SlideShare una empresa de Scribd logo
1 de 18
Descargar para leer sin conexión
คอมพิวเตอร์เพื่อการเรียนรู้
ภารกิจที1
่
นักศึกษาจะมีแนวทางในการใช้คอมพิวเตอร์
เพื่อแก้ปัญหาของโรงเรียนบ้านหนองใหญ่
อย่างไร
สถานการณ์ปัญหา
โรงเรียนบ้านหนองใหญ่ได้รับการบริจาคห้องคอมพิวเตอร์ใหม่หลังจากที่ได้มีโครงการ
ผ้าป่าซื้อคอมพิวเตอร์ให้กบโรงเรียนซึ่งผอ.โรงเรียนจึงได้ได้มีนโยบายให้ครูทุกระดับชั้น
ั
พัฒนาสื่อการสอนโดยใช้คอมพิวเตอร์หรือหากใครที่ยงไม่สามารถสร้างเองได้ก็ให้บรณา
ั
ู
การคอมพิวเตอร์ในการเรียนเข้ามาใช้กับคอมพิวเตอร์ในการเรียนการสอนและเปิดประเมิน
การใช้คอมพิวเตอร์ของโรงเรียนในปีที่ผ่านมาพบว่าครูพัฒนาสื่อคอมพิวเตอร์ในลักษณะที่
เป็นเครื่องมือในการถ่ายทอดและนาเสนอเนื้อหาการเรียนการสอนโดนตรงไปยังผู้เรียนโดย
ในบทเรียนคอมพิวเตอร์ มีการทดสอบการนาเสนอเนือหาการทดสอบหลังเรียนบทบาท
้
ผู้เรียนก็ยังเป็นเพียงท่องจาเนื้อหาซึงไม่ส่งเสริมกระบวนการคิด
่
ปัญหาอีกประการที่พบคือเมื่อครูจัดกิจกรรมให้ผเู้ รียนเข้าไปใช้คอมพิวเตอร์ก็มักจะใช้
เพื่อเล่นเกมส์ ดูหนัง สนทนาออนไลน์ และSocial media
โดยเฉพาะ facebook ซึ่งไม่ได้ใช้คอมพิวเตอร์เป็นเครื่องมือ
ในการแสวงหาและสร้างการเรียนรูด้วยตนเอง
้
ปัญหาที่1
ครูพัฒนาสื่อคอมพิวเตอร์ในลักษณะที่เป็นเครื่องมือในการ
ถ่ายทอดและนาเสนอเนือหาการเรียนการสอนโดนตรงไปยัง
้
ผู้เรียน โดยในบทเรียนคอมพิวเตอร์ มีการทดสอบการ
นาเสนอเนือหาการทดสอบหลังเรียนบทบาทผู้เรียนก็ยังเป็น
้
เพียงท่องจาเนื้อหาซึงไม่ส่งเสริมกระบวนการคิด
่
วิธีการแก้ไข

วิธีการสอนแบบเดิม

ให้ผู้เรียนเป็นผู้กาหนดวิธีการ
และกิจกรรมการเรียนรู้ การใช้
คอมพิวเตอร์ตามแนวทางนี้
ผู้เรียนจะต้องได้รับ หรือมีทักษะ
ด้านการจัดการ ทักษะด้านการคิด
เชิงตรรกะ ทักษะการแก้ปัญหา เป็นต้น
ปัญหาที่ 2
เมื่อครูจัดกิจกรรมให้ผู้เรียนเข้าไปใช้คอมพิวเตอร์ก็มักจะใช้
เพื่อเล่นเกมส์ ดูหนัง สนทนาออนไลน์ และSocial media
โดยเฉพาะ facebook ซึ่งไม่ได้ใช้คอมพิวเตอร์เป็นเครื่องมือ
ในการแสวงหาและสร้างการเรียนรู้ด้วยตนเอง
วิธีแก้ปัญหา
บูรณาการการเรียนด้วยการให้มีกิจกรรมที่นักเรียนสามารถทาได้โดยใช้เครื่องมือ
คอมพิวเตอร์ เช่น การเปิดวิดีโอที่เกี่ยวกับเนื้อหาการเรียนรู้ โดยผ่านโซเชียลมีเดีย
facebook ,Youtube เป็นต้น
ภารกิจที่ 2
บทบาทของการใช้คอมพิวเตอร์เป็นเครืองมือในการเรียนรู้เป็นอย่างไร
่
การใช้คอมพิวเตอร์เป็นเครื่องมือในการเรียนรู้
บทบาทของการใช้คอมพิวเตอร์เป็นเครืองมือในการเรียนรู้นนคือเป็น เครืองมือทางปัญญาทีนา
่
ั้
่
่
สมรรถนะของคอมพิวเตอร์เข้ามาช่วยเอืออานวยกระบวนการประมวลสารสนเทศของผู้เรียน สามารถ
้
สรุปการใช้คอมพิวเตอร์เป็นเครืองมือทางปัญญา ได้ 3 กลุมประกอบด้วย
่
่
เครืองมือค้นพบ (Discovery tools)
่
เครืองมือสร้างความรู้ (Knowledge creation
่
tools)
เครืองมือการสื่อสาร (Communication tool)
่
เครื่องมือค้นพบ (Discovery tools)
เป็นเครื่องมือที่
สนับสนุนการเสาะ
แสวงหาสารสนเทศ การ
ค้นหาข้อมูล เพื่อนามา
ซึ่งการ ค้นพบ
สารสนเทศหรือความรู้
ที่ต้องการ มี 2 ลักษณะ
คือ

1. Seeking tool เป็นเครื่องมือที่
สนับสนุนการค้นหาสารสนเทศ การระบุ
ตาแหน่งและนาเสนอสารสนเทศที่เกี่ยวข้อง

2. Collecting tool เป็นเครื่องมือทีใช้สาหรับ
่
การสะสม เก็บรวบรวมสารสนเทศที่ เกี่ยวข้อง
เครืองมือสร้างความรู้ (Knowledge creation tools)
่
เป็นเครื่องมือที่
สนับสนุนการสร้าง
ความรูของผู้เรียนที่เกิดขึ้น
้
ในความจาระยะสั้น ซึ่ง
ในการสร้างความรู้นั้น
ผู้เรียนจะต้องดึงความรู้
และประสบการณ์ตางๆ
่
มาใช้ในการสร้าง
ความหมายของตนเอง
เครื่องมือ สร้างความรูมี
้
3 ชนิดคือ

1. Organizing tool : ใช้ในการจัดกลุมสารสนเทศอย่าง
่
เป็น หมวดหมู่ การเชื่อมโยงความคิดรวบยอดของ
สารสนเทศที่เกี่ยวข้องอย่างเป็นหมวดหมู่
2. Integrating tool : ใช้ในการเชื่อมโยงระหว่าง
สารสนเทศ กับแนวความคิดของผู้เรียน

3. Generating tool : ใช้ในการสร้างสิ่งต่างๆอย่างเป็น
รูปธรรม เนื่องจากอาศัยเพียงแค่สมองคิด จินตนาการคงไม่เพียง
พอที่จะทาให้ผู้เรียนเรียนรู้และเข้าใจได้งาย
่
เครืองมือการสือสาร (Communication tool)
่
่
เป็นเครื่องมือที่ใช้สนับสนุนการสื่อสาร สนทนาแลกเปลี่ยน แนวความคิดระหว่างผู้เรียนด้วยกันเองและ
ผู้สอน เพื่อสร้างชุมชนในการ เรียนรูและสังคมของผู้เรียน แบ่งเป็น 2 ลักษณะ
้

1. Synchronous communication tools
สนับสนุนปฏิสัมพันธ์ที่เกิดขึ้นในเวลา เดียวกัน เช่น: Chat, MSN เป็นต้น

2. Asynchronous communication tools
สนับสนุนปฏิสัมพันธ์ที่ ไม่ได้เกิดขึ้นใน เวลาเดียวกัน เช่น Web board, e-mail
ภารกิจที่ 3
ให้เสนอรูปแบบการใช้คอมพิวเตอร์เป็นเครื่องมือในการ
จัดการเรียนรู้ตามสาระการเรียนรู้ที่นักศึกษารับผิดชอบ
การใช้คอมพิวเตอร์เพื่อการเรียนการสอน
การใช้คอมพิวเตอร์เพื่อการเรียนและการสอน สามารถแบ่งได้
1.การใช้คอมพิวเตอร์เป็นครู
2.การใช้คอมพิวเตอร์เป็นผู้ช่วย
3.การใช้คอมพิวเตอร์เป็นผู้เรียน
การสร้างรูปแบบการใช้คอมพิวเตอร์เป็นสื่อการเรียนรู้
ตามสาระการเรียนรู้เป็นดังนี้ …
1.คอมพิวเตอร์เป็นครู
คือการเรียนรู้ การศึกษา
จากคอมพิวเตอร์ เช่น การทา
แบบฝึกหัดคอมพิวเตอร์ โดยที่
เราได้ฝึกและมีคาตอบพร้อม
คาอธิบาย สามารถทาให้เข้าใจ
ได้ เป็นการเรียนรู้ด้วยตัวเอง
2.การใช้คอมพิวเตอร์เป็นผู้ช่วย
เป็นการทางานโดยใช้
คอมพิวเตอร์ ไม่ว่าจะเป็นการสร้าง
ผลงาน เช่นการสร้างสื่อการเรียนรู้ต่าง
ๆ โดยใช้คอมพิวเตอร์ เช่นการทาวีดีโอ
ภาษาญี่ปุ่น
3.การใช้คอมพิวเตอร์เป็นนักเรียน
การใช้คอมพิวเตอร์สร้างเนื้อหา
จากความเข้าใจ ป้อนคาสั่งให้
คอมพิวเตอร์เป็นผู้ทาตาม เช่นการสร้าง
โปรแกรมแปลภาษาญี่ปุ่น
รายชื่อสมาชิก
1.นางสาวจันทร์จรา อินธนู
ิ
2.นางสาวณัฐชยา เครือศึก
3.นางสาวจรรยฐิตา ค้าทันเจริญ

553050009-3
553050010-8
553050152-8

Más contenido relacionado

La actualidad más candente

Chapter 5 applying technologies for effective instruction
Chapter 5 applying technologies for effective instructionChapter 5 applying technologies for effective instruction
Chapter 5 applying technologies for effective instructionboomakung
 
คอมพิวเตอร์เพื่อ การเรียนรู้
คอมพิวเตอร์เพื่อ การเรียนรู้คอมพิวเตอร์เพื่อ การเรียนรู้
คอมพิวเตอร์เพื่อ การเรียนรู้TupPee Zhouyongfang
 
บทที่5คอมพิวเตอร์เพื่อการเรียนรู้
บทที่5คอมพิวเตอร์เพื่อการเรียนรู้บทที่5คอมพิวเตอร์เพื่อการเรียนรู้
บทที่5คอมพิวเตอร์เพื่อการเรียนรู้Thamonwan Kottapan
 
บทที่ 5 คอมพิวเตอร์เพื่อการเรียนรู้
บทที่ 5 คอมพิวเตอร์เพื่อการเรียนรู้บทที่ 5 คอมพิวเตอร์เพื่อการเรียนรู้
บทที่ 5 คอมพิวเตอร์เพื่อการเรียนรู้Dee Arna'
 
Chapter 5 คอมพิวเตอร์เพื่อการเรียนรู้
Chapter 5 คอมพิวเตอร์เพื่อการเรียนรู้Chapter 5 คอมพิวเตอร์เพื่อการเรียนรู้
Chapter 5 คอมพิวเตอร์เพื่อการเรียนรู้Wuth Chokcharoen
 
บทที่ 5 คอมพิวเตอร์เพื่อการเรียนรู้
บทที่ 5 คอมพิวเตอร์เพื่อการเรียนรู้บทที่ 5 คอมพิวเตอร์เพื่อการเรียนรู้
บทที่ 5 คอมพิวเตอร์เพื่อการเรียนรู้Sasitorn Seajew
 
Chapter5คอมพิวเตอร์เพื่อการเรียนรู้
Chapter5คอมพิวเตอร์เพื่อการเรียนรู้Chapter5คอมพิวเตอร์เพื่อการเรียนรู้
Chapter5คอมพิวเตอร์เพื่อการเรียนรู้Nidnoy Thanyarat
 
นวัตกรรมบทที่5คอมพิวเตอ์เพื่อการเรียนรู้
นวัตกรรมบทที่5คอมพิวเตอ์เพื่อการเรียนรู้นวัตกรรมบทที่5คอมพิวเตอ์เพื่อการเรียนรู้
นวัตกรรมบทที่5คอมพิวเตอ์เพื่อการเรียนรู้Amu P Thaiying
 
Chater 5 Computer for Learning
Chater 5 Computer for LearningChater 5 Computer for Learning
Chater 5 Computer for LearningMod DW
 
บทที่ 5 คอมพิวเตอร์เพื่อการเรียนรู้
บทที่ 5 คอมพิวเตอร์เพื่อการเรียนรู้บทที่ 5 คอมพิวเตอร์เพื่อการเรียนรู้
บทที่ 5 คอมพิวเตอร์เพื่อการเรียนรู้Kanatip Sriwarom
 
Computers for learning
Computers  for  learningComputers  for  learning
Computers for learningproranat
 

La actualidad más candente (15)

Chapter 5 applying technologies for effective instruction
Chapter 5 applying technologies for effective instructionChapter 5 applying technologies for effective instruction
Chapter 5 applying technologies for effective instruction
 
คอมพิวเตอร์เพื่อ การเรียนรู้
คอมพิวเตอร์เพื่อ การเรียนรู้คอมพิวเตอร์เพื่อ การเรียนรู้
คอมพิวเตอร์เพื่อ การเรียนรู้
 
บทที่5คอมพิวเตอร์เพื่อการเรียนรู้
บทที่5คอมพิวเตอร์เพื่อการเรียนรู้บทที่5คอมพิวเตอร์เพื่อการเรียนรู้
บทที่5คอมพิวเตอร์เพื่อการเรียนรู้
 
บทที่ 5 คอมพิวเตอร์เพื่อการเรียนรู้
บทที่ 5 คอมพิวเตอร์เพื่อการเรียนรู้บทที่ 5 คอมพิวเตอร์เพื่อการเรียนรู้
บทที่ 5 คอมพิวเตอร์เพื่อการเรียนรู้
 
Chapter5้้
Chapter5้้Chapter5้้
Chapter5้้
 
นวัต5
นวัต5นวัต5
นวัต5
 
Chapter 5 คอมพิวเตอร์เพื่อการเรียนรู้
Chapter 5 คอมพิวเตอร์เพื่อการเรียนรู้Chapter 5 คอมพิวเตอร์เพื่อการเรียนรู้
Chapter 5 คอมพิวเตอร์เพื่อการเรียนรู้
 
บทที่ 5 คอมพิวเตอร์เพื่อการเรียนรู้
บทที่ 5 คอมพิวเตอร์เพื่อการเรียนรู้บทที่ 5 คอมพิวเตอร์เพื่อการเรียนรู้
บทที่ 5 คอมพิวเตอร์เพื่อการเรียนรู้
 
Chapter5คอมพิวเตอร์เพื่อการเรียนรู้
Chapter5คอมพิวเตอร์เพื่อการเรียนรู้Chapter5คอมพิวเตอร์เพื่อการเรียนรู้
Chapter5คอมพิวเตอร์เพื่อการเรียนรู้
 
นวัตกรรมบทที่5คอมพิวเตอ์เพื่อการเรียนรู้
นวัตกรรมบทที่5คอมพิวเตอ์เพื่อการเรียนรู้นวัตกรรมบทที่5คอมพิวเตอ์เพื่อการเรียนรู้
นวัตกรรมบทที่5คอมพิวเตอ์เพื่อการเรียนรู้
 
Chater 5 Computer for Learning
Chater 5 Computer for LearningChater 5 Computer for Learning
Chater 5 Computer for Learning
 
บทที่ 5 คอมพิวเตอร์เพื่อการเรียนรู้
บทที่ 5 คอมพิวเตอร์เพื่อการเรียนรู้บทที่ 5 คอมพิวเตอร์เพื่อการเรียนรู้
บทที่ 5 คอมพิวเตอร์เพื่อการเรียนรู้
 
Powerpoint5
Powerpoint5Powerpoint5
Powerpoint5
 
Chapter5
Chapter5Chapter5
Chapter5
 
Computers for learning
Computers  for  learningComputers  for  learning
Computers for learning
 

Destacado

Chapter6 (1)
Chapter6 (1)Chapter6 (1)
Chapter6 (1)FerNews
 
Chapter3
Chapter3Chapter3
Chapter3FerNews
 
Chapter10pdf
Chapter10pdfChapter10pdf
Chapter10pdfFerNews
 
Chapter9 pdf
Chapter9 pdfChapter9 pdf
Chapter9 pdfFerNews
 
Chapter 2
Chapter 2Chapter 2
Chapter 2FerNews
 
Chapter 7
Chapter 7Chapter 7
Chapter 7FerNews
 
Pmik innovation contest cet-use of cng vehicles in kerala
Pmik innovation contest  cet-use of cng vehicles in keralaPmik innovation contest  cet-use of cng vehicles in kerala
Pmik innovation contest cet-use of cng vehicles in keralaShabin Ghosh
 

Destacado (9)

Chapter6 (1)
Chapter6 (1)Chapter6 (1)
Chapter6 (1)
 
Sayuti
SayutiSayuti
Sayuti
 
Chapter3
Chapter3Chapter3
Chapter3
 
Chapter10pdf
Chapter10pdfChapter10pdf
Chapter10pdf
 
Chapter9 pdf
Chapter9 pdfChapter9 pdf
Chapter9 pdf
 
Chapter 2
Chapter 2Chapter 2
Chapter 2
 
Chapter 7
Chapter 7Chapter 7
Chapter 7
 
Pmik innovation contest cet-use of cng vehicles in kerala
Pmik innovation contest  cet-use of cng vehicles in keralaPmik innovation contest  cet-use of cng vehicles in kerala
Pmik innovation contest cet-use of cng vehicles in kerala
 
Historia barroco
Historia barrocoHistoria barroco
Historia barroco
 

Similar a Chapter5 (1)

คอมพิวเตอร์เพื่อการเรียนรู้
คอมพิวเตอร์เพื่อการเรียนรู้คอมพิวเตอร์เพื่อการเรียนรู้
คอมพิวเตอร์เพื่อการเรียนรู้JaengJy Doublej
 
Chapter5 คอมพิวเตอเพื่อการเรียนรู้
Chapter5 คอมพิวเตอเพื่อการเรียนรู้Chapter5 คอมพิวเตอเพื่อการเรียนรู้
Chapter5 คอมพิวเตอเพื่อการเรียนรู้Pan Kannapat Hengsawat
 
Unit5sattakamon
Unit5sattakamonUnit5sattakamon
Unit5sattakamonSattakamon
 
Computers for learning
Computers for learningComputers for learning
Computers for learningproranat
 
Chapter 5 (computer for learning)
Chapter 5 (computer for learning)Chapter 5 (computer for learning)
Chapter 5 (computer for learning)Teerasak Nantasan
 
Chapter 5 คอมพิวเตอร์เพื่อการเรียนรู้
Chapter 5 คอมพิวเตอร์เพื่อการเรียนรู้Chapter 5 คอมพิวเตอร์เพื่อการเรียนรู้
Chapter 5 คอมพิวเตอร์เพื่อการเรียนรู้Aa-bb Sangwut
 
Chapter5คอมพิวเตอร์เพื่อการเรียนรู้
Chapter5คอมพิวเตอร์เพื่อการเรียนรู้Chapter5คอมพิวเตอร์เพื่อการเรียนรู้
Chapter5คอมพิวเตอร์เพื่อการเรียนรู้Nidnoy Thanyarat
 
สถานการณ์ปัญหาบทที่ 5
สถานการณ์ปัญหาบทที่ 5สถานการณ์ปัญหาบทที่ 5
สถานการณ์ปัญหาบทที่ 5oraya-s
 
นวัตกรรม บทที่ 5
นวัตกรรม บทที่ 5นวัตกรรม บทที่ 5
นวัตกรรม บทที่ 5LALILA226
 

Similar a Chapter5 (1) (18)

คอมพิวเตอร์เพื่อการเรียนรู้
คอมพิวเตอร์เพื่อการเรียนรู้คอมพิวเตอร์เพื่อการเรียนรู้
คอมพิวเตอร์เพื่อการเรียนรู้
 
Chapter5 คอมพิวเตอเพื่อการเรียนรู้
Chapter5 คอมพิวเตอเพื่อการเรียนรู้Chapter5 คอมพิวเตอเพื่อการเรียนรู้
Chapter5 คอมพิวเตอเพื่อการเรียนรู้
 
Unit5sattakamon
Unit5sattakamonUnit5sattakamon
Unit5sattakamon
 
Chapter 5
Chapter 5Chapter 5
Chapter 5
 
Chapter5
Chapter5Chapter5
Chapter5
 
Chapter5
Chapter5Chapter5
Chapter5
 
Computers for learning
Computers for learningComputers for learning
Computers for learning
 
Chapter 5 (computer for learning)
Chapter 5 (computer for learning)Chapter 5 (computer for learning)
Chapter 5 (computer for learning)
 
Chapter 5 คอมพิวเตอร์เพื่อการเรียนรู้
Chapter 5 คอมพิวเตอร์เพื่อการเรียนรู้Chapter 5 คอมพิวเตอร์เพื่อการเรียนรู้
Chapter 5 คอมพิวเตอร์เพื่อการเรียนรู้
 
Chapter 5
Chapter 5Chapter 5
Chapter 5
 
Chapter 5
Chapter 5Chapter 5
Chapter 5
 
Chapter 5
Chapter 5Chapter 5
Chapter 5
 
Chapter 5
Chapter 5Chapter 5
Chapter 5
 
บทที่ 5
บทที่ 5บทที่ 5
บทที่ 5
 
Chapter5คอมพิวเตอร์เพื่อการเรียนรู้
Chapter5คอมพิวเตอร์เพื่อการเรียนรู้Chapter5คอมพิวเตอร์เพื่อการเรียนรู้
Chapter5คอมพิวเตอร์เพื่อการเรียนรู้
 
สถานการณ์ปัญหาบทที่ 5
สถานการณ์ปัญหาบทที่ 5สถานการณ์ปัญหาบทที่ 5
สถานการณ์ปัญหาบทที่ 5
 
นวัตกรรม บทที่ 5
นวัตกรรม บทที่ 5นวัตกรรม บทที่ 5
นวัตกรรม บทที่ 5
 
Chapter 5
Chapter 5Chapter 5
Chapter 5
 

Chapter5 (1)