SlideShare una empresa de Scribd logo
1 de 3
~~วิธีเขียนนิยาย(ที่ดี)สาหรับนักเขียนมือใหม่และเก่าทุกคน~~
การเขียนนิยาย สาหรับนักเขียนมือใหม่และมือเก่าทุกคน
1. การวางพล็อตเรื่อง
เป็นสิ่งที่สาคัญที่สุดของการเขียนนิยาย นิยายของคุณอาจน่าสนใจมากขึ้นหากมีพล็อตเรื่องที่ดี
ซึ่งพล็อตแบบสากลทั่วไปเลยก็คือ พล็อตแบบคลาสสิคที่มีตอนต้นเรื่อง ตอนกลางเรื่อง และตอนจบ
โดยก่อนการเขียนเรื่องต้องกาหนดก่อนว่าพล็อตเรื่องของคุณเป็นแบบไหน มีตอนเริ่มอย่างไร จบอย่างไร
เป็นแนวไหน ปมในเรื่องจะคลายตอนใด ตัวละครเป็นแบบไหน
ควรหลีกเลี่ยงการเขียนแบบนึกไปเขียนไปเรื่อยๆ เพราะจะทาให้ผู้อ่านรู้สึกเบื่อ
ไม่รู้ว่าจุดคลายแมกส์อยู่ที่ไหน
2. ตัวละคร
เป็นอีกหนึ่งอย่างที่ตามมาจากพล็อตเรื่อง
บางคนอาจนึกลักษณะตัวละครขึ้นมาก่อนแล้วจึงเกิดเป็นพล็อตเรื่อง เรียกได้ว่า
"ตัวละครคือพล็อต.......พล็อตเรื่องก็คือตัวละครนั่นเอง" เราสามารถสร้างพล็อตจากตัวละครได้
แต่ถ้าไม่มีพล็อตเราจะสร้างตัวละครไม่ได้
หากคุณอยากให้นิยายมีสีสัน เป็นที่น่าจดจา ควรวางลักษณะของตัวละครให้ชัดเจน
เพราะผู้อ่านมักจาเรื่องได้จากตัวละคร บทบาทของเขาต่อเรื่องเป็นอย่างไร ตัวละครมีความขัดแย้งในเรื่องใด
และคลายปมนั้นให้เห็นด้วย ควรหลีกเลี่ยงการพรรณาตัวละครแบบเกินจริง
เพราะในชีวิตจริงไม่มีใครที่จะผมสวยทุกคน หล่อทุกคน น่ารักทุกคน ผิวขาวทุกคน
ให้นึกถึงคนที่ผอมตัวดาบ้าง หรือคนอ้วน คนใส่แว่น คนฟันม้าบ้าง
ซึ่งมันจะทาให้นิยายของคุณมีลักษณะเฉพาะมากขึ้น
บางคนอาจหลงตัวละครตัวเองในเรื่อง นาเอาลักษณะของตัวละครอีกตัวหนึ่งมาใส่อีกตัวหนึ่งแทน
ซึ่งนั่นทาให้ผู้อ่านรู้สึกไม่เห็นถึงความแตกต่างของตัวละครแต่ละตัวเลย
และพาลทาให้ดูไม่มีสีสันเอาซะเลยด้วย เพราะฉะนั้นก่อนเริ่มเขียนคุณจะต้องสร้างพล็อตของตัวละครด้วย
เหมือนกับแบบฟอร์มการเขียนประวัติของตัวละครแต่ละตัว เกี่ยวประวัติ ความชอบเฉพาะ นิสัย ลักษณะ
หรืออะไรก็ได้ ที่แสดงให้เห็นลักษณะของตัวละครแต่ละตัว และเพื่อกันตัวเองสับสนตัวละครด้วย
(ซึ่งกิ่งไผ่ก็เป็นเหมือนกัน) ผู้เขียนี่ดีต้องทาให้คนอ่านรู้จักตัวละครดีพอๆกับที่คุณรู้
3. การเล่าเรื่อง
กรเขียนนิยายแตกต่างจากงานเขียนอื่นๆ ก็คือ ก่อนเริ่มเขียน
คุณต้องตัดสินใจว่าคุณจะให้ใครเป็นผู้เล่าเรื่อง คุณควรจะมุมมองแบบไหน บุรุษที่1 บุรุษที่ 2บุรุษที่ 3
ควรที่จะเลือกเล่าอย่างใดอย่างหนึ่งเท่านั้น
4. บทสนทนา
ข้อควรระวังในการเขียนบทสนทนามีมากเหมือนกัน ไม่ใช่สักแต่ว่าพูดไป
-ระวังการบอกว่าใครเป็นเจ้าของบทสนทนา เช่นคาว่า เขาพูด เขากล่าว เขาอย่างนั้น เขาอย่างนี้
ที่เราเรียกว่าป้ายแขวนชื่อของตัวละคร ซึ่งหากใช้มากเกินไป มันจะทาให้ผู้อ่านรู้สึกน่าเบื่อมากๆๆ เช่น
"เธอจะไปไหน" เธอถามเขา
"ผมจะไปทะเล" เขาบอก "แล้วคุณจะไปไหนล่ะ"
"ฉันก็จะไปทะเลเหมือนกัน" หล่อนบอกเขา
"งั้นเราก็ควรไปด้วยกันนะ"
"จะดีเหรอ" เธอถามเขา
"ดีสิ" เขาตอบ
อย่างนี้เป็นต้น ลองเปลี่ยนการใช้ป้ายแขวนชื่อแบบนี้มาเป็นการแสดงกริยาผสมด้วยดู
อาจจะดูน่าสนใจขึ้นก็ได้ เช่น
"คุณน่ะรักฉันไหมคะ"
มาเป็น
"คุณน่ะ" เธอถาม "รักฉันไหมคะ"
หรือ
"คุณน่ะรักฉันไหมคะ"
มาเป็น
"คุณน่ะ..." เธอถามเสียงเบาลง "รักฉันไหมคะ"
การใส่กริยาลงไปแบบนี้จะทาให้บทสนทนาน่าสนใจมากขึ้น หรือบทสนทนาที่ไม่รู้จักจบสักที แบบว่า
"นี่คุณตารวจมาจับผมทาไม"
"หยุด บอกให้หยุด"
"แต่ผมไม่ได้ทาอะไรผิดเลยนะ"
"นายวิ่งทาไม ตอนที่ผมวิ่งตาม"
"ก็ผมตกใจหนิจ่า"
"บอกให้อยู่เฉยๆ เดี๋ยวไปที่โรงพักก็รู้กันเอง"
"ผมไม่ไปหรอกหนะ"
"ขึ้นไป บนโรงเพกมีคนรอนายอยู่"
"บนนี่นี่นะเหรอ"
แบบนี้ก็ทาให้งงมากเหมือนกัน มันทาให้ผู้อ่านงงว่าตกลงบทสนทนานี้เป็นของใครแล้ว
และมีการดาเนินเรื่องที่เร็วเกินไปมาก
5. การใช้อุปมา-อุปไมยบ้าง
จะทาให้เรื่องดูน่าสนใจขึ้นและได้อารมณ์มากขึ้น อย่างแทนที่จะบอกว่า "เธอผิวขาวมาก" ก็ใช้เป็น
"เธอผิวขาวราวกับน้านม" หรือ "เธอเกียดเขาที่สุด" ก็เป็น
"เธอรู้สึกกับเขาเหมือนกับเศษทรายตามพื้นที่อยากจะเอาน้าสาดไปให้ไกลๆ อย่างนี้เป็นต้น
..........................................................

Más contenido relacionado

La actualidad más candente

ข้อสอบอ่านจับใจความสำคัญ ป.6
ข้อสอบอ่านจับใจความสำคัญ ป.6ข้อสอบอ่านจับใจความสำคัญ ป.6
ข้อสอบอ่านจับใจความสำคัญ ป.6
sapatchanook
 
อินทิเกรต
อินทิเกรตอินทิเกรต
อินทิเกรต
krurutsamee
 
สมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
สมการเชิงเส้นตัวแปรเดียวสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
สมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
kroojaja
 
ใบความรู้คู่อันดับและกราฟ
ใบความรู้คู่อันดับและกราฟใบความรู้คู่อันดับและกราฟ
ใบความรู้คู่อันดับและกราฟ
Jiraprapa Suwannajak
 
ข้อสอบคณิตศาสตร์ ม.1 เทอม 2 ชุดที่ 1
ข้อสอบคณิตศาสตร์ ม.1 เทอม 2 ชุดที่ 1ข้อสอบคณิตศาสตร์ ม.1 เทอม 2 ชุดที่ 1
ข้อสอบคณิตศาสตร์ ม.1 เทอม 2 ชุดที่ 1
คุณครูพี่อั๋น
 
จุดภายในและจุดภายนอก
จุดภายในและจุดภายนอกจุดภายในและจุดภายนอก
จุดภายในและจุดภายนอก
kroojaja
 

La actualidad más candente (20)

(คู่มือ)หนังสือเรียนสสวท คณิตศาสตร์เพิ่มเติม ม.1 ล.1
(คู่มือ)หนังสือเรียนสสวท คณิตศาสตร์เพิ่มเติม ม.1 ล.1 (คู่มือ)หนังสือเรียนสสวท คณิตศาสตร์เพิ่มเติม ม.1 ล.1
(คู่มือ)หนังสือเรียนสสวท คณิตศาสตร์เพิ่มเติม ม.1 ล.1
 
ข้อสอบอ่านจับใจความสำคัญ ป.6
ข้อสอบอ่านจับใจความสำคัญ ป.6ข้อสอบอ่านจับใจความสำคัญ ป.6
ข้อสอบอ่านจับใจความสำคัญ ป.6
 
อินทิเกรต
อินทิเกรตอินทิเกรต
อินทิเกรต
 
ภาคตัดกรวย_9วิชาสามัญ(55-58)
ภาคตัดกรวย_9วิชาสามัญ(55-58)ภาคตัดกรวย_9วิชาสามัญ(55-58)
ภาคตัดกรวย_9วิชาสามัญ(55-58)
 
รายงานผลการปฏิบัติหน้าที่ครูเวรประจำวันพฤหัสบดี 1-2563
รายงานผลการปฏิบัติหน้าที่ครูเวรประจำวันพฤหัสบดี 1-2563รายงานผลการปฏิบัติหน้าที่ครูเวรประจำวันพฤหัสบดี 1-2563
รายงานผลการปฏิบัติหน้าที่ครูเวรประจำวันพฤหัสบดี 1-2563
 
สมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
สมการเชิงเส้นตัวแปรเดียวสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
สมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
 
ปก
ปกปก
ปก
 
ใบความรู้คู่อันดับและกราฟ
ใบความรู้คู่อันดับและกราฟใบความรู้คู่อันดับและกราฟ
ใบความรู้คู่อันดับและกราฟ
 
แบบฝึกทักษะคณิตศาสตร์ เรื่อง ปริมาตรของพีระมิด
แบบฝึกทักษะคณิตศาสตร์ เรื่อง ปริมาตรของพีระมิดแบบฝึกทักษะคณิตศาสตร์ เรื่อง ปริมาตรของพีระมิด
แบบฝึกทักษะคณิตศาสตร์ เรื่อง ปริมาตรของพีระมิด
 
Add m1-1-chapter1
Add m1-1-chapter1Add m1-1-chapter1
Add m1-1-chapter1
 
กิจกรรมสะเต็มศึกษา (สสวท.)
กิจกรรมสะเต็มศึกษา (สสวท.)กิจกรรมสะเต็มศึกษา (สสวท.)
กิจกรรมสะเต็มศึกษา (สสวท.)
 
ข้อสอบคณิตศาสตร์ ม.1 เทอม 2 ชุดที่ 1
ข้อสอบคณิตศาสตร์ ม.1 เทอม 2 ชุดที่ 1ข้อสอบคณิตศาสตร์ ม.1 เทอม 2 ชุดที่ 1
ข้อสอบคณิตศาสตร์ ม.1 เทอม 2 ชุดที่ 1
 
ข้อสอบกลางภาค คณิต ม.5 เทอม 1 ฉบับที่ 1
ข้อสอบกลางภาค คณิต ม.5 เทอม 1 ฉบับที่ 1ข้อสอบกลางภาค คณิต ม.5 เทอม 1 ฉบับที่ 1
ข้อสอบกลางภาค คณิต ม.5 เทอม 1 ฉบับที่ 1
 
แบบฝึกหัดกฏการเคลื่อนที่ของนิวตัน
แบบฝึกหัดกฏการเคลื่อนที่ของนิวตันแบบฝึกหัดกฏการเคลื่อนที่ของนิวตัน
แบบฝึกหัดกฏการเคลื่อนที่ของนิวตัน
 
จุดภายในและจุดภายนอก
จุดภายในและจุดภายนอกจุดภายในและจุดภายนอก
จุดภายในและจุดภายนอก
 
90 โครงงานคณิตศาสตร์ ตอนที่3_การถอดรากที่3
90 โครงงานคณิตศาสตร์ ตอนที่3_การถอดรากที่390 โครงงานคณิตศาสตร์ ตอนที่3_การถอดรากที่3
90 โครงงานคณิตศาสตร์ ตอนที่3_การถอดรากที่3
 
ข้อสอบคณิตศาสตร์ ม.1 เทอม 2 ชุดที่ 2
ข้อสอบคณิตศาสตร์ ม.1 เทอม 2 ชุดที่ 2ข้อสอบคณิตศาสตร์ ม.1 เทอม 2 ชุดที่ 2
ข้อสอบคณิตศาสตร์ ม.1 เทอม 2 ชุดที่ 2
 
การประยุกต์2
การประยุกต์2การประยุกต์2
การประยุกต์2
 
ข้อสอบคณิตศาสตร์ ม.1 เทอม 1 ชุดที่ 1
ข้อสอบคณิตศาสตร์ ม.1 เทอม 1 ชุดที่ 1ข้อสอบคณิตศาสตร์ ม.1 เทอม 1 ชุดที่ 1
ข้อสอบคณิตศาสตร์ ม.1 เทอม 1 ชุดที่ 1
 
ข้อสอบคณิตศาสตร์ ม.2 เทอม 1 ชุดที่ 2
ข้อสอบคณิตศาสตร์ ม.2 เทอม 1 ชุดที่ 2ข้อสอบคณิตศาสตร์ ม.2 เทอม 1 ชุดที่ 2
ข้อสอบคณิตศาสตร์ ม.2 เทอม 1 ชุดที่ 2
 

Destacado

อนุทินครั้งที่5
อนุทินครั้งที่5อนุทินครั้งที่5
อนุทินครั้งที่5
Iam Boice
 
Technologies learned in web 110
Technologies learned in web 110Technologies learned in web 110
Technologies learned in web 110
dm0937
 
Danny Ho - CPERC 2013 - Engaging Technology and Informatics Through Learning ...
Danny Ho - CPERC 2013 - Engaging Technology and Informatics Through Learning ...Danny Ho - CPERC 2013 - Engaging Technology and Informatics Through Learning ...
Danny Ho - CPERC 2013 - Engaging Technology and Informatics Through Learning ...
Danny Ho
 
Jn j ppt_143562-06_v7 nn
Jn j ppt_143562-06_v7 nnJn j ppt_143562-06_v7 nn
Jn j ppt_143562-06_v7 nn
bnetTV
 
อนุทินครั้งที่5
อนุทินครั้งที่5อนุทินครั้งที่5
อนุทินครั้งที่5
Iam Boice
 
อนุทินครั้งที่5
อนุทินครั้งที่5อนุทินครั้งที่5
อนุทินครั้งที่5
Iam Boice
 
Agenda mmaf la_nov_19
Agenda mmaf la_nov_19Agenda mmaf la_nov_19
Agenda mmaf la_nov_19
bnetTV
 
Michael J Baugh Linked In Resume
Michael J Baugh Linked In ResumeMichael J Baugh Linked In Resume
Michael J Baugh Linked In Resume
MJBaugh
 
Leonardo da vinci
Leonardo da vinciLeonardo da vinci
Leonardo da vinci
Bobinvs
 
นางสาว ดลนภา ฐิตะวรรณ
นางสาว ดลนภา  ฐิตะวรรณนางสาว ดลนภา  ฐิตะวรรณ
นางสาว ดลนภา ฐิตะวรรณ
Iie' Tammiie'z
 
Yeni Nesil Marka Iletisimi
Yeni Nesil Marka IletisimiYeni Nesil Marka Iletisimi
Yeni Nesil Marka Iletisimi
Kaan Varnali
 
Feed the Web
Feed the WebFeed the Web
Feed the Web
ewoo
 

Destacado (17)

อนุทินครั้งที่5
อนุทินครั้งที่5อนุทินครั้งที่5
อนุทินครั้งที่5
 
Technologies learned in web 110
Technologies learned in web 110Technologies learned in web 110
Technologies learned in web 110
 
Danny Ho - CPERC 2013 - Engaging Technology and Informatics Through Learning ...
Danny Ho - CPERC 2013 - Engaging Technology and Informatics Through Learning ...Danny Ho - CPERC 2013 - Engaging Technology and Informatics Through Learning ...
Danny Ho - CPERC 2013 - Engaging Technology and Informatics Through Learning ...
 
Jn j ppt_143562-06_v7 nn
Jn j ppt_143562-06_v7 nnJn j ppt_143562-06_v7 nn
Jn j ppt_143562-06_v7 nn
 
อนุทินครั้งที่5
อนุทินครั้งที่5อนุทินครั้งที่5
อนุทินครั้งที่5
 
อนุทินครั้งที่5
อนุทินครั้งที่5อนุทินครั้งที่5
อนุทินครั้งที่5
 
Agenda mmaf la_nov_19
Agenda mmaf la_nov_19Agenda mmaf la_nov_19
Agenda mmaf la_nov_19
 
Michael J Baugh Linked In Resume
Michael J Baugh Linked In ResumeMichael J Baugh Linked In Resume
Michael J Baugh Linked In Resume
 
Leonardo da vinci
Leonardo da vinciLeonardo da vinci
Leonardo da vinci
 
Best pictures of_2010
Best pictures of_2010Best pictures of_2010
Best pictures of_2010
 
นางสาว ดลนภา ฐิตะวรรณ
นางสาว ดลนภา  ฐิตะวรรณนางสาว ดลนภา  ฐิตะวรรณ
นางสาว ดลนภา ฐิตะวรรณ
 
Yeni Nesil Marka Iletisimi
Yeni Nesil Marka IletisimiYeni Nesil Marka Iletisimi
Yeni Nesil Marka Iletisimi
 
Feed the Web
Feed the WebFeed the Web
Feed the Web
 
Arch linux
Arch linuxArch linux
Arch linux
 
Best pictures of_2010
Best pictures of_2010Best pictures of_2010
Best pictures of_2010
 
Yes I belong here ! Carving a strengths-Path By Krishnan Unni
Yes I belong here ! Carving a strengths-Path By Krishnan UnniYes I belong here ! Carving a strengths-Path By Krishnan Unni
Yes I belong here ! Carving a strengths-Path By Krishnan Unni
 
Egyptian Art
Egyptian ArtEgyptian Art
Egyptian Art
 

วิธีเขียนนิยาย

  • 1. ~~วิธีเขียนนิยาย(ที่ดี)สาหรับนักเขียนมือใหม่และเก่าทุกคน~~ การเขียนนิยาย สาหรับนักเขียนมือใหม่และมือเก่าทุกคน 1. การวางพล็อตเรื่อง เป็นสิ่งที่สาคัญที่สุดของการเขียนนิยาย นิยายของคุณอาจน่าสนใจมากขึ้นหากมีพล็อตเรื่องที่ดี ซึ่งพล็อตแบบสากลทั่วไปเลยก็คือ พล็อตแบบคลาสสิคที่มีตอนต้นเรื่อง ตอนกลางเรื่อง และตอนจบ โดยก่อนการเขียนเรื่องต้องกาหนดก่อนว่าพล็อตเรื่องของคุณเป็นแบบไหน มีตอนเริ่มอย่างไร จบอย่างไร เป็นแนวไหน ปมในเรื่องจะคลายตอนใด ตัวละครเป็นแบบไหน ควรหลีกเลี่ยงการเขียนแบบนึกไปเขียนไปเรื่อยๆ เพราะจะทาให้ผู้อ่านรู้สึกเบื่อ ไม่รู้ว่าจุดคลายแมกส์อยู่ที่ไหน 2. ตัวละคร เป็นอีกหนึ่งอย่างที่ตามมาจากพล็อตเรื่อง บางคนอาจนึกลักษณะตัวละครขึ้นมาก่อนแล้วจึงเกิดเป็นพล็อตเรื่อง เรียกได้ว่า "ตัวละครคือพล็อต.......พล็อตเรื่องก็คือตัวละครนั่นเอง" เราสามารถสร้างพล็อตจากตัวละครได้ แต่ถ้าไม่มีพล็อตเราจะสร้างตัวละครไม่ได้ หากคุณอยากให้นิยายมีสีสัน เป็นที่น่าจดจา ควรวางลักษณะของตัวละครให้ชัดเจน เพราะผู้อ่านมักจาเรื่องได้จากตัวละคร บทบาทของเขาต่อเรื่องเป็นอย่างไร ตัวละครมีความขัดแย้งในเรื่องใด และคลายปมนั้นให้เห็นด้วย ควรหลีกเลี่ยงการพรรณาตัวละครแบบเกินจริง เพราะในชีวิตจริงไม่มีใครที่จะผมสวยทุกคน หล่อทุกคน น่ารักทุกคน ผิวขาวทุกคน ให้นึกถึงคนที่ผอมตัวดาบ้าง หรือคนอ้วน คนใส่แว่น คนฟันม้าบ้าง ซึ่งมันจะทาให้นิยายของคุณมีลักษณะเฉพาะมากขึ้น บางคนอาจหลงตัวละครตัวเองในเรื่อง นาเอาลักษณะของตัวละครอีกตัวหนึ่งมาใส่อีกตัวหนึ่งแทน ซึ่งนั่นทาให้ผู้อ่านรู้สึกไม่เห็นถึงความแตกต่างของตัวละครแต่ละตัวเลย และพาลทาให้ดูไม่มีสีสันเอาซะเลยด้วย เพราะฉะนั้นก่อนเริ่มเขียนคุณจะต้องสร้างพล็อตของตัวละครด้วย เหมือนกับแบบฟอร์มการเขียนประวัติของตัวละครแต่ละตัว เกี่ยวประวัติ ความชอบเฉพาะ นิสัย ลักษณะ หรืออะไรก็ได้ ที่แสดงให้เห็นลักษณะของตัวละครแต่ละตัว และเพื่อกันตัวเองสับสนตัวละครด้วย (ซึ่งกิ่งไผ่ก็เป็นเหมือนกัน) ผู้เขียนี่ดีต้องทาให้คนอ่านรู้จักตัวละครดีพอๆกับที่คุณรู้
  • 2. 3. การเล่าเรื่อง กรเขียนนิยายแตกต่างจากงานเขียนอื่นๆ ก็คือ ก่อนเริ่มเขียน คุณต้องตัดสินใจว่าคุณจะให้ใครเป็นผู้เล่าเรื่อง คุณควรจะมุมมองแบบไหน บุรุษที่1 บุรุษที่ 2บุรุษที่ 3 ควรที่จะเลือกเล่าอย่างใดอย่างหนึ่งเท่านั้น 4. บทสนทนา ข้อควรระวังในการเขียนบทสนทนามีมากเหมือนกัน ไม่ใช่สักแต่ว่าพูดไป -ระวังการบอกว่าใครเป็นเจ้าของบทสนทนา เช่นคาว่า เขาพูด เขากล่าว เขาอย่างนั้น เขาอย่างนี้ ที่เราเรียกว่าป้ายแขวนชื่อของตัวละคร ซึ่งหากใช้มากเกินไป มันจะทาให้ผู้อ่านรู้สึกน่าเบื่อมากๆๆ เช่น "เธอจะไปไหน" เธอถามเขา "ผมจะไปทะเล" เขาบอก "แล้วคุณจะไปไหนล่ะ" "ฉันก็จะไปทะเลเหมือนกัน" หล่อนบอกเขา "งั้นเราก็ควรไปด้วยกันนะ" "จะดีเหรอ" เธอถามเขา "ดีสิ" เขาตอบ อย่างนี้เป็นต้น ลองเปลี่ยนการใช้ป้ายแขวนชื่อแบบนี้มาเป็นการแสดงกริยาผสมด้วยดู อาจจะดูน่าสนใจขึ้นก็ได้ เช่น "คุณน่ะรักฉันไหมคะ" มาเป็น "คุณน่ะ" เธอถาม "รักฉันไหมคะ" หรือ "คุณน่ะรักฉันไหมคะ" มาเป็น "คุณน่ะ..." เธอถามเสียงเบาลง "รักฉันไหมคะ" การใส่กริยาลงไปแบบนี้จะทาให้บทสนทนาน่าสนใจมากขึ้น หรือบทสนทนาที่ไม่รู้จักจบสักที แบบว่า "นี่คุณตารวจมาจับผมทาไม" "หยุด บอกให้หยุด" "แต่ผมไม่ได้ทาอะไรผิดเลยนะ"
  • 3. "นายวิ่งทาไม ตอนที่ผมวิ่งตาม" "ก็ผมตกใจหนิจ่า" "บอกให้อยู่เฉยๆ เดี๋ยวไปที่โรงพักก็รู้กันเอง" "ผมไม่ไปหรอกหนะ" "ขึ้นไป บนโรงเพกมีคนรอนายอยู่" "บนนี่นี่นะเหรอ" แบบนี้ก็ทาให้งงมากเหมือนกัน มันทาให้ผู้อ่านงงว่าตกลงบทสนทนานี้เป็นของใครแล้ว และมีการดาเนินเรื่องที่เร็วเกินไปมาก 5. การใช้อุปมา-อุปไมยบ้าง จะทาให้เรื่องดูน่าสนใจขึ้นและได้อารมณ์มากขึ้น อย่างแทนที่จะบอกว่า "เธอผิวขาวมาก" ก็ใช้เป็น "เธอผิวขาวราวกับน้านม" หรือ "เธอเกียดเขาที่สุด" ก็เป็น "เธอรู้สึกกับเขาเหมือนกับเศษทรายตามพื้นที่อยากจะเอาน้าสาดไปให้ไกลๆ อย่างนี้เป็นต้น ..........................................................