SlideShare una empresa de Scribd logo
1 de 49
ประเทศ เปรู
ธงชาติประเทศเ ปรู
แผนที่ประเทศเ ปรู
 
 
เปรูมีประชากรประมาณ  28  ล้านคน เป็นประเทศที่มีประชากรมากที่สุดเป็นอันดับสี่ของทวีปอเมริกาใต้จากข้อมูลปี พ . ศ . 2550  โดยการเติบโตของจำนวนประชากรลดลงจากร้อยละ 2.6  เหลือร้อยละ  1.6  ในช่วงปี พ . ศ . 2493  ถึง  2543  โดยคาดการณ์ว่าจะมีประชากรประมาณ  42  ล้านคนในปี พ . ศ . 2593   จากข้อมูลปี  2548  ร้อยละ  72.6  ของประชากรอาศัยอยู่ในเขตเมือง และร้อยละ  27.4  ในเขตชนบท   เมืองหลักของเปรูได้แก่   ลิมา   อาเรกีปา   ตรูคีโย   ชีกลาโย   ปิวรา   อีกีโตส   ชิมโบเต   กุสโก   และ อวงกาโย   ซึ่งมีประชากรมากกว่าสองแสนคนในการสำรวจปี พ . ศ . 2536 ประชากร
ข้อมูลเกี่ยวกับประเทศ ที่ตั้ง อยู่ในทวีปอเมริกาใต้ริมฝั่งมหาสมุทรแปซิฟิก มีพรมแดนด้านเหนือ ติดกับเอกวาดอร์และโคลอมเบีย ด้านตะวันออกติดกับบราซิล และโบลิเวีย และด้านใต้ติดกับชิลี พื้นที่  1,285,200  ตารางกิโลเมตร มีขนาดใหญ่เป็นอันดับ  3  ในทวีปอเมริกาใต้ และมีขนาดใหญ่กว่าประเทศไทย  2  เท่า ภูมิอากาศ ภาคตะวันออกของประเทศมีอากาศร้อนชื้น ภาคตะวันตกแห้งแล้งแบบทะเลทราย และแถบเทือกเขาแอนดีสมีอากาศหนาวเย็น เมืองหลวง กรุงลิมา  ( Lima) ประชากร  29.15  ล้านคน  ( 2552) ภาษา ภาษาสเปนเป็นภาษาราชการ รวมถึงภาษา  Quechua  และภาษา  Aymara  ซึ่งเป็นภาษาท้องถิ่นก็ได้รับการรับรองฐานะให้เป็นภาษาราชการด้วยเช่นกัน   ศาสนา นับถือศาสนาคริสต์นิกายโรมันคาทอลิก ร้อยละ  81  และนิกายอื่นๆ อีกร้อยละ 10 เชื้อชาติ อินเดียนพื้นเมือง ร้อยละ  45  เมสติโซ  ( ผิวขาวผสมชนพื้นเมือง )  ร้อยละ  37  ผิวขาว ร้อยละ  15  แอฟริกัน ญี่ปุ่น จีน และอื่นๆ ร้อยละ  3
การเมืองการปกครอง รูปแบบการปกครอง ประชาธิปไตยในระบอบสาธารณรัฐ   ฝ่ายนิติบัญญัติ มีสภาเดียว เรียกว่า  Democratic Constituent Congress  มีสมาชิก  120  คน และมีวาระการดำรงตำแหน่งคราวละ  5  ปี โดยอาจมีการยุบสภาระหว่างวาระการดำรงตำแหน่งของประธานาธิบดี ทั้งนี้ การเลือกตั้งครั้งต่อไปจะมีขึ้นในวันที่  10  เมษายน  2554  พร้อมกับการเลือกตั้งประธานาธิบดี  
ฝ่ายบริหาร ประธานาธิบดีเป็นหัวหน้าฝ่ายบริหารมาจากการเลือกตั้งโดยตรง และอยู่ในตำแหน่งคราวละ  5  ปี ประธานาธิบดีคนปัจจุบัน คือ นาย  Alan Garcia Perez ( พรรค  APRA)  ซึ่งเข้ารับตำแหน่งเมื่อ  28  กรกฎาคม  2549  ทั้งนี้ การเลือกตั้งประธานาธิบดีครั้งต่อไปจะมีขึ้นในวันที่  10  เมษายน  2554  พร้อมกับการเลือกตั้งสมาชิกรัฐสภา
พรรคการเมืองสำคัญ พรรค  American Popular Revolutionary Alliance (APRA)  พรรค  Peru Possible  พรรค  National Unity  พรรค  Union for Peru  พรรค  Peruvian Nationalist Party  พรรค  Force 2011 ฝ่ายตุลาการ ศาลชั้นต้น ซึ่งมีอยู่ในทุกจังหวัดสำคัญของทุกภาค และศาลฎีกาที่ตั้งอยู่ในกรุงลิมา
พื้นที่ 1,285,200  ตารางกิโลเมตร มีขนาดใหญ่เป็นอันดับ  3  ในทวีปอเมริกาใต้ และมีขนาดใหญ่กว่าประเทศไทย  2  เท่า
เศรษฐกิจการค้า เปรูเป็นประเทศที่มีความหลากหลายทางด้านเศรษฐกิจเนื่องจากสภาพภูมิศาสตร์ เขตภูเขาอุดมไปด้วยทรัพยากรแร่ธาตุสำคัญหลายชนิด เปรูจึงเป็นผู้ผลิตแร่ธาตุรายใหญ่ของโลก เช่นทองแดง  ( อันดับ  3  ของโลก )  ตะกั่ว  ( อันดับ  4  ของโลก )  เงิน  ( อันดับ  1  ของโลก )  สังกะสี  ( อันดับ  3  ของโลก )  ดีบุก  ( อันดับ  3  ของโลก )  น้ำมันและก๊าซธรรมชาติ ส่วนทางชายฝั่งมหาสมุทรแปซิฟิกมีสภาพเอื้ออำนวยต่อการประมง ผลิตภัณฑ์การเกษตรที่สำคัญ ได้แก่ มันฝรั่ง ข้าวโพด ผลไม้ ต้นโคคา และการปศุสัตว์   นอกจากนี้ ทรัพยากรการท่องเที่ยวของเปรู เช่น   มาชูปิกชู   เมืองกุสโก และ ป่าดิบชื้น บริเวณ แม่น้ำแอมะซอน สามารถดึงดูดนักท่องเที่ยวได้เป็นจำนวนมาก
วัฒนธรรม วัฒนธรรมเปรูมีรากฐานอยู่บนวัฒนธรรมพื้นเมืองและวัฒนธรรมสเปน ศิลปะของเปรูย้อนกลับไปได้ถึงเครื่องปั้นเดิมเผา สิ่งทอ เพชรพลอย และการแกะสลักของวัฒนธรรมยุคก่อนอินคา ชาวอินคายังคงรักษารูปแบบงานเหล่านี้และยังบรรลุผลในด้านสถาปัตยกรรมโดยได้สร้าง มาชูปิกชู   ในยุคอาณานิคม ศิลปะได้รับอิทธิพลแบบ บาโรก   โดยผสมเข้ากับวัฒนธรรมท้องถิ่น ในยุคนี้
อาหาร อาหารจานหลักของเปรูมีความหลากหลายเพราะมีส่วนผสมที่สามารถหาได้ในประเทศหลายอย่าง เช่น อาหารทะเล เนื้อสัตว์ต่าง ๆ เช่น เนื้อวัว เนื้อไก่ เนื้อ อัลปากา   และเนื้อ หนูตะเภา   นิยมรับประทานอาหารจานหลักกับมันฝรั่ง  ( ซึ่งกล่าวกันว่ามีมากถึง  3 , 500  ชนิด )  ข้าวโพด หรือข้าว ในเขตเทือกเขาชาวเปรูมักจะกินซุปเพื่ออบอุ่นร่างกายก่อนออกไปเผชิญความหนาวเย็น อาหารเปรูที่มีชื่อเสียงคือ   เซบีเช   ซึ่งมีลักษณะคล้ายยำทะเล โดยนำเนื้อปลาสดหรือกุ้งสดที่หมักในน้ำมะนาวและพริกไทย มาผสมกับหัวหอมซอย
เครื่องดื่มแอลกอฮอล์ของเปรูคือ ปิสโกซาวร์  ( Pisco sour)  ซึ่งมีส่วนผสมของเหล้าปิสโก  ( บรั่นดีที่ทำจากองุ่น )  น้ำมะนาว น้ำแข็ง ไข่ขาว และน้ำหวาน ชาวเปรูยังนิยมดื่มเครื่องดื่มจากข้าวโพดสีม่วงที่เรียกว่า ชีชาโมราดา  ( Chicha morada)  อีกด้วย
ชาวพื้นเมืองนิยมเคี้ยวใบโคคาตากแห้งและดื่มชาโคคามาตั้งแต่สมัยโบราณ แต่ปัจจุบันกำลังประสบปัญหาถูกต่อต้านจากนานาชาติ เนื่องจากใบโคคา  ( ซึ่งเป็นวัตถุดิบในการผลิต โคเคน )  ถูกสหประชาชาติกำหนดให้เป็นยาเสพติดตั้งแต่ พ . ศ . 2504
ดนตรีและการเต้นรำ ดนตรีของเปรูมีพื้นฐานจากดนตรีพื้นเมือง และได้รับอิทธิพลจากสเปนและแอฟริกาในภายหลัง ในยุคก่อนถูกสเปนครอบครองดนตรีก็มีความหลากหลายแตกต่างกันไปตามพื้นที่ เครื่องดนตรีพื้นเมืองที่แพร่หลายที่สุดคือขลุ่ย เกนา และกลอง ตินยา   เมื่ออารยธรรมสเปนเข้ามากีตาร์ก็เป็นที่รู้จักและกลายเป็นเครื่องดนตรีที่เป็นที่นิยมมากที่สุดอย่างหนึ่งในเปรู [86]   นอกจากนี้ กีตาร์ยังเป็นจุดกำเนิดให้แก่เครื่องดนตรีชนิดใหม่คือ ชารังโก   อิทธิพลของดนตรีแบบแอฟริกาปรากฏให้เห็นในทั้งในจังหวะของเพลงและเครื่องดนตรี เช่น กลอง กาคอน
การเต้นรำพื้นเมืองของเปรูนอกจากการเต้นรำของคู่หญิงชายเช่น   มารีเนรา   ตอนเดโร และ อวยโน แล้ว ยังมี ระบำกรรไกร   ซึ่งชาวเปรูถือว่าเป็นการแสดงที่เป็นพิธีการ ผู้เต้นจะถือกรรไกรไว้ขณะเต้นด้วยท่าที่โลดโผน
เทศกาล เปรูมีเทศกาลมากมายตลอดทั้งปี ซึ่งมีทั้งเทศกาลทางศาสนา เทศกาลเกี่ยวกับประเพณีของอินคา เทศกาลเกี่ยวกับการเกษตร และเทศกาลเพื่อเฉลิมฉลอง เช่น   คาร์นิวาล ที่มีจุดเด่นที่การละเล่นสาดน้ำ   อินตีไรย์มี หรือพิธีเพื่อบูชาพระอาทิตย์ซึ่งสืบทอดมาตั้งแต่สมัยอินคา   เซญอร์เดโลสมีลาโกรส   ( ลอร์ดออฟมิราเคิลส์ )  ซึ่งเป็นพาเรดทางศาสนาคริสต์ที่ใหญ่ที่สุดในทวีปอเมริกาใต้ เป็นต้น
ความสัมพันธ์ระหว่างไทยกับสาธารณรัฐเปรู 1. ความสัมพันธ์ทั่วไป ไทยและเปรูได้สถาปนาความสัมพันธ์ทางการทูตระหว่างกันเมื่อวันที่  10  พฤศจิกายน  2508  ทั้งสองประเทศมีความสัมพันธ์อย่างใกล้ชิด มีการแลกเปลี่ยนการเยือนอย่างสม่ำเสมอ โดยไทยได้เปิดสถานเอกอัครราชทูต ณ กรุงลิมา เมื่อวันที่  3  ธันวาคม .  2549 ( ค . ศ .  2006)  ในขณะที่เปรูเปิดสถานเอกอัครราชทูตในไทยตั้งแต่ปี  2535 ( ค . ศ . 1992)  และมีการแต่งตั้งกงสุลกิตติมศักดิ์ประจำจังหวัดสงขลาและเชียงใหม่   ปี  2553  เป็นปีแห่งการครบรอบ  45  ปีของการสถาปนาความสัมพันธ์ทางการทูตระหว่างกัน กระทรวงการต่างประเทศ ร่วมกับสถานเอกอัครราชทูตเปรู ประจำประเทศไทย จัดกิจกรรมเพื่อเฉลิมฉลองวาระสำคัญดังกล่าว ดังนี้
   การแลกเปลี่ยนสารแสดงความยินดีระหว่างรัฐมนตรีว่าการกระทรวงการต่างประเทศของทั้งสองประเทศ      การจัดทำ  Common Bilateral Agenda Thailand-Peru 2011-2012 ( ซึ่งเป็นเอกสารที่กระทรวงการต่างประเทศร่วมกับสถานเอกอัครราชทูตเปรู ประจำประเทศไทย จัดทำขึ้นเพื่อใช้เป็นกรอบในการดำเนินความสัมพันธ์ระหว่างกัน )  สาระสำคัญของ  Common Bilateral Agenda Thailand - Peru 2011 - 2012  สรุปได้ ดังนี้  
•  ด้านการเมือง ครอบคลุมเรื่องการประชุม  JC  ครั้งที่  3 ( ที่เปรูจะเป็นเจ้าภาพ )  การเจรจาจัดทำและ / หรือลงนามในความตกลงทวิภาคี การประเมินผล / ทบทวนการบังคับใช้ความตกลงทวิภาคีที่ลงนามไปแล้ว การแลกเปลี่ยนการเยือนระหว่างกัน และการให้มีการหารือทวิภาคีระหว่างผู้แทนระดับสูงในช่วงการประชุมพหุภาคีในกรอบต่างๆ
•  ด้านเศรษฐกิจ ครอบคลุมการบังคับใช้พิธีสาร  Early Harvest  บทบาทการเป็น  hub  ของแต่ละฝ่ายในภูมิภาคของตน การจัดสัมมนาเพื่อส่งเสริมการค้าการลงทุน รวมทั้งการจัดตั้ง  Thai-Peru Business Council  และการจัด  Thai-Peru Business Summit Forum
•  ด้านวัฒนธรรม ครอบคลุมการจัดกิจกรรมส่งเสริมความสัมพันธ์ทางวัฒนธรรม อาทิ การจัดเทศกาลอาหาร การจัดการแสดง นิทรรศการภาพวาดและภาพถ่าย การสร้างเครือข่ายความร่วมมือระหว่างสถาบันต่างๆ เป็นต้น  
•  ด้านความร่วมมือ ครอบคลุมความร่วมมือในระดับทวิภาคีต่าง เช่น ความร่วมมือทางวิชาการในสาขาต่างๆ เช่น การพัฒนาการปลูกข้าว การแปรรูปอาหารทะเล โบราณคดี การพัฒนาความร่วมมือด้านไทยศึกษาและเปรูศึกษา และการพัฒนาความร่วมมือด้านศุลกากร เป็นต้น อีกทั้งได้กล่าวถึงการส่งเสริมความร่วมมือในกรอบพหุภาคีระหว่างทั้งสองฝ่ายด้วย
•  ด้านกงสุล ครอบคลุมการพิจารณาเปิด สกม .  ในเมืองสำคัญทางเศรษฐกิจต่างๆ โดยฝ่ายเปรูอยู่ระหว่างพิจารณาเปิด สกม .  ที่ จ .  ขอนแก่นและภูเก็ตเพิ่มเติม
   การจัดเลี้ยงอาหารกลางวันแก่คณะกลุ่มมิตรภาพสมาชิกรัฐสภาเปรู - ไทยที่มีกำหนดเยือนไทยระหว่างวันที่  14-21  พฤศจิกายน  2553  โดยรัฐมนตรีว่าการกระทรวงการต่างประเทศเป็นเจ้าภาพ      การจัดทำสิ่งพิมพ์เพื่อแสดงลำดับเหตุการณ์ความสัมพันธ์ระหว่างไทยกับเปรู
2.  ความสัมพันธ์ทางการเมือง ไทยกับเปรู มีความสัมพันธ์ที่ราบรื่นและใกล้ชิด มีการแลกเปลี่ยนการเยือนกันอย่างสม่ำเสมอ ทั้งในระดับราชวงศ์และรัฐบาล อาทิ  
-  ระดับพระราชวงศ์ คือ สมเด็จพระบรมโอรสาธิราชฯ สยามมกุฎราชกุมาร เสด็จฯ เยือนเปรูอย่างเป็นทางการ  ( ปี  2536)  สมเด็จพระเจ้าลูกเธอเจ้าฟ้าจุฬาภรณวลัยลักษณ์ฯ อัครราชกุมารี เสด็จเยือนเปรู  ( ปี  2543)  -  ระดับเจ้าหน้าที่ระดับสูงของรัฐบาล คือ นายกรัฐมนตรี ได้แก่ นายชวน หลีกภัย  ( ปี  2542)  และนายสมชาย วงศ์สวัสดิ์  ( ปี  2551)  รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการต่างประเทศ ดร .  กันตธีร์ ศุภมงคล เคยเดินทางเยือนเปรู  4  ครั้ง รวมทั้งในฐานะผู้แทนการค้าไทย  ( ปี  2546 -2548)  รัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงการต่างประเทศ  ( นายสวนิต คงสิริ )  เยือนเปรูเมื่อเดือน ส . ค .  2550  ประธานกลุ่มมิตรภาพสมาชิกรัฐสภาไทย - เปรู
ฝ่ายเปรูเยือนไทย คือ ประธานาธิบดีเปรู ได้แก่ นายอัลเบร์โต ฟูจิโมริ  ( ปี  2539)  นายอเลฆานโดร โตเลโด  ( ในช่วงการประชุมเอเปค เมื่อปี  2546)  ผู้ช่วยรัฐมนตรีว่าการกระทรวงการค้าต่างประเทศ  ( นายคาร์ลอส โปซาดา )  และกลุ่มมิตรภาพสมาชิกรัฐสภาเปรู - ไทย นำโดยนายอัลแบร์โต เอสกูเดโร ประธานกลุ่มฯ เมื่อปี  2553
3.  ความสัมพันธ์ด้านเศรษฐกิจ การค้าระหว่างไทยกับเปรูในปี  2553  มีมูลค่ารวม  414.86  ล้านดอลลาร์สหรัฐ ซึ่งสูงที่สุดเป็นประวัติการณ์ หรือเพิ่มขึ้นร้อยละ  213.28  จากปี  2553  โดยมูลค่าการค้าดังกล่าวคิดเป็น ร้อยละ  0.11  ของมูลค่าการค้ารวมของไทยกับทั่วโลก ไทยยังคงเป็นฝ่ายได้ดุล  203.63  ล้านดอลลาร์สหรัฐ ด้วยมูลค่าการส่งออก  309.24  ล้านดอลลาร์สหรัฐ ซึ่งเพิ่มขึ้นร้อยละ  221.58  และนำเข้า  105.62  ล้านดอลลาร์สหรัฐ ซึ่งเพิ่มขึ้นร้อยละ  191.27  ทำให้เปรูเป็นคู่ค้าอันดับที่  6  ของไทยในภูมิภาคลาตินอเมริกา  ( รองจากบราซิล เม็กซิโก อาร์เจนตินา ชิลีและโคลอมเบีย )  
4.  ความสัมพันธ์ด้านการท่องเที่ยว ในปี  2553  มีชาวเปรูเดินทางมาประเทศไทยจำนวน  2,641  คน ทั้งนี้ การเดินทางของประชาชน ทั้งสองประเทศมีความสะดวก เนื่องจากไทยและเปรูได้ทำความตกลงยกเว้นการตรวจลงตราสำหรับผู้ถือหนังสือเดินทางทูต ราชการ และธรรมดา ตั้งแต่ปี  2542
5.  ความร่วมมือทางด้านวิชาการ ไทยและเปรูลงนามในบันทึกความเข้าใจว่าด้วยความร่วมมือทางวิชาการระหว่างสำนักงานความร่วมมือเพื่อการพัฒนาระหว่างประเทศ  ( สพร .)  กับ  Peruvian International Cooperation Agency (APCI)  ลงนามเมื่อวันที่  27  ก . พ .  2549  ซึ่งฝ่ายไทยได้เสนอให้ความร่วมมือกับเปรูใน  3  สาขา ได้แก่  ( 1)  การเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำ  ( Aquaculture) (2)  การท่องเที่ยว  ( Tourism)  และ  ( 3)  ความหลากหลายทางชีวภาพ  ( Biodiversity)  ซึ่งเป็นสาขาที่ไทยมีความพร้อม
6.  ความสัมพันธ์ในกรอบความร่วมมือระหว่างประเทศ  –  การแลกเปลี่ยนการสนับสนุน   ไทยและเปรูเป็นสมาชิกกรอบความร่วมมือทางเศรษฐกิจเอเชีย - แปซิฟิก  ( APEC)  ซึ่งภูมิภาคลาตินอเมริกามี  3  ประเทศ คือ เม็กซิโก ชิลี และเปรู ที่เป็นสมาชิก และกรอบความร่วมมือระหว่างเอเชียตะวันออกและลาตินอเมริกา  ( FEALAC)
7.  ความตกลงที่สำคัญ ไทยและเปรูได้ลงนามความตกลงทวิภาคีแล้ว  37  ฉบับ และยังอยู่ระหว่างการเจรจาอีกจำนวน  15  ฉบับ   ความตกลงที่มีผลบังคับใช้แล้ว อาทิ บันทึกความเข้าใจว่าด้วยความร่วมมือระหว่างสำนักงานพัฒนาเทคโนโลยีอวกาศและภูมิสารสนเทศกับกับ  National Aerospace Research and Development Commission of Peru (CONIDA)  ซึ่งฝ่ายไทยตอบรับข้อเสนอโครงการความร่วมมือของเปรูใน  3  สาขาได้แก่ พืชเสพติด  ( Illicit crops)  การติดตามการทำลายป่าไม้  ( Deforestation monitoring)
แหล่งท่องเที่ยวในประเทศเปรู ประเทศเปรู  ( Peru)  มีชื่อทางการคือ สาธารณรัฐเปรู  ( Republic Of Peru)  เป็นประเทศที่ตั้งอยู่ทางตะวันตกของทวีปอเมริกาใต้ มีพรมแดนทางทิศเหนือติดกับประเทศเอกวาดอร์และประเทศโคลอมเบีย ทิศตะวันออกติดกับประเทศบราซิลและประเทศโบลิเวีย ทางทิศใต้ติดกับประเทศชิลี และทิศตะวันตกติดกับมหาสมุทรแปซิฟิก ประเทศเปรูเป็นที่ตั้งของอารยธรรมการัล ซึ่งเป็นอารยธรรมเก่าแก่อันหนึ่งของโลก และอาณาจักรอินคา จักรวรรดิที่ยิ่งใหญ่ที่สุดในทวีปอเมริกาก่อนยุคโคลัมบัส ต่อมาภูมิภาคนี้ตกเป็นอาณานิคมของจักรวรรดิสเปน และได้รับเอกราชในปี พ . ศ .  2364
สถานที่ที่จะต้องไปเมื่อไปเปรู
กำแพงเมืองจีน
ทิวทัศที่สวยงาม
เทือกเขาแอนดีส
มาชู ปิกชู
มาชู พิชชู
ทิวทัศน์ที่สวยงามของประเทศเปรู
 
 
 
จบการนำเสนอ ขอบคุณค่ะ
บรรณานุกรม 1.www.vacationzone.co.th/index วันจันทร์  ที่  22  เดือน พฤศจิกายน พ . ศ .2553 2.www.choktaweetour.com/index   วันจันทร์  ที่  22  เดือน พฤศจิกายน พ . ศ .2553
จัดทำโดย นางสาวดารารัตน์  แสนมาตร  ชั้นม . 5 / 2  เลขที่  19

Más contenido relacionado

Similar a งานนำเสนอเปรู. (7)

โครงงานระบบนิเวศน์ในประเทศบรูไนบูรณาการผ่านเว็บไซต์
โครงงานระบบนิเวศน์ในประเทศบรูไนบูรณาการผ่านเว็บไซต์โครงงานระบบนิเวศน์ในประเทศบรูไนบูรณาการผ่านเว็บไซต์
โครงงานระบบนิเวศน์ในประเทศบรูไนบูรณาการผ่านเว็บไซต์
 
แอฟริกาใต้
แอฟริกาใต้แอฟริกาใต้
แอฟริกาใต้
 
งาน ปุ๋ย
งาน ปุ๋ยงาน ปุ๋ย
งาน ปุ๋ย
 
History of south east asia
History of south east asiaHistory of south east asia
History of south east asia
 
History of south east asia
History of south east asiaHistory of south east asia
History of south east asia
 
History of south east asia
History of south east asiaHistory of south east asia
History of south east asia
 
History of south east asia
History of south east asiaHistory of south east asia
History of south east asia
 

Más de SRINAKARIN MOTHER PRINCESS SCHOOL

Más de SRINAKARIN MOTHER PRINCESS SCHOOL (20)

Is
IsIs
Is
 
นัทธพงศ์ ดอนศรี.
นัทธพงศ์ ดอนศรี.นัทธพงศ์ ดอนศรี.
นัทธพงศ์ ดอนศรี.
 
นายคงศักดิ์ สงสุรีย์
นายคงศักดิ์ สงสุรีย์นายคงศักดิ์ สงสุรีย์
นายคงศักดิ์ สงสุรีย์
 
ปวีณ์ธิดา สีหวาด
ปวีณ์ธิดา สีหวาดปวีณ์ธิดา สีหวาด
ปวีณ์ธิดา สีหวาด
 
จารุวรรณ ลำพองชาติ
จารุวรรณ ลำพองชาติจารุวรรณ ลำพองชาติ
จารุวรรณ ลำพองชาติ
 
Isมิ้น
Isมิ้นIsมิ้น
Isมิ้น
 
เตชินท์ประเทศอัฟกานิสถาน
เตชินท์ประเทศอัฟกานิสถานเตชินท์ประเทศอัฟกานิสถาน
เตชินท์ประเทศอัฟกานิสถาน
 
Isประเทศบังกลาเทศ
IsประเทศบังกลาเทศIsประเทศบังกลาเทศ
Isประเทศบังกลาเทศ
 
อาเซอร์ไบจาน
อาเซอร์ไบจานอาเซอร์ไบจาน
อาเซอร์ไบจาน
 
คองโก
คองโกคองโก
คองโก
 
Is1
Is1Is1
Is1
 
ตุรกี
ตุรกีตุรกี
ตุรกี
 
มัลดีฟ
มัลดีฟมัลดีฟ
มัลดีฟ
 
อาร์เมเนีย
อาร์เมเนียอาร์เมเนีย
อาร์เมเนีย
 
นางสาวนภาพร คำภักดี เลขที่19 รัฐสุลต่านโอมาน
นางสาวนภาพร คำภักดี เลขที่19 รัฐสุลต่านโอมานนางสาวนภาพร คำภักดี เลขที่19 รัฐสุลต่านโอมาน
นางสาวนภาพร คำภักดี เลขที่19 รัฐสุลต่านโอมาน
 
สอบกลางภาค
สอบกลางภาคสอบกลางภาค
สอบกลางภาค
 
สอบกลางภาคIs ธิรดา-น้อยเสนา
สอบกลางภาคIs ธิรดา-น้อยเสนาสอบกลางภาคIs ธิรดา-น้อยเสนา
สอบกลางภาคIs ธิรดา-น้อยเสนา
 
จิราภา ธรรมรักษ์
จิราภา ธรรมรักษ์จิราภา ธรรมรักษ์
จิราภา ธรรมรักษ์
 
ณัฎฐณิชา
ณัฎฐณิชาณัฎฐณิชา
ณัฎฐณิชา
 
กลางภาค
กลางภาคกลางภาค
กลางภาค
 

งานนำเสนอเปรู.

  • 4.  
  • 5.  
  • 6. เปรูมีประชากรประมาณ 28 ล้านคน เป็นประเทศที่มีประชากรมากที่สุดเป็นอันดับสี่ของทวีปอเมริกาใต้จากข้อมูลปี พ . ศ . 2550 โดยการเติบโตของจำนวนประชากรลดลงจากร้อยละ 2.6 เหลือร้อยละ 1.6 ในช่วงปี พ . ศ . 2493 ถึง 2543 โดยคาดการณ์ว่าจะมีประชากรประมาณ 42 ล้านคนในปี พ . ศ . 2593   จากข้อมูลปี 2548 ร้อยละ 72.6 ของประชากรอาศัยอยู่ในเขตเมือง และร้อยละ 27.4 ในเขตชนบท   เมืองหลักของเปรูได้แก่   ลิมา   อาเรกีปา   ตรูคีโย   ชีกลาโย   ปิวรา   อีกีโตส   ชิมโบเต   กุสโก   และ อวงกาโย   ซึ่งมีประชากรมากกว่าสองแสนคนในการสำรวจปี พ . ศ . 2536 ประชากร
  • 7. ข้อมูลเกี่ยวกับประเทศ ที่ตั้ง อยู่ในทวีปอเมริกาใต้ริมฝั่งมหาสมุทรแปซิฟิก มีพรมแดนด้านเหนือ ติดกับเอกวาดอร์และโคลอมเบีย ด้านตะวันออกติดกับบราซิล และโบลิเวีย และด้านใต้ติดกับชิลี พื้นที่ 1,285,200 ตารางกิโลเมตร มีขนาดใหญ่เป็นอันดับ 3 ในทวีปอเมริกาใต้ และมีขนาดใหญ่กว่าประเทศไทย 2 เท่า ภูมิอากาศ ภาคตะวันออกของประเทศมีอากาศร้อนชื้น ภาคตะวันตกแห้งแล้งแบบทะเลทราย และแถบเทือกเขาแอนดีสมีอากาศหนาวเย็น เมืองหลวง กรุงลิมา ( Lima) ประชากร 29.15 ล้านคน ( 2552) ภาษา ภาษาสเปนเป็นภาษาราชการ รวมถึงภาษา Quechua และภาษา Aymara ซึ่งเป็นภาษาท้องถิ่นก็ได้รับการรับรองฐานะให้เป็นภาษาราชการด้วยเช่นกัน   ศาสนา นับถือศาสนาคริสต์นิกายโรมันคาทอลิก ร้อยละ 81 และนิกายอื่นๆ อีกร้อยละ 10 เชื้อชาติ อินเดียนพื้นเมือง ร้อยละ 45 เมสติโซ ( ผิวขาวผสมชนพื้นเมือง ) ร้อยละ 37 ผิวขาว ร้อยละ 15 แอฟริกัน ญี่ปุ่น จีน และอื่นๆ ร้อยละ 3
  • 8. การเมืองการปกครอง รูปแบบการปกครอง ประชาธิปไตยในระบอบสาธารณรัฐ   ฝ่ายนิติบัญญัติ มีสภาเดียว เรียกว่า Democratic Constituent Congress มีสมาชิก 120 คน และมีวาระการดำรงตำแหน่งคราวละ 5 ปี โดยอาจมีการยุบสภาระหว่างวาระการดำรงตำแหน่งของประธานาธิบดี ทั้งนี้ การเลือกตั้งครั้งต่อไปจะมีขึ้นในวันที่ 10 เมษายน 2554 พร้อมกับการเลือกตั้งประธานาธิบดี  
  • 9. ฝ่ายบริหาร ประธานาธิบดีเป็นหัวหน้าฝ่ายบริหารมาจากการเลือกตั้งโดยตรง และอยู่ในตำแหน่งคราวละ 5 ปี ประธานาธิบดีคนปัจจุบัน คือ นาย Alan Garcia Perez ( พรรค APRA) ซึ่งเข้ารับตำแหน่งเมื่อ 28 กรกฎาคม 2549 ทั้งนี้ การเลือกตั้งประธานาธิบดีครั้งต่อไปจะมีขึ้นในวันที่ 10 เมษายน 2554 พร้อมกับการเลือกตั้งสมาชิกรัฐสภา
  • 10. พรรคการเมืองสำคัญ พรรค American Popular Revolutionary Alliance (APRA) พรรค Peru Possible พรรค National Unity พรรค Union for Peru พรรค Peruvian Nationalist Party พรรค Force 2011 ฝ่ายตุลาการ ศาลชั้นต้น ซึ่งมีอยู่ในทุกจังหวัดสำคัญของทุกภาค และศาลฎีกาที่ตั้งอยู่ในกรุงลิมา
  • 11. พื้นที่ 1,285,200 ตารางกิโลเมตร มีขนาดใหญ่เป็นอันดับ 3 ในทวีปอเมริกาใต้ และมีขนาดใหญ่กว่าประเทศไทย 2 เท่า
  • 12. เศรษฐกิจการค้า เปรูเป็นประเทศที่มีความหลากหลายทางด้านเศรษฐกิจเนื่องจากสภาพภูมิศาสตร์ เขตภูเขาอุดมไปด้วยทรัพยากรแร่ธาตุสำคัญหลายชนิด เปรูจึงเป็นผู้ผลิตแร่ธาตุรายใหญ่ของโลก เช่นทองแดง ( อันดับ 3 ของโลก ) ตะกั่ว ( อันดับ 4 ของโลก ) เงิน ( อันดับ 1 ของโลก ) สังกะสี ( อันดับ 3 ของโลก ) ดีบุก ( อันดับ 3 ของโลก ) น้ำมันและก๊าซธรรมชาติ ส่วนทางชายฝั่งมหาสมุทรแปซิฟิกมีสภาพเอื้ออำนวยต่อการประมง ผลิตภัณฑ์การเกษตรที่สำคัญ ได้แก่ มันฝรั่ง ข้าวโพด ผลไม้ ต้นโคคา และการปศุสัตว์   นอกจากนี้ ทรัพยากรการท่องเที่ยวของเปรู เช่น   มาชูปิกชู   เมืองกุสโก และ ป่าดิบชื้น บริเวณ แม่น้ำแอมะซอน สามารถดึงดูดนักท่องเที่ยวได้เป็นจำนวนมาก
  • 13. วัฒนธรรม วัฒนธรรมเปรูมีรากฐานอยู่บนวัฒนธรรมพื้นเมืองและวัฒนธรรมสเปน ศิลปะของเปรูย้อนกลับไปได้ถึงเครื่องปั้นเดิมเผา สิ่งทอ เพชรพลอย และการแกะสลักของวัฒนธรรมยุคก่อนอินคา ชาวอินคายังคงรักษารูปแบบงานเหล่านี้และยังบรรลุผลในด้านสถาปัตยกรรมโดยได้สร้าง มาชูปิกชู   ในยุคอาณานิคม ศิลปะได้รับอิทธิพลแบบ บาโรก   โดยผสมเข้ากับวัฒนธรรมท้องถิ่น ในยุคนี้
  • 14. อาหาร อาหารจานหลักของเปรูมีความหลากหลายเพราะมีส่วนผสมที่สามารถหาได้ในประเทศหลายอย่าง เช่น อาหารทะเล เนื้อสัตว์ต่าง ๆ เช่น เนื้อวัว เนื้อไก่ เนื้อ อัลปากา   และเนื้อ หนูตะเภา   นิยมรับประทานอาหารจานหลักกับมันฝรั่ง ( ซึ่งกล่าวกันว่ามีมากถึง 3 , 500 ชนิด ) ข้าวโพด หรือข้าว ในเขตเทือกเขาชาวเปรูมักจะกินซุปเพื่ออบอุ่นร่างกายก่อนออกไปเผชิญความหนาวเย็น อาหารเปรูที่มีชื่อเสียงคือ   เซบีเช   ซึ่งมีลักษณะคล้ายยำทะเล โดยนำเนื้อปลาสดหรือกุ้งสดที่หมักในน้ำมะนาวและพริกไทย มาผสมกับหัวหอมซอย
  • 15. เครื่องดื่มแอลกอฮอล์ของเปรูคือ ปิสโกซาวร์ ( Pisco sour)  ซึ่งมีส่วนผสมของเหล้าปิสโก ( บรั่นดีที่ทำจากองุ่น ) น้ำมะนาว น้ำแข็ง ไข่ขาว และน้ำหวาน ชาวเปรูยังนิยมดื่มเครื่องดื่มจากข้าวโพดสีม่วงที่เรียกว่า ชีชาโมราดา ( Chicha morada)  อีกด้วย
  • 17. ดนตรีและการเต้นรำ ดนตรีของเปรูมีพื้นฐานจากดนตรีพื้นเมือง และได้รับอิทธิพลจากสเปนและแอฟริกาในภายหลัง ในยุคก่อนถูกสเปนครอบครองดนตรีก็มีความหลากหลายแตกต่างกันไปตามพื้นที่ เครื่องดนตรีพื้นเมืองที่แพร่หลายที่สุดคือขลุ่ย เกนา และกลอง ตินยา   เมื่ออารยธรรมสเปนเข้ามากีตาร์ก็เป็นที่รู้จักและกลายเป็นเครื่องดนตรีที่เป็นที่นิยมมากที่สุดอย่างหนึ่งในเปรู [86]   นอกจากนี้ กีตาร์ยังเป็นจุดกำเนิดให้แก่เครื่องดนตรีชนิดใหม่คือ ชารังโก   อิทธิพลของดนตรีแบบแอฟริกาปรากฏให้เห็นในทั้งในจังหวะของเพลงและเครื่องดนตรี เช่น กลอง กาคอน
  • 18. การเต้นรำพื้นเมืองของเปรูนอกจากการเต้นรำของคู่หญิงชายเช่น   มารีเนรา   ตอนเดโร และ อวยโน แล้ว ยังมี ระบำกรรไกร   ซึ่งชาวเปรูถือว่าเป็นการแสดงที่เป็นพิธีการ ผู้เต้นจะถือกรรไกรไว้ขณะเต้นด้วยท่าที่โลดโผน
  • 19. เทศกาล เปรูมีเทศกาลมากมายตลอดทั้งปี ซึ่งมีทั้งเทศกาลทางศาสนา เทศกาลเกี่ยวกับประเพณีของอินคา เทศกาลเกี่ยวกับการเกษตร และเทศกาลเพื่อเฉลิมฉลอง เช่น   คาร์นิวาล ที่มีจุดเด่นที่การละเล่นสาดน้ำ   อินตีไรย์มี หรือพิธีเพื่อบูชาพระอาทิตย์ซึ่งสืบทอดมาตั้งแต่สมัยอินคา   เซญอร์เดโลสมีลาโกรส   ( ลอร์ดออฟมิราเคิลส์ ) ซึ่งเป็นพาเรดทางศาสนาคริสต์ที่ใหญ่ที่สุดในทวีปอเมริกาใต้ เป็นต้น
  • 20. ความสัมพันธ์ระหว่างไทยกับสาธารณรัฐเปรู 1. ความสัมพันธ์ทั่วไป ไทยและเปรูได้สถาปนาความสัมพันธ์ทางการทูตระหว่างกันเมื่อวันที่ 10 พฤศจิกายน 2508 ทั้งสองประเทศมีความสัมพันธ์อย่างใกล้ชิด มีการแลกเปลี่ยนการเยือนอย่างสม่ำเสมอ โดยไทยได้เปิดสถานเอกอัครราชทูต ณ กรุงลิมา เมื่อวันที่ 3 ธันวาคม . 2549 ( ค . ศ . 2006) ในขณะที่เปรูเปิดสถานเอกอัครราชทูตในไทยตั้งแต่ปี 2535 ( ค . ศ . 1992) และมีการแต่งตั้งกงสุลกิตติมศักดิ์ประจำจังหวัดสงขลาและเชียงใหม่   ปี 2553 เป็นปีแห่งการครบรอบ 45 ปีของการสถาปนาความสัมพันธ์ทางการทูตระหว่างกัน กระทรวงการต่างประเทศ ร่วมกับสถานเอกอัครราชทูตเปรู ประจำประเทศไทย จัดกิจกรรมเพื่อเฉลิมฉลองวาระสำคัญดังกล่าว ดังนี้
  • 21. การแลกเปลี่ยนสารแสดงความยินดีระหว่างรัฐมนตรีว่าการกระทรวงการต่างประเทศของทั้งสองประเทศ    การจัดทำ Common Bilateral Agenda Thailand-Peru 2011-2012 ( ซึ่งเป็นเอกสารที่กระทรวงการต่างประเทศร่วมกับสถานเอกอัครราชทูตเปรู ประจำประเทศไทย จัดทำขึ้นเพื่อใช้เป็นกรอบในการดำเนินความสัมพันธ์ระหว่างกัน ) สาระสำคัญของ Common Bilateral Agenda Thailand - Peru 2011 - 2012 สรุปได้ ดังนี้  
  • 22. • ด้านการเมือง ครอบคลุมเรื่องการประชุม JC ครั้งที่ 3 ( ที่เปรูจะเป็นเจ้าภาพ ) การเจรจาจัดทำและ / หรือลงนามในความตกลงทวิภาคี การประเมินผล / ทบทวนการบังคับใช้ความตกลงทวิภาคีที่ลงนามไปแล้ว การแลกเปลี่ยนการเยือนระหว่างกัน และการให้มีการหารือทวิภาคีระหว่างผู้แทนระดับสูงในช่วงการประชุมพหุภาคีในกรอบต่างๆ
  • 23. • ด้านเศรษฐกิจ ครอบคลุมการบังคับใช้พิธีสาร Early Harvest บทบาทการเป็น hub ของแต่ละฝ่ายในภูมิภาคของตน การจัดสัมมนาเพื่อส่งเสริมการค้าการลงทุน รวมทั้งการจัดตั้ง Thai-Peru Business Council และการจัด Thai-Peru Business Summit Forum
  • 24. • ด้านวัฒนธรรม ครอบคลุมการจัดกิจกรรมส่งเสริมความสัมพันธ์ทางวัฒนธรรม อาทิ การจัดเทศกาลอาหาร การจัดการแสดง นิทรรศการภาพวาดและภาพถ่าย การสร้างเครือข่ายความร่วมมือระหว่างสถาบันต่างๆ เป็นต้น  
  • 25. • ด้านความร่วมมือ ครอบคลุมความร่วมมือในระดับทวิภาคีต่าง เช่น ความร่วมมือทางวิชาการในสาขาต่างๆ เช่น การพัฒนาการปลูกข้าว การแปรรูปอาหารทะเล โบราณคดี การพัฒนาความร่วมมือด้านไทยศึกษาและเปรูศึกษา และการพัฒนาความร่วมมือด้านศุลกากร เป็นต้น อีกทั้งได้กล่าวถึงการส่งเสริมความร่วมมือในกรอบพหุภาคีระหว่างทั้งสองฝ่ายด้วย
  • 26. • ด้านกงสุล ครอบคลุมการพิจารณาเปิด สกม . ในเมืองสำคัญทางเศรษฐกิจต่างๆ โดยฝ่ายเปรูอยู่ระหว่างพิจารณาเปิด สกม . ที่ จ . ขอนแก่นและภูเก็ตเพิ่มเติม
  • 27. การจัดเลี้ยงอาหารกลางวันแก่คณะกลุ่มมิตรภาพสมาชิกรัฐสภาเปรู - ไทยที่มีกำหนดเยือนไทยระหว่างวันที่ 14-21 พฤศจิกายน 2553 โดยรัฐมนตรีว่าการกระทรวงการต่างประเทศเป็นเจ้าภาพ    การจัดทำสิ่งพิมพ์เพื่อแสดงลำดับเหตุการณ์ความสัมพันธ์ระหว่างไทยกับเปรู
  • 28. 2. ความสัมพันธ์ทางการเมือง ไทยกับเปรู มีความสัมพันธ์ที่ราบรื่นและใกล้ชิด มีการแลกเปลี่ยนการเยือนกันอย่างสม่ำเสมอ ทั้งในระดับราชวงศ์และรัฐบาล อาทิ  
  • 29. - ระดับพระราชวงศ์ คือ สมเด็จพระบรมโอรสาธิราชฯ สยามมกุฎราชกุมาร เสด็จฯ เยือนเปรูอย่างเป็นทางการ ( ปี 2536) สมเด็จพระเจ้าลูกเธอเจ้าฟ้าจุฬาภรณวลัยลักษณ์ฯ อัครราชกุมารี เสด็จเยือนเปรู ( ปี 2543)  - ระดับเจ้าหน้าที่ระดับสูงของรัฐบาล คือ นายกรัฐมนตรี ได้แก่ นายชวน หลีกภัย ( ปี 2542) และนายสมชาย วงศ์สวัสดิ์ ( ปี 2551) รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการต่างประเทศ ดร . กันตธีร์ ศุภมงคล เคยเดินทางเยือนเปรู 4 ครั้ง รวมทั้งในฐานะผู้แทนการค้าไทย ( ปี 2546 -2548) รัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงการต่างประเทศ ( นายสวนิต คงสิริ ) เยือนเปรูเมื่อเดือน ส . ค . 2550 ประธานกลุ่มมิตรภาพสมาชิกรัฐสภาไทย - เปรู
  • 30. ฝ่ายเปรูเยือนไทย คือ ประธานาธิบดีเปรู ได้แก่ นายอัลเบร์โต ฟูจิโมริ ( ปี 2539) นายอเลฆานโดร โตเลโด ( ในช่วงการประชุมเอเปค เมื่อปี 2546) ผู้ช่วยรัฐมนตรีว่าการกระทรวงการค้าต่างประเทศ ( นายคาร์ลอส โปซาดา ) และกลุ่มมิตรภาพสมาชิกรัฐสภาเปรู - ไทย นำโดยนายอัลแบร์โต เอสกูเดโร ประธานกลุ่มฯ เมื่อปี 2553
  • 31. 3. ความสัมพันธ์ด้านเศรษฐกิจ การค้าระหว่างไทยกับเปรูในปี 2553 มีมูลค่ารวม 414.86 ล้านดอลลาร์สหรัฐ ซึ่งสูงที่สุดเป็นประวัติการณ์ หรือเพิ่มขึ้นร้อยละ 213.28 จากปี 2553 โดยมูลค่าการค้าดังกล่าวคิดเป็น ร้อยละ 0.11 ของมูลค่าการค้ารวมของไทยกับทั่วโลก ไทยยังคงเป็นฝ่ายได้ดุล 203.63 ล้านดอลลาร์สหรัฐ ด้วยมูลค่าการส่งออก 309.24 ล้านดอลลาร์สหรัฐ ซึ่งเพิ่มขึ้นร้อยละ 221.58 และนำเข้า 105.62 ล้านดอลลาร์สหรัฐ ซึ่งเพิ่มขึ้นร้อยละ 191.27 ทำให้เปรูเป็นคู่ค้าอันดับที่ 6 ของไทยในภูมิภาคลาตินอเมริกา ( รองจากบราซิล เม็กซิโก อาร์เจนตินา ชิลีและโคลอมเบีย )  
  • 32. 4. ความสัมพันธ์ด้านการท่องเที่ยว ในปี 2553 มีชาวเปรูเดินทางมาประเทศไทยจำนวน 2,641 คน ทั้งนี้ การเดินทางของประชาชน ทั้งสองประเทศมีความสะดวก เนื่องจากไทยและเปรูได้ทำความตกลงยกเว้นการตรวจลงตราสำหรับผู้ถือหนังสือเดินทางทูต ราชการ และธรรมดา ตั้งแต่ปี 2542
  • 33. 5. ความร่วมมือทางด้านวิชาการ ไทยและเปรูลงนามในบันทึกความเข้าใจว่าด้วยความร่วมมือทางวิชาการระหว่างสำนักงานความร่วมมือเพื่อการพัฒนาระหว่างประเทศ ( สพร .) กับ Peruvian International Cooperation Agency (APCI) ลงนามเมื่อวันที่ 27 ก . พ . 2549 ซึ่งฝ่ายไทยได้เสนอให้ความร่วมมือกับเปรูใน 3 สาขา ได้แก่ ( 1) การเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำ ( Aquaculture) (2) การท่องเที่ยว ( Tourism) และ ( 3) ความหลากหลายทางชีวภาพ ( Biodiversity) ซึ่งเป็นสาขาที่ไทยมีความพร้อม
  • 34. 6. ความสัมพันธ์ในกรอบความร่วมมือระหว่างประเทศ – การแลกเปลี่ยนการสนับสนุน   ไทยและเปรูเป็นสมาชิกกรอบความร่วมมือทางเศรษฐกิจเอเชีย - แปซิฟิก ( APEC) ซึ่งภูมิภาคลาตินอเมริกามี 3 ประเทศ คือ เม็กซิโก ชิลี และเปรู ที่เป็นสมาชิก และกรอบความร่วมมือระหว่างเอเชียตะวันออกและลาตินอเมริกา ( FEALAC)
  • 35. 7. ความตกลงที่สำคัญ ไทยและเปรูได้ลงนามความตกลงทวิภาคีแล้ว 37 ฉบับ และยังอยู่ระหว่างการเจรจาอีกจำนวน 15 ฉบับ   ความตกลงที่มีผลบังคับใช้แล้ว อาทิ บันทึกความเข้าใจว่าด้วยความร่วมมือระหว่างสำนักงานพัฒนาเทคโนโลยีอวกาศและภูมิสารสนเทศกับกับ National Aerospace Research and Development Commission of Peru (CONIDA) ซึ่งฝ่ายไทยตอบรับข้อเสนอโครงการความร่วมมือของเปรูใน 3 สาขาได้แก่ พืชเสพติด ( Illicit crops) การติดตามการทำลายป่าไม้ ( Deforestation monitoring)
  • 36. แหล่งท่องเที่ยวในประเทศเปรู ประเทศเปรู ( Peru)  มีชื่อทางการคือ สาธารณรัฐเปรู ( Republic Of Peru) เป็นประเทศที่ตั้งอยู่ทางตะวันตกของทวีปอเมริกาใต้ มีพรมแดนทางทิศเหนือติดกับประเทศเอกวาดอร์และประเทศโคลอมเบีย ทิศตะวันออกติดกับประเทศบราซิลและประเทศโบลิเวีย ทางทิศใต้ติดกับประเทศชิลี และทิศตะวันตกติดกับมหาสมุทรแปซิฟิก ประเทศเปรูเป็นที่ตั้งของอารยธรรมการัล ซึ่งเป็นอารยธรรมเก่าแก่อันหนึ่งของโลก และอาณาจักรอินคา จักรวรรดิที่ยิ่งใหญ่ที่สุดในทวีปอเมริกาก่อนยุคโคลัมบัส ต่อมาภูมิภาคนี้ตกเป็นอาณานิคมของจักรวรรดิสเปน และได้รับเอกราชในปี พ . ศ . 2364
  • 44.  
  • 45.  
  • 46.  
  • 48. บรรณานุกรม 1.www.vacationzone.co.th/index วันจันทร์ ที่ 22 เดือน พฤศจิกายน พ . ศ .2553 2.www.choktaweetour.com/index วันจันทร์ ที่ 22 เดือน พฤศจิกายน พ . ศ .2553
  • 49. จัดทำโดย นางสาวดารารัตน์ แสนมาตร ชั้นม . 5 / 2 เลขที่ 19