่าง ๆ 3. รายการแสดงความคิดเห็น ทำาหน้าที่เป็นเวทีกลางให้ฝ่ายต่าง ๆ ได้แสดงความคิดเห็น 4. รายการบันเทิง ทำาหน้าที่ให้ความสนุกสนานเพลิดเพลินแก่ ประชาชน 5. รายการบริการสาธารณะประโยชน์ ทำาหน้าที่ให้บริการ สาธารณะและเปิดโอกาสให้ประชาชน ได้เข้ามาใช้ประโยชน์อย่างเสมอภาค เช่น รายการที่เปิดให้ประชาชนเข้า มาร้องทุกข์ในเรื่องที่ไม่ได้รับความเป็นธรรมจากสังคม เป็นต้น การแบ่งรายการตามลักษณะหน้าที่ของสื่อมวลชนเป็นการแบ่งรายการ อย่างกว้าง ๆ เพราะชื่อรายการจะคลอบคลุมลักษณะ เนื้อหา และวิธี การนำาเสนอรายการไว้กว้างมาก เช่น รายการบันเทิง หมายรวมถึง รายการดนตรี ละคร รายการการศึกษา , รายการสารคดี , รายการ สนทนาที่มุ่งความรู้ ฯลฯ 2. การแบ่ง ประเภทตามลัก ษณะเนื้อ หาของรายการ (Content) การแบ่งประเภทรายการตามลักษณะนี้ มีจุดมุ่งหมายเพื่อต้องการเน้น ให้ผู้ได้ยินชื่อรายการได้ทราบว่ารายการนั้นจะมีเ นือ หาอย่า งไร เช่น ้ รายการดนตรี รายการกีฬา รายการข่าว รายการธรรมะ รายการเกษตร ฯลฯ โดยชื่อรายการดังกล่าวนี้จะไม่สะท้อนให้เห็นถึงวิธีการเสนอรายการ ซึ่งอาจจะเป็นรูปแบบใดก็ได้ขึ้นอยู่กับผู้จัดรายการจะเห็นเหมาะสม เช่น รายการเกษตร อาจมีการเสนอในรูปแบบของนิตยสารทางอากาศ ละคร หรือการอภิปรายก็ได้ 3. การแบ่ง ประเภทตามลัก ษณะรูป แบบการเสนอรายการ (Format) การแบ่งประเภทตามรายการลักษณะนี้ มีจุดมุ่งหมายเพื่อต้องการเน้น ให้ผู้ได้ยินชื่อรายการได้ทราบว่ารายการนั้นจะมีว ธ ีก ารนำา เสนอรูป แบบ ิ ใด เช่น รายการอภิปราย รายการสัมภาษณ์ รายการนิตยสารทางอากาศ รายการตอบปัญหาทางอากาศ ฯลฯ 4. การแบ่ง ประเภทตามกลุ่ม ผูฟ ัง เป็น หลัก (Target ้ Audience) การแบ่งประเภทรายการตามลักษณะนี้ มีจุดมุ่งหมายเพื่อต้องการเน้น ให้ได้ยินชื่อรายการได้ทราบว่ารายการนั้นมีก ลุม เป้า หมายเป็น ใคร เช่น ่ รายการเด็ก รายการแม่บ้าน รายการเกษตร รายการสำาหรับผู้หญิง ฯลฯ ซึ่งถึงแม้ว่ารายการจะระบุเจาะจงตัวผู้ฟังไว้โดยเฉพาะ แต่เนื้อหาก็บ่งให้ เข้าใจอย่างกว้าง ๆ ว่าจะเป็นเนื้อหาที่เป็นประโยชน์ และอยู่ในความสนใจ ของคนกลุ่มนั้นเท่านั้น การผลิตรายการวิทยุกระจายเสียงเบื้องต้น/อ.ศราณี เวศยาสิรินทร์
  • 10. 10 การแบ่งประเภทรายการนี้ไม่ถือเป็นเรื่องที่เป็นหลักการตายตัวนัก เช่น ในประเทศอังกฤษที่มีสถานีวิทยุ BBC จะแบ่งประเภทรายการตาม ลักษณะของวิธีการนำาเสนอเป็นหลัก ในประเทศสหรัฐอเมริกาการเรียกชื่อ รายการจะให้ความสำาคัญกับลักษณะรูปแบบรายการนำาเสนอเป็นหลัก ใน ประเทศสหรัฐอเมริกาการเรียกชื่อรายการจะให้ความสำาคัญกับลักษณะรูป แบบการนำาเสนอรายการ (Program Format) ที่เน้นกลุ่มผู้ฟังเป้าหมาย เป็นหลัก ส่วนในประเทศไทยนั้นจะรับอิทธิพลด้านความคิดมาจากทั้ง อังกฤษและอเมริกา ดังนั้นจึงมีการเรียกชื่อและแบ่งประเภทแตกต่างผสม ปนเปกันไป การจัดรายการบางจำาพวก เช่น รายการปกิณกะบันเทิง (Variety Program) จะไม่สามารถใช้เกณฑ์ใดเกณฑ์หนึ่งที่กล่าวมาแล้วได้ เพราะมี ลักษณะผสมผสานกันไปหมด คือ บางครั้งเป็นรายการที่ไม่มีแกนกลางของ เนื้อหา (Theme) และไม่มีรูปแบบรายการที่มีลักษณะโดดเด่นต่อเนื่อง แต่ มีการเสนอเนื้อหาที่หลากหลายโดยใช้วิธีการนำาเสนอหลายๆรูปแบบ ซึ่ง รายการลักษณะนี้ส่วนใหญ่จะเป็นรายการที่เน้นความบันเทิงเป็นหลัก แต่ก็ มีผู้โต้แย้งว่าไม่ใช่รายการบันเทิงเพราะมีเนื้อหาที่มีสาระความรู้อยู่ด้วย จึง จัดเป็นรายการจำาพวกสัพเพเหระ  องค์ป ระกอบที่ส ำา คัญ ในการผลิต รายการวิท ยุก ระจายเสีย ง 1. วัตถุประสงค์ของรายการ 2. ผู้ฟัง (Audience) 3. เนื้อหา (Content) 4. วิธีการนำาเสนอรายการ (Program Presentation) 5. เวลาออกอากาศ (Program Scheduling) 6. การประเมินผลรายการ (Program Evaluation) 1. วัต ถุป ระสงค์ข องรายการ วัต ถุป ระสงค์ข องรายการ ถือเป็นองค์ประกอบแรกที่สำาคัญ เพราะ จะเป็นสิ่งกำาหนดรูปแบบในเรื่องของผู้ฟังกลุ่มเป้าหมาย เนื้อหา วิธีการนำา เสนอ เวลาออกอากาศ และประเมินผลรายการ โดยการกำาหนด วัตถุประสงค์ที่ดีจะสามารถบอกจุดมุ่งหมายของรายการได้ การจัดรายการ วิทยุจึงจำาเป็นต้องคำานึงถึงการกำา หนดวัต ถุป ระสงค์เ ป็น ลำา ดับ แรก ซึ่ง เมื่อกำาหนดวัตถุประสงค์ของรายการแล้ว ก็จะต้องคำานึงถึงวัตถุประสงค์ เฉพาะส่วนของรายการด้วย เพื่อที่จะสามารถพัฒนารูปแบบและเนื้อหาให้มี ความสอดคล้องกัน 2. ผู้ฟ ง (Audience) ั ผู้ฟ ัง หมายถึง กลุ่มผู้ฟังที่เป็นเป้าหมายในการจัดรายการ (Target Audience) ซึ่งเป็นผู้ที่จะตัดสินว่ารายการที่จัดขึ้นนั้นประสบผลสำาเร็จหรือ ไม่ โดยแนวคิดเกี่ยวกับ “ผู้ฟัง” ตามระบบสื่อสารมวลชน คือ การผลิตรายการวิทยุกระจายเสียงเบื้องต้น/อ.ศราณี เวศยาสิรินทร์
  • 11. 11 1. เป็นกลุ่มคนที่กระจัดกระจาย ไม่เป็นกลุ่มก้อน 2. มีความแตกต่างกันในด้านประชากรศาสตร์ เช่น อายุ เพศ อาชีพ ขนาดครอบครัว ตำาแหน่งในครอบครัว รายได้ การศึกษา ภูมิลำาเนา ศาสนา เชื้อชาติ ฯลฯ การจัดและผลิตรายการจะมีการแบ่งเกรดของผู้ฟังออกเป็น 3 เกรด คือ 1. ผู้ฟ ัง เกรด A คือ กลุ่มผู้ฟังระดับสูง ได้แก่ กลุ่มคนที่มีการ ศึกษา อาชีพ ฐานะทางเศรษฐกิจสูง 2. ผู้ฟ ัง เกรด B คือ กลุ่มผู้ฟังระดับกลางค่อนข้างสูง ได้แก่ กลุ่ม คนที่มีการศึกษาระดับปริญญาขึ้นไป 3. ผู้ฟ ัง เกรด C คือ กลุ่มผู้ฟังระดับกลางค่อนข้างตำ่า ได้แก่ กลุ่ม คนที่มีการศึกษาระดับอนุปริญญาลงไป ซึ่งมีคุณค่าในเชิงการ ตลาดน้อยมาก ในการผลิตรายการ จะต้องมีความรู้ความเข้าใจเบื้องต้นเกี่ยวกับ คุณลักษณะพื้นฐานที่แตกต่างกันของกลุ่มผู้ฟังแต่ละกลุ่ม โดยคำาถามแรกที่ ผู้จัดรายการจะต้องตอบให้ได้ คือ ใครเป็นกลุ่มผู้ฟังเป้าหมายหลักและกลุ่ม ผู้ฟังเป้าหมายรอง ซึ่งผลที่เกิดขึ้นจากการรับฟังรายการจะแตกต่างกันไป ตามพื้นฐานทางวัฒนธรรม สังคม และจิตวิทยา ดังนั้นจึงจำาเป็นต้องทำาการ ศึกษาข้อมูลหรือคุณลักษณะโดยรวมเกี่ยวกับกลุ่มผู้ฟังเป้าหมาย เพื่อให้ สามารถจัดวางเนื้อหา รูปแบบรายการ และช่วงเวลาออกอากาศให้ สอดคล้องกับความต้องการและความสนใจของกลุ่มผู้ฟัง การแบ่ง กลุ่ม ผู้ฟ ง (Segmentation of Audiences) ั กลุ่มผู้ฟังวิทยุในปัจจุบันมักจะมีขนาดไม่ใหญ่นัก เพราะประชาชนมี รสนิยมในการรับฟังที่แตกต่างกันดังนั้นการจัดรายการจึงต้องแบ่งกลุ่มผู้ฟัง เป้าหมาย (Specific Target Audience) ออกเป็นกลุ่ม ๆ โดยเฉพาะ เพื่อให้รายการวิทยุสามารถเข้าถึงผู้ฟังได้อย่างมีประสิทธิผลมากที่สุด โรเจอร์ (Rogers) ได้กล่าวถึงลักษณะของผู้รับสารว่า สิ่งที่เป็น อุปสรรคต่อการสื่อสารในลักษณะของ Mass Production ที่ส่งผ่าน สื่อมวลชน (Mass Media) คือความเป็นปัจเจก และความไม่เป็นกลุ่ม ก้อนของผู้รับสารในสังคมข่าวสาร (Information Society) เดอ เฟลอร์ และบาลโลเคียช (De Fleur and Ball – Rokeach) ได้ทำาการวิจัยเรื่องการแบ่งส่วนทางเชิงสังคม โดยได้ศึกษาเกี่ยวกับความ แตกต่างกันของผู้รับสารและผลในการตอบสนองที่แตกต่างกันต่อการกระตุ้ นของสื่อว่า กลุ่มต่าง ๆ ทางสังคมจะมีปฏิกิริยามากหรือน้อยแตกต่างกันจาก การใช้สื่อสารชุดเดียวกัน ดังนั้น จึงก่อให้เกิดแนวคิดในการวางแผนการ สื่อสารที่คำานึงถึงการจำาแนกกลุ่มผู้ฟังเป้าหมายให้แยกออกเป็นกลุ่มย่อย (Subaudiences) หรือเรียกว่า “ส่ว นแบ่ง ทางการตลาด ” โดยแนวคิดนี้ การผลิตรายการวิทยุกระจายเสียงเบื้องต้น/อ.ศราณี เวศยาสิรินทร์
  • 12. 12 ยอมรับในความแตกต่างของผู้รับสารซึ่ง ดูภายนอกจะมีความเหมือนกัน แต่มีความแตกต่างกันในความเหมือน เวนเดล สมิท (Wendell Smith) ได้วิจัยในเรื่องการแบ่งกลุ่มผู้รับ สาร โดยได้พิมพ์หนังสือเกี่ยวกับเรื่องการแบ่งส่วนตลาดของคนอเมริกันออก เป็นกลุ่มเฉพาะ (Product Differentiation and Market Segmentation as Alternative Production Strategies) ซึ่งจะ ทำาให้เกิดแนวโน้ม 4 ประการ คือ 1. จำา นวนประชากรของโลกที่เ พิม ขึน จะมีผลทำาให้เกิดการแบ่ง ่ ้ ส่วนของตลาดออกเป็นกลุ่มย่อย ๆ โดยเฉพาะ เช่น ตลาดวัยรุ่น ตลาดเด็ก เล็ก ฯลฯ ซึ่งการที่มีจำานวนประชากรเพิ่มขึ้นนั้นจะทำาให้การแบ่งตลาดแต่ละ ส่วนมีขนาดใหญ่พอที่จะใช้ประโยชน์ในเชิงธุรกิจได้ 2. ผลิต ภัณ ฑ์ส ิน ค้า เพือ การบริโ ภคมีแ บรนด์ (Brand) ทีแ ตก ่ ่ ต่า งกัน มากขึน คือสามารถผลิตสินค้าชนิดเดียวกันแต่กำาหนดยี่ห้อได้มาก ้ ขึ้น จึงทำาให้สินค้าแต่ละแบรนด์ต้องพยายามหาส่วนแบ่งทางการตลาด (Market Segment) ซึ่งสามารถเข้ายึดครองได้ เช่น การเจาะตลาด เฉพาะกลุ่มผู้รักษาสุขภาพ การเจาะตลาดเฉพาะกลุ่มวัยรุ่น ฯลฯ 3. เกิด ลัท ธิป ัจ เจกนิย ม ( Individualism) หรือ ยุค แห่ง ตัว ฉัน (Age of Me) ซึ่งจะก่อตัวเป็นส่วนเฉพาะอีกส่วนหนึ่ง คือ แนวคิด ของคนในยุคหลังสมัยใหม่ (Post Modernization) นัน คนจะมีความ ้ ต้องการเฉพาะตัว ในเรื่องรสนิยม วิถชีวิต และมีความเป็นตัวของตัวเอง ี มากขึ้น 4. สือ จะเน้น เนือ หาเฉพาะมากขึน โดยมีแนวโน้มที่จะ ่ ้ ้ เปลี่ยนแปลงจากการแพร่กระจายออกไปในวงกว้าง (Broadcasting) คือ มีเนื้อหาครอบคลุมคนทั้งประเทศ ไปสู่การแพร่กระจายในวงแคบ (Narrowcasting) โดยเพิ่มความเป็นไปได้ในการเข้าถึงตลาดส่วนย่อยให้ มากขึ้น คือ มีเนื้อหารายการครอบคลุมเฉพาะตลาดส่วนย่อย ซึ่งมีความ สนใจและความต้องการในเรื่องใดเรื่องหนึ่งเฉพาะ ทั้งนี้เป็นผลมาจากการ เสื่อมสลายของกลุ่มผู้ฟังในลักษณะเชื้อชาติ (National Audiences) ปัจจุบันมีสถานีวิทยุเกิดขึ้นเป็นจำานวนมาก ดังนั้นจึงมีการจัดรายการ โดยเน้นกลุ่มในเป้าหมายเฉพาะกลุ่มมากขึ้น ทั้งนี้เพราะการเจาะตลาดจะ ทำาให้มีฐานตลาดที่ใหญ่พอที่จะขายโฆษณาได้ และทำาการกำาหนดกลุ่มเป้า หมายเฉพาะก็จะทำาง่ายต่อการจัดรายการให้ตรงกับกลุ่มเป้าหมายนั้น การแบ่งกลุ่มผู้ฟังสามารถแบ่งได้ 2 วิธีดงนี้ คือ ั 1. การแบ่ง กลุ่ม ผู้ฟ ง ตามลัก ษณะทางประชากร ั (Segmentation by Demographic Characteristics) ถือเป็น วิธีการพื้นฐานที่นิยมใช้กันมาก โดยกลุ่มผู้ฟังจะถูกแบ่งตามระดับอายุ เพศ อาชีพ ขนาดครอบครัว รายได้ การศึกษา ภูมิลำาเนา ศาสนา เชื้อชาติ สัญชาติ ฯลฯเช่น หากจะจัดรายการเผยแพร่ความรู้เกี่ยวกับโรคเอดส์ ก็ ควรกำาหนดกลุ่มเป้าหมายที่มีอายุ 18 – 30 ปี เป็นวัยที่เสี่ยงต่อการติด การผลิตรายการวิทยุกระจายเสียงเบื้องต้น/อ.ศราณี เวศยาสิรินทร์
  • 13. 13 เอดส์ หรือการกำาหนดกลุ่มผู้ฟังที่เป็นเกษตรกรก็ย่อมที่จะสนใจเนื้อหาที่ เกี่ยวกับการเกษตร ฯลฯ 2. การแบ่ง กลุ่ม ผู้ฟ ง ตามลัก ษณะของพฤติก รรม (Behavior) ั เป็นการแบ่งตาม “รูป แบบการดำา รงชีว ต ” ิ ( Life Style) ซึ่งหมายถึง วิถีการดำาเนินชีวิตของคน หรือพฤติกรรมการ ดำารงชีวตในแต่ละวันที่ทำาให้เรามีความเป็นตัวของตัวเองและแตกต่างไปจาก ิ ผู้อื่น โดยอาจรวมถึงพฤติกรรมในการพักผ่อนย่อยใจการรับประทานอาหาร การเดินทางเพื่อการท่องเที่ยว การเปิดรับข่าวสาร และการสังคม ฯลฯ เช่น • คนทำางานในกรุงเทพฯ มักจะฟังวิทยุในช่วง 6.00-8.00 น.โดยจะฟังในขณะเตรียมตัวไปทำางานหรือฟังจากวิทยุใน รถยนต์ระหว่างการเดินทาง ดังนั้นจึงเหมาะกับการจัดรายการ ประเภทข่าวสาร ข่าวจราจร ฯลฯ • วัยรุ่นซึ่งเป็นกลุ่มผู้ฟังที่ชอบนอนรอบดึก มักจะฟังวิทยุในช่วง เวลา 20.00 – 24.00 น. เพื่อเป็นเพื่อนในระหว่างการ ทำาการบ้านหรือดูหนังสือ • กลุ่มเกษตรกรมักจะฟังวิทยุในตอนเช้า คือ ช่วงเวลา 5.00 - 6.00 น. และช่วงเวลา 18.00 -19.00 น. ซึ่งเป็นช่วงเวลา หลังจากกลับจากการทำางาน การที่ผู้จัดรายการเข้าใจถึงรูปแบบการใช้ชีวิต (Life Style) หรือ ลักษณะพฤติกรรมของกลุ่มเป้าหมาย ก็จะเป็นประโยชน์ตอการจัดรายการ ่ ให้มีเนื้อหาและรูปแบบการนำาเสนอที่สอดคล้องกับรสนิยมและความต้องการ ของกลุ่มเป้าหมาย อันจะทำาให้รายการที่จัดตั้งขึ้นประสบผลสำาเร็จตามวัตถุ ประสงที่ตั้งไว้ การสำา รวจความสนใจและกลุ่ม ผู้ฟ ง เป้า หมาย ั การสำารวจวิจัยเพื่อหาข้อมูลเบื้องต้นเกี่ยวกับผู้ฟังรายการนับเป็นสิ่ง สำาคัญ เพราะเป็นสิ่งที่ผู้จัดรายการจะได้นำาข้อมูลมาใช้ในการปรับปรุงงาน และกำาหนดแนวทางในการดำาเนินงานของสถานี นอกจากนี้บริษัทห้างร้านผู้ ว่าจ้างก็มีความสนใจต้องการทราบประสิทธิผลในการดำาเนินการของสถานี วิทยุว่า สถานีใดมีผู้นิยมติดตามมาก รายการลักษณะใดเป็นที่ชื่นชอบของ คนกลุ่มใด เป็นต้น ประเด็นที่ต้องมีการสำารวจกลุ่มผู้ฟังเพื่อแสวงหาข้อเท็จจริงพื้นฐาน ได้แก่ 1. ใครเป็นผู้ฟังสถานีวิทยุแห่งนี้บ้าง 2. ผู้ฟังฟังในเวลาช่วงใด นานเท่าไร บ่อยแค่ไหน 3. มีความเห็นต่อรายการอย่างไร ชอบหรือไม่ชอบ เพราะอะไร การผลิตรายการวิทยุกระจายเสียงเบื้องต้น/อ.ศราณี เวศยาสิรินทร์
  • 14. 14 4. ผู้ฟังมีคุณลักษณะโดยรวมอย่างไร เช่น เพศ อายุ การศึกษา อาชีพ และอยู่ที่ไหน 5. ผู้ฟังต้องการให้ปรับปรุงรายการ เนื้อหา วิธีการนำาเสนออย่างไร หรือไม่ ข้อมูลเบื้องต้นเหล่านี้จะมีคุณค่าในการวางแผนจัดและผลิตรายการ เพราะจะเป็นประโยชน์ในการกำาหนดกลุ่มผู้ฟังเป้าหมาย เนื้อหา วิธีการนำา เสนอ และช่วงเวลาที่เหมาะสมกับผู้ฟังกลุ่มเป้าหมายต่อไป 3. เนือ หา (Content) ้ เนือ หา หมายถึง เรื่องราวที่ผู้จัดรายการต้องการให้ผู้ฟังเป้าหมาย ้ ได้รับฟัง แต่เนื่องจากผู้ฟังมีความแตกต่างกันจึงมีความสนใจและความ ต้องการเนื้อหารสาระของรายการที่แตกต่างไปด้วย ดังนั้นผลที่ได้จากการ ศึกษาคุณลักษณะโดยรวมของกลุ่มเป้าหมาย เช่น เพศ อายุ การศึกษา ฯลฯ จะช่วยให้ผู้จัดรายการสามารถรู้ว่าจะจัดรายการให้มีเนื้อหารอย่างไร จึงจะเหมาะกับผู้ฟังกลุ่มนั้น รวมทั้งควรจะมีวิธีการเสนอรายการอย่างไรจึง จะดึงดูดความสนใจได้อย่างไม่เบื่อ เช่น • กลุ่มผู้ฟังที่มีการศึกษาสูง หรือผู้ฟังเกรด A,B จะชอบรายการ เกี่ยวกับความรู้ทางด้านการวิเคราะห์สถานการณ์บ้านเมือง ข่าว เศรษฐกิจ การสนทนาอภิปรายปัญหาต่าง ๆ • กลุ่มผู้ฟังที่มีการศึกษาไม่สูง หรือผู้ฟังเกรด C จะชอบ รายการข่าวเบาสมอง (Soft News) รายการละครข่าว ( การนำาข่าว Soft News ในหนังสือพิมพ์มาเสนอในรูปของ ละคร) รายการตลก ( Comedy) รายการเพลงลูกทุ่ง รายการ เล่าข่าว (การนำาเอาข่าวในหนังสือพิมพ์มานำาเสนอในรูปแบบ การเล่าให้ฟัง เหมาะสำาหรับผู้ฟังทั้งเกรด B,C เช่น รายการ วิทยุทหารอากาศ) การพิจารณาว่าเนื้อหาใดจะเหมาะสมกับผู้ฟังกลุ่มเป้าหมายหรือไม่นั้น ขึ้นอยู่กับการตัดสินใจของผู้จัดรายการและนโยบายของผู้บริหารสถานี 4. วิธ ีก ารนำา เสนอรายการ (Program Presentation) วิธีการนำาเสนอรายการ (Format) เป็นองค์ประกอบความสำาเร็จของ รายการที่สำาคัญอีกอย่างหนึ่ง เพราะเป็นกลวิธีที่สำาคัญที่จะทำาให้รายการมี ชีวตชีวาสอดคล้องกับธรรมชาติและรสนิยมของผู้ฟัง โดยวิธีการนำาเสนอ ิ รายการจะแตกต่างกันไปตามลักษณะพื้นฐานและรสนิยมของกลุ่มผู้ฟังเป้า หมาย เช่น หากต้องการจัดรายการเกี่ยวกับความรู้เรื่องโรคเอดส์ให้กลุ่มผู้ ฟังวัยต่าง ๆ ก็ควรนำาเสนอในรูปแบบดังนี้ • กลุ่มวัยรุ่น ควรนำาเสนอในรูปสาระบันเทิง คือ การให้ความรู้ ควบคู่กับการบันเทิง เช่น รายการเกมที่สอดแทรกความรู้เกี่ยว กับโรคเอดส์โดยเปิดโอกาสให้ผู้ฟังโทรศัพท์เข้ามาร่วมด้วย หรืออาจจัดเป็นรายการเพลงที่แทรกความรู้เรื่องโรคเอดส์ก็ได้ การผลิตรายการวิทยุกระจายเสียงเบื้องต้น/อ.ศราณี เวศยาสิรินทร์
  • 15. 15 • กลุ่มผู้ฟังที่มีการศึกษาสูง ควรนำาเสนอในรูปของการเชิญนัก วิชาการมาบรรยาย หรืออาจจัดเป็นรายการเพลงที่เหมาะกับ รสนิยมของคนกลุ่มนี้สลับกับการให้ความรู้ • กลุ่มผู้ฟังที่มีการศึกษาไม่สูง ควรนำาเสนอในรูปของรายการ เพลงลูกทุ่งที่เหมาะกับการให้ความรู้ หรืออาจจัดเป็นละครวิทยุ ที่มีเนื้อหาเกี่ยวกับโรคเอดส์ ข้อควรคำานึงถึงในการจัดรายการวิทยุ คือ วิทยุเป็นสื่อที่รับได้ทาง เสียงอย่างเดียว ผู้ฟังต้องใช้จินตนาการสูงในการรับรู้เนื้อหาสาระที่ผู้ส่งสาร ส่งออกไป และผู้ฟังวิทยุส่วนใหญ่จะไม่ได้เปิดวิทยุฟังอย่างตั้งใจเหมือนการ ดูโทรทัศน์หรืออ่านหนังสือ แต่อาจฟังวิทยุในขณะที่ทำาอย่างอื่นไปด้วย ดัง นั้นการเสนอรายการจึงต้องดำาเนินอย่างมีศิลปะ คือ มีความคิดริเริ่ม สร้างสรรค์ในการหากลวิธีที่จะเสนอเนื้อหาที่สามารถทำาให้ผู้ฟังเกิด จินตนาการ และได้รับความรู้ข่าวสารหรือเรื่องราวต่าง ๆ ได้โดยไม่รู้สึกตัว การที่จะใช้วิธีการนำาเสนอให้รายการประสบความสำาเร็จได้นั้น ผู้จัด รายการต้องเข้าใจธรรมชาติของผู้ฟังกลุ่มเป้าหมาย และต้องพิจารณาว่า เนื้อหาที่ต้องการนำาเสนอนั้นมีลักษณะอย่างไร สมควรที่จะนำาเสนอด้วยรูป แบบใดจึงจะสามารถเข้าถึงและดึงความสนใจของกลุ่มผู้ฟังเป้าหมายได้มาก ที่สุด รูป แบบหรือ วิธ ก ารนำา เสนอรายการ ที่มีอยู่ในปัจจุบัน มีดงนี้ ี ั 1.รายการข่า ว (News Program ) รายการที่จัดขึ้นเพื่อรายงานเหตุการณ์สำาคัญ ๆ ที่เกิดขึ้นในวันหนึ่ง ๆ เพื่อให้ผู้ฟังรู้ว่า ใคร ทำาอะไร ที่ไหน เมื่อไหร่ และอย่างไร จึงเป็นการ เสนอข่าวมิติเดียวที่อาจมีทั้งแบบเขียนเพื่อให้ผู้อ่านอ่านการบันทึกเสียง หรือ รายงานจากเหตุการณ์มาเสนอให้ฟัง โดยสามารถแยกประเภทตามการนำา เสนอได้ดังนี้ • การสรุปข่าว • การวิเคราะห์ข่าว • การวิจารณ์ข่าว • ละครข่าว • การเล่าข่าว 2. รายการพูด คุย บทความ บรรยาย (Talk Program) เป็นลักษณะรายการที่ใช้พูดคุย บรรยาย จะมีบทหรือไม่มีก็ได้ แต่มี วัตถุประสงค์ต้องดึงดูดใจให้ผู้ฟังสนใจเป็นสำาคัญ • รายการพูดคุย • รายการบทความ • รายการบรรยาย การผลิตรายการวิทยุกระจายเสียงเบื้องต้น/อ.ศราณี เวศยาสิรินทร์
  • 16. 16 3. รายการสัม ภาษณ์ (Interview Program) และรายการ สนทนา (Conversational Program) เป็นการนำาเสนอถึงการแสดงความคิดเห็นของผู้ร่วมรายการ ซึ่งมี 2 คนขึ้นไป • รายการสัมภาษณ์ • รายการสนทนา 4. รายการอภิป ราย (Discussion Program) เป็นรายการพูดคุยแสดงความคิดเห็นในหัวข้อใดหัวข้อหนึ่ง โดยผู้ ร่วมอภิปรายหลายคน และมีผู้ดำาเนินการอภิปราย 1 คนเปรียบเสมือนเวทีที่ เปิดโอกาสให้คนในสังคมได้แสดงความคิดเห็นที่หลากหลาย 5. รายการบรรยายเหตุก ารณ์ (Commentary Program) มีผู้บรรยาย (Commentator/Narrator) ทำาหน้าที่เป็นสื่อกลางใน การถ่ายทอดเหตุการณ์ที่กำาลังเกิดขึ้นไปสู่ผู้ฟัง 6.รายการตอบปัญ หา (Quiz Program) เป็นรายการที่มุ่งสร้างความสัมพันธ์โดยให้ผู้ฟังได้มีส่วนร่วมกับ รายการ ซึ่งถือเป็นการสื่อสารแบบสองทาง (Two-Ways Communication) เปิดโอกาสให้ผู้ฟังร่วมตอบปัญหาทางโทรศัพท์ หรือ เขียนจดหมายในปัจจุบันรายการประเภทนี้มักถูกนำามาประกอบกับรายการ อื่นหรือเป็นส่วนย่อย ๆ คั่นรายการ 7. รายการเพลง (Music Program) รายการบันเทิงเป็นพื้นฐานของวิทยุ การจัดรายการเพลงนี้ควรให้ ความสนใจเป็นพิเศษกับเพลง เช่น การกำาหนดประเภทเพลงที่จะเสนอ การกำาหนดแกนกลางของเรื่อง (Theme) เกี่ยวกับเพลง 8. รายการละคร (Radio Drama) นิท าน (Radio Play) การจัดรายการละครและนิทานสำาหรับวิทยุเพื่อการศึกษาจะมุ่งให้ความ รู้และความบันเทิง โดยจะสอดแทรกความรู้ให้เหมาะกับลักษณะ รสนิยม ความต้องการ หรือสภาพปัญหาของกลุ่มผู้ฟัง ซึ่งรายการละครจะมีทั้งบท พูด บทบรรยาย เพลง และเสียงประกอบเพื่อให้เกิดความสมจริงสมจัง และ ใช้เสียงเพื่อสร้างจินตนาการ 9. Vox Pop คำาว่า Vox Pop มาจากคำาว่า Vox Populi หรือ Voice of People หมายถึง เสียงของความคิดเห็นที่แตกต่างจากบุคคลที่หลากหลาย ต่อเรื่องหรือประเด็นปัญหาเดียวกัน มักใช้แทรกในรายการประเภทอื่น ๆ เพื่อทำาให้รายการน่าสนใจขึ้น 10. รายการสารคดี (Documentary or Feature) เป็นการนำาเสนอเนื้อหาสาระเรื่อ งใดเรื่อ งหนึง อย่างละเอียดทุกแง่มุม ่ โดยต้องพยายามให้มีรูปแบบวิธีการนำาเสนอที่หลากหลาย แต่ต้องคำานึงถึง ความมีเอกภาพของรายการด้วย (นำา เสนอเพีย งเรือ งเดีย ว ) ่ การผลิตรายการวิทยุกระจายเสียงเบื้องต้น/อ.ศราณี เวศยาสิรินทร์
  • 17. 17 11. รายการนิต ยสารทางอากาศ (Magazine Program) เป็นรายการที่นำาเอกเรื่องราวที่เป็นสาระควบคู่ไปกับความบันเทิงใน ประเด็นใดประเด็นหนึ่ง แต่มีวิธีการานำาเสนอเนื้อหาที่หลากหลายแง่มุมมา รวมกันไว้ในรายการเดียว โดยมี “บทเชื่อมรายการ” อย่างราบรื่นและมีแกน เรื่อง (Theme) ที่เป็นอันหนึ่งอันเดียวกัน (Unity) มีห ลายเรือ งใน ่ รายการเดีย วกัน แต่ส ามารถเชือ มโยงให้ห ว ข้อ ทีต ่า งกัน เป็น ่ ั ่ รายการเดีย วกัน ได้อ ย่า งสอดคล้อ งกลมกลืน 12. รายการปกิณ กะ (Variety Program) เป็นรายการวิทยุที่นำาเอารายการเบ็ดเตล็ดย่อย ๆ หรือรายการใน ลักษณะสัพเพเหระ สิ่งละอันพันละน้อย หลากหลายเรื่องราวมารวมกันอยู่ใน รายการเดียว แต่ไม่ต้องมีบทเชื่อมโยงให้รายการเป็นอันหนึ่งอันเดียวกัน เหมือนกับรายการนิตยสาร เนื้อหาจึงมีหลากหลายรูปแบบ มุ่งเน้นในเรื่อง ความบันเทิงเป็นหลัก 13. สปอต (Spot Annoucement) หรือ การโฆษณาประชาสัมพันธ์เชิญชวน ใช้เวลาสั้น และข้อความ สั้น ๆ มีเพลง เสียงประกอบร่วมด้วยเพื่อผลในการโฆษณา ประชาสัมพันธ์ เชิญชวน หรือรณรงค์เพื่อให้เกิดความร่วมมือจากผู้ฟัง 14. Phone in Program เป็นรายการโทรศัพท์สดจากผู้ฟัง ในรูปแบบรายการให้ความรู้เปิด โอกาสให้ผู้ฟังมีส่วนร่วมในรายการด้วยการโทรศัพท์เข้ามาเพื่อออกอากาศ เป็นลักษณะการสื่อสารแบบ 2 ทาง (Two-Ways Communication) ทำาให้ผู้ฟังรู้สึกใกล้ชิดเป็นส่วนหนึ่งของรายการ 5. การจัด ตารางเวลาออกอากาศ เวลาในการออกอากาศมีส่วนสัมพันธ์กับผู้ฟังเป้าหมายและความสำาเร็จ ของรายการเป็นอย่างมาก โดยปัจจัยที่จะบ่งบอกว่ารายการนั้นประสบความ สำาเร็จหรือไม่ คือ จำานวนผู้ฟัง ดังนั้น การจัด ตารางเวลาออกอากาศ หมายถึง ช่วงเวลาออกอากาศที่กลุ่มผู้ฟังเป้าหมายพร้อมที่จะรับฟังรายการ จากสถานีวิทยุ ในการจัดรายการจึงควรวางรูปแบบและเวลาในการออก อากาศให้สัมพันธ์กับรูปแบบการดำารงชีวิต (Life Style) และสภาพหรือ สภาวะความพร้อมในการรับฟังรายการของกลุ่มผู้ฟังเป้าหมายในขณะนั้น ด้วย เช่น รายการเพลง รายการข่าวประเภท Soft News เป็นต้น การกำาหนดตารางเวลาออกอากาศนั้น บางครั้งผู้บริหารสถานีวิทยุจะ เป็นผู้วางนโยบายเกี่ยวกับเวลาออกอากาศโดยกำาหนดลักษณะของผู้ฟัง แต่ละช่วงเวลา แต่ถ้าสถานีวิทยุแห่งนั้นไม่ได้กำาหนดไว้ ผู้จัดและผู้ผลิต รายการก็จะต้องค้นหาเองว่าช่วงเวลานั้นเหมาะกับผู้ฟังกลุ่มไหน แล้วจึงมา วางแผนจัดรายการให้มีเนื้อหาและรูปแบบการนำาเสนอรายการให้เหมาะกับ ความสนใจและรสนิยมของผู้ฟังกลุ่มนั้นในเวลานั้น ปัจ จัย ที่ม ีผ ลต่อ การจัด ตารางเวลาออกอากาศ การผลิตรายการวิทยุกระจายเสียงเบื้องต้น/อ.ศราณี เวศยาสิรินทร์