SlideShare una empresa de Scribd logo
1 de 18
Descargar para leer sin conexión
Introduction to technologies
and education media
ความหมายของเทคโนโลยี
“เทคโนโลยี” หมายถึง การนาแนวคิด หลักการ เทคนิค วิธีการ กระบวนการ ตลอดจน
ผลิตผลทางวิทยาศาสตร์มาประยุกต์ใช้ในระบบงานต่างๆ เพื่อปรับปรุงระบบงานนั้นๆ ให้ดีขึ้น
และมีประสิทธิภาพยิ่งขึ้น ตลอดจนเพื่อแก้ปัญหาในการปฏิบัติงาน เทคโนโลยีจะเอื้ออานวยใน
ด้านต่างๆ ดังนี้จะเอื้ออานวยในด้านต่างๆ ดังนี้
1. ประสิทธิภาพ (Efficiency) เทคโนโลยีจะช่วยให้การทางานนั้นถูกต้องและรวดเร็ว มีปริมาณ
ผลผลิตที่เพิ่มมากขึ้นภายใต้ทรัพยากรที่ถูกใช้อย่างจากัด
2. ประสิทธิผล (Effectiveness) เทคโนโลยีจะช่วยให้การทางานบรรลุผลตามเป้ าหมายที่
กาหนดไว้อย่างมีคุณภาพ
3. ประหยัด (Economy) จะช่วยประหยัดเวลา ทรัพยากร และก่อให้เกิดประโยชน์สูงสุด ทาให้
ราคาของผลิตผลนั้นถูกลง
4. ปลอดภัย (Safety) เป็นระบบการทางานที่ส่งผลให้เกิดความปลอดภัยเพิ่มขึ้น
สื่อการศึกษา
“สื่อ” คือสิ่งที่นาสารจากผู้ส่งสารไปยังผู้รับสาร สื่อการศึกษาจึงหมายถึงสิ่งที่ใช้
เป็นตัวถ่ายถอดสารของผู้ส่งสารในด้านวิชาการ ด้านความรู้ ด้านการศึกษาหรือการ
เรียนการสอนไปยังผู้รับสาร
ในช่วงที่เทคโนโลยียังไม่เจริญก้าวหน้ามากนัก ทาให้ไม่มีความหลากหลายใน
การสร้างสื่อการศึกษาอาจเป็นเหตุให้ประสิทธิภาพและประสิทธิผลในการเรียนการ
สอนยังไม่ดีเท่าที่ควร ทั้งนี้ยังรวมไปถึงการใช้เวลาในการเรียนสอนผ่านสื่อนั้นๆมากไป
ไม่หยัดเวลาและตัวสื่อก็มีราคาในการผลิตสูง แต่ในช่วงที่เทคโนโลยีมีความ
เจริญก้าวหน้า ก็ทาให้มีความหลากหลายในการใช้สื่อการศึกษา ทาให้การเรียนการ
สอนมีประสิทธิภาพและประสิทธิผล ทั้งหยัดประหยัดทั้งในด้านเวลาและค่าใช้จ่ายใน
การทาสื่อ อีกทั้งยังส่งเสริมความปลอดภัยในระบบการทางาน
พัฒนาการทางเทคโนโลยีทางการศึกษาในช่วงยุคต่างๆ
ยุค/สมัย พัฒนาการ
กลุ่มโซฟิสต์
(ปลายศตวรรษ
ที่ 5)
ชาวกรีกโบราณ ได้ใช้วัสดุในการสอนประวัติศาสตร์ และ
หน้าที่พลเมือง ด้วยการแสดงละครเพื่อสร้างเจตคติทางจรรยา
และการเมือง ใช้ดนตรีเพื่อสร้างอารมณ์ โดยเฉพาะอย่างยิ่ง
การศึกษาของชาวกรีก และโรมันโบราณ ยังได้ย้าถึง
ความสาคัญของการศึกษานอกสถานที่ด้วย
การสอนศิลปวิจักษ์ ในสมัยนั้นได้ใช้รูปปั้น และแกะสลักช่วย
สอนแล้ว คนสาคัญ ๆ ของกรีกและโรมันสมัยนั้น ต่างเห็น
ความสาคัญของทัศนวัสดุในการสอน ว่าทัศนวัสดุช่วยการ
ปาฐกถาได้มาก
ยุค/สมัย พัฒนาการ
โจฮัน อะมอส
คอมินิอุส (ค.ศ.
1592 - 1670)
ทฤษฎีกลุ่ม
พฤติกรรมนิยม
ทฤษฎีกลุ่ม
พุทธิปัญญา
นิยม
เป็นผู้ใช้วัสดุ สิ่งของที่เป็นจริงและรูปภาพเข้ามาช่วยในการ
สอนอย่างจริงจัง จนได้รับเกียรติว่าเป็นบิดาแห่งโสตทัศนศึกษา
งานที่โดดเด่นในช่วงนี้เช่น สกินเนอร์ ธอร์นไดค์ เป็นที่มา
ของวิธีระบบ (Symtematic approach) ในลักษณะการออกแบบ
เชิงเส้น ที่เน้นลาดับขั้นตอนในการเรียนรู้
ทฤษฎีประมวลสารสนเทศ ได้รับความนิยมมาก เน้นการ
ออกแบบที่เชื่อมโยงถึงกระบวนการทางพุทธิปัญญาที่ให้ผู้เรียน
สามารถประมวลผลสารสนเทศที่ได้รับเข้าไปเก็บไว้อย่างเป็น
ระบบในหน่วยความจา และเรียกกลับมาใช้ได้โดยไม่ลืม
ยุค/สมัย พัฒนาการ
ทฤษฎีคอน
สตรัคติวิสต์
ปัจจุบันได้รับความนิยมอย่างมาก แนวคิดของทฤษฎีนี้คือ
ความรู้ไม่สามารถส่งผ่านไปสู่ผู้เรียนได้ แต่ผู้เรียนต้องสร้างความรู้
ขึ้นด้วยตนเองในบริบทของสังคม มีปฏิสัมพันธ์กับสิ่งแวดล้อมที่
เป็นสภาพจริง
องค์ประกอบขอบข่ายของเทคโนโลยีทางการศึกษาว่ามีความสาคัญต่อ
การจัดการศึกษาในยุคปัจจุบันดังนี้
1.การออกแบบ (Design) เป็นขอบข่ายที่แสดงให้เห็นถึงกรอบหรือโครงร่างที่
แสดงความเชื่อมโยงระหว่างหลักการและทฤษฎีพื้นฐานต่างๆ ที่จะนาไปสร้างและ
พัฒนางานทางด้านเทคโนโลยีและสื่อการศึกษาอย่างเป็นรูปธรรมในการออกแบบงาน
ทางเทคโนโลยีการศึกษามี 4 ด้าน คือ
-การออกแบบระบบการสอน เป็นการกาหนดระบบการสอนทั้งหมด รวมทั้งการจัด
ระเบียบของกระบวนการ ขั้นตอน ที่หลอมรวมทั้งขั้นการวิเคราะห์ การออกแบบ การ
พัฒนา การนาไปใช้และการประเมินการเรียนการสอน
-การออกแบบสาร เป็นการวางแผนสาหรับจัดกระทากับสารในทางกายภาพ ที่จะให้
ผู้เรียนรับรู้ ใส่ใจ และเรียกสารกลับมาใช้ได้เมื่อต้องการ
-กลยุทธ์การสอน เป็นการระบุการเลือก และลาดับเหตุการณ์ ตลอดจนกิจกรรมการ
เรียนรู้สาหรับบทเรียน
-คุณลักษณะของผู้เรียน เป็นสิ่งสาคัญในการออกแบบที่ต้องคานึงถึงพื้นฐาน
ประสบการณ์เดิมของผู้เรียน ความแตกต่างของผู้เรียน เช่น เพศ อายุ รูปแบบการเรียน
ฯลฯ ซึ่งจะส่งผลต่อประสิทธิภาพในการออกแบบ
2.การพัฒนา (Development) เป็นขอบข่ายของการสร้างผลิตภัณฑ์ในรูปแบบ
ของสื่อต่างๆโดยนาพื้นฐานที่ได้ออกมาพัฒนาเป็นสื่อที่อาศัยคุณลักษณะของสื่อต่างๆ
คือ เทคโนโลยีสิ่งพิมพ์ เทคโนโลยีด้านโสตทัศน์ เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์ และเทคโนโลยี
บูรณาการ
3.การใช้ (Utilization) เป็นขอบข่ายที่เกี่ยวข้องกับรูปแบบการนาสื่อที่พัฒนา
แล้วไปใช้อย่างมีประสิทธิภาพ ซึ่งจะต้องคานึงถึงความง่ายในการใช้งานระหว่างผู้เรียน
และสื่อการเรียนการสอน หรือระบบที่เกี่ยวข้อง การใช้นั้นเป็นการปฏิบัติที่เกี่ยวข้องกับ
กระบวนการใช้และทรัพยากรในการเรียนรู้ ซึ่งต้องการเกี่ยวกับระบบการใช้ นโยบาย
กฎ ระเบียบ รวมทั้งการแพร่กระจายนวัตกรรมไปสู่การใช้ที่แพร่หลาย
4.การจัดการ (Management) เป็นขอบข่ายหลักสาคัญของสาขาเทคโนโลยี
การศึกษา เพราะจะต้องเกี่ยวข้องกับการบริหารจัดการแหล่งการเรียนรู้ ที่จะต้องนาไป
สนับสนุนในทุกๆขอบข่าย ซึ่งจะต้องมีการจัดระเบียบและแนะนา หรือการจัดการ
ทรัพยากรทางการเรียนรู้ ซึ่งประกอบด้วยการจัดการในด้านต่างๆคือ การจัดการ
โครงการ การจัดการทรัพยากร การจัดการระบบขนส่ง และการจัดการสารสนเทศ
5.การประเมิน (Evaluation) ขอบข่ายด้านนี้จะเกี่ยวข้องกับการประเมินเพื่อ
ปรับปรุง (Formative Evaluation) ในการประเมินนั้นจะมุ่งเน้นการประเมินทั้ง
กระบวนการและผลิตภัณฑ์เพื่อแสดงให้เห็นถึงประสิทธิภาพ ตลอดทั้งคุณภาพของสื่อ
ที่ออกแบบขึ้นมา
จากข้อความที่กล่าวข้างต้นจะเห็นว่าสิ่งที่กล่าวมีความจาเป็นอย่างยิ่งที่ควรจะ
เรียนรู้และนาไปใช้ไปปรับปรุงในการเรียนการสอน ไม่ว่าจะเป็นเรื่องในชั้นเรียนซึ่งได้แก่
ระบบการสอน แบบสาร กลยุทธ์การสอน คุณลักษณะของผู้เรียน ซึ่งสิ่งต่างๆเหล่านี้
ควรจะปรับไปตามสภาพแวดล้อมในชั้นเรียนในปัจจุบัน
เรื่องสื่อการเรียนการสอนก็มีความสาคัญสภาพในชั้นเป็นอย่างไรก็ควรเลือกใช้
สื่อให้เหมาะสม และใช้ให้เป็นเพื่อประโยชน์สูงสุดในการเรียนการสอน เรื่องการจัดการ
ก็มีความสาคัญควรจัดการบริหารในเรื่องที่เกี่ยวข้องให้เหมาะสมตามสภาพทรัพยากร
ในปัจจุบันสุดท้ายการประเมินก็มีความสาคัญไม่ต่างจากเรื่องอื่นเพราะจะเป็นตัว
ตรวจสอบแก้ไขปัญหาปรับปรุงให้ดีขึ้นหากขาดการประเมินก็จะไม่สามารถทราบถึง
จุดบกพร่อง อาจทาให้การเรียนการสอนไม่เจริญขึ้นจากเดิม
Educational Technology และ Instructional Technology
 ความเหมือนระหว่าง Educational Technology และ Instructional
Technology คือ เป็นการนาเทคโนโลยีมาใช้ในการพัฒนาระบบการศึกษา
ให้มีประสิทธิภาพเพิ่มขึ้น มีการออกแบบ เลือก นามาใช้ และมีการประเมิน
ของแหล่งเรียนรู้ เพื่อการเรียนรู้เหมือนกัน
 ความแตกต่างระหว่าง Educational Technology และ Instructional
Technology คือ Educational Technology จะใช้เป็นส่วนหนึ่งของ
Education ซึ่งเกี่ยวกับการแก้ไขปัญหาการเรียนรู้ผ่านกระบวนการที่ซับซ้อน
และสัมพันธ์กัน โดยจากัดการเรียนรู้ผ่านทางสื่อมวลชน ระบบสนับสนุนการ
เรียนการสอนและระบบการจัดการเท่านั้นTechnology Education หมายถึง
การใช้เทคโนโลยีที่สนับสนุนระบบการศึกษา ขณะที่ Instructional
Technology จะเป็นส่วนหนึ่งของ Educational Technology ซึ่งใช้หลักการ
เรียนที่มีจุดประสงค์และการควบคุมอย่างเป็นระบบ
 ความสัมพันธ์ระหว่าง Educational Technology และ Instructional
Technology คือ Instructional Technology จะเป็นส่วนหนึ่งของ
Educational Technology เพราะ Educational Technology จะ
ครอบคลุมถึงการเรียนรู้ในสภาพแวดล้อมที่หลากหลายกว่า ส่วน
Instructional Technology จะมีความหมายแค่สภาพแวดล้อมในโรงเรียน
เท่านั้น
การใช้คอมพิวเตอร์เป็นสื่อการเรียนรู้ รูปแบบคอมพิวเตอร์ที่ใช้เป็น
สื่อการเรียนรู้คอมพิวเตอร์ช่วยสอน คือ สื่อการเรียนการสอนรูปแบบหนึ่งที่
ใช้คอมพิวเตอร์เป็นเครื่องมือในการนาเสนอเนื้อหาบทเรียน นิยมเรียกสั้นๆ
ว่า CAI (Computer Assisted Instruction)
โดยมีเป้ าหมายที่สาคัญ คือ
 สามารถดึงดูดความสนใจของผู้เรียน
 กระตุ้นให้ผู้เรียนเกิดความต้องการที่จะเรียนรู้
 สามารถตอบสนองความแตกต่างของผู้เรียนได้เป็นอย่างดี
 สามารถประเมินและตรวจสอบความเข้าใจของผู้เรียนได้ตลอดเวลา
การประยุกต์ความรู้เกี่ยวกับเทคโนโลยีทางการศึกษา
มาใช้แก้ปัญหาเกี่ยวกับการเรียนรู้ในยุคปฏิรูปการเรียนรู้
อย่างเป็นรูปธรรมได้ดังนี้
1. -การใช้คอมพิวเตอร์เป็นสื่อการสอนโดยตรง เช่น การฉายเนื้อหา
ประกอบการบรรยาย คอมพิวเตอร์สามารถทาหน้าที่แทนสื่อต่างๆ เช่น
แผ่นใส ภาพนิ่ง
-การใช้คอมพิวเตอร์เป็นเครื่องมือในการออกแบบสื่อการเรียนการสอน
เช่น การออกแบบสื่อสิ่งพิมพ์มากที่เป็นเอกสารหนังสือ วารสาร
โปสเตอร์ ชุดไมโครซอฟท์ออฟฟิต
-การใช้คอมพิวเตอร์เป็นเครื่องมือการค้นคว้าเพื่อการเรียนรู้ทั่วไป
ทาให้ผู้เรียนเกิดการ
- คิดอย่างมีเหตุผล คือ การเรียนการสอนจะเป็นในแง่ฝึกหัดให้ผู้เรียนเกิด
การเรียนรู้เอง
- รู้จักแสวงหาความรู้ด้วยตนเอง
- ตัดสินใจได้ด้วยตนเอง
- ยอมรับและนับถือตนเอง
- รู้จักรับผิดชอบตนเอง
- มีพฤติกรรมซื่อสัตย์ต่อตน
นอกจากนี้ยังมีเทคโนโลยีทางการศึกษาอื่นๆ ได้แก่
• วิทยุกระจายเสียงเพื่อการศึกษา
• วิทยุโรงเรียน
• โทรทัศน์เพื่อการศึกษา
การสอนทางไกลผ่านดาวเทียม

Más contenido relacionado

Destacado

Bengkel Slideshow (Microsoft Powerpoint)
Bengkel Slideshow (Microsoft Powerpoint)Bengkel Slideshow (Microsoft Powerpoint)
Bengkel Slideshow (Microsoft Powerpoint)
Jazmi Jamal
 
human computer interface
human computer interfacehuman computer interface
human computer interface
Santosh Kumar
 
Introduction To Multimedia
Introduction To MultimediaIntroduction To Multimedia
Introduction To Multimedia
Jomel Penalba
 
Introduction to multimedia
Introduction to multimediaIntroduction to multimedia
Introduction to multimedia
Zurina Yasak
 
AdAge Digital 2010 6 Foundations of Great Digital Creative
AdAge Digital 2010 6 Foundations of Great Digital CreativeAdAge Digital 2010 6 Foundations of Great Digital Creative
AdAge Digital 2010 6 Foundations of Great Digital Creative
Soap Creative
 

Destacado (19)

Multi-Touch technologies: Software, tracking and functions
Multi-Touch technologies: Software, tracking and functionsMulti-Touch technologies: Software, tracking and functions
Multi-Touch technologies: Software, tracking and functions
 
Kepentingan Sejarah Lisan Dalam Digital Untuk Menyampaikan Silibus Persembaha...
Kepentingan Sejarah Lisan Dalam Digital Untuk Menyampaikan Silibus Persembaha...Kepentingan Sejarah Lisan Dalam Digital Untuk Menyampaikan Silibus Persembaha...
Kepentingan Sejarah Lisan Dalam Digital Untuk Menyampaikan Silibus Persembaha...
 
Seni Persembahan New Media : Peranan dan Pengurusan Multimedia
Seni Persembahan New Media : Peranan dan Pengurusan MultimediaSeni Persembahan New Media : Peranan dan Pengurusan Multimedia
Seni Persembahan New Media : Peranan dan Pengurusan Multimedia
 
Multimedia learning environment
Multimedia learning environmentMultimedia learning environment
Multimedia learning environment
 
SE - System Models
SE - System ModelsSE - System Models
SE - System Models
 
Multi-Touch Tangible Interface; HCI trends, projects, and development
Multi-Touch Tangible Interface; HCI trends, projects, and developmentMulti-Touch Tangible Interface; HCI trends, projects, and development
Multi-Touch Tangible Interface; HCI trends, projects, and development
 
introduction to multimedia
introduction to multimediaintroduction to multimedia
introduction to multimedia
 
Multi-touch Technologies; Hardware and Optical Tracking Techniques
Multi-touch Technologies; Hardware and Optical Tracking TechniquesMulti-touch Technologies; Hardware and Optical Tracking Techniques
Multi-touch Technologies; Hardware and Optical Tracking Techniques
 
Bengkel Slideshow (Microsoft Powerpoint)
Bengkel Slideshow (Microsoft Powerpoint)Bengkel Slideshow (Microsoft Powerpoint)
Bengkel Slideshow (Microsoft Powerpoint)
 
Introduction to Digital Media and Multimedia elements
Introduction to Digital Media and Multimedia elementsIntroduction to Digital Media and Multimedia elements
Introduction to Digital Media and Multimedia elements
 
Introduction to multimedia
Introduction to multimediaIntroduction to multimedia
Introduction to multimedia
 
Human computer interaction
Human  computer interactionHuman  computer interaction
Human computer interaction
 
human computer interface
human computer interfacehuman computer interface
human computer interface
 
Multimedia ppt
Multimedia pptMultimedia ppt
Multimedia ppt
 
Introduction To Multimedia
Introduction To MultimediaIntroduction To Multimedia
Introduction To Multimedia
 
Chapter 1 : INTRODUCTION TO MULTIMEDIA
Chapter 1 : INTRODUCTION TO MULTIMEDIAChapter 1 : INTRODUCTION TO MULTIMEDIA
Chapter 1 : INTRODUCTION TO MULTIMEDIA
 
Introduction to multimedia
Introduction to multimediaIntroduction to multimedia
Introduction to multimedia
 
AdAge Digital 2010 6 Foundations of Great Digital Creative
AdAge Digital 2010 6 Foundations of Great Digital CreativeAdAge Digital 2010 6 Foundations of Great Digital Creative
AdAge Digital 2010 6 Foundations of Great Digital Creative
 
multimedia element
multimedia elementmultimedia element
multimedia element
 

Similar a Intruction to technologies and education media

Introduction to technologies and educational media
Introduction to technologies and educational mediaIntroduction to technologies and educational media
Introduction to technologies and educational media
Bunsasi
 
หน่วยการเรียนรู้ที่ 6 การสร้างสิ่งของเครื่องใช้ตามกระบวนการทางเทคโนโลยี
หน่วยการเรียนรู้ที่ 6 การสร้างสิ่งของเครื่องใช้ตามกระบวนการทางเทคโนโลยี หน่วยการเรียนรู้ที่ 6 การสร้างสิ่งของเครื่องใช้ตามกระบวนการทางเทคโนโลยี
หน่วยการเรียนรู้ที่ 6 การสร้างสิ่งของเครื่องใช้ตามกระบวนการทางเทคโนโลยี
lukhamhan school
 
ความหมาย พัฒนาการ และขอบข่ายของเทคโนโลยีการศึกษา
ความหมาย พัฒนาการ และขอบข่ายของเทคโนโลยีการศึกษาความหมาย พัฒนาการ และขอบข่ายของเทคโนโลยีการศึกษา
ความหมาย พัฒนาการ และขอบข่ายของเทคโนโลยีการศึกษา
Nisachol Poljorhor
 
ความหมาย พัฒนาการ และขอบข่ายของเทคโนโลยีการศึกษา
ความหมาย พัฒนาการ และขอบข่ายของเทคโนโลยีการศึกษาความหมาย พัฒนาการ และขอบข่ายของเทคโนโลยีการศึกษา
ความหมาย พัฒนาการ และขอบข่ายของเทคโนโลยีการศึกษา
Nisachol Poljorhor
 
1เทคโนโลยีนวัตกรรมและสื่อการศึกษา
1เทคโนโลยีนวัตกรรมและสื่อการศึกษา1เทคโนโลยีนวัตกรรมและสื่อการศึกษา
1เทคโนโลยีนวัตกรรมและสื่อการศึกษา
a35974185
 
เทคโนโลนีนวัตกรรมและสื่อการศึกษาใหม่
เทคโนโลนีนวัตกรรมและสื่อการศึกษาใหม่เทคโนโลนีนวัตกรรมและสื่อการศึกษาใหม่
เทคโนโลนีนวัตกรรมและสื่อการศึกษาใหม่
snxnuux
 
เทคโนโลยีนวัตกรรมและสื่อการศึกษา
เทคโนโลยีนวัตกรรมและสื่อการศึกษาเทคโนโลยีนวัตกรรมและสื่อการศึกษา
เทคโนโลยีนวัตกรรมและสื่อการศึกษา
jeerawan_l
 
เทคโนโลยีนวัตกรรมและสื่อการศึกษา_jeerawan
เทคโนโลยีนวัตกรรมและสื่อการศึกษา_jeerawanเทคโนโลยีนวัตกรรมและสื่อการศึกษา_jeerawan
เทคโนโลยีนวัตกรรมและสื่อการศึกษา_jeerawan
jeerawan_l
 

Similar a Intruction to technologies and education media (20)

เทคโนโลยีสมัยใหม่
เทคโนโลยีสมัยใหม่เทคโนโลยีสมัยใหม่
เทคโนโลยีสมัยใหม่
 
เทคโนโลยีสมัยใหม่
เทคโนโลยีสมัยใหม่เทคโนโลยีสมัยใหม่
เทคโนโลยีสมัยใหม่
 
Chapter1
Chapter1Chapter1
Chapter1
 
Chapter1
Chapter1Chapter1
Chapter1
 
Ppt chapter1
Ppt chapter1Ppt chapter1
Ppt chapter1
 
งานนำเสนอวิชานวัตกรรม
งานนำเสนอวิชานวัตกรรมงานนำเสนอวิชานวัตกรรม
งานนำเสนอวิชานวัตกรรม
 
Chapter1
Chapter1Chapter1
Chapter1
 
Introduction to technologies and educational media
Introduction to technologies and educational mediaIntroduction to technologies and educational media
Introduction to technologies and educational media
 
หน่วยการเรียนรู้ที่ 6 การสร้างสิ่งของเครื่องใช้ตามกระบวนการทางเทคโนโลยี
หน่วยการเรียนรู้ที่ 6 การสร้างสิ่งของเครื่องใช้ตามกระบวนการทางเทคโนโลยี หน่วยการเรียนรู้ที่ 6 การสร้างสิ่งของเครื่องใช้ตามกระบวนการทางเทคโนโลยี
หน่วยการเรียนรู้ที่ 6 การสร้างสิ่งของเครื่องใช้ตามกระบวนการทางเทคโนโลยี
 
Part1 math sec.2
Part1 math sec.2Part1 math sec.2
Part1 math sec.2
 
ความหมาย พัฒนาการ และขอบข่ายของเทคโนโลยีการศึกษา
ความหมาย พัฒนาการ และขอบข่ายของเทคโนโลยีการศึกษาความหมาย พัฒนาการ และขอบข่ายของเทคโนโลยีการศึกษา
ความหมาย พัฒนาการ และขอบข่ายของเทคโนโลยีการศึกษา
 
ความหมาย พัฒนาการ และขอบข่ายของเทคโนโลยีการศึกษา
ความหมาย พัฒนาการ และขอบข่ายของเทคโนโลยีการศึกษาความหมาย พัฒนาการ และขอบข่ายของเทคโนโลยีการศึกษา
ความหมาย พัฒนาการ และขอบข่ายของเทคโนโลยีการศึกษา
 
201700 : Chapter 1
201700 : Chapter 1201700 : Chapter 1
201700 : Chapter 1
 
Chapter1 เทคโนโลยีนวัตกรรม และสื่อการศึกษา
Chapter1 เทคโนโลยีนวัตกรรม และสื่อการศึกษาChapter1 เทคโนโลยีนวัตกรรม และสื่อการศึกษา
Chapter1 เทคโนโลยีนวัตกรรม และสื่อการศึกษา
 
1เทคโนโลยีนวัตกรรมและสื่อการศึกษา
1เทคโนโลยีนวัตกรรมและสื่อการศึกษา1เทคโนโลยีนวัตกรรมและสื่อการศึกษา
1เทคโนโลยีนวัตกรรมและสื่อการศึกษา
 
เทคโนโลนีนวัตกรรมและสื่อการศึกษาใหม่
เทคโนโลนีนวัตกรรมและสื่อการศึกษาใหม่เทคโนโลนีนวัตกรรมและสื่อการศึกษาใหม่
เทคโนโลนีนวัตกรรมและสื่อการศึกษาใหม่
 
เทคโนโลยีนวัตกรรมและสื่อการศึกษา
เทคโนโลยีนวัตกรรมและสื่อการศึกษาเทคโนโลยีนวัตกรรมและสื่อการศึกษา
เทคโนโลยีนวัตกรรมและสื่อการศึกษา
 
เทคโนโลยีนวัตกรรมและสื่อการศึกษา_jeerawan
เทคโนโลยีนวัตกรรมและสื่อการศึกษา_jeerawanเทคโนโลยีนวัตกรรมและสื่อการศึกษา_jeerawan
เทคโนโลยีนวัตกรรมและสื่อการศึกษา_jeerawan
 
นำเสนอ Chapter1 กลุ่ม EDK2BN
นำเสนอ Chapter1 กลุ่ม EDK2BNนำเสนอ Chapter1 กลุ่ม EDK2BN
นำเสนอ Chapter1 กลุ่ม EDK2BN
 
Chapter1
Chapter1Chapter1
Chapter1
 

Más de Kik Nookoogkig

งานแปลออซูเบล
งานแปลออซูเบลงานแปลออซูเบล
งานแปลออซูเบล
Kik Nookoogkig
 
มุมมองทางจิตวิทยาที่เกี่ยงข้องกับเทคโนโลยีและสื่อการศึกษา
มุมมองทางจิตวิทยาที่เกี่ยงข้องกับเทคโนโลยีและสื่อการศึกษามุมมองทางจิตวิทยาที่เกี่ยงข้องกับเทคโนโลยีและสื่อการศึกษา
มุมมองทางจิตวิทยาที่เกี่ยงข้องกับเทคโนโลยีและสื่อการศึกษา
Kik Nookoogkig
 
Chapter 2 นวัตกรรม
Chapter 2 นวัตกรรมChapter 2 นวัตกรรม
Chapter 2 นวัตกรรม
Kik Nookoogkig
 

Más de Kik Nookoogkig (11)

Chapter 10
Chapter 10Chapter 10
Chapter 10
 
Chapter 9
Chapter 9Chapter 9
Chapter 9
 
Chapter 7
Chapter 7Chapter 7
Chapter 7
 
Chapter6
Chapter6 Chapter6
Chapter6
 
Chapter 5
Chapter 5Chapter 5
Chapter 5
 
Chapter 5
Chapter 5Chapter 5
Chapter 5
 
Chapter 4
Chapter 4Chapter 4
Chapter 4
 
งานแปลออซูเบล
งานแปลออซูเบลงานแปลออซูเบล
งานแปลออซูเบล
 
มุมมองทางจิตวิทยาที่เกี่ยงข้องกับเทคโนโลยีและสื่อการศึกษา
มุมมองทางจิตวิทยาที่เกี่ยงข้องกับเทคโนโลยีและสื่อการศึกษามุมมองทางจิตวิทยาที่เกี่ยงข้องกับเทคโนโลยีและสื่อการศึกษา
มุมมองทางจิตวิทยาที่เกี่ยงข้องกับเทคโนโลยีและสื่อการศึกษา
 
Chapter 2 นวัตกรรม
Chapter 2 นวัตกรรมChapter 2 นวัตกรรม
Chapter 2 นวัตกรรม
 
Part 1
Part 1Part 1
Part 1
 

Intruction to technologies and education media

  • 2. ความหมายของเทคโนโลยี “เทคโนโลยี” หมายถึง การนาแนวคิด หลักการ เทคนิค วิธีการ กระบวนการ ตลอดจน ผลิตผลทางวิทยาศาสตร์มาประยุกต์ใช้ในระบบงานต่างๆ เพื่อปรับปรุงระบบงานนั้นๆ ให้ดีขึ้น และมีประสิทธิภาพยิ่งขึ้น ตลอดจนเพื่อแก้ปัญหาในการปฏิบัติงาน เทคโนโลยีจะเอื้ออานวยใน ด้านต่างๆ ดังนี้จะเอื้ออานวยในด้านต่างๆ ดังนี้ 1. ประสิทธิภาพ (Efficiency) เทคโนโลยีจะช่วยให้การทางานนั้นถูกต้องและรวดเร็ว มีปริมาณ ผลผลิตที่เพิ่มมากขึ้นภายใต้ทรัพยากรที่ถูกใช้อย่างจากัด 2. ประสิทธิผล (Effectiveness) เทคโนโลยีจะช่วยให้การทางานบรรลุผลตามเป้ าหมายที่ กาหนดไว้อย่างมีคุณภาพ 3. ประหยัด (Economy) จะช่วยประหยัดเวลา ทรัพยากร และก่อให้เกิดประโยชน์สูงสุด ทาให้ ราคาของผลิตผลนั้นถูกลง 4. ปลอดภัย (Safety) เป็นระบบการทางานที่ส่งผลให้เกิดความปลอดภัยเพิ่มขึ้น
  • 3. สื่อการศึกษา “สื่อ” คือสิ่งที่นาสารจากผู้ส่งสารไปยังผู้รับสาร สื่อการศึกษาจึงหมายถึงสิ่งที่ใช้ เป็นตัวถ่ายถอดสารของผู้ส่งสารในด้านวิชาการ ด้านความรู้ ด้านการศึกษาหรือการ เรียนการสอนไปยังผู้รับสาร ในช่วงที่เทคโนโลยียังไม่เจริญก้าวหน้ามากนัก ทาให้ไม่มีความหลากหลายใน การสร้างสื่อการศึกษาอาจเป็นเหตุให้ประสิทธิภาพและประสิทธิผลในการเรียนการ สอนยังไม่ดีเท่าที่ควร ทั้งนี้ยังรวมไปถึงการใช้เวลาในการเรียนสอนผ่านสื่อนั้นๆมากไป ไม่หยัดเวลาและตัวสื่อก็มีราคาในการผลิตสูง แต่ในช่วงที่เทคโนโลยีมีความ เจริญก้าวหน้า ก็ทาให้มีความหลากหลายในการใช้สื่อการศึกษา ทาให้การเรียนการ สอนมีประสิทธิภาพและประสิทธิผล ทั้งหยัดประหยัดทั้งในด้านเวลาและค่าใช้จ่ายใน การทาสื่อ อีกทั้งยังส่งเสริมความปลอดภัยในระบบการทางาน
  • 4. พัฒนาการทางเทคโนโลยีทางการศึกษาในช่วงยุคต่างๆ ยุค/สมัย พัฒนาการ กลุ่มโซฟิสต์ (ปลายศตวรรษ ที่ 5) ชาวกรีกโบราณ ได้ใช้วัสดุในการสอนประวัติศาสตร์ และ หน้าที่พลเมือง ด้วยการแสดงละครเพื่อสร้างเจตคติทางจรรยา และการเมือง ใช้ดนตรีเพื่อสร้างอารมณ์ โดยเฉพาะอย่างยิ่ง การศึกษาของชาวกรีก และโรมันโบราณ ยังได้ย้าถึง ความสาคัญของการศึกษานอกสถานที่ด้วย การสอนศิลปวิจักษ์ ในสมัยนั้นได้ใช้รูปปั้น และแกะสลักช่วย สอนแล้ว คนสาคัญ ๆ ของกรีกและโรมันสมัยนั้น ต่างเห็น ความสาคัญของทัศนวัสดุในการสอน ว่าทัศนวัสดุช่วยการ ปาฐกถาได้มาก
  • 5. ยุค/สมัย พัฒนาการ โจฮัน อะมอส คอมินิอุส (ค.ศ. 1592 - 1670) ทฤษฎีกลุ่ม พฤติกรรมนิยม ทฤษฎีกลุ่ม พุทธิปัญญา นิยม เป็นผู้ใช้วัสดุ สิ่งของที่เป็นจริงและรูปภาพเข้ามาช่วยในการ สอนอย่างจริงจัง จนได้รับเกียรติว่าเป็นบิดาแห่งโสตทัศนศึกษา งานที่โดดเด่นในช่วงนี้เช่น สกินเนอร์ ธอร์นไดค์ เป็นที่มา ของวิธีระบบ (Symtematic approach) ในลักษณะการออกแบบ เชิงเส้น ที่เน้นลาดับขั้นตอนในการเรียนรู้ ทฤษฎีประมวลสารสนเทศ ได้รับความนิยมมาก เน้นการ ออกแบบที่เชื่อมโยงถึงกระบวนการทางพุทธิปัญญาที่ให้ผู้เรียน สามารถประมวลผลสารสนเทศที่ได้รับเข้าไปเก็บไว้อย่างเป็น ระบบในหน่วยความจา และเรียกกลับมาใช้ได้โดยไม่ลืม
  • 6. ยุค/สมัย พัฒนาการ ทฤษฎีคอน สตรัคติวิสต์ ปัจจุบันได้รับความนิยมอย่างมาก แนวคิดของทฤษฎีนี้คือ ความรู้ไม่สามารถส่งผ่านไปสู่ผู้เรียนได้ แต่ผู้เรียนต้องสร้างความรู้ ขึ้นด้วยตนเองในบริบทของสังคม มีปฏิสัมพันธ์กับสิ่งแวดล้อมที่ เป็นสภาพจริง
  • 7. องค์ประกอบขอบข่ายของเทคโนโลยีทางการศึกษาว่ามีความสาคัญต่อ การจัดการศึกษาในยุคปัจจุบันดังนี้ 1.การออกแบบ (Design) เป็นขอบข่ายที่แสดงให้เห็นถึงกรอบหรือโครงร่างที่ แสดงความเชื่อมโยงระหว่างหลักการและทฤษฎีพื้นฐานต่างๆ ที่จะนาไปสร้างและ พัฒนางานทางด้านเทคโนโลยีและสื่อการศึกษาอย่างเป็นรูปธรรมในการออกแบบงาน ทางเทคโนโลยีการศึกษามี 4 ด้าน คือ -การออกแบบระบบการสอน เป็นการกาหนดระบบการสอนทั้งหมด รวมทั้งการจัด ระเบียบของกระบวนการ ขั้นตอน ที่หลอมรวมทั้งขั้นการวิเคราะห์ การออกแบบ การ พัฒนา การนาไปใช้และการประเมินการเรียนการสอน -การออกแบบสาร เป็นการวางแผนสาหรับจัดกระทากับสารในทางกายภาพ ที่จะให้ ผู้เรียนรับรู้ ใส่ใจ และเรียกสารกลับมาใช้ได้เมื่อต้องการ -กลยุทธ์การสอน เป็นการระบุการเลือก และลาดับเหตุการณ์ ตลอดจนกิจกรรมการ เรียนรู้สาหรับบทเรียน -คุณลักษณะของผู้เรียน เป็นสิ่งสาคัญในการออกแบบที่ต้องคานึงถึงพื้นฐาน ประสบการณ์เดิมของผู้เรียน ความแตกต่างของผู้เรียน เช่น เพศ อายุ รูปแบบการเรียน ฯลฯ ซึ่งจะส่งผลต่อประสิทธิภาพในการออกแบบ
  • 8. 2.การพัฒนา (Development) เป็นขอบข่ายของการสร้างผลิตภัณฑ์ในรูปแบบ ของสื่อต่างๆโดยนาพื้นฐานที่ได้ออกมาพัฒนาเป็นสื่อที่อาศัยคุณลักษณะของสื่อต่างๆ คือ เทคโนโลยีสิ่งพิมพ์ เทคโนโลยีด้านโสตทัศน์ เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์ และเทคโนโลยี บูรณาการ 3.การใช้ (Utilization) เป็นขอบข่ายที่เกี่ยวข้องกับรูปแบบการนาสื่อที่พัฒนา แล้วไปใช้อย่างมีประสิทธิภาพ ซึ่งจะต้องคานึงถึงความง่ายในการใช้งานระหว่างผู้เรียน และสื่อการเรียนการสอน หรือระบบที่เกี่ยวข้อง การใช้นั้นเป็นการปฏิบัติที่เกี่ยวข้องกับ กระบวนการใช้และทรัพยากรในการเรียนรู้ ซึ่งต้องการเกี่ยวกับระบบการใช้ นโยบาย กฎ ระเบียบ รวมทั้งการแพร่กระจายนวัตกรรมไปสู่การใช้ที่แพร่หลาย 4.การจัดการ (Management) เป็นขอบข่ายหลักสาคัญของสาขาเทคโนโลยี การศึกษา เพราะจะต้องเกี่ยวข้องกับการบริหารจัดการแหล่งการเรียนรู้ ที่จะต้องนาไป สนับสนุนในทุกๆขอบข่าย ซึ่งจะต้องมีการจัดระเบียบและแนะนา หรือการจัดการ ทรัพยากรทางการเรียนรู้ ซึ่งประกอบด้วยการจัดการในด้านต่างๆคือ การจัดการ โครงการ การจัดการทรัพยากร การจัดการระบบขนส่ง และการจัดการสารสนเทศ
  • 9. 5.การประเมิน (Evaluation) ขอบข่ายด้านนี้จะเกี่ยวข้องกับการประเมินเพื่อ ปรับปรุง (Formative Evaluation) ในการประเมินนั้นจะมุ่งเน้นการประเมินทั้ง กระบวนการและผลิตภัณฑ์เพื่อแสดงให้เห็นถึงประสิทธิภาพ ตลอดทั้งคุณภาพของสื่อ ที่ออกแบบขึ้นมา จากข้อความที่กล่าวข้างต้นจะเห็นว่าสิ่งที่กล่าวมีความจาเป็นอย่างยิ่งที่ควรจะ เรียนรู้และนาไปใช้ไปปรับปรุงในการเรียนการสอน ไม่ว่าจะเป็นเรื่องในชั้นเรียนซึ่งได้แก่ ระบบการสอน แบบสาร กลยุทธ์การสอน คุณลักษณะของผู้เรียน ซึ่งสิ่งต่างๆเหล่านี้ ควรจะปรับไปตามสภาพแวดล้อมในชั้นเรียนในปัจจุบัน เรื่องสื่อการเรียนการสอนก็มีความสาคัญสภาพในชั้นเป็นอย่างไรก็ควรเลือกใช้ สื่อให้เหมาะสม และใช้ให้เป็นเพื่อประโยชน์สูงสุดในการเรียนการสอน เรื่องการจัดการ ก็มีความสาคัญควรจัดการบริหารในเรื่องที่เกี่ยวข้องให้เหมาะสมตามสภาพทรัพยากร ในปัจจุบันสุดท้ายการประเมินก็มีความสาคัญไม่ต่างจากเรื่องอื่นเพราะจะเป็นตัว ตรวจสอบแก้ไขปัญหาปรับปรุงให้ดีขึ้นหากขาดการประเมินก็จะไม่สามารถทราบถึง จุดบกพร่อง อาจทาให้การเรียนการสอนไม่เจริญขึ้นจากเดิม
  • 10. Educational Technology และ Instructional Technology  ความเหมือนระหว่าง Educational Technology และ Instructional Technology คือ เป็นการนาเทคโนโลยีมาใช้ในการพัฒนาระบบการศึกษา ให้มีประสิทธิภาพเพิ่มขึ้น มีการออกแบบ เลือก นามาใช้ และมีการประเมิน ของแหล่งเรียนรู้ เพื่อการเรียนรู้เหมือนกัน  ความแตกต่างระหว่าง Educational Technology และ Instructional Technology คือ Educational Technology จะใช้เป็นส่วนหนึ่งของ Education ซึ่งเกี่ยวกับการแก้ไขปัญหาการเรียนรู้ผ่านกระบวนการที่ซับซ้อน และสัมพันธ์กัน โดยจากัดการเรียนรู้ผ่านทางสื่อมวลชน ระบบสนับสนุนการ เรียนการสอนและระบบการจัดการเท่านั้นTechnology Education หมายถึง การใช้เทคโนโลยีที่สนับสนุนระบบการศึกษา ขณะที่ Instructional Technology จะเป็นส่วนหนึ่งของ Educational Technology ซึ่งใช้หลักการ เรียนที่มีจุดประสงค์และการควบคุมอย่างเป็นระบบ
  • 11.  ความสัมพันธ์ระหว่าง Educational Technology และ Instructional Technology คือ Instructional Technology จะเป็นส่วนหนึ่งของ Educational Technology เพราะ Educational Technology จะ ครอบคลุมถึงการเรียนรู้ในสภาพแวดล้อมที่หลากหลายกว่า ส่วน Instructional Technology จะมีความหมายแค่สภาพแวดล้อมในโรงเรียน เท่านั้น
  • 12. การใช้คอมพิวเตอร์เป็นสื่อการเรียนรู้ รูปแบบคอมพิวเตอร์ที่ใช้เป็น สื่อการเรียนรู้คอมพิวเตอร์ช่วยสอน คือ สื่อการเรียนการสอนรูปแบบหนึ่งที่ ใช้คอมพิวเตอร์เป็นเครื่องมือในการนาเสนอเนื้อหาบทเรียน นิยมเรียกสั้นๆ ว่า CAI (Computer Assisted Instruction) โดยมีเป้ าหมายที่สาคัญ คือ  สามารถดึงดูดความสนใจของผู้เรียน  กระตุ้นให้ผู้เรียนเกิดความต้องการที่จะเรียนรู้  สามารถตอบสนองความแตกต่างของผู้เรียนได้เป็นอย่างดี  สามารถประเมินและตรวจสอบความเข้าใจของผู้เรียนได้ตลอดเวลา
  • 13. การประยุกต์ความรู้เกี่ยวกับเทคโนโลยีทางการศึกษา มาใช้แก้ปัญหาเกี่ยวกับการเรียนรู้ในยุคปฏิรูปการเรียนรู้ อย่างเป็นรูปธรรมได้ดังนี้ 1. -การใช้คอมพิวเตอร์เป็นสื่อการสอนโดยตรง เช่น การฉายเนื้อหา ประกอบการบรรยาย คอมพิวเตอร์สามารถทาหน้าที่แทนสื่อต่างๆ เช่น แผ่นใส ภาพนิ่ง -การใช้คอมพิวเตอร์เป็นเครื่องมือในการออกแบบสื่อการเรียนการสอน เช่น การออกแบบสื่อสิ่งพิมพ์มากที่เป็นเอกสารหนังสือ วารสาร โปสเตอร์ ชุดไมโครซอฟท์ออฟฟิต -การใช้คอมพิวเตอร์เป็นเครื่องมือการค้นคว้าเพื่อการเรียนรู้ทั่วไป
  • 14. ทาให้ผู้เรียนเกิดการ - คิดอย่างมีเหตุผล คือ การเรียนการสอนจะเป็นในแง่ฝึกหัดให้ผู้เรียนเกิด การเรียนรู้เอง - รู้จักแสวงหาความรู้ด้วยตนเอง - ตัดสินใจได้ด้วยตนเอง - ยอมรับและนับถือตนเอง - รู้จักรับผิดชอบตนเอง - มีพฤติกรรมซื่อสัตย์ต่อตน
  • 15.