SlideShare una empresa de Scribd logo
1 de 7
Descargar para leer sin conexión
ภูมิสถาปนิก- Landscape-Architect




ภูมิสถาปัตยกรรมคืออะไร

งานของภูมิสถาปนิกอาจครอบคลุมตั้งแต่การสรรค์สร้างสวนสาธารณะและถนนอุทยานไปจนถึงการวางผัง
บริ เวณกลุ่มอาคารสานักงาน จากการออกแบบที่พกอาศัยไปจนถึงการออกแบบโครงสร้างพื้นฐานของเมือง
                                          ั
และการจัดการพื้นที่ธรรมชาติขนาดใหญ่ หรื อการฟื้ นฟูภูมิทศน์ที่เสี ยหาย เช่น เหมืองแร่ เก่า บริ เวณฝังกลบ
                                                        ั
ขยะ ภูมิสถาปั ตยกรรมทับซ้อนกับการจัดสวน ก็จริ ง แต่จะเป็ นงานวิชาชีพที่มีปัจจัยพิจารณาในการออกแบบ
และมีขอบเขตกว้างขวางกว่า



นิยามอาชีพ

        ผูปฏิบติงานภูมิสถาปนิก-Landscape-Architectทาหน้าที่ วางแผนงาน เตรี ยมการเขียนแบบ และ
          ้ ั
ควบคุมการตกแต่งพื้นที่ และวางแปลนจัดสถานที่ต่างๆ เช่น พื้นที่สีเขียว (Green Area) ทั้งใน และนอก
อาคารใน สถานประกอบกิจการ สนามกอล์ฟ และสวนสาธารณะ ศึกษาสภาพของสถานที่ โดยคานึงถึงการ
                                                                    ่
ระบายน้ า ลักษณะของผิวดิน ต้นไม้ หิ น และสิ่ งก่อสร้างต่างๆ ที่มีอยูในบริ เวณพื้นที่

ลักษณะของงานที่ทา
ผู้ปฏิบัตงานภูมิสถาปนิก-Landscape-Architectจะต้ องทางานหลัก ดังนี้
         ิ

1. เขียนแบบร่ างแสดงภาพแผนผัง (Perspective) โดยใช้มาตราส่ วนที่เหมาะสมกับพื้นที่น้ น แสดงให้เห็น
                                                                                   ั
                                                                                 ่
ถนน ทางเท้า ตึกรามบ้านช่อง สะพาน รั้ว ท่อระบายน้ าโสโครก แนะนาชนิดของต้นไม้ ไม้พุม และไม้ดอก
ให้ปลูกตามที่ต่างๆ ให้เหมาะสมกับลักษณะที่ดินและกลมกลืนกับสถาปั ตยกรรมที่มีอยูแล้ว ร่ วมกับ
                                                                             ่
สถาปนิก มัฑณากร นาเสนอให้ลูกค้าพิจารณา

2. เตรี ยมรายละเอียดและประมาณการราคา ควบคุมรายละเอียดของแบบแปลน

3. ควบคุมการทางานอย่างใกล้ชิด และต้องออกภาคสนามเพื่อตรวจดูงาน และแก้ไข ให้เป็ นไปตามข้อตกลง



สภาพการจ้ างงาน

       ผูปฏิบติงานอาชีพภูมิสถาปนิกที่รับราชการจะได้รับเงิ นเดือนตามวุฒิการศึกษา สถาปนิกที่ทางาน
         ้ ั
                                       ่                               ่ ั
กับภาคเอกชนจะได้รับเงินเดือน ขั้นต้นอยูระหว่าง 7,000 -8,000 บาท ขึ้นอยูกบฝี มือ และประสบการณ์ใน
การฝึ กงานขณะที่กาลังศึกษาอยู่ โดยเฉพาะผูที่มีความสามารถวาดภาพแสดงแผนผัง (Perspective) ได้ดี
                                         ้
อาจจะได้ค่าตอบแทนการทางานเป็ นเงินเดือนขั้นต้นประมาณ 10,000 บาท และมีสวัสดิการตามกฎหมาย
                                               ่ ั
แรงงาน และผลประโยชน์อย่างอื่น เช่น โบนัสขึ้นอยูกบ โครงการงานแต่ละโครงการเมื่อโครงการเสร็ จสิ้ น
ลง ผูประกอบภูมิสถาปนิก-Landscape-Architectจะได้รับโบนัส เป็ น 2-3 เท่าของเงินเดือนและมีโบนัสสิ้ นปี
     ้
                                                      ่
อีกต่างหากการ ขึ้นเงินเดือนประจาปี จะประเมินการขึ้นอยูในระดับ 10% ของเงินเดือนที่ได้ในปั จจุบน
                                                                                             ั

ถ้าผูสนใจประกอบภูมิสถาปนิก-Landscape-Architectประกอบธุ รกิจส่ วนตัวเอง ก็จะต้องออกแบบนาเสนอ
     ้
ลูกค้าพร้อมจัดหาวัสดุให้ครบ ส่ วนมากรายได้ของผูประกอบอาชีพของตนเองจะได้จากการรับเหมาทั้ง
                                               ้
ออกแบบและจัดตกแต่งให้อีกเป็ นเงินประมาณ 10 % ของราคาค่าก่อสร้างบ้าน หรื ออาคารทั้งหมด เช่น ถ้า
สถาปนิกออกแบบ และสร้างบ้านราคาประมาณ 5 ล้านบาท จะเป็ นค่าออกแบบและตกแต่งสวนประมาณ 5
แสนบาท

กาหนดเวลาการทางานของผูประกอบภูมิสถาปนิก-Landscape-Architectไม่แน่นอน เพราะงานที่ทาเป็ น
                      ้
ลักษณะงานโครงการจึงมุ่งผลสาเร็ จของงานมากกว่าการทางานที่ข้ ึนอยูกบชัวโมงทางาน
                                                                ่ ั ่
สภาพการทางาน

        ปฏิบติงานในสานักงานของฝ่ ายออกแบบสร้างสรรค์ ที่มีอุปกรณ์เครื่ องมือเครื่ องใช้ในการออกแบบ
            ั
พร้อมและออกนอกพื้นที่ หรื อออกภาคสนามเพื่อตรวจดูงานให้ตรงกับงานที่ออกแบบไว้



คุณสมบัติของผู้ประกอบอาชี พ

1. มีคุณวุฒิการศึกษาระดับปริ ญญาตรี สาขาภูมิสถาปัตย์

2. มีความคิดสร้างสรรค์ เป็ นคนมีความละเอียดรอบคอบ และถี่ถวน
                                                         ้

3. ต้องเป็ นผูที่มีความสามารถวาดภาพรวม (perspective) ในการนาเสนอได้ดี
              ้

4. เป็ นผูมีความสามารถในการคานวณราคาประมาณการ และจัดทา Bill Quantity ได้
          ้

5. อาจมีทกษะในการใช้คอมพิวเตอร์ โปรแกรมในการช่วยออกแบบ
         ั

6. มีมนุษยสัมพันธ์ดี ให้ความร่ วมมือกับทีมงานดี

                                                       ่
7. เป็ นผูมีวสัยทัศน์ และปรับปรุ งความรู ้ความสามารถอยูตลอดเวลา
          ้ ิ

8. สามารถเดินทางไปทางานต่างจังหวัดและต่างประเทศได้

ผูที่จะประกอบภูมิสถาปนิก-Landscape-Architect ควรเตรี ยมความพร้อมดังต่อไปนี้คือ: ต้องเข้ารับการศึกษา
  ้
สาขา ภูมิสถาปั ตย์ ภาควิชาสถาปั ตยกรรม ในสถาบันอุดมศึกษา ซึ่ งจะเป็ นสาขาที่เรี ยน เกี่ยวกับการออกแบบ
จัด ผังเมือง วางระบบการสร้างอาคารบ้านเรื อนเน้นความสะอาดใช้กรรมวิธีทางภูมิสถาปั ตย์ช่วยปกปิ ดพราง
ทัศนียภาพที่ไม่สวยงามในที่สาธารณ เช่นห้องน้ า ที่เก็บขยะ ถังขยะ เพื่อให้ ถูกสุ ขลักษณะ สะอาดสวยงาม
และการใช้ประโยชน์สูงสุ ด

โอกาสในการมีงานทา

        ปัจจุบน อาชีพภูมิสถาปนิกกลับดาเนินไปได้ดีในขณะที่สภาพเศรษฐกิจในวงการก่อสร้าง และ
              ั
อสังหาริ มทรัพย์ได้รับผลกระทบมาก ดังนั้นเมื่อเจ้าของสถานประกอบกิจการไม่สามารถขยายการ ก่อสร้าง
อาคารเพิ่มเติมได้ จึงหันมาให้ความสาคัญกับจัดการตกแต่งพื้นที่สีเขียวบริ เวณสถานประกอบกิจการให้ดู
สะอาด และช่วยส่ งเสริ มภาพลักษณ์ของสถานประกอบกิจการมากขึ้น อีกทั้งหน่วยงานที่เกี่ยวข้องกับการวาง
ผังเมือง ในประเทศไทยได้ให้ความสนใจเพิมและขยายพื้นที่สีเขียวเพื่อให้เป็ นปอดของชาวเมืองทัวทุก
                                     ่                                                  ่
จังหวัดมากขึ้น โดยจัดให้มีการขยายสวนสาธารณะ สวนสุ ขภาพเพื่อให้ประชาชนได้มาใช้พกผ่อน และออก
                                                                              ั
กาลังกาย

นักภูมิสถาปนิกที่ทางานกับธุ รกิจภาคเอกชน เมื่อทางานไปได้สักระยะหนึ่ง จะออกมาประกอบกิจการ ของ
ตนเอง โดยรับเหมาออกแบบ และบริ การจัดหาวัสดุมาตกแต่งสวน หรื อสถานที่อย่างครบวงจร เพราะมี
รายได้ดี ดังนั้น ภูมิสถาปนิกยังเป็ นที่ตองการของตลาดแรงงานระดับปานกลางถึงมากในช่วงนี้
                                        ้



ภูมิสถาปนิกทางานในพื้นที่ภายนอกอาคารเกือบทุกชนิ ดและพื้นบางส่ วนภายในหรื อบนดาดฟ้ าอาคาร ทั้ง
ใหญ่และเล็ก ในเมืองและชนบท ทั้งด้วยวัสดุ “แข็ง” (hardscape) / “นุ่ม” (softscape) ภูมิสถาปนิกทางาน
ครอบคลุม:

„          รู ปทรง ขนาดส่ วนและการวางผังโครงการใหม่

„          งานที่พกอาศัยส่ วนบุคคลและงานสาธารณะ
                  ั

„          การออกแบบผังบริ เวณโรงเรี ยน มหาวิทยาลัยและโรงแรม

„          สวนสาธารณะ สนามกอล์ฟ สวนสนุกและสนามเล่นกีฬาต่างๆ

„          บริ เวณโครงการเคหะ นิคมอุตสาหกรรมและโครงการเชิงการค้า

„          ทางหลวง โครงสร้างทางการขนส่ ง สะพานและทางผ่าน

„          ลานเมืองและลานชุมชนและระบบทางเดินเท้า

„          โครงการฟื้ นฟูชุมชนเมืองขนาดเล็กและใหญ่

„          ป่ า แหล่งท่องเที่ยว ภูมิทศน์ประวัติศาสตร์ และการประเมินทางภูมิทศน์หรื อการศึกษาด้านการ
                                     ั                                     ั
อนุรักษ์

„          ภูมิทศน์วฒนธรรม (Cultural Landscape)
                ั ั
„       อ่างเก็บน้ า เขื่อน สถานีไฟฟ้ า บ่อขุดวัสดุทางอุตสาหกรรมหรื อโครงการทางอุตสาหกรรมขนาด
ใหญ่ รวมทั้งบริ เวณบริ การนักท่องเที่ยวในอุทยานแห่งชาติ

„       การประเมินสภาพแวดล้อม การให้คาปรึ กษางานวางแผนภูมิทศน์และการทาข้อเสนอในการจัดการ
                                                           ั
ผืนแผ่นดิน

„       โครงการพัฒนาพื้นที่ชายฝั่งและเกาะ



วิชาชี พภูมิสถาปัตยกรรม

ภูมิสถาปนิกถือว่าเป็ นนักวิชาชีพในลักษณะเดียวกันกับแพทย์และนักกฎหมายเนื่องจากบุคคลเหล่านี้ จะต้อง
ได้รับการศึกษาเป็ นการพิเศษเฉพาะและจะต้องมีใบอนุ ญาตประกอบวิชาชีพเช่นเดียวกับผูประกอบวิชาชีพ
                                                                               ้
อื่น

ในสหรัฐฯ และที่อื่นๆ การเข้าสู่ สายวิชาชีพจะต้องผ่านการศึกษาเล่าเรี ยนขั้นสู ง ผ่านการฝึ กหัดงานและผ่าน
การสอบรับใบอนุญาต ทั้งนี้ เพื่อเป็ นการปกป้ องประโยชน์แห่งสาธารณชนจากความเสี ยหายที่อาจได้รับจาก
ผูไม่มีความรู ้ความสามารถและไม่มีจรรยาบรรณ ผูปฏิบติวชาชีพภูมิสถาปั ตยกรรมจะรวมตัวกันตั้งสมาคม
  ้                                          ้ ั ิ
                                                                                              ั
วิชาชีพขึ้นเพื่อร่ วมกันจรรโลงสาขาวิชาชีพแห่งตนให้เข้มแข็ง ในสหรัฐฯ คือสมาคมภูมิสถาปนิกอเมริ กน
(American Society of Landscape Architects - ASLA) ก่อตั้งเมื่อ พ.ศ. 2442 นับเป็ นสมาคมวิชาชีพภูมิ
สถาปั ตยกรรมแห่งแรกของโลก

ประเทศไทยได้ก่อตั้ง “สมาคมภูมิสถาปนิกประเทศไทย” Thai Association of Landscape Architects-TALA
เมื่อ พ.ศ. 2530 หลังสหรัฐฯ 88 ปี การควบคุมวิชาชีพกระทาโดยใช้กฎหมายบังคับให้ผปฏิบติวชาชีพภูมิ
                                                                            ู้ ั ิ
สถาปัตยกรรมต้องมีใบอนุญาตประกอบวิชาชีพ

อาจกล่าวได้วชาชีพภูมิสถาปั ตยกรรมสมัยใหม่ในประเทศไทยที่มีการออกแบบเฉพาะโดยภูมิสถาปนิก
            ิ
โดยตรง และมีการแยกสัญญาจากงานสถาปั ตยกรรมเริ่ มเมื่อประมาณ พ.ศ. 2515 โดยข้อกาหนดของ
ธนาคารโลกในโครงการเงินกูเ้ พื่อพัฒนาวิทยาเขตใหม่ของมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ที่บ่งให้ใช้ภูมิสถาปนิก
ปั จจุบน ประเทศไทยมีสานักงานภูมิสถาปนิกมากกว่า 30 แห่ง วิชาชีพภูมิสถาปั ตยกรรมของประเทศไทยอยู่
       ั
ภายใต้การควบคุมของสภาสถาปนิกตาม พระราชบัญญัติสถาปนิก พ.ศ. 2543 ซึ่งใช้แทนพระราชบัญญัติ
ควบคุมวิชาชีพสถาปัตยกรรม พ.ศ. 2508




ภูมิสถาปั ตยกรรมคืออะไร

งานของภูมิสถาปนิกอาจครอบคลุมตังแต่การสรรค์สร้ างสวนสาธารณะและถนนอุทยานไปจนถึงการวางผังบริ เวณกลุม
                              ้                                                                 ่
อาคารสานักงาน จากการออกแบบที่พกอาศัยไปจนถึงการออกแบบโครงสร้ างพื ้นฐานของเมืองและการจัดการพื ้นที่
                              ั
ธรรมชาติขนาดใหญ่ หรื อการฟื นฟูภมิทศน์ที่เสียหาย เช่น เหมืองแร่เก่า บริ เวณฝั งกลบขยะ ภูมิสถาปั ตยกรรมทับซ้ อนกับ
                            ้ ู ั
การจัดสวน ก็จริง แต่จะเป็ นงานวิชาชีพที่มีปัจจัยพิจารณาในการออกแบบและมีขอบเขตกว้ างขวางกว่า

ภูมิสถาปั ตยกรรมคืออะไร

งานของภูมิสถาปนิกอาจครอบคลุมตังแต่การสรรค์สร้ างสวนสาธารณะและถนนอุทยานไปจนถึงการวางผังบริ เวณกลุม
                              ้                                                                 ่
อาคารสานักงาน จากการออกแบบที่พกอาศัยไปจนถึงการออกแบบโครงสร้ างพื ้นฐานของเมืองและการจัดการพื ้นที่
                              ั
ธรรมชาติขนาดใหญ่ หรื อการฟื นฟูภมิทศน์ที่เสียหาย เช่น เหมืองแร่เก่า บริ เวณฝั งกลบขยะ ภูมิสถาปั ตยกรรมทับซ้ อนกับ
                            ้ ู ั
การจัดสวน ก็จริง แต่จะเป็ นงานวิชาชีพที่มีปัจจัยพิจารณาในการออกแบบและมีขอบเขตกว้ างขวางกว่า
เอกสารอ้างอิง

วิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี .”ภูมิสภาปนิก,”ภูมิสถาปิ ก.28 เมษายน 2553
<http://th.wikipedia.org/wiki>.25 กรกฎาคม 2554.

Más contenido relacionado

Similar a ภูมิสถาปนิก

โครงงานประเภทการประยุกต์ใช้งาน 7
โครงงานประเภทการประยุกต์ใช้งาน 7โครงงานประเภทการประยุกต์ใช้งาน 7
โครงงานประเภทการประยุกต์ใช้งาน 7Aungkana Na Na
 
Projectm6 2-2554
Projectm6 2-2554Projectm6 2-2554
Projectm6 2-2554Net'Net Zii
 
กิจกรรมที่ 2 Presentation
กิจกรรมที่ 2 Presentationกิจกรรมที่ 2 Presentation
กิจกรรมที่ 2 Presentationchitsanupathaweebowo1
 
โครงงานประเภทการประยุกต์ใช้งาน 7
โครงงานประเภทการประยุกต์ใช้งาน 7โครงงานประเภทการประยุกต์ใช้งาน 7
โครงงานประเภทการประยุกต์ใช้งาน 7JoyCe Zii Zii
 
โครงงานประเภทการประยุกต์ใช้งาน 7
โครงงานประเภทการประยุกต์ใช้งาน 7โครงงานประเภทการประยุกต์ใช้งาน 7
โครงงานประเภทการประยุกต์ใช้งาน 7Aungkana Na Na
 
โครงงานประเภทการประยุกต์ใช้งาน 7
โครงงานประเภทการประยุกต์ใช้งาน 7โครงงานประเภทการประยุกต์ใช้งาน 7
โครงงานประเภทการประยุกต์ใช้งาน 7JoyCe Zii Zii
 
(ใบงานที่ 2)
(ใบงานที่ 2)(ใบงานที่ 2)
(ใบงานที่ 2)JoyCe Zii Zii
 
(ใบงานที่ 2)
(ใบงานที่ 2)(ใบงานที่ 2)
(ใบงานที่ 2)JoyCe Zii Zii
 
ใบงานที่2
ใบงานที่2ใบงานที่2
ใบงานที่2natnardtaya
 
ใบความรู้ ความหมายและคุณค่าของการทำโครงงาน โดยครูละออง
ใบความรู้ ความหมายและคุณค่าของการทำโครงงาน โดยครูละอองใบความรู้ ความหมายและคุณค่าของการทำโครงงาน โดยครูละออง
ใบความรู้ ความหมายและคุณค่าของการทำโครงงาน โดยครูละอองอองเอง จ้า
 
Dmk formal meeting op02-pung02-pat01
Dmk formal meeting op02-pung02-pat01Dmk formal meeting op02-pung02-pat01
Dmk formal meeting op02-pung02-pat01rangsitengineer
 
โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์Onpreeya Sahnguansak
 
ใบงานท 2
ใบงานท   2ใบงานท   2
ใบงานท 2Porna Saow
 

Similar a ภูมิสถาปนิก (20)

วิศวกรรมโยธา
วิศวกรรมโยธาวิศวกรรมโยธา
วิศวกรรมโยธา
 
โครงงานประเภทการประยุกต์ใช้งาน 7
โครงงานประเภทการประยุกต์ใช้งาน 7โครงงานประเภทการประยุกต์ใช้งาน 7
โครงงานประเภทการประยุกต์ใช้งาน 7
 
ความหมาย
ความหมายความหมาย
ความหมาย
 
Projectm6 2-2554
Projectm6 2-2554Projectm6 2-2554
Projectm6 2-2554
 
Projectm6 2-2554
Projectm6 2-2554Projectm6 2-2554
Projectm6 2-2554
 
350 2)
350 2)350 2)
350 2)
 
350 2)
350 2)350 2)
350 2)
 
กิจกรรมที่ 2 Presentation
กิจกรรมที่ 2 Presentationกิจกรรมที่ 2 Presentation
กิจกรรมที่ 2 Presentation
 
โครงงานประเภทการประยุกต์ใช้งาน 7
โครงงานประเภทการประยุกต์ใช้งาน 7โครงงานประเภทการประยุกต์ใช้งาน 7
โครงงานประเภทการประยุกต์ใช้งาน 7
 
โครงงานประเภทการประยุกต์ใช้งาน 7
โครงงานประเภทการประยุกต์ใช้งาน 7โครงงานประเภทการประยุกต์ใช้งาน 7
โครงงานประเภทการประยุกต์ใช้งาน 7
 
โครงงานประเภทการประยุกต์ใช้งาน 7
โครงงานประเภทการประยุกต์ใช้งาน 7โครงงานประเภทการประยุกต์ใช้งาน 7
โครงงานประเภทการประยุกต์ใช้งาน 7
 
Strategic Plans
Strategic PlansStrategic Plans
Strategic Plans
 
(ใบงานที่ 2)
(ใบงานที่ 2)(ใบงานที่ 2)
(ใบงานที่ 2)
 
(ใบงานที่ 2)
(ใบงานที่ 2)(ใบงานที่ 2)
(ใบงานที่ 2)
 
ใบงานที่2
ใบงานที่2ใบงานที่2
ใบงานที่2
 
ใบความรู้ ความหมายและคุณค่าของการทำโครงงาน โดยครูละออง
ใบความรู้ ความหมายและคุณค่าของการทำโครงงาน โดยครูละอองใบความรู้ ความหมายและคุณค่าของการทำโครงงาน โดยครูละออง
ใบความรู้ ความหมายและคุณค่าของการทำโครงงาน โดยครูละออง
 
Dmk formal meeting op02-pung02-pat01
Dmk formal meeting op02-pung02-pat01Dmk formal meeting op02-pung02-pat01
Dmk formal meeting op02-pung02-pat01
 
นักออกแบบแฟชั่น
นักออกแบบแฟชั่นนักออกแบบแฟชั่น
นักออกแบบแฟชั่น
 
โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์
 
ใบงานท 2
ใบงานท   2ใบงานท   2
ใบงานท 2
 

Más de SRINAKARIN MOTHER PRINCESS SCHOOL

เตชินท์ประเทศอัฟกานิสถาน
เตชินท์ประเทศอัฟกานิสถานเตชินท์ประเทศอัฟกานิสถาน
เตชินท์ประเทศอัฟกานิสถานSRINAKARIN MOTHER PRINCESS SCHOOL
 
นางสาวนภาพร คำภักดี เลขที่19 รัฐสุลต่านโอมาน
นางสาวนภาพร คำภักดี เลขที่19 รัฐสุลต่านโอมานนางสาวนภาพร คำภักดี เลขที่19 รัฐสุลต่านโอมาน
นางสาวนภาพร คำภักดี เลขที่19 รัฐสุลต่านโอมานSRINAKARIN MOTHER PRINCESS SCHOOL
 
สอบกลางภาคIs ธิรดา-น้อยเสนา
สอบกลางภาคIs ธิรดา-น้อยเสนาสอบกลางภาคIs ธิรดา-น้อยเสนา
สอบกลางภาคIs ธิรดา-น้อยเสนาSRINAKARIN MOTHER PRINCESS SCHOOL
 

Más de SRINAKARIN MOTHER PRINCESS SCHOOL (20)

Is
IsIs
Is
 
นัทธพงศ์ ดอนศรี.
นัทธพงศ์ ดอนศรี.นัทธพงศ์ ดอนศรี.
นัทธพงศ์ ดอนศรี.
 
นายคงศักดิ์ สงสุรีย์
นายคงศักดิ์ สงสุรีย์นายคงศักดิ์ สงสุรีย์
นายคงศักดิ์ สงสุรีย์
 
ปวีณ์ธิดา สีหวาด
ปวีณ์ธิดา สีหวาดปวีณ์ธิดา สีหวาด
ปวีณ์ธิดา สีหวาด
 
จารุวรรณ ลำพองชาติ
จารุวรรณ ลำพองชาติจารุวรรณ ลำพองชาติ
จารุวรรณ ลำพองชาติ
 
Isมิ้น
Isมิ้นIsมิ้น
Isมิ้น
 
เตชินท์ประเทศอัฟกานิสถาน
เตชินท์ประเทศอัฟกานิสถานเตชินท์ประเทศอัฟกานิสถาน
เตชินท์ประเทศอัฟกานิสถาน
 
Isประเทศบังกลาเทศ
IsประเทศบังกลาเทศIsประเทศบังกลาเทศ
Isประเทศบังกลาเทศ
 
อาเซอร์ไบจาน
อาเซอร์ไบจานอาเซอร์ไบจาน
อาเซอร์ไบจาน
 
คองโก
คองโกคองโก
คองโก
 
Is1
Is1Is1
Is1
 
ตุรกี
ตุรกีตุรกี
ตุรกี
 
มัลดีฟ
มัลดีฟมัลดีฟ
มัลดีฟ
 
อาร์เมเนีย
อาร์เมเนียอาร์เมเนีย
อาร์เมเนีย
 
นางสาวนภาพร คำภักดี เลขที่19 รัฐสุลต่านโอมาน
นางสาวนภาพร คำภักดี เลขที่19 รัฐสุลต่านโอมานนางสาวนภาพร คำภักดี เลขที่19 รัฐสุลต่านโอมาน
นางสาวนภาพร คำภักดี เลขที่19 รัฐสุลต่านโอมาน
 
สอบกลางภาค
สอบกลางภาคสอบกลางภาค
สอบกลางภาค
 
สอบกลางภาคIs ธิรดา-น้อยเสนา
สอบกลางภาคIs ธิรดา-น้อยเสนาสอบกลางภาคIs ธิรดา-น้อยเสนา
สอบกลางภาคIs ธิรดา-น้อยเสนา
 
จิราภา ธรรมรักษ์
จิราภา ธรรมรักษ์จิราภา ธรรมรักษ์
จิราภา ธรรมรักษ์
 
ณัฎฐณิชา
ณัฎฐณิชาณัฎฐณิชา
ณัฎฐณิชา
 
กลางภาค
กลางภาคกลางภาค
กลางภาค
 

ภูมิสถาปนิก

  • 1. ภูมิสถาปนิก- Landscape-Architect ภูมิสถาปัตยกรรมคืออะไร งานของภูมิสถาปนิกอาจครอบคลุมตั้งแต่การสรรค์สร้างสวนสาธารณะและถนนอุทยานไปจนถึงการวางผัง บริ เวณกลุ่มอาคารสานักงาน จากการออกแบบที่พกอาศัยไปจนถึงการออกแบบโครงสร้างพื้นฐานของเมือง ั และการจัดการพื้นที่ธรรมชาติขนาดใหญ่ หรื อการฟื้ นฟูภูมิทศน์ที่เสี ยหาย เช่น เหมืองแร่ เก่า บริ เวณฝังกลบ ั ขยะ ภูมิสถาปั ตยกรรมทับซ้อนกับการจัดสวน ก็จริ ง แต่จะเป็ นงานวิชาชีพที่มีปัจจัยพิจารณาในการออกแบบ และมีขอบเขตกว้างขวางกว่า นิยามอาชีพ ผูปฏิบติงานภูมิสถาปนิก-Landscape-Architectทาหน้าที่ วางแผนงาน เตรี ยมการเขียนแบบ และ ้ ั ควบคุมการตกแต่งพื้นที่ และวางแปลนจัดสถานที่ต่างๆ เช่น พื้นที่สีเขียว (Green Area) ทั้งใน และนอก อาคารใน สถานประกอบกิจการ สนามกอล์ฟ และสวนสาธารณะ ศึกษาสภาพของสถานที่ โดยคานึงถึงการ ่ ระบายน้ า ลักษณะของผิวดิน ต้นไม้ หิ น และสิ่ งก่อสร้างต่างๆ ที่มีอยูในบริ เวณพื้นที่ ลักษณะของงานที่ทา
  • 2. ผู้ปฏิบัตงานภูมิสถาปนิก-Landscape-Architectจะต้ องทางานหลัก ดังนี้ ิ 1. เขียนแบบร่ างแสดงภาพแผนผัง (Perspective) โดยใช้มาตราส่ วนที่เหมาะสมกับพื้นที่น้ น แสดงให้เห็น ั ่ ถนน ทางเท้า ตึกรามบ้านช่อง สะพาน รั้ว ท่อระบายน้ าโสโครก แนะนาชนิดของต้นไม้ ไม้พุม และไม้ดอก ให้ปลูกตามที่ต่างๆ ให้เหมาะสมกับลักษณะที่ดินและกลมกลืนกับสถาปั ตยกรรมที่มีอยูแล้ว ร่ วมกับ ่ สถาปนิก มัฑณากร นาเสนอให้ลูกค้าพิจารณา 2. เตรี ยมรายละเอียดและประมาณการราคา ควบคุมรายละเอียดของแบบแปลน 3. ควบคุมการทางานอย่างใกล้ชิด และต้องออกภาคสนามเพื่อตรวจดูงาน และแก้ไข ให้เป็ นไปตามข้อตกลง สภาพการจ้ างงาน ผูปฏิบติงานอาชีพภูมิสถาปนิกที่รับราชการจะได้รับเงิ นเดือนตามวุฒิการศึกษา สถาปนิกที่ทางาน ้ ั ่ ่ ั กับภาคเอกชนจะได้รับเงินเดือน ขั้นต้นอยูระหว่าง 7,000 -8,000 บาท ขึ้นอยูกบฝี มือ และประสบการณ์ใน การฝึ กงานขณะที่กาลังศึกษาอยู่ โดยเฉพาะผูที่มีความสามารถวาดภาพแสดงแผนผัง (Perspective) ได้ดี ้ อาจจะได้ค่าตอบแทนการทางานเป็ นเงินเดือนขั้นต้นประมาณ 10,000 บาท และมีสวัสดิการตามกฎหมาย ่ ั แรงงาน และผลประโยชน์อย่างอื่น เช่น โบนัสขึ้นอยูกบ โครงการงานแต่ละโครงการเมื่อโครงการเสร็ จสิ้ น ลง ผูประกอบภูมิสถาปนิก-Landscape-Architectจะได้รับโบนัส เป็ น 2-3 เท่าของเงินเดือนและมีโบนัสสิ้ นปี ้ ่ อีกต่างหากการ ขึ้นเงินเดือนประจาปี จะประเมินการขึ้นอยูในระดับ 10% ของเงินเดือนที่ได้ในปั จจุบน ั ถ้าผูสนใจประกอบภูมิสถาปนิก-Landscape-Architectประกอบธุ รกิจส่ วนตัวเอง ก็จะต้องออกแบบนาเสนอ ้ ลูกค้าพร้อมจัดหาวัสดุให้ครบ ส่ วนมากรายได้ของผูประกอบอาชีพของตนเองจะได้จากการรับเหมาทั้ง ้ ออกแบบและจัดตกแต่งให้อีกเป็ นเงินประมาณ 10 % ของราคาค่าก่อสร้างบ้าน หรื ออาคารทั้งหมด เช่น ถ้า สถาปนิกออกแบบ และสร้างบ้านราคาประมาณ 5 ล้านบาท จะเป็ นค่าออกแบบและตกแต่งสวนประมาณ 5 แสนบาท กาหนดเวลาการทางานของผูประกอบภูมิสถาปนิก-Landscape-Architectไม่แน่นอน เพราะงานที่ทาเป็ น ้ ลักษณะงานโครงการจึงมุ่งผลสาเร็ จของงานมากกว่าการทางานที่ข้ ึนอยูกบชัวโมงทางาน ่ ั ่
  • 3. สภาพการทางาน ปฏิบติงานในสานักงานของฝ่ ายออกแบบสร้างสรรค์ ที่มีอุปกรณ์เครื่ องมือเครื่ องใช้ในการออกแบบ ั พร้อมและออกนอกพื้นที่ หรื อออกภาคสนามเพื่อตรวจดูงานให้ตรงกับงานที่ออกแบบไว้ คุณสมบัติของผู้ประกอบอาชี พ 1. มีคุณวุฒิการศึกษาระดับปริ ญญาตรี สาขาภูมิสถาปัตย์ 2. มีความคิดสร้างสรรค์ เป็ นคนมีความละเอียดรอบคอบ และถี่ถวน ้ 3. ต้องเป็ นผูที่มีความสามารถวาดภาพรวม (perspective) ในการนาเสนอได้ดี ้ 4. เป็ นผูมีความสามารถในการคานวณราคาประมาณการ และจัดทา Bill Quantity ได้ ้ 5. อาจมีทกษะในการใช้คอมพิวเตอร์ โปรแกรมในการช่วยออกแบบ ั 6. มีมนุษยสัมพันธ์ดี ให้ความร่ วมมือกับทีมงานดี ่ 7. เป็ นผูมีวสัยทัศน์ และปรับปรุ งความรู ้ความสามารถอยูตลอดเวลา ้ ิ 8. สามารถเดินทางไปทางานต่างจังหวัดและต่างประเทศได้ ผูที่จะประกอบภูมิสถาปนิก-Landscape-Architect ควรเตรี ยมความพร้อมดังต่อไปนี้คือ: ต้องเข้ารับการศึกษา ้ สาขา ภูมิสถาปั ตย์ ภาควิชาสถาปั ตยกรรม ในสถาบันอุดมศึกษา ซึ่ งจะเป็ นสาขาที่เรี ยน เกี่ยวกับการออกแบบ จัด ผังเมือง วางระบบการสร้างอาคารบ้านเรื อนเน้นความสะอาดใช้กรรมวิธีทางภูมิสถาปั ตย์ช่วยปกปิ ดพราง ทัศนียภาพที่ไม่สวยงามในที่สาธารณ เช่นห้องน้ า ที่เก็บขยะ ถังขยะ เพื่อให้ ถูกสุ ขลักษณะ สะอาดสวยงาม และการใช้ประโยชน์สูงสุ ด โอกาสในการมีงานทา ปัจจุบน อาชีพภูมิสถาปนิกกลับดาเนินไปได้ดีในขณะที่สภาพเศรษฐกิจในวงการก่อสร้าง และ ั อสังหาริ มทรัพย์ได้รับผลกระทบมาก ดังนั้นเมื่อเจ้าของสถานประกอบกิจการไม่สามารถขยายการ ก่อสร้าง อาคารเพิ่มเติมได้ จึงหันมาให้ความสาคัญกับจัดการตกแต่งพื้นที่สีเขียวบริ เวณสถานประกอบกิจการให้ดู
  • 4. สะอาด และช่วยส่ งเสริ มภาพลักษณ์ของสถานประกอบกิจการมากขึ้น อีกทั้งหน่วยงานที่เกี่ยวข้องกับการวาง ผังเมือง ในประเทศไทยได้ให้ความสนใจเพิมและขยายพื้นที่สีเขียวเพื่อให้เป็ นปอดของชาวเมืองทัวทุก ่ ่ จังหวัดมากขึ้น โดยจัดให้มีการขยายสวนสาธารณะ สวนสุ ขภาพเพื่อให้ประชาชนได้มาใช้พกผ่อน และออก ั กาลังกาย นักภูมิสถาปนิกที่ทางานกับธุ รกิจภาคเอกชน เมื่อทางานไปได้สักระยะหนึ่ง จะออกมาประกอบกิจการ ของ ตนเอง โดยรับเหมาออกแบบ และบริ การจัดหาวัสดุมาตกแต่งสวน หรื อสถานที่อย่างครบวงจร เพราะมี รายได้ดี ดังนั้น ภูมิสถาปนิกยังเป็ นที่ตองการของตลาดแรงงานระดับปานกลางถึงมากในช่วงนี้ ้ ภูมิสถาปนิกทางานในพื้นที่ภายนอกอาคารเกือบทุกชนิ ดและพื้นบางส่ วนภายในหรื อบนดาดฟ้ าอาคาร ทั้ง ใหญ่และเล็ก ในเมืองและชนบท ทั้งด้วยวัสดุ “แข็ง” (hardscape) / “นุ่ม” (softscape) ภูมิสถาปนิกทางาน ครอบคลุม: „ รู ปทรง ขนาดส่ วนและการวางผังโครงการใหม่ „ งานที่พกอาศัยส่ วนบุคคลและงานสาธารณะ ั „ การออกแบบผังบริ เวณโรงเรี ยน มหาวิทยาลัยและโรงแรม „ สวนสาธารณะ สนามกอล์ฟ สวนสนุกและสนามเล่นกีฬาต่างๆ „ บริ เวณโครงการเคหะ นิคมอุตสาหกรรมและโครงการเชิงการค้า „ ทางหลวง โครงสร้างทางการขนส่ ง สะพานและทางผ่าน „ ลานเมืองและลานชุมชนและระบบทางเดินเท้า „ โครงการฟื้ นฟูชุมชนเมืองขนาดเล็กและใหญ่ „ ป่ า แหล่งท่องเที่ยว ภูมิทศน์ประวัติศาสตร์ และการประเมินทางภูมิทศน์หรื อการศึกษาด้านการ ั ั อนุรักษ์ „ ภูมิทศน์วฒนธรรม (Cultural Landscape) ั ั
  • 5. อ่างเก็บน้ า เขื่อน สถานีไฟฟ้ า บ่อขุดวัสดุทางอุตสาหกรรมหรื อโครงการทางอุตสาหกรรมขนาด ใหญ่ รวมทั้งบริ เวณบริ การนักท่องเที่ยวในอุทยานแห่งชาติ „ การประเมินสภาพแวดล้อม การให้คาปรึ กษางานวางแผนภูมิทศน์และการทาข้อเสนอในการจัดการ ั ผืนแผ่นดิน „ โครงการพัฒนาพื้นที่ชายฝั่งและเกาะ วิชาชี พภูมิสถาปัตยกรรม ภูมิสถาปนิกถือว่าเป็ นนักวิชาชีพในลักษณะเดียวกันกับแพทย์และนักกฎหมายเนื่องจากบุคคลเหล่านี้ จะต้อง ได้รับการศึกษาเป็ นการพิเศษเฉพาะและจะต้องมีใบอนุ ญาตประกอบวิชาชีพเช่นเดียวกับผูประกอบวิชาชีพ ้ อื่น ในสหรัฐฯ และที่อื่นๆ การเข้าสู่ สายวิชาชีพจะต้องผ่านการศึกษาเล่าเรี ยนขั้นสู ง ผ่านการฝึ กหัดงานและผ่าน การสอบรับใบอนุญาต ทั้งนี้ เพื่อเป็ นการปกป้ องประโยชน์แห่งสาธารณชนจากความเสี ยหายที่อาจได้รับจาก ผูไม่มีความรู ้ความสามารถและไม่มีจรรยาบรรณ ผูปฏิบติวชาชีพภูมิสถาปั ตยกรรมจะรวมตัวกันตั้งสมาคม ้ ้ ั ิ ั วิชาชีพขึ้นเพื่อร่ วมกันจรรโลงสาขาวิชาชีพแห่งตนให้เข้มแข็ง ในสหรัฐฯ คือสมาคมภูมิสถาปนิกอเมริ กน (American Society of Landscape Architects - ASLA) ก่อตั้งเมื่อ พ.ศ. 2442 นับเป็ นสมาคมวิชาชีพภูมิ สถาปั ตยกรรมแห่งแรกของโลก ประเทศไทยได้ก่อตั้ง “สมาคมภูมิสถาปนิกประเทศไทย” Thai Association of Landscape Architects-TALA เมื่อ พ.ศ. 2530 หลังสหรัฐฯ 88 ปี การควบคุมวิชาชีพกระทาโดยใช้กฎหมายบังคับให้ผปฏิบติวชาชีพภูมิ ู้ ั ิ สถาปัตยกรรมต้องมีใบอนุญาตประกอบวิชาชีพ อาจกล่าวได้วชาชีพภูมิสถาปั ตยกรรมสมัยใหม่ในประเทศไทยที่มีการออกแบบเฉพาะโดยภูมิสถาปนิก ิ โดยตรง และมีการแยกสัญญาจากงานสถาปั ตยกรรมเริ่ มเมื่อประมาณ พ.ศ. 2515 โดยข้อกาหนดของ ธนาคารโลกในโครงการเงินกูเ้ พื่อพัฒนาวิทยาเขตใหม่ของมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ที่บ่งให้ใช้ภูมิสถาปนิก
  • 6. ปั จจุบน ประเทศไทยมีสานักงานภูมิสถาปนิกมากกว่า 30 แห่ง วิชาชีพภูมิสถาปั ตยกรรมของประเทศไทยอยู่ ั ภายใต้การควบคุมของสภาสถาปนิกตาม พระราชบัญญัติสถาปนิก พ.ศ. 2543 ซึ่งใช้แทนพระราชบัญญัติ ควบคุมวิชาชีพสถาปัตยกรรม พ.ศ. 2508 ภูมิสถาปั ตยกรรมคืออะไร งานของภูมิสถาปนิกอาจครอบคลุมตังแต่การสรรค์สร้ างสวนสาธารณะและถนนอุทยานไปจนถึงการวางผังบริ เวณกลุม ้ ่ อาคารสานักงาน จากการออกแบบที่พกอาศัยไปจนถึงการออกแบบโครงสร้ างพื ้นฐานของเมืองและการจัดการพื ้นที่ ั ธรรมชาติขนาดใหญ่ หรื อการฟื นฟูภมิทศน์ที่เสียหาย เช่น เหมืองแร่เก่า บริ เวณฝั งกลบขยะ ภูมิสถาปั ตยกรรมทับซ้ อนกับ ้ ู ั การจัดสวน ก็จริง แต่จะเป็ นงานวิชาชีพที่มีปัจจัยพิจารณาในการออกแบบและมีขอบเขตกว้ างขวางกว่า ภูมิสถาปั ตยกรรมคืออะไร งานของภูมิสถาปนิกอาจครอบคลุมตังแต่การสรรค์สร้ างสวนสาธารณะและถนนอุทยานไปจนถึงการวางผังบริ เวณกลุม ้ ่ อาคารสานักงาน จากการออกแบบที่พกอาศัยไปจนถึงการออกแบบโครงสร้ างพื ้นฐานของเมืองและการจัดการพื ้นที่ ั ธรรมชาติขนาดใหญ่ หรื อการฟื นฟูภมิทศน์ที่เสียหาย เช่น เหมืองแร่เก่า บริ เวณฝั งกลบขยะ ภูมิสถาปั ตยกรรมทับซ้ อนกับ ้ ู ั การจัดสวน ก็จริง แต่จะเป็ นงานวิชาชีพที่มีปัจจัยพิจารณาในการออกแบบและมีขอบเขตกว้ างขวางกว่า