SlideShare una empresa de Scribd logo
1 de 21
Descargar para leer sin conexión
การคูณและหารจานวนเต็ม
        คณิตศาสตร์ พนฐาน ชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 1
                    ื้



                            โดย
                 ครู จิระประภา สุ วรรณจักร์
            กลุ่มสาระการเรียนรู้ วชาคณิตศาสตร์
                                  ิ
                โรงเรียนบุญวาทย์ วทยาลัย
                                    ิ



            สาระการเรียนรู้


1.   การคูณและหารจานวนเต็มบวกด้วยจานวนเต็มบวก
2.   การคูณและหารจานวนเต็มบวกด้วยจานวนเต็มลบ
3.   การคูณและหารจานวนเต็มลบด้วยจานวนเต็มบวก
4.   การคูณและหารจานวนเต็มลบด้วยจานวนเต็มลบ
ค่ าสั มบูรณ์




       ค่ าสั มบูรณ์ ของจานวนใด ๆ คือ ระยะทางที่จานวนนั้น ๆ อยูห่างจากศูนย์ ( 0) บนเส้น
                                                                ่
จานวนไม่วาจะอยูทางซ้าย หรื อทางขวาของศูนย์ ซึ่ งค่าสัมบูรณ์ของจานวนใด ๆ จะมีค่าเป็ นบวก
           ่      ่
เสมอ กล่าวคือ

                1 มีระยะห่างจาก 0 เท่ากับ 1 หน่วย นั้นคือ ค่าสัมบูรณ์ของ 1 เท่ากับ 1

                -1 มีระยะห่างจาก 0 เท่ากับ 1 หน่วย นั้นคือ ค่าสัมบูรณ์ของ -1 เท่ากับ 1

             ถ้าเราจะพิจารณาบนเส้นจานวนถึงนิยามของค่าสัมบูรณ์ ก็จะเป็ นดังรู ป




                    เราอาจจะใช้สัญลักษณ์ที่ใช้แทนค่าสัมบูรณ์ คือ | | เช่น
                              | -3 | คือ ค่าสัมบูรณ์ของ -3 คือ 3
                                | 6 | คือ ค่าสัมบูรณ์ของ 6 คือ 6

               โดยสรุ ปเกี่ยวกับค่าสัมบูรณ์ ถ้า กาหนดให้ a แทนจานวนใด ๆ แล้ว




          จากเส้นจานวนและความหมายของค่าสัมบูรณ์ ในเนื้อหาก่อนหน้านี้ จะพบว่า จานวนเต็ม
ลบและจานวนเต็มบวกที่มีค่าสัมบูรณ์เท่ากัน จะอยูคนละข้างและห่างจาก 0 เท่ากัน อย่างเช่น
                                                        ่
| -3 | = 3 และ | 3 | = 3 เราอาจจะกล่าวอีกนัยหนึ่งว่า -3 เป็ นจานวนตรงข้ามของ 3 และ3 เป็ นจานวน
ตรงข้ามของ -3 ดังรู ป
การดาเนินการ เกียวกับจานวนเต็มได้แก่ การบวก การลบ การคูณและการหาร ฯลฯ แต่ใน
                           ่
                                                                                     ั
ที่น้ ีจะกล่าวถึงการคูณและการหารจานวนเต็ม ซึ่ งเป็ นพื้นฐานสาคัญในการนาไปประยุกต์ใช้กบ
บทเรี ยนอื่นๆต่อไป



                                           การคูณจานวนเต็ม
                                                 เต็ม

                              การคูณจานวนเต็มแบ่ งออกเป็ น 4 กรณีดังนี้

   1. การคูณจานวนเต็มบวกด้ วยจานวนเต็มบวก

        การคูณจานวนเต็มบวกด้วยจานวนเต็มบวก สามารถหาผลคูณได้โดยใช้หลักการบวก
จานวนเต็มบวกดังตัวอย่างต่อไปนี้
ตัวอย่างที่ 1 จงหาผลคูณของจานวนต่ อไปนี้
1.       25

แนวคิด           2  5  5  5  10

        ( 2 คูณ 5 เกิดจากการนา 5 มาบวกกัน 2 จานวน ได้คาตอบเป็ น 10 )

2.       3 6

แนวคิด           3 6      666         18

         ( 3 คูณ 6 เกิดจากการนา 6 มาบวกกัน 3 จานวน ได้คาตอบเป็ น 18 )

3.       57

แนวคิด           5 7      77777              35

         ( 5 คูณ 7 เกิดจากการนา 7 มาบวกกัน 5 จานวน ได้คาตอบเป็ น 35 )

4.       42

แนวคิด           4 2      2222            8

         ( 4 คูณ 2 เกิดจากการนา 2 มาบวกกัน 4 จานวน ได้คาตอบเป็ น 8 )

        ดังนั้น จะได้ ว่าการคูณจานวนเต็มบวกด้ วยจานวนเต็มบวกจะได้ ผลลัพธ์ เป็ นจานวนเต็ม
บวกทีมีค่าสั มบูรณ์ เท่ ากับผลคูณของค่ าสั มบูรณ์ ของสองจานวนนั้น
     ่
ตัวอย่างที่ 2 จงหาผลคูณของจานวนต่ อไปนี้



                       นาค่ าสั มบูรณ์ มาคูณกัน                    ผลลัพธ์ เป็ นจานวนเต็มบวก


1.   27

แนวคิด         2  7  2  7  2  7  14

การคูณจานวนเต็มบวกด้วยจานวนเต็มบวกจะได้ผลลัพธ์เป็ นจานวนเต็มบวกดังนั้น     27       14


2.   38

แนวคิด         3  8  3  8  3  8  24

การคูณจานวนเต็มบวกด้วยจานวนเต็มบวกจะได้ผลลัพธ์เป็ นจานวนเต็มบวกดังนั้น     38       24


3.   5 1

แนวคิด         5 1  5  1  5 1  5

การคูณจานวนเต็มบวกด้วยจานวนเต็มบวกจะได้ผลลัพธ์เป็ นจานวนเต็มบวกดังนั้น     5 1      5




                                                   มาทาแบบฝึ กหัดกันเถอะ



                                          แบบฝึ กหัดที่ 1

        คาสั่ ง จงหาผลคูณของจานวนเต็มทีกาหนดให้ ต่อไปนี้
                                       ่
        1.   79       


        2 . 10  12    


        3 . 14  17    


        4 . 11  21    


        5.   26  34    
2. การคูณจานวนเต็มบวกด้ วยจานวนเต็มลบ

        การคูณจานวนเต็มบวกด้วยจานวนเต็มลบ สามารถหาผลคูณได้โดยใช้หลักการบวกจานวน
เต็มลบดังตัวอย่างต่อไปนี้
ตัวอย่างที่ 1 จงหาผลคูณของจานวนต่ อไปนี้
1.       2  (  5)

แนวคิด              2  (  5 )  (  5 )  (  5 )  (  10 )

        ( 2 คูณ (-5) เกิดจากการนา (-5) มาบวกกัน 2 จานวน ได้คาตอบเป็ น (-10) )

2.        3  (6)

แนวคิด               3  (6)       (6)  (6)  (6)       (  18 )

          ( 3 คูณ (-6) เกิดจากการนา (-6) มาบวกกัน 3 จานวน ได้คาตอบเป็ น (-18) )

3.        5  (7)

แนวคิด               5  (7)       (7)  (7)  (7)  (7)  (7)              35

          ( 5 คูณ (-7) เกิดจากการนา (-7) มาบวกกัน 5 จานวน ได้คาตอบเป็ น (-35) )

4.        4  (2)

แนวคิด               4  (2)       (2)  (2)  (2)  (2)           8

          ( 4 คูณ (-2) หมายถึงการนา (-2) มาบวกกัน 4 จานวน ได้คาตอบเป็ น (-8) )


          ดังนั้น จะได้ ว่าการคูณจานวนเต็มบวกด้ วยจานวนเต็มลบจะได้ ผลลัพธ์ เป็ นจานวนเต็มลบ
ทีมค่าสั มบูรณ์ เท่ ากับผลคูณของค่ าสั มบูรณ์ ของสองจานวนนั้น
  ่ ี


ตัวอย่างที่ 2 จงหาผลคูณของจานวนต่ อไปนี้



                                นาค่ าสั มบูรณ์ มาคูณกัน                           ผลลัพธ์ เป็ นจานวนเต็มลบ


1.     2  (7)

แนวคิด         2  (  7 )  2   7  2  7  14

 การคูณจานวนเต็มบวกด้วยจานวนเต็มลบจะได้ผลลัพธ์เป็ นจานวนเต็มลบดังนั้น                     2  (  7 )   14
2.   3  (  8)

แนวคิด         3  (  8 )  3   8  3  8  24

 การคูณจานวนเต็มบวกด้วยจานวนเต็มลบจะได้ผลลัพธ์เป็ นจานวนเต็มลบดังนั้น   3  (  8 )   24


3.   5  (  1)

แนวคิด        5  (  1)  5   1  5  1  5

 การคูณจานวนเต็มบวกด้วยจานวนเต็มลบจะได้ผลลัพธ์เป็ นจานวนเต็มลบดังนั้น   5  (  1)   5




                                                  มาทาแบบฝึ กหัดกันเถอะ


                                       แบบฝึ กหัดที่ 2

         คาสั่ ง จงหาผลคูณของจานวนเต็มทีกาหนดให้ ต่อไปนี้
                                        ่
         1.       2  (  5)      


         2 . 11  (  10 )        


         3 . 17  (  22 )        


         4.       29  (  16 )   


         5.       31  (  12 )   




     3. การคูณจานวนเต็มลบด้ วยจานวนเต็มบวก
        การคูณจานวนเต็มลบด้วยจานวนเต็มบวก สามารถหาผลคูณได้โดยใช้สมบัติการสลับที่
สาหรับการคูณ ดังตัวอย่างต่อไปนี้
ตัวอย่างที่ 1 จงหาผลคูณของจานวนต่ อไปนี้
1.       (2)  5

แนวคิด (  2 )  5  5  (  2 )  (  2 )  (  2 )  (  2 )  (  2 )  (  2 )   10
   ( (-2) คูณ 5 มีค่าเท่ากับ 5 คูณ -2 เกิดจากการนา (-2) มาบวกกัน 5 จานวน ได้คาตอบเป็ น (-10) )
2.        (  3)  6

แนวคิด (  3)  6  6  (  3)  (  3)  (  3)  (  3)  (  3)  (  3)  (  3)   18
   ( (-3) คูณ 6 มีค่าเท่ากับ 6 คูณ -3 เกิดจากการนา (-3) มาบวกกัน 6 จานวน ได้คาตอบเป็ น (-18) )

3.       (  5)  7

แนวคิด         (  5 )  7  7  (  5 )  (  5 )  (  5 )  (  5 )  (  5 )  (  5 )  (  5 )  (  5 )   35

   ( (-5) คูณ 7 มีค่าเท่ากับ 7 คูณ -5 เกิดจากการนา (-5) มาบวกกัน 7 จานวน ได้คาตอบเป็ น (-35) )

4.      (4)  2

แนวคิด       (4)  2  2  (4)  (4)  (4)   8

                   ่
   ( (-4) คูณ 2 มีคาเท่ากับ 2 คูณ -4 เกิดจากการนา (-4) มาบวกกัน 2 จานวน ได้คาตอบเป็ น (-8) )


          ดังนั้น จะได้ ว่าการคูณจานวนเต็มลบด้ วยจานวนเต็มบวกจะได้ ผลลัพธ์ เป็ นจานวนเต็มลบ
ทีมค่าสั มบูรณ์ เท่ ากับผลคูณของค่ าสั มบูรณ์ ของสองจานวนนั้น
  ่ ี


ตัวอย่างที่ 2 จงหาผลคูณของจานวนต่ อไปนี้



                                 นาค่ าสั มบูรณ์ มาคูณกัน                              ผลลัพธ์ เป็ นจานวนเต็มลบ


1.   (2)  7

แนวคิด         (  2 )  7   2  7  2  7  14

 การคูณจานวนเต็มลบด้วยจานวนเต็มบวกจะได้ผลลัพธ์เป็ นจานวนเต็มลบดังนั้น                            (  2 )  7   14


2.    (  3)  8

แนวคิด         (  3 )  8   3  8  3  8  24

 การคูณจานวนเต็มลบด้วยจานวนเต็มบวกจะได้ผลลัพธ์เป็ นจานวนเต็มลบดังนั้น                            (  3)  8   24
3.   (  5)  1

แนวคิด        (  5)  1   5  1  5  1  5

 การคูณจานวนเต็มลบด้วยจานวนเต็มบวกจะได้ผลลัพธ์เป็ นจานวนเต็มลบดังนั้น                (  5)  1   5




                                                             มาทาแบบฝึ กหัดกันเถอะ



                                                     แบบฝึ กหัดที่ 3

         คาสั่ ง จงหาผลคูณของจานวนเต็มทีกาหนดให้ ต่อไปนี้
                                        ่
         1.       (4)  3         


         2.       (  12 )  9    


         3.       (  18 )  20       


         4.       (  21 )  14    


         5.       (  25 )  16     




 4. การคูณจานวนเต็มลบด้ วยจานวนเต็มลบ

        การคูณจานวนเต็มลบด้วยจานวนเต็มลบ พิจารณาได้ดงตัวอย่างต่อไปนี้
                                                              ั
                                                                                          ่
ตัวอย่างที่ 1 (  2 )  (  5 ) เกิดจาก (-5) บวกกัน (-2) จานวน ซึ่ งเราไม่สามารถทราบได้วา (- 2)
จานวนนั้นเป็ นอย่างไร ซึ่งสามารถพิจารณาได้จาก
                                   (  5)  5  0           (การบวกจานวนเต็ม)
                     (  2 )  [(  5 )  5 ]  (  2 )  0 (นา -2 คูณเข้าทั้งสองข้างของสมการ)
           [(  2 )  (  5 )]  [(  2 )  5 ]  0         (สมบัติการแจกแจง)
                    [(  2 )  (  5 )  (  10 )]      0
             แต่เราทราบว่าถ้า 10 + (-10) = 0 แสดงว่า (  2 )  (  5 ) ต้องให้ค่าออกมาเป็ นบวก โดยใน
ที่น้ ีก็คือ 10 นันเอง
                  ่
่
  ตัวอย่างที่ 2 (  3)  (  6 ) เกิดจาก (-6) บวกกัน (-3) จานวน ซึ่ งเราไม่สามารถทราบได้วา (- 3)
  จานวนนั้นเป็ นอย่างไร ซึ่งสามารถพิจารณาได้จาก
                                   (6)  6  0             (การบวกจานวนเต็ม)
                      (  3)  [(  6 )  6 ]  (  6 )  0 (นา -3 คูณเข้าทั้งสองข้างของสมการ)
             [(  3)  (  6 )]  [(  3)  6 ]  0         (สมบัติการแจกแจง)
                 [(  3)  (  6 )  (  18 )]       0
               แต่เราทราบว่าถ้า 18 + (-18) = 0 แสดงว่า (  3)  (  6 ) ต้องให้ค่าออกมาเป็ นบวก โดยใน
  ที่น้ ีก็คือ 18 นันเอง
                    ่

                                                                                            ่
  ตัวอย่างที่ 3 (  5 )  (  7 ) เกิดจาก (-7) บวกกัน (-5) จานวน ซึ่ งเราไม่สามารถทราบได้วา (- 5)
  จานวนนั้นเป็ นอย่างไร ซึ่งสามารถพิจารณาได้จาก
                                     (7)  7  0             (การบวกจานวนเต็ม)
                       (  5 )  [(  7 )  7 ]  (  5 )  0 (นา -5 คูณเข้าทั้งสองข้างของสมการ)
             [(  5 )  (  7 )]  [(  5 )  7 ]  0         (สมบัติการแจกแจง)
                 [(  5 )  (  7 )  (  35 )]      0
               แต่เราทราบว่าถ้า 35 + (-35) = 0 แสดงว่า (  5 )  (  7 ) ต้องให้ค่าออกมาเป็ นบวก โดยใน
  ที่น้ ีก็คือ 35 นันเอง
                    ่

                                                                                            ่
  ตัวอย่างที่ 4 (  4 )  (  2 ) เกิดจาก (-2) บวกกัน (-4) จานวน ซึ่ งเราไม่สามารถทราบได้วา (- 4)
  จานวนนั้นเป็ นอย่างไร ซึ่ งสามารถพิจารณาได้จาก
                                     (2)  2  0             (การบวกจานวนเต็ม)
                       (  4 )  [(  7 )  7 ]  (  4 )  0 (นา -4 คูณเข้าทั้งสองข้างของสมการ)
             [(  4 )  (  7 )]  [(  4 )  7 ]  0         (สมบัติการแจกแจง)
                 [(  4 )  (  7 )  (  28 )]      0
               แต่เราทราบว่าถ้า 28 + (-28) = 0 แสดงว่า (  4 )  (  7 ) ต้องให้ค่าออกมาเป็ นบวก โดยใน
  ที่น้ ีก็คือ 28 นันเอง
                    ่


           ดังนั้น จะได้ ว่าการคูณจานวนเต็มลบด้ วยจานวนเต็มลบจะได้ ผลลัพธ์ เป็ นจานวนเต็มบวกทีมี
                                                                                              ่
ค่ าสั มบูรณ์ เท่ ากับผลคูณของค่ าสั มบูรณ์ ของสองจานวนนั้น
ตัวอย่างที่ 5 จงหาผลคูณของจานวนต่ อไปนี้


                                          นาค่ าสั มบูรณ์ มาคูณกัน                 ผลลัพธ์ เป็ นจานวนเต็มบวก


1.   (2)  (7)

แนวคิด        (  2 )  (  7 )   2   7  2  7  14

การคูณจานวนเต็มลบด้วยจานวนเต็มลบจะได้ผลลัพธ์เป็ นจานวนเต็มบวกดังนั้น               (  2 )  (  7 )  14

2.   (  3)  (  8 )

แนวคิด         (  3 )  (  8 )   3   8  3  8  24

การคูณจานวนเต็มลบด้วยจานวนเต็มลบจะได้ผลลัพธ์เป็ นจานวนเต็มบวกดังนั้น (  3)  (  8 )  24
3.   (  5 )  (  1)

แนวคิด         (  5 )  (  1)   5   1  5  1  5

 การคูณจานวนเต็มลบด้วยจานวนเต็มลบจะได้ผลลัพธ์เป็ นจานวนเต็มบวกดังนั้น                  (  5 )  (  1)  5




                                                               มาทาแบบฝึ กหัดกันเถอะ



                                                    แบบฝึ กหัดที่ 4

         คาสั่ ง จงหาผลคูณของจานวนเต็มทีกาหนดให้ ต่อไปนี้
                                        ่
          1.    (  7 )  (  10 )        


          2.    (  19 )  (  12 )   


          3.    (  20 )  (  14 )   


          4.    (  22 )  (  9 )    


          5.    (  27 )  (  15 )   




                                                ข้ อสั งเกต
                        1. จานวนเต็มชนิดเดียวกันคูณกันได้ผลลัพธ์เป็ นจานวนเต็มบวก
                        2. จานวนเต็มคนละชนิดกันคูณกันได้ผลลัพธ์เป็ นจานวนเต็มลบ
การหารจานวนเต็ม
                                                 เต็ม


           การหารจานวนเต็มด้วยจานวนเต็มอาจเป็ นการหารลงตัวหรื อเป็ นการหารไม่ลงตัวก็ได้ แต่
ในที่น้ ีจะกล่าวถึงเฉพาะการหารลงตัวซึ่ งมีผลหารเป็ นจานวนเต็มและเศษเป็ น 0
           การหารจานวนเต็มด้วยจานวนที่เป็ นการหารลงตัวเราอาศัยการคูณตามข้อตกลงดังนี้

                        ตัวหาร            ผลหาร = ตัวตั้ง

        นันคือ เมื่อ a , b และ c แทนจานวนเต็มใดๆที่
          ่                                            b     ไม่เท่ากับ 0
                 ถ้า a  b  c แล้ว a  b  c
        และ ถ้า a  b  c แล้ว a  b  c
        ในทางคณิ ตศาสตร์ อาจเขียนแทน a  b ด้วย       a
                                                           ซึ่งสามารถใช้หลักการคูณข้างต้นมาใช้
                                                      b
ในการหาผลหารของจานวนเต็มได้ โดยแบ่งการหารออกเป็ น 4 กรณี ดงนี้
                                                          ั


   1. การหารจานวนเต็มบวกด้ วยจานวนเต็มบวก
        การหารจานวนเต็มบวกด้วยจานวนเต็มบวก สามารถนาหลักการคูณจานวนเต็มบวกด้วย
จานวนเต็มบวกมาใช้ได้ดงนี้
                       ั
ตัวอย่างที่ 1 จงหาผลหารของจานวนต่ อไปนี้
1.      16  2

แนวคิด ทาได้โดยการหาจานวนเต็มที่คูณกับ 2 แล้วมีค่าเท่ากับ 16 ซึ่ งจานวนนั้นคือ 8 ดังนั้น
16  2  8


2.     28  4

แนวคิด ทาได้โดยการหาจานวนเต็มที่คูณกับ 4 แล้วมีค่าเท่ากับ 28 ซึ่ งจานวนนั้นคือ 7 ดังนั้น
28  4  7


3.     36  6

แนวคิด ทาได้โดยการหาจานวนเต็มที่คูณกับ 6 แล้วมีค่าเท่ากับ 36 ซึ่ งจานวนนั้นคือ 6 ดังนั้น
36  6  6
4.     42  3

แนวคิด ทาได้โดยการหาจานวนเต็มที่คูณกับ 3 แล้วมีค่าเท่ากับ 42 ซึ่ งจานวนนั้นคือ 14 ดังนั้น
42  3  14




        ดังนั้น จะได้ ว่าการหารจานวนเต็มบวกด้ วยจานวนเต็มบวกจะได้ ผลลัพธ์ เป็ นจานวนเต็ม
บวกทีมีค่าสั มบูรณ์ เท่ ากับผลคูณของค่ าสั มบูรณ์ ของสองจานวนนั้น
     ่



ตัวอย่างที่ 2 จงหาผลคูณของจานวนต่ อไปนี้



                     นาค่ าสั มบูรณ์ มาคูณกัน                       ผลลัพธ์ เป็ นจานวนเต็มบวก


1 . 12  3

แนวคิด        12  3  12  3  4

การหารจานวนเต็มบวกด้วยจานวนเต็มบวกจะได้ผลลัพธ์เป็ นจานวนเต็มบวกดังนั้น 12  3             4


2.   39  13

แนวคิด        39  13  39  13  3

การหารจานวนเต็มบวกด้วยจานวนเต็มบวกจะได้ผลลัพธ์เป็ นจานวนเต็มบวกดังนั้น 39  13            3



3.   45  5

แนวคิด        45  5  45  5  9

การหารจานวนเต็มบวกด้วยจานวนเต็มบวกจะได้ผลลัพธ์เป็ นจานวนเต็มบวกดังนั้น 45  5             9
มาทาแบบฝึ กหัดกันเถอะ



                                       แบบฝึ กหัดที่ 1
         คาสั่ ง จงหาผลคูณของจานวนเต็มทีกาหนดให้ ต่อไปนี้
                                        ่
         1.   88        


         2.    21  7    


         3.   81  9     


         4 . 168  12    


         5.   200  20   




  2. การหารจานวนเต็มบวกด้ วยจานวนเต็มลบ

        การหารจานวนเต็มบวกด้วยจานวนเต็มลบ สามารถนาหลักการคูณจานวนเต็มบวกด้วย
จานวนเต็มลบมาใช้ได้ดงนี้
                      ั
ตัวอย่างที่ 1 จงหาผลหารของจานวนต่ อไปนี้
1.      16  (  2 )

แนวคิด ทาได้โดยการหาจานวนเต็มที่คูณกับ -2 แล้วมีค่าเท่ากับ 16 ซึ่ งจานวนนั้นคือ -8 ดังนั้น
16  (  2 )   8


2.     28  (  4 )

แนวคิด ทาได้โดยการหาจานวนเต็มที่คูณกับ -4 แล้วมีค่าเท่ากับ 28 ซึ่ งจานวนนั้นคือ -7 ดังนั้น
28  (  4 )   7


3.     36  (  6 )

แนวคิด ทาได้โดยการหาจานวนเต็มที่คูณกับ -6 แล้วมีค่าเท่ากับ 36 ซึ่ งจานวนนั้นคือ -6 ดังนั้น
36  (  6 )   6
4.     42  (  3)

แนวคิด ทาได้โดยการหาจานวนเต็มที่คูณกับ -3 แล้วมีค่าเท่ากับ 42 ซึ่ งจานวนนั้นคือ -14 ดังนั้น
42  (  3)   14




          ดังนั้น จะได้ ว่าการหารจานวนเต็มบวกด้ วยจานวนเต็มลบจะได้ ผลลัพธ์ เป็ นจานวนเต็มลบ
ทีมค่าสั มบูรณ์ เท่ ากับผลหารของค่ าสั มบูรณ์ ของสองจานวนนั้น
  ่ ี



ตัวอย่างที่ 2 จงหาผลคูณของจานวนต่ อไปนี้



                     นาค่ าสั มบูรณ์ มาคูณกัน                        ผลลัพธ์ เป็ นจานวนเต็มลบ


1 . 12  (  3)

แนวคิด        12  (  3 )  12   3  4

การหารจานวนเต็มบวกด้วยจานวนเต็มลบจะได้ผลลัพธ์เป็ นจานวนเต็มลบดังนั้น 12  (  3)   4

2.   39  13

แนวคิด        39  (  13 )  39   13  3

การหารจานวนเต็มบวกด้วยจานวนเต็มลบจะได้ผลลัพธ์เป็ นจานวนเต็มลบดังนั้น 39  (  13 )   3

3.   45  (  5 )

แนวคิด        45  (  5 )  45   5  9

การหารจานวนเต็มบวกด้วยจานวนเต็มลบจะได้ผลลัพธ์เป็ นจานวนเต็มลบดังนั้น 45  (  5 )   9
มาทาแบบฝึ กหัดกันเถอะ


                                      แบบฝึ กหัดที่ 2

         คาสั่ ง จงหาผลหารของจานวนเต็มทีกาหนดให้ ต่อไปนี้
                                        ่
         1.   22  (  11 )    


         2.   76  (  4 )     


         3 . 180  (  90 )    


         4.   360  (  18 )   


         5.   450  (  9 )    




     3. การหารจานวนเต็มลบด้ วยจานวนเต็มบวก
        การหารจานวนเต็มลบด้วยจานวนเต็มบวก สามารถนาหลักการคูณจานวนเต็มลบด้วย
จานวนเต็มบวกมาใช้ได้ดงนี้
                       ั
ตัวอย่างที่ 1 จงหาผลหารของจานวนต่ อไปนี้
1.      (  16 )  2

แนวคิด ทาได้โดยการหาจานวนเต็มที่คูณกับ 2 แล้วมีค่าเท่ากับ -16 ซึ่ งจานวนนั้นคือ -8 ดังนั้น
(  16 )  2   8


2.     (  28 )  4

แนวคิด ทาได้โดยการหาจานวนเต็มที่คูณกับ 4 แล้วมีค่าเท่ากับ -28 ซึ่ งจานวนนั้นคือ -7 ดังนั้น
(  28 )  4   7


3.     (  36 )  6

แนวคิด ทาได้โดยการหาจานวนเต็มที่คูณกับ 6 แล้วมีค่าเท่ากับ -36 ซึ่ งจานวนนั้นคือ -6 ดังนั้น
(  36 )  6   6
4.     (  42 )  3

แนวคิด ทาได้โดยการหาจานวนเต็มที่คูณกับ 3 แล้วมีค่าเท่ากับ -42 ซึ่ งจานวนนั้นคือ -14 ดังนั้น
(  42 )  3   14




          ดังนั้น จะได้ ว่าการหารจานวนเต็มลบด้ วยจานวนเต็มบวกจะได้ ผลลัพธ์ เป็ นจานวนเต็มลบ
ทีมค่าสั มบูรณ์ เท่ ากับผลหารของค่ าสั มบูรณ์ ของสองจานวนนั้น
  ่ ี



ตัวอย่างที่ 2 จงหาผลหารของจานวนต่ อไปนี้



                      นาค่ าสั มบูรณ์ มาคูณกัน                       ผลลัพธ์ เป็ นจานวนเต็มลบ


1.   (  12 )  3

แนวคิด        (  12 )  3   12  3  4

การหารจานวนเต็มลบด้วยจานวนเต็มบวกจะได้ผลลัพธ์เป็ นจานวนเต็มลบดังนั้น (  12 )  3   4

2.   (  39 )  13

แนวคิด        (  39 )  13   39  13  3

การหารจานวนเต็มลบด้วยจานวนเต็มบวกจะได้ผลลัพธ์เป็ นจานวนเต็มลบดังนั้น (  39 )  3   4

3.   (  45 )  5

แนวคิด        (  45 )  5   45  5  9

การหารจานวนเต็มลบด้วยจานวนเต็มบวกจะได้ผลลัพธ์เป็ นจานวนเต็มลบดังนั้น (  45 )  5   9
มาทาแบบฝึ กหัดกันเถอะ



                                      แบบฝึ กหัดที่ 3

         คาสั่ ง จงหาผลหารของจานวนเต็มทีกาหนดให้ ต่อไปนี้
                                        ่
          1.   (  42 )  6     


          2.    (  78 )  3    


          3.   (  130 )  10   


          4.    (  280 )  7   


          5.   (  325 )  25   




 4. การหารจานวนเต็มลบด้ วยจานวนเต็มลบ

        การหารจานวนเต็มลบด้วยจานวนเต็มลบ สามารถนาหลักการคูณจานวนเต็มลบด้วย
จานวนเต็มลบมาใช้ได้ดงนี้   ั
ตัวอย่างที่ 1 จงหาผลหารของจานวนต่ อไปนี้
1.      (  16 )  (  2 )

แนวคิด ทาได้โดยการหาจานวนเต็มที่คูณกับ -2 แล้วมีค่าเท่ากับ -16 ซึ่ งจานวนนั้นคือ 8 ดังนั้น
(  16 )  (  2 )  8


2.     (  28 )  (  4 )

แนวคิด ทาได้โดยการหาจานวนเต็มที่คูณกับ -4 แล้วมีค่าเท่ากับ -28 ซึ่ งจานวนนั้นคือ 7 ดังนั้น
(  28 )  (  4 )  7


3.     (  36 )  (  6 )

แนวคิด ทาได้โดยการหาจานวนเต็มที่คูณกับ -6 แล้วมีค่าเท่ากับ -36 ซึ่ งจานวนนั้นคือ 6 ดังนั้น
(  36 )  (  6 )  6
4.     (  42 )  (  3)

แนวคิด ทาได้โดยการหาจานวนเต็มที่คูณกับ -3 แล้วมีค่าเท่ากับ -42 ซึ่ งจานวนนั้นคือ 14 ดังนั้น
(  42 )  (  3)  14




          ดังนั้น จะได้ ว่าการหารจานวนเต็มลบด้ วยจานวนเต็มลบจะได้ ผลลัพธ์ เป็ นจานวนเต็มบวก
ทีมค่าสั มบูรณ์ เท่ ากับผลหารของค่ าสั มบูรณ์ ของสองจานวนนั้น
  ่ ี



ตัวอย่างที่ 2 จงหาผลคูณของจานวนต่ อไปนี้



                           นาค่ าสั มบูรณ์ มาคูณกัน                   ผลลัพธ์ เป็ นจานวนเต็มบวก


1.   (  12 )  (  3 )

แนวคิด        (  12 )  (  3 )   12   3  4

การหารจานวนเต็มลบด้วยจานวนเต็มลบจะได้ผลลัพธ์เป็ นจานวนเต็มบวกดังนั้น (  12 )  (  3)  4

2.   (  39 )  (  13 )

แนวคิด        (  39 )  (  13 )   39   13  3

การหารจานวนเต็มลบด้วยจานวนเต็มลบจะได้ผลลัพธ์เป็ นจานวนเต็มบวกดังนั้น (  39 )  (  13 )  3

3.   (  45 )  (  5 )

แนวคิด        (  45 )  (  5 )   45   5  9

การหารจานวนเต็มลบด้วยจานวนเต็มลบจะได้ผลลัพธ์เป็ นจานวนเต็มบวกดังนั้น (  45 )  (  5)  9
มาทาแบบฝึ กหัดกันเถอะ



                                แบบฝึ กหัดที่ 4

คาสั่ ง จงหาผลหารของจานวนเต็มทีกาหนดให้ ต่อไปนี้
                               ่
1.   (  19 )  (  1)      


2.   (  64 )  (  8 )     


3.   (  225 )  (  15 )   


4.   (  300 )  (  10 )   


5.   (  540 )  (  12 )   




                               ข้ อสั งเกต
       1. จานวนเต็มชนิดเดียวกันหารกันได้ผลลัพธ์เป็ นจานวนเต็มบวก
       2. จานวนเต็มคนละชนิดกันหารกันได้ผลลัพธ์เป็ นจานวนเต็มลบ
จงหาผลคูณของจานวนต่ อไปนี้

1. 16 × 9                    = ……………………………..

2. 30 × 14                   = ……………………………..

3. (-5) × 9                  = ……………………………..

4. 12 × (-9)                 = ……………………………..

5. (-25) × 5                 = ……………………………..

6. 14 × (-3)                 = ……………………………..

7. (-8) × (-21)              = ……………………………..

8. (-30) × (-6)              = ……………………………..

9. (-15) × 30                = ……………………………..

10. 30× (-12)                = ……………………………..

11. [(-6) × (-5)] × 4        = ……………………………..

12. (-2) × [5× (-6)]         = ……………………………..

13. (-11) × [(-3) × (-10)]   = ……………………………..

14. (-6) × [(-8) ×5]         = ……………………………..

15. [16 × (-2)] × (-5)       = ……………………………..
จงหาผลหารของจานวนต่ อไปนี้
   1) 15  (-3)            = ……………………………..

   2) (-7)  7         = ……………………………..

   3) (-19)  1        = ……………………………..

   4) 30  (-5)        = ……………………………..

   5) (-18)  (-3)     = ……………………………..

   6) 50  (-2)        = ……………………………..

   7) (-36 )  (-12)   = ……………………………..

   8) (-90)  (-3)     = ……………………………..

   9) (-162)  (-81)   = ……………………………..

   10) 144  (-12)     = ……………………………..

   11) (-200)  20     = ……………………………..

   12) (-500)  (-5)   = ……………………………..

   13) (-550)  11     = …………………………..…

   14) (-441)  21     = ……………………………..

   15) (-1000)  100   = ……………………………..

Más contenido relacionado

La actualidad más candente

แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 10
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 10แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 10
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 10
Aon Narinchoti
 
แผนการสอน เรื่อง ปริมาตรและพื้นที่ผิว
แผนการสอน เรื่อง ปริมาตรและพื้นที่ผิวแผนการสอน เรื่อง ปริมาตรและพื้นที่ผิว
แผนการสอน เรื่อง ปริมาตรและพื้นที่ผิว
Duangnapa Jangmoraka
 
เฉลยข้อสอบโอเน็ตคณิตศาสตร์ ม.3 ปีการศึกษา 2557
เฉลยข้อสอบโอเน็ตคณิตศาสตร์ ม.3  ปีการศึกษา 2557เฉลยข้อสอบโอเน็ตคณิตศาสตร์ ม.3  ปีการศึกษา 2557
เฉลยข้อสอบโอเน็ตคณิตศาสตร์ ม.3 ปีการศึกษา 2557
ครู กรุณา
 
ใบงาน เศษส่วนกับทศนิยม
ใบงาน เศษส่วนกับทศนิยมใบงาน เศษส่วนกับทศนิยม
ใบงาน เศษส่วนกับทศนิยม
kanjana2536
 
ฮิสโทแกรม
ฮิสโทแกรมฮิสโทแกรม
ฮิสโทแกรม
krookay2012
 

La actualidad más candente (20)

work1
work1work1
work1
 
3.โจทย์ปัญหาร้อยละ
3.โจทย์ปัญหาร้อยละ3.โจทย์ปัญหาร้อยละ
3.โจทย์ปัญหาร้อยละ
 
แบบทดสอบ เรื่องพหุนาม
แบบทดสอบ เรื่องพหุนามแบบทดสอบ เรื่องพหุนาม
แบบทดสอบ เรื่องพหุนาม
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 10
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 10แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 10
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 10
 
ข้อสอบคณิตศาสตร์ ม.1 เทอม 1 ชุดที่ 1
ข้อสอบคณิตศาสตร์ ม.1 เทอม 1 ชุดที่ 1ข้อสอบคณิตศาสตร์ ม.1 เทอม 1 ชุดที่ 1
ข้อสอบคณิตศาสตร์ ม.1 เทอม 1 ชุดที่ 1
 
แผนการสอน เรื่อง ปริมาตรและพื้นที่ผิว
แผนการสอน เรื่อง ปริมาตรและพื้นที่ผิวแผนการสอน เรื่อง ปริมาตรและพื้นที่ผิว
แผนการสอน เรื่อง ปริมาตรและพื้นที่ผิว
 
ชุดที่ 8 การแก้โจทย์ปัญหาเกี่ยวกับสัดส่วน
ชุดที่ 8 การแก้โจทย์ปัญหาเกี่ยวกับสัดส่วนชุดที่ 8 การแก้โจทย์ปัญหาเกี่ยวกับสัดส่วน
ชุดที่ 8 การแก้โจทย์ปัญหาเกี่ยวกับสัดส่วน
 
G6 Maths Circle
G6 Maths CircleG6 Maths Circle
G6 Maths Circle
 
เฉลยข้อสอบโอเน็ตคณิตศาสตร์ ม.3 ปีการศึกษา 2557
เฉลยข้อสอบโอเน็ตคณิตศาสตร์ ม.3  ปีการศึกษา 2557เฉลยข้อสอบโอเน็ตคณิตศาสตร์ ม.3  ปีการศึกษา 2557
เฉลยข้อสอบโอเน็ตคณิตศาสตร์ ม.3 ปีการศึกษา 2557
 
ใบงาน เศษส่วนกับทศนิยม
ใบงาน เศษส่วนกับทศนิยมใบงาน เศษส่วนกับทศนิยม
ใบงาน เศษส่วนกับทศนิยม
 
คณิตศาสตร์ ม.3 เรื่องปริมาตรและพื้นที่ผิว
คณิตศาสตร์ ม.3 เรื่องปริมาตรและพื้นที่ผิวคณิตศาสตร์ ม.3 เรื่องปริมาตรและพื้นที่ผิว
คณิตศาสตร์ ม.3 เรื่องปริมาตรและพื้นที่ผิว
 
ฮิสโทแกรม
ฮิสโทแกรมฮิสโทแกรม
ฮิสโทแกรม
 
เส้นขนาน ม.2
เส้นขนาน ม.2เส้นขนาน ม.2
เส้นขนาน ม.2
 
กรณฑ์ที่สอง
กรณฑ์ที่สองกรณฑ์ที่สอง
กรณฑ์ที่สอง
 
ใบงานเรื่องปริมาตรทรงสี่เหลี่ยมมุมฉาก
ใบงานเรื่องปริมาตรทรงสี่เหลี่ยมมุมฉากใบงานเรื่องปริมาตรทรงสี่เหลี่ยมมุมฉาก
ใบงานเรื่องปริมาตรทรงสี่เหลี่ยมมุมฉาก
 
ชุดการสอนที่ 2 เรื่อง เส้นขนานและมุมแย้ง
ชุดการสอนที่ 2 เรื่อง เส้นขนานและมุมแย้งชุดการสอนที่ 2 เรื่อง เส้นขนานและมุมแย้ง
ชุดการสอนที่ 2 เรื่อง เส้นขนานและมุมแย้ง
 
แบบฝึกทักษะคณิตศาสตร์ เรื่อง ปริมาตรของพีระมิด
แบบฝึกทักษะคณิตศาสตร์ เรื่อง ปริมาตรของพีระมิดแบบฝึกทักษะคณิตศาสตร์ เรื่อง ปริมาตรของพีระมิด
แบบฝึกทักษะคณิตศาสตร์ เรื่อง ปริมาตรของพีระมิด
 
เลขยกกำลังที่มีเลขชี้กำลังเป็นจำนวนเต็ม
เลขยกกำลังที่มีเลขชี้กำลังเป็นจำนวนเต็มเลขยกกำลังที่มีเลขชี้กำลังเป็นจำนวนเต็ม
เลขยกกำลังที่มีเลขชี้กำลังเป็นจำนวนเต็ม
 
บทที่ 1 อัตราส่วนตรีโกณมิติ ม.ต้น
บทที่ 1 อัตราส่วนตรีโกณมิติ ม.ต้นบทที่ 1 อัตราส่วนตรีโกณมิติ ม.ต้น
บทที่ 1 อัตราส่วนตรีโกณมิติ ม.ต้น
 
ข้อสอบคณิตศาสตร์ ม.3 เทอม 2 ชุดที่ 1
ข้อสอบคณิตศาสตร์ ม.3 เทอม 2 ชุดที่ 1ข้อสอบคณิตศาสตร์ ม.3 เทอม 2 ชุดที่ 1
ข้อสอบคณิตศาสตร์ ม.3 เทอม 2 ชุดที่ 1
 

Similar a การคูณและหารจำนวนเต็ม

เอกนาม
เอกนามเอกนาม
เอกนาม
krookay2012
 
การบวกลบจำนวนเต็ม
การบวกลบจำนวนเต็มการบวกลบจำนวนเต็ม
การบวกลบจำนวนเต็ม
Jiraprapa Suwannajak
 
ระบบจำนวน
ระบบจำนวนระบบจำนวน
ระบบจำนวน
guest89040d
 
เลขยกกำลัง
เลขยกกำลังเลขยกกำลัง
เลขยกกำลัง
krookay2012
 

Similar a การคูณและหารจำนวนเต็ม (20)

Preliminary number theory
Preliminary number theoryPreliminary number theory
Preliminary number theory
 
ระบบจำนวนเต็ม
ระบบจำนวนเต็มระบบจำนวนเต็ม
ระบบจำนวนเต็ม
 
สรุปสูตร คณิตศาสตร์ ม.1
สรุปสูตร คณิตศาสตร์ ม.1สรุปสูตร คณิตศาสตร์ ม.1
สรุปสูตร คณิตศาสตร์ ม.1
 
จำนวนเชิงซ้อน.pdf
จำนวนเชิงซ้อน.pdfจำนวนเชิงซ้อน.pdf
จำนวนเชิงซ้อน.pdf
 
2ใบความรู้ เรื่อง ระบบจำนวนเต็ม
2ใบความรู้ เรื่อง ระบบจำนวนเต็ม2ใบความรู้ เรื่อง ระบบจำนวนเต็ม
2ใบความรู้ เรื่อง ระบบจำนวนเต็ม
 
บทที่ 1.ทบทวนคณิตศาสตร์
บทที่ 1.ทบทวนคณิตศาสตร์บทที่ 1.ทบทวนคณิตศาสตร์
บทที่ 1.ทบทวนคณิตศาสตร์
 
โครงงานเอ็นโอการ์ด (Number and Operation Card)
โครงงานเอ็นโอการ์ด (Number and Operation Card)โครงงานเอ็นโอการ์ด (Number and Operation Card)
โครงงานเอ็นโอการ์ด (Number and Operation Card)
 
Pat1 58-03+key
Pat1 58-03+keyPat1 58-03+key
Pat1 58-03+key
 
เอกนาม
เอกนามเอกนาม
เอกนาม
 
การบวกลบจำนวนเต็ม
การบวกลบจำนวนเต็มการบวกลบจำนวนเต็ม
การบวกลบจำนวนเต็ม
 
ระบบจำนวน
ระบบจำนวนระบบจำนวน
ระบบจำนวน
 
Pat15711
Pat15711Pat15711
Pat15711
 
รวมข้อสอบคณิตศาสตร์เตรียมทหาร ม.3
รวมข้อสอบคณิตศาสตร์เตรียมทหาร ม.3รวมข้อสอบคณิตศาสตร์เตรียมทหาร ม.3
รวมข้อสอบคณิตศาสตร์เตรียมทหาร ม.3
 
แบบฝึกทักษะ อสมการ
แบบฝึกทักษะ อสมการแบบฝึกทักษะ อสมการ
แบบฝึกทักษะ อสมการ
 
Pat1 55-10+key
Pat1 55-10+keyPat1 55-10+key
Pat1 55-10+key
 
7 วิชาสามัญ คณิต 57+เฉลย
7 วิชาสามัญ  คณิต 57+เฉลย7 วิชาสามัญ  คณิต 57+เฉลย
7 วิชาสามัญ คณิต 57+เฉลย
 
เวทคณิตน่ารู้(The Vedic mathematics Ver.Thai)
เวทคณิตน่ารู้(The Vedic mathematics Ver.Thai)เวทคณิตน่ารู้(The Vedic mathematics Ver.Thai)
เวทคณิตน่ารู้(The Vedic mathematics Ver.Thai)
 
คณิตศาสตร์ ม.1 การบวกจำนวนเต็ม
คณิตศาสตร์ ม.1 การบวกจำนวนเต็มคณิตศาสตร์ ม.1 การบวกจำนวนเต็ม
คณิตศาสตร์ ม.1 การบวกจำนวนเต็ม
 
เลขยกกำลัง
เลขยกกำลังเลขยกกำลัง
เลขยกกำลัง
 
Real (1)
Real (1)Real (1)
Real (1)
 

Más de Jiraprapa Suwannajak

พื้นที่ผิวและปริมาตร
พื้นที่ผิวและปริมาตรพื้นที่ผิวและปริมาตร
พื้นที่ผิวและปริมาตร
Jiraprapa Suwannajak
 
เลขยกกำลังและลอการิทึม
เลขยกกำลังและลอการิทึมเลขยกกำลังและลอการิทึม
เลขยกกำลังและลอการิทึม
Jiraprapa Suwannajak
 
ความสัมพันธ์และฟังก์ชัน
ความสัมพันธ์และฟังก์ชันความสัมพันธ์และฟังก์ชัน
ความสัมพันธ์และฟังก์ชัน
Jiraprapa Suwannajak
 
งาน เศรษฐกิจพอเพียง
งาน เศรษฐกิจพอเพียงงาน เศรษฐกิจพอเพียง
งาน เศรษฐกิจพอเพียง
Jiraprapa Suwannajak
 
วงกลมหนึ่งหน่วย
วงกลมหนึ่งหน่วยวงกลมหนึ่งหน่วย
วงกลมหนึ่งหน่วย
Jiraprapa Suwannajak
 
เศรษฐกิจพอเพียง
เศรษฐกิจพอเพียงเศรษฐกิจพอเพียง
เศรษฐกิจพอเพียง
Jiraprapa Suwannajak
 

Más de Jiraprapa Suwannajak (20)

พื้นที่ผิวและปริมาตร
พื้นที่ผิวและปริมาตรพื้นที่ผิวและปริมาตร
พื้นที่ผิวและปริมาตร
 
ภาคตัดกรวย
ภาคตัดกรวยภาคตัดกรวย
ภาคตัดกรวย
 
เมทริกซ์...
เมทริกซ์...เมทริกซ์...
เมทริกซ์...
 
รากที่สอง..
รากที่สอง..รากที่สอง..
รากที่สอง..
 
อสมการ
อสมการอสมการ
อสมการ
 
เศษส่วน
เศษส่วนเศษส่วน
เศษส่วน
 
เลขยกกำลังและลอการิทึม
เลขยกกำลังและลอการิทึมเลขยกกำลังและลอการิทึม
เลขยกกำลังและลอการิทึม
 
ลอการิทึม
ลอการิทึมลอการิทึม
ลอการิทึม
 
ลอการิทึม..[1]
ลอการิทึม..[1]ลอการิทึม..[1]
ลอการิทึม..[1]
 
ตรีโกณมิต..[1]
ตรีโกณมิต..[1]ตรีโกณมิต..[1]
ตรีโกณมิต..[1]
 
ความสัมพันธ์และฟังก์ชัน
ความสัมพันธ์และฟังก์ชันความสัมพันธ์และฟังก์ชัน
ความสัมพันธ์และฟังก์ชัน
 
ตรรกศาสตร์
ตรรกศาสตร์ตรรกศาสตร์
ตรรกศาสตร์
 
งาน เศรษฐกิจพอเพียง
งาน เศรษฐกิจพอเพียงงาน เศรษฐกิจพอเพียง
งาน เศรษฐกิจพอเพียง
 
วงกลมวงรี
วงกลมวงรีวงกลมวงรี
วงกลมวงรี
 
กลุ่ม4
กลุ่ม4กลุ่ม4
กลุ่ม4
 
วงกลมหนึ่งหน่วย
วงกลมหนึ่งหน่วยวงกลมหนึ่งหน่วย
วงกลมหนึ่งหน่วย
 
ปรัชญาเศร..
ปรัชญาเศร..ปรัชญาเศร..
ปรัชญาเศร..
 
เศรษฐกิจพอเพียง
เศรษฐกิจพอเพียงเศรษฐกิจพอเพียง
เศรษฐกิจพอเพียง
 
เศรษฐกิจ..[1]
 เศรษฐกิจ..[1] เศรษฐกิจ..[1]
เศรษฐกิจ..[1]
 
สมการตรีโกณ
สมการตรีโกณสมการตรีโกณ
สมการตรีโกณ
 

การคูณและหารจำนวนเต็ม

  • 1. การคูณและหารจานวนเต็ม คณิตศาสตร์ พนฐาน ชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 1 ื้ โดย ครู จิระประภา สุ วรรณจักร์ กลุ่มสาระการเรียนรู้ วชาคณิตศาสตร์ ิ โรงเรียนบุญวาทย์ วทยาลัย ิ สาระการเรียนรู้ 1. การคูณและหารจานวนเต็มบวกด้วยจานวนเต็มบวก 2. การคูณและหารจานวนเต็มบวกด้วยจานวนเต็มลบ 3. การคูณและหารจานวนเต็มลบด้วยจานวนเต็มบวก 4. การคูณและหารจานวนเต็มลบด้วยจานวนเต็มลบ
  • 2. ค่ าสั มบูรณ์ ค่ าสั มบูรณ์ ของจานวนใด ๆ คือ ระยะทางที่จานวนนั้น ๆ อยูห่างจากศูนย์ ( 0) บนเส้น ่ จานวนไม่วาจะอยูทางซ้าย หรื อทางขวาของศูนย์ ซึ่ งค่าสัมบูรณ์ของจานวนใด ๆ จะมีค่าเป็ นบวก ่ ่ เสมอ กล่าวคือ 1 มีระยะห่างจาก 0 เท่ากับ 1 หน่วย นั้นคือ ค่าสัมบูรณ์ของ 1 เท่ากับ 1 -1 มีระยะห่างจาก 0 เท่ากับ 1 หน่วย นั้นคือ ค่าสัมบูรณ์ของ -1 เท่ากับ 1 ถ้าเราจะพิจารณาบนเส้นจานวนถึงนิยามของค่าสัมบูรณ์ ก็จะเป็ นดังรู ป เราอาจจะใช้สัญลักษณ์ที่ใช้แทนค่าสัมบูรณ์ คือ | | เช่น | -3 | คือ ค่าสัมบูรณ์ของ -3 คือ 3 | 6 | คือ ค่าสัมบูรณ์ของ 6 คือ 6 โดยสรุ ปเกี่ยวกับค่าสัมบูรณ์ ถ้า กาหนดให้ a แทนจานวนใด ๆ แล้ว จากเส้นจานวนและความหมายของค่าสัมบูรณ์ ในเนื้อหาก่อนหน้านี้ จะพบว่า จานวนเต็ม ลบและจานวนเต็มบวกที่มีค่าสัมบูรณ์เท่ากัน จะอยูคนละข้างและห่างจาก 0 เท่ากัน อย่างเช่น ่ | -3 | = 3 และ | 3 | = 3 เราอาจจะกล่าวอีกนัยหนึ่งว่า -3 เป็ นจานวนตรงข้ามของ 3 และ3 เป็ นจานวน ตรงข้ามของ -3 ดังรู ป
  • 3. การดาเนินการ เกียวกับจานวนเต็มได้แก่ การบวก การลบ การคูณและการหาร ฯลฯ แต่ใน ่ ั ที่น้ ีจะกล่าวถึงการคูณและการหารจานวนเต็ม ซึ่ งเป็ นพื้นฐานสาคัญในการนาไปประยุกต์ใช้กบ บทเรี ยนอื่นๆต่อไป การคูณจานวนเต็ม เต็ม การคูณจานวนเต็มแบ่ งออกเป็ น 4 กรณีดังนี้ 1. การคูณจานวนเต็มบวกด้ วยจานวนเต็มบวก การคูณจานวนเต็มบวกด้วยจานวนเต็มบวก สามารถหาผลคูณได้โดยใช้หลักการบวก จานวนเต็มบวกดังตัวอย่างต่อไปนี้ ตัวอย่างที่ 1 จงหาผลคูณของจานวนต่ อไปนี้ 1. 25 แนวคิด 2  5  5  5  10 ( 2 คูณ 5 เกิดจากการนา 5 มาบวกกัน 2 จานวน ได้คาตอบเป็ น 10 ) 2. 3 6 แนวคิด 3 6  666  18 ( 3 คูณ 6 เกิดจากการนา 6 มาบวกกัน 3 จานวน ได้คาตอบเป็ น 18 ) 3. 57 แนวคิด 5 7  77777  35 ( 5 คูณ 7 เกิดจากการนา 7 มาบวกกัน 5 จานวน ได้คาตอบเป็ น 35 ) 4. 42 แนวคิด 4 2  2222  8 ( 4 คูณ 2 เกิดจากการนา 2 มาบวกกัน 4 จานวน ได้คาตอบเป็ น 8 ) ดังนั้น จะได้ ว่าการคูณจานวนเต็มบวกด้ วยจานวนเต็มบวกจะได้ ผลลัพธ์ เป็ นจานวนเต็ม บวกทีมีค่าสั มบูรณ์ เท่ ากับผลคูณของค่ าสั มบูรณ์ ของสองจานวนนั้น ่
  • 4. ตัวอย่างที่ 2 จงหาผลคูณของจานวนต่ อไปนี้ นาค่ าสั มบูรณ์ มาคูณกัน ผลลัพธ์ เป็ นจานวนเต็มบวก 1. 27 แนวคิด 2  7  2  7  2  7  14 การคูณจานวนเต็มบวกด้วยจานวนเต็มบวกจะได้ผลลัพธ์เป็ นจานวนเต็มบวกดังนั้น 27  14 2. 38 แนวคิด 3  8  3  8  3  8  24 การคูณจานวนเต็มบวกด้วยจานวนเต็มบวกจะได้ผลลัพธ์เป็ นจานวนเต็มบวกดังนั้น 38  24 3. 5 1 แนวคิด 5 1  5  1  5 1  5 การคูณจานวนเต็มบวกด้วยจานวนเต็มบวกจะได้ผลลัพธ์เป็ นจานวนเต็มบวกดังนั้น 5 1  5 มาทาแบบฝึ กหัดกันเถอะ แบบฝึ กหัดที่ 1 คาสั่ ง จงหาผลคูณของจานวนเต็มทีกาหนดให้ ต่อไปนี้ ่ 1. 79  2 . 10  12  3 . 14  17  4 . 11  21  5. 26  34 
  • 5. 2. การคูณจานวนเต็มบวกด้ วยจานวนเต็มลบ การคูณจานวนเต็มบวกด้วยจานวนเต็มลบ สามารถหาผลคูณได้โดยใช้หลักการบวกจานวน เต็มลบดังตัวอย่างต่อไปนี้ ตัวอย่างที่ 1 จงหาผลคูณของจานวนต่ อไปนี้ 1. 2  (  5) แนวคิด 2  (  5 )  (  5 )  (  5 )  (  10 ) ( 2 คูณ (-5) เกิดจากการนา (-5) มาบวกกัน 2 จานวน ได้คาตอบเป็ น (-10) ) 2. 3  (6) แนวคิด 3  (6)  (6)  (6)  (6)  (  18 ) ( 3 คูณ (-6) เกิดจากการนา (-6) มาบวกกัน 3 จานวน ได้คาตอบเป็ น (-18) ) 3. 5  (7) แนวคิด 5  (7)  (7)  (7)  (7)  (7)  (7)   35 ( 5 คูณ (-7) เกิดจากการนา (-7) มาบวกกัน 5 จานวน ได้คาตอบเป็ น (-35) ) 4. 4  (2) แนวคิด 4  (2)  (2)  (2)  (2)  (2)  8 ( 4 คูณ (-2) หมายถึงการนา (-2) มาบวกกัน 4 จานวน ได้คาตอบเป็ น (-8) ) ดังนั้น จะได้ ว่าการคูณจานวนเต็มบวกด้ วยจานวนเต็มลบจะได้ ผลลัพธ์ เป็ นจานวนเต็มลบ ทีมค่าสั มบูรณ์ เท่ ากับผลคูณของค่ าสั มบูรณ์ ของสองจานวนนั้น ่ ี ตัวอย่างที่ 2 จงหาผลคูณของจานวนต่ อไปนี้ นาค่ าสั มบูรณ์ มาคูณกัน ผลลัพธ์ เป็ นจานวนเต็มลบ 1. 2  (7) แนวคิด 2  (  7 )  2   7  2  7  14 การคูณจานวนเต็มบวกด้วยจานวนเต็มลบจะได้ผลลัพธ์เป็ นจานวนเต็มลบดังนั้น 2  (  7 )   14
  • 6. 2. 3  (  8) แนวคิด 3  (  8 )  3   8  3  8  24 การคูณจานวนเต็มบวกด้วยจานวนเต็มลบจะได้ผลลัพธ์เป็ นจานวนเต็มลบดังนั้น 3  (  8 )   24 3. 5  (  1) แนวคิด 5  (  1)  5   1  5  1  5 การคูณจานวนเต็มบวกด้วยจานวนเต็มลบจะได้ผลลัพธ์เป็ นจานวนเต็มลบดังนั้น 5  (  1)   5 มาทาแบบฝึ กหัดกันเถอะ แบบฝึ กหัดที่ 2 คาสั่ ง จงหาผลคูณของจานวนเต็มทีกาหนดให้ ต่อไปนี้ ่ 1. 2  (  5)  2 . 11  (  10 )  3 . 17  (  22 )  4. 29  (  16 )  5. 31  (  12 )  3. การคูณจานวนเต็มลบด้ วยจานวนเต็มบวก การคูณจานวนเต็มลบด้วยจานวนเต็มบวก สามารถหาผลคูณได้โดยใช้สมบัติการสลับที่ สาหรับการคูณ ดังตัวอย่างต่อไปนี้ ตัวอย่างที่ 1 จงหาผลคูณของจานวนต่ อไปนี้
  • 7. 1. (2)  5 แนวคิด (  2 )  5  5  (  2 )  (  2 )  (  2 )  (  2 )  (  2 )  (  2 )   10 ( (-2) คูณ 5 มีค่าเท่ากับ 5 คูณ -2 เกิดจากการนา (-2) มาบวกกัน 5 จานวน ได้คาตอบเป็ น (-10) ) 2. (  3)  6 แนวคิด (  3)  6  6  (  3)  (  3)  (  3)  (  3)  (  3)  (  3)  (  3)   18 ( (-3) คูณ 6 มีค่าเท่ากับ 6 คูณ -3 เกิดจากการนา (-3) มาบวกกัน 6 จานวน ได้คาตอบเป็ น (-18) ) 3. (  5)  7 แนวคิด (  5 )  7  7  (  5 )  (  5 )  (  5 )  (  5 )  (  5 )  (  5 )  (  5 )  (  5 )   35 ( (-5) คูณ 7 มีค่าเท่ากับ 7 คูณ -5 เกิดจากการนา (-5) มาบวกกัน 7 จานวน ได้คาตอบเป็ น (-35) ) 4. (4)  2 แนวคิด (4)  2  2  (4)  (4)  (4)   8 ่ ( (-4) คูณ 2 มีคาเท่ากับ 2 คูณ -4 เกิดจากการนา (-4) มาบวกกัน 2 จานวน ได้คาตอบเป็ น (-8) ) ดังนั้น จะได้ ว่าการคูณจานวนเต็มลบด้ วยจานวนเต็มบวกจะได้ ผลลัพธ์ เป็ นจานวนเต็มลบ ทีมค่าสั มบูรณ์ เท่ ากับผลคูณของค่ าสั มบูรณ์ ของสองจานวนนั้น ่ ี ตัวอย่างที่ 2 จงหาผลคูณของจานวนต่ อไปนี้ นาค่ าสั มบูรณ์ มาคูณกัน ผลลัพธ์ เป็ นจานวนเต็มลบ 1. (2)  7 แนวคิด (  2 )  7   2  7  2  7  14 การคูณจานวนเต็มลบด้วยจานวนเต็มบวกจะได้ผลลัพธ์เป็ นจานวนเต็มลบดังนั้น (  2 )  7   14 2. (  3)  8 แนวคิด (  3 )  8   3  8  3  8  24 การคูณจานวนเต็มลบด้วยจานวนเต็มบวกจะได้ผลลัพธ์เป็ นจานวนเต็มลบดังนั้น (  3)  8   24
  • 8. 3. (  5)  1 แนวคิด (  5)  1   5  1  5  1  5 การคูณจานวนเต็มลบด้วยจานวนเต็มบวกจะได้ผลลัพธ์เป็ นจานวนเต็มลบดังนั้น (  5)  1   5 มาทาแบบฝึ กหัดกันเถอะ แบบฝึ กหัดที่ 3 คาสั่ ง จงหาผลคูณของจานวนเต็มทีกาหนดให้ ต่อไปนี้ ่ 1. (4)  3  2. (  12 )  9  3. (  18 )  20  4. (  21 )  14  5. (  25 )  16  4. การคูณจานวนเต็มลบด้ วยจานวนเต็มลบ การคูณจานวนเต็มลบด้วยจานวนเต็มลบ พิจารณาได้ดงตัวอย่างต่อไปนี้ ั ่ ตัวอย่างที่ 1 (  2 )  (  5 ) เกิดจาก (-5) บวกกัน (-2) จานวน ซึ่ งเราไม่สามารถทราบได้วา (- 2) จานวนนั้นเป็ นอย่างไร ซึ่งสามารถพิจารณาได้จาก (  5)  5  0 (การบวกจานวนเต็ม) (  2 )  [(  5 )  5 ]  (  2 )  0 (นา -2 คูณเข้าทั้งสองข้างของสมการ) [(  2 )  (  5 )]  [(  2 )  5 ]  0 (สมบัติการแจกแจง) [(  2 )  (  5 )  (  10 )]  0 แต่เราทราบว่าถ้า 10 + (-10) = 0 แสดงว่า (  2 )  (  5 ) ต้องให้ค่าออกมาเป็ นบวก โดยใน ที่น้ ีก็คือ 10 นันเอง ่
  • 9. ่ ตัวอย่างที่ 2 (  3)  (  6 ) เกิดจาก (-6) บวกกัน (-3) จานวน ซึ่ งเราไม่สามารถทราบได้วา (- 3) จานวนนั้นเป็ นอย่างไร ซึ่งสามารถพิจารณาได้จาก (6)  6  0 (การบวกจานวนเต็ม) (  3)  [(  6 )  6 ]  (  6 )  0 (นา -3 คูณเข้าทั้งสองข้างของสมการ) [(  3)  (  6 )]  [(  3)  6 ]  0 (สมบัติการแจกแจง) [(  3)  (  6 )  (  18 )]  0 แต่เราทราบว่าถ้า 18 + (-18) = 0 แสดงว่า (  3)  (  6 ) ต้องให้ค่าออกมาเป็ นบวก โดยใน ที่น้ ีก็คือ 18 นันเอง ่ ่ ตัวอย่างที่ 3 (  5 )  (  7 ) เกิดจาก (-7) บวกกัน (-5) จานวน ซึ่ งเราไม่สามารถทราบได้วา (- 5) จานวนนั้นเป็ นอย่างไร ซึ่งสามารถพิจารณาได้จาก (7)  7  0 (การบวกจานวนเต็ม) (  5 )  [(  7 )  7 ]  (  5 )  0 (นา -5 คูณเข้าทั้งสองข้างของสมการ) [(  5 )  (  7 )]  [(  5 )  7 ]  0 (สมบัติการแจกแจง) [(  5 )  (  7 )  (  35 )]  0 แต่เราทราบว่าถ้า 35 + (-35) = 0 แสดงว่า (  5 )  (  7 ) ต้องให้ค่าออกมาเป็ นบวก โดยใน ที่น้ ีก็คือ 35 นันเอง ่ ่ ตัวอย่างที่ 4 (  4 )  (  2 ) เกิดจาก (-2) บวกกัน (-4) จานวน ซึ่ งเราไม่สามารถทราบได้วา (- 4) จานวนนั้นเป็ นอย่างไร ซึ่ งสามารถพิจารณาได้จาก (2)  2  0 (การบวกจานวนเต็ม) (  4 )  [(  7 )  7 ]  (  4 )  0 (นา -4 คูณเข้าทั้งสองข้างของสมการ) [(  4 )  (  7 )]  [(  4 )  7 ]  0 (สมบัติการแจกแจง) [(  4 )  (  7 )  (  28 )]  0 แต่เราทราบว่าถ้า 28 + (-28) = 0 แสดงว่า (  4 )  (  7 ) ต้องให้ค่าออกมาเป็ นบวก โดยใน ที่น้ ีก็คือ 28 นันเอง ่ ดังนั้น จะได้ ว่าการคูณจานวนเต็มลบด้ วยจานวนเต็มลบจะได้ ผลลัพธ์ เป็ นจานวนเต็มบวกทีมี ่ ค่ าสั มบูรณ์ เท่ ากับผลคูณของค่ าสั มบูรณ์ ของสองจานวนนั้น
  • 10. ตัวอย่างที่ 5 จงหาผลคูณของจานวนต่ อไปนี้ นาค่ าสั มบูรณ์ มาคูณกัน ผลลัพธ์ เป็ นจานวนเต็มบวก 1. (2)  (7) แนวคิด (  2 )  (  7 )   2   7  2  7  14 การคูณจานวนเต็มลบด้วยจานวนเต็มลบจะได้ผลลัพธ์เป็ นจานวนเต็มบวกดังนั้น (  2 )  (  7 )  14 2. (  3)  (  8 ) แนวคิด (  3 )  (  8 )   3   8  3  8  24 การคูณจานวนเต็มลบด้วยจานวนเต็มลบจะได้ผลลัพธ์เป็ นจานวนเต็มบวกดังนั้น (  3)  (  8 )  24 3. (  5 )  (  1) แนวคิด (  5 )  (  1)   5   1  5  1  5 การคูณจานวนเต็มลบด้วยจานวนเต็มลบจะได้ผลลัพธ์เป็ นจานวนเต็มบวกดังนั้น (  5 )  (  1)  5 มาทาแบบฝึ กหัดกันเถอะ แบบฝึ กหัดที่ 4 คาสั่ ง จงหาผลคูณของจานวนเต็มทีกาหนดให้ ต่อไปนี้ ่ 1. (  7 )  (  10 )  2. (  19 )  (  12 )  3. (  20 )  (  14 )  4. (  22 )  (  9 )  5. (  27 )  (  15 )  ข้ อสั งเกต 1. จานวนเต็มชนิดเดียวกันคูณกันได้ผลลัพธ์เป็ นจานวนเต็มบวก 2. จานวนเต็มคนละชนิดกันคูณกันได้ผลลัพธ์เป็ นจานวนเต็มลบ
  • 11. การหารจานวนเต็ม เต็ม การหารจานวนเต็มด้วยจานวนเต็มอาจเป็ นการหารลงตัวหรื อเป็ นการหารไม่ลงตัวก็ได้ แต่ ในที่น้ ีจะกล่าวถึงเฉพาะการหารลงตัวซึ่ งมีผลหารเป็ นจานวนเต็มและเศษเป็ น 0 การหารจานวนเต็มด้วยจานวนที่เป็ นการหารลงตัวเราอาศัยการคูณตามข้อตกลงดังนี้ ตัวหาร  ผลหาร = ตัวตั้ง นันคือ เมื่อ a , b และ c แทนจานวนเต็มใดๆที่ ่ b ไม่เท่ากับ 0 ถ้า a  b  c แล้ว a  b  c และ ถ้า a  b  c แล้ว a  b  c ในทางคณิ ตศาสตร์ อาจเขียนแทน a  b ด้วย a ซึ่งสามารถใช้หลักการคูณข้างต้นมาใช้ b ในการหาผลหารของจานวนเต็มได้ โดยแบ่งการหารออกเป็ น 4 กรณี ดงนี้ ั 1. การหารจานวนเต็มบวกด้ วยจานวนเต็มบวก การหารจานวนเต็มบวกด้วยจานวนเต็มบวก สามารถนาหลักการคูณจานวนเต็มบวกด้วย จานวนเต็มบวกมาใช้ได้ดงนี้ ั ตัวอย่างที่ 1 จงหาผลหารของจานวนต่ อไปนี้ 1. 16  2 แนวคิด ทาได้โดยการหาจานวนเต็มที่คูณกับ 2 แล้วมีค่าเท่ากับ 16 ซึ่ งจานวนนั้นคือ 8 ดังนั้น 16  2  8 2. 28  4 แนวคิด ทาได้โดยการหาจานวนเต็มที่คูณกับ 4 แล้วมีค่าเท่ากับ 28 ซึ่ งจานวนนั้นคือ 7 ดังนั้น 28  4  7 3. 36  6 แนวคิด ทาได้โดยการหาจานวนเต็มที่คูณกับ 6 แล้วมีค่าเท่ากับ 36 ซึ่ งจานวนนั้นคือ 6 ดังนั้น 36  6  6
  • 12. 4. 42  3 แนวคิด ทาได้โดยการหาจานวนเต็มที่คูณกับ 3 แล้วมีค่าเท่ากับ 42 ซึ่ งจานวนนั้นคือ 14 ดังนั้น 42  3  14 ดังนั้น จะได้ ว่าการหารจานวนเต็มบวกด้ วยจานวนเต็มบวกจะได้ ผลลัพธ์ เป็ นจานวนเต็ม บวกทีมีค่าสั มบูรณ์ เท่ ากับผลคูณของค่ าสั มบูรณ์ ของสองจานวนนั้น ่ ตัวอย่างที่ 2 จงหาผลคูณของจานวนต่ อไปนี้ นาค่ าสั มบูรณ์ มาคูณกัน ผลลัพธ์ เป็ นจานวนเต็มบวก 1 . 12  3 แนวคิด 12  3  12  3  4 การหารจานวนเต็มบวกด้วยจานวนเต็มบวกจะได้ผลลัพธ์เป็ นจานวนเต็มบวกดังนั้น 12  3  4 2. 39  13 แนวคิด 39  13  39  13  3 การหารจานวนเต็มบวกด้วยจานวนเต็มบวกจะได้ผลลัพธ์เป็ นจานวนเต็มบวกดังนั้น 39  13  3 3. 45  5 แนวคิด 45  5  45  5  9 การหารจานวนเต็มบวกด้วยจานวนเต็มบวกจะได้ผลลัพธ์เป็ นจานวนเต็มบวกดังนั้น 45  5  9
  • 13. มาทาแบบฝึ กหัดกันเถอะ แบบฝึ กหัดที่ 1 คาสั่ ง จงหาผลคูณของจานวนเต็มทีกาหนดให้ ต่อไปนี้ ่ 1. 88  2. 21  7  3. 81  9  4 . 168  12  5. 200  20  2. การหารจานวนเต็มบวกด้ วยจานวนเต็มลบ การหารจานวนเต็มบวกด้วยจานวนเต็มลบ สามารถนาหลักการคูณจานวนเต็มบวกด้วย จานวนเต็มลบมาใช้ได้ดงนี้ ั ตัวอย่างที่ 1 จงหาผลหารของจานวนต่ อไปนี้ 1. 16  (  2 ) แนวคิด ทาได้โดยการหาจานวนเต็มที่คูณกับ -2 แล้วมีค่าเท่ากับ 16 ซึ่ งจานวนนั้นคือ -8 ดังนั้น 16  (  2 )   8 2. 28  (  4 ) แนวคิด ทาได้โดยการหาจานวนเต็มที่คูณกับ -4 แล้วมีค่าเท่ากับ 28 ซึ่ งจานวนนั้นคือ -7 ดังนั้น 28  (  4 )   7 3. 36  (  6 ) แนวคิด ทาได้โดยการหาจานวนเต็มที่คูณกับ -6 แล้วมีค่าเท่ากับ 36 ซึ่ งจานวนนั้นคือ -6 ดังนั้น 36  (  6 )   6
  • 14. 4. 42  (  3) แนวคิด ทาได้โดยการหาจานวนเต็มที่คูณกับ -3 แล้วมีค่าเท่ากับ 42 ซึ่ งจานวนนั้นคือ -14 ดังนั้น 42  (  3)   14 ดังนั้น จะได้ ว่าการหารจานวนเต็มบวกด้ วยจานวนเต็มลบจะได้ ผลลัพธ์ เป็ นจานวนเต็มลบ ทีมค่าสั มบูรณ์ เท่ ากับผลหารของค่ าสั มบูรณ์ ของสองจานวนนั้น ่ ี ตัวอย่างที่ 2 จงหาผลคูณของจานวนต่ อไปนี้ นาค่ าสั มบูรณ์ มาคูณกัน ผลลัพธ์ เป็ นจานวนเต็มลบ 1 . 12  (  3) แนวคิด 12  (  3 )  12   3  4 การหารจานวนเต็มบวกด้วยจานวนเต็มลบจะได้ผลลัพธ์เป็ นจานวนเต็มลบดังนั้น 12  (  3)   4 2. 39  13 แนวคิด 39  (  13 )  39   13  3 การหารจานวนเต็มบวกด้วยจานวนเต็มลบจะได้ผลลัพธ์เป็ นจานวนเต็มลบดังนั้น 39  (  13 )   3 3. 45  (  5 ) แนวคิด 45  (  5 )  45   5  9 การหารจานวนเต็มบวกด้วยจานวนเต็มลบจะได้ผลลัพธ์เป็ นจานวนเต็มลบดังนั้น 45  (  5 )   9
  • 15. มาทาแบบฝึ กหัดกันเถอะ แบบฝึ กหัดที่ 2 คาสั่ ง จงหาผลหารของจานวนเต็มทีกาหนดให้ ต่อไปนี้ ่ 1. 22  (  11 )  2. 76  (  4 )  3 . 180  (  90 )  4. 360  (  18 )  5. 450  (  9 )  3. การหารจานวนเต็มลบด้ วยจานวนเต็มบวก การหารจานวนเต็มลบด้วยจานวนเต็มบวก สามารถนาหลักการคูณจานวนเต็มลบด้วย จานวนเต็มบวกมาใช้ได้ดงนี้ ั ตัวอย่างที่ 1 จงหาผลหารของจานวนต่ อไปนี้ 1. (  16 )  2 แนวคิด ทาได้โดยการหาจานวนเต็มที่คูณกับ 2 แล้วมีค่าเท่ากับ -16 ซึ่ งจานวนนั้นคือ -8 ดังนั้น (  16 )  2   8 2. (  28 )  4 แนวคิด ทาได้โดยการหาจานวนเต็มที่คูณกับ 4 แล้วมีค่าเท่ากับ -28 ซึ่ งจานวนนั้นคือ -7 ดังนั้น (  28 )  4   7 3. (  36 )  6 แนวคิด ทาได้โดยการหาจานวนเต็มที่คูณกับ 6 แล้วมีค่าเท่ากับ -36 ซึ่ งจานวนนั้นคือ -6 ดังนั้น (  36 )  6   6
  • 16. 4. (  42 )  3 แนวคิด ทาได้โดยการหาจานวนเต็มที่คูณกับ 3 แล้วมีค่าเท่ากับ -42 ซึ่ งจานวนนั้นคือ -14 ดังนั้น (  42 )  3   14 ดังนั้น จะได้ ว่าการหารจานวนเต็มลบด้ วยจานวนเต็มบวกจะได้ ผลลัพธ์ เป็ นจานวนเต็มลบ ทีมค่าสั มบูรณ์ เท่ ากับผลหารของค่ าสั มบูรณ์ ของสองจานวนนั้น ่ ี ตัวอย่างที่ 2 จงหาผลหารของจานวนต่ อไปนี้ นาค่ าสั มบูรณ์ มาคูณกัน ผลลัพธ์ เป็ นจานวนเต็มลบ 1. (  12 )  3 แนวคิด (  12 )  3   12  3  4 การหารจานวนเต็มลบด้วยจานวนเต็มบวกจะได้ผลลัพธ์เป็ นจานวนเต็มลบดังนั้น (  12 )  3   4 2. (  39 )  13 แนวคิด (  39 )  13   39  13  3 การหารจานวนเต็มลบด้วยจานวนเต็มบวกจะได้ผลลัพธ์เป็ นจานวนเต็มลบดังนั้น (  39 )  3   4 3. (  45 )  5 แนวคิด (  45 )  5   45  5  9 การหารจานวนเต็มลบด้วยจานวนเต็มบวกจะได้ผลลัพธ์เป็ นจานวนเต็มลบดังนั้น (  45 )  5   9
  • 17. มาทาแบบฝึ กหัดกันเถอะ แบบฝึ กหัดที่ 3 คาสั่ ง จงหาผลหารของจานวนเต็มทีกาหนดให้ ต่อไปนี้ ่ 1. (  42 )  6  2. (  78 )  3  3. (  130 )  10  4. (  280 )  7  5. (  325 )  25  4. การหารจานวนเต็มลบด้ วยจานวนเต็มลบ การหารจานวนเต็มลบด้วยจานวนเต็มลบ สามารถนาหลักการคูณจานวนเต็มลบด้วย จานวนเต็มลบมาใช้ได้ดงนี้ ั ตัวอย่างที่ 1 จงหาผลหารของจานวนต่ อไปนี้ 1. (  16 )  (  2 ) แนวคิด ทาได้โดยการหาจานวนเต็มที่คูณกับ -2 แล้วมีค่าเท่ากับ -16 ซึ่ งจานวนนั้นคือ 8 ดังนั้น (  16 )  (  2 )  8 2. (  28 )  (  4 ) แนวคิด ทาได้โดยการหาจานวนเต็มที่คูณกับ -4 แล้วมีค่าเท่ากับ -28 ซึ่ งจานวนนั้นคือ 7 ดังนั้น (  28 )  (  4 )  7 3. (  36 )  (  6 ) แนวคิด ทาได้โดยการหาจานวนเต็มที่คูณกับ -6 แล้วมีค่าเท่ากับ -36 ซึ่ งจานวนนั้นคือ 6 ดังนั้น (  36 )  (  6 )  6
  • 18. 4. (  42 )  (  3) แนวคิด ทาได้โดยการหาจานวนเต็มที่คูณกับ -3 แล้วมีค่าเท่ากับ -42 ซึ่ งจานวนนั้นคือ 14 ดังนั้น (  42 )  (  3)  14 ดังนั้น จะได้ ว่าการหารจานวนเต็มลบด้ วยจานวนเต็มลบจะได้ ผลลัพธ์ เป็ นจานวนเต็มบวก ทีมค่าสั มบูรณ์ เท่ ากับผลหารของค่ าสั มบูรณ์ ของสองจานวนนั้น ่ ี ตัวอย่างที่ 2 จงหาผลคูณของจานวนต่ อไปนี้ นาค่ าสั มบูรณ์ มาคูณกัน ผลลัพธ์ เป็ นจานวนเต็มบวก 1. (  12 )  (  3 ) แนวคิด (  12 )  (  3 )   12   3  4 การหารจานวนเต็มลบด้วยจานวนเต็มลบจะได้ผลลัพธ์เป็ นจานวนเต็มบวกดังนั้น (  12 )  (  3)  4 2. (  39 )  (  13 ) แนวคิด (  39 )  (  13 )   39   13  3 การหารจานวนเต็มลบด้วยจานวนเต็มลบจะได้ผลลัพธ์เป็ นจานวนเต็มบวกดังนั้น (  39 )  (  13 )  3 3. (  45 )  (  5 ) แนวคิด (  45 )  (  5 )   45   5  9 การหารจานวนเต็มลบด้วยจานวนเต็มลบจะได้ผลลัพธ์เป็ นจานวนเต็มบวกดังนั้น (  45 )  (  5)  9
  • 19. มาทาแบบฝึ กหัดกันเถอะ แบบฝึ กหัดที่ 4 คาสั่ ง จงหาผลหารของจานวนเต็มทีกาหนดให้ ต่อไปนี้ ่ 1. (  19 )  (  1)  2. (  64 )  (  8 )  3. (  225 )  (  15 )  4. (  300 )  (  10 )  5. (  540 )  (  12 )  ข้ อสั งเกต 1. จานวนเต็มชนิดเดียวกันหารกันได้ผลลัพธ์เป็ นจานวนเต็มบวก 2. จานวนเต็มคนละชนิดกันหารกันได้ผลลัพธ์เป็ นจานวนเต็มลบ
  • 20. จงหาผลคูณของจานวนต่ อไปนี้ 1. 16 × 9 = …………………………….. 2. 30 × 14 = …………………………….. 3. (-5) × 9 = …………………………….. 4. 12 × (-9) = …………………………….. 5. (-25) × 5 = …………………………….. 6. 14 × (-3) = …………………………….. 7. (-8) × (-21) = …………………………….. 8. (-30) × (-6) = …………………………….. 9. (-15) × 30 = …………………………….. 10. 30× (-12) = …………………………….. 11. [(-6) × (-5)] × 4 = …………………………….. 12. (-2) × [5× (-6)] = …………………………….. 13. (-11) × [(-3) × (-10)] = …………………………….. 14. (-6) × [(-8) ×5] = …………………………….. 15. [16 × (-2)] × (-5) = ……………………………..
  • 21. จงหาผลหารของจานวนต่ อไปนี้ 1) 15  (-3) = …………………………….. 2) (-7)  7 = …………………………….. 3) (-19)  1 = …………………………….. 4) 30  (-5) = …………………………….. 5) (-18)  (-3) = …………………………….. 6) 50  (-2) = …………………………….. 7) (-36 )  (-12) = …………………………….. 8) (-90)  (-3) = …………………………….. 9) (-162)  (-81) = …………………………….. 10) 144  (-12) = …………………………….. 11) (-200)  20 = …………………………….. 12) (-500)  (-5) = …………………………….. 13) (-550)  11 = …………………………..… 14) (-441)  21 = …………………………….. 15) (-1000)  100 = ……………………………..