SlideShare a Scribd company logo
1 of 7
โวหารภาพพจน์
ความหมายของโวหารภาพพจน์
โวหาร คือ การใช้ถ้อยคำาอย่างมีชั้นเชิง เป็นการ
แสดงข้อความออกมาในทำานองต่างๆ เพื่อให้ข้อความได้เนื้อ
ความดี มีความหมายแจ่มแจ้ง เหมาะสมน่าฟัง ในการเขียนเรื่อง
ราวอาจใช้โวหารต่างๆ กัน แล้วแต่ชนิดของข้อความ (สมถวิล
วิเศษสมบัติ. ๒๕๔๔ : ๑๒๙)
โวหารภาพพจน์ คือ กลวิธีการนำาเสนอสารโดย
การพลิกแพลงภาษาที่ใช้พูด หรือเขียนให้แปลกออกไปจากภาษา
ตามตัวอักษรทำาให้ผู้อ่านเกิดภาพในใจ เกิดความประทับใจ
เกิดความรู้สึกสะเทือนใจ เป็นการเปรียบเทียบให้เห็นภาพอย่าง
ชัดเจน )
ประเภทของโวหารภาพพจน์
1. อุปมาโวหาร (Simile)
อุปมา คือ การเปรียบเทียบว่าสิ่งหนึ่งเหมือนกับ
สิ่งหนึ่งโดยใช้คำาเชื่อมที่มีความหมายเช่นเดียวกับคำาว่า “
เหมือน ” เช่น ดุจ ดั่ง ราว ราวกับ เปรียบ ประดุจ เฉก เล่ห์
ปาน ประหนึ่ง เพียง เพี้ยง พ่าง ปูน ถนัด ละหม้าย เสมอ กล
อย่าง ฯลฯ
ตัวอย่างเช่น
ปัญญาประดุจดังอาวุธ
ไพเราะกังวานปานเสียงนกร้อง
ท่าทางหล่อนราวกับนางพญา
จมูกเหมือนลูกชมพู่ ใบหู
เหมือนทอดมันร้อนๆ
ปากเธอเหมือนกระจับอ่อนๆ ฟันเรียง
สลอนเหมือนข้าวโพดพันธุ์ดี
ตาเหมือนตามฤคมาศ พิศ
คิ้วพระลอราช
ประดุจแก้วเกาทัณฑ์ ก่งนา
สูงระหงทรงเพรียวเรียวลูด งาม
ละม้ายคล้ายอูฐกะหลาป๋า
พิศแต่หัวจรดเท้าขาวแต่ตา สอง
แก้มกัลยาดังลูกยอ
คิ้วก่งดังก่งเขาดีดฝ้าย
จมูกละม้ายคล้ายพร้าขอ
หูกลวงดวงพักตร์หักงอ ลำา
คอโตตันสั้นกลม
สองเต้าห้อยตุงดังถุงตะเคียว โคน
เหี่ยวแห้งรวบเหมือนบวบต้ม
เสวยสลายาจุกพระโอษฐ์อม มัน
น่าเชยน่าชมนางเทวี
(ระเด่นลันได
: พระมหามาตรี (ทรัพย์))
2. อุปลักษณ์ ( Metaphor )
อุปลักษณ์ ก็คล้ายกับอุปมาโวหารคือเป็นการ
เปรียบเทียบเหมือนกัน แต่เป็นการเปรียบเทียบสิ่งหนึ่งเป็นอีกสิ่ง
หนึ่ง การเปรียบเทียบสิ่งหนึ่งเป็นอีกสิ่งหนึ่ง มักจะมีคำา เป็น คือ
มี ๓ ลักษณะ
๑. ใช้คำากริยา เป็น คือ = เปรียบเป็น
เช่น โทสะคือไฟ
๒. ใช้คำาเปรียบเป็น เช่น ไฟโทสะ ดวง
ประทีปแห่งโลก ตกเหวรักจะดิ้นรนไปจนตาย
๓. แสดงการเปรียบเทียบโดยปริยาย
เช่น มโหรีจากราวป่ามาเรื่อยรี่
อุปลักษณ์จะไม่กล่าวโดยตรงเหมือนอุปมา แต่ใช้วิธี
กล่าวเป็นนัยให้เข้าใจเอาเอง ที่สำาคัญอุปลักษณ์จะไม่มีคำาเชื่อม
เหมือนอุปมา
ตัวอย่างเช่น ขอเป็นเกือกทองรองบาทา ไปจนกว่า
ชีวันจะบรรลัย
ทหารเป็นรั้วของชาติ
เธอคือดอกฟ้าแต่ฉันนั้นคือหมาวัด
เธอเป็นดินหรือเธอเป็นหญ้าแท้จริงมีค่า
กว่าใครนิรันดร์
ชาวนาเป็นกระดูกสันหลังของชาติ
ครูคือแม่พิม์ของชาติ
ชีวิตคือการต่อสู้ ศัตรูคือยากำาลัง
3. สัญลักษณ์ ( symbol )
สัญลักษณ์ เป็นการเรียกชื่อสิ่งๆหนึ่งโดยใช้คำาอื่น
มาแทน ไม่เรียกตรงๆ ส่วนใหญ่คำาที่นำามาแทนจะเป็นคำาที่เกิด
จากการเปรียบเทียบและตีความ ซึ่งใช้กันมานานจนเป็นที่เข้าใจ
และรู้จักกันโดยทั่วไป ทั้งนี้อาจเป็นเพราะผู้ประพันธ์ต้องการ
เปรียบเทียบเพื่อสร้างภาพพจน์หรือมิฉะนั้นก็อาจจะอยู่ในภาวะที่
กล่าวโดยตรงไม่ได้ เพราะไม่สมควรจึงต้องใช้สัญลักษณ์แทน
ตัวอย่างเช่น เมฆหมอก แทน
อุปสรรค
สีดำา แทน ความ
ตาย ความชั่วร้าย
สีขาว แทน ความ
บริสุทธิ์
กุหลาบแดง แทน ความรัก
หงส์ แทน คนชั้น
สูง
กา แทน คน
ตำ่าต้อย
ดอกไม้ แทน ผู้หญิง
แสงสว่าง แทน สติ
ปัญญา
เพชร แทน ความ
แข็งแกร่ง ความเป็นเลิศ
แก้ว แทน ความดี
งาม ของมีค่า
ลา แทน คนโง่
คนน่าสงสาร
ลา แทน คน
พาล คนคด
สุนัขจิ้งจอก แทน คนเจ้าเล่ห์
ยักษ์ แทน อธรรม
อันของสูงแม้ปองต้องจิต ถ้า
ไม่คิดปีนป่ายจะได้หรือ
ไม่ใช่ของตลาดที่อาจซื้อ ฤๅ
แย่งยื้อถือได้โดยไม่ยอม
ไม่คิดสอยมัวคอยดอกไม้ร่วง คง
ชวดดวงบุปผชาติสะอาดหอม
ดูแต่ภุมรินเที่ยวบินตอม จึ่ง
ได้ดอมดมกลิ่นสุมาลี
(ท้าว
แสนปม : พระบาทสมเด็จพระมงกุฏเกล้าเจ้าอยู่หัว)
4. บุคลาธิษฐาน ( Personification )
บุคลาธิษฐาน หรือ บุคคลวัต บุคคลสมมติ คือการ
กล่าวถึงสิ่งต่างๆ ที่ไม่มีชีวิต ไม่มีความคิด ไม่มีวิญญาณ เช่น
โต๊ะ เก้าอี้ อิฐ ปูน หรือสิ่งมีชีวิตที่ไม่ใช่มนุษย์ เช่น ต้นไม้
สัตว ์์ โดยให้สิ่งต่างๆเหล่านี้ แสดงกิริยาอาการและความรู้สึก
ได้เหมือนมนุษย์ ให้มีคุณลักษณะต่างๆ เหมือนสิ่งมีชีวิต ( บุคลา
ธิษฐาน มาจากคำาว่า บุคคล + อธิษฐานหมายถึง อธิษฐานให้
กลายเป็นบุคคล )
ตัวอย่างเช่น มองซิ..มองทะเล เห็นลมคลื่นเห่
จูบหิน
บางครั้งมันบ้าบิ่น กระแทกหิน
ดังครืนครืน
ทะเลไม่เคยหลับไหล ใครตอบได้
ไหมไฉนจึงตื่น
บางครั้งยังสะอื้น ทะเลมันตื่น
อยู่รำ่าไป
ฟ้าหัวเราะเยาะข้าชะตาหรือ ดินนั้นถืออภิสิทธิ์
ชีวิตข้าเองไม่เกรงดินฟ้า
ไส้เดือนเที่ยวเกี้ยวสาว
ชาวอัปสรนอนชั้นฟ้า
ทุกจุลินทรีย์
อะมีบา เชิดหน้าได้ดิบได้
เสียงร้องไห้รำ่าหาเหมือนฟ้าร้อง พระ
เสื้อเมืองเมินมองแล้วร้องไห้
พระธรณีตีอกด้วยตกใจ โล
กบาลถอนฤทัยไม่อาจมอง
5. อธิพจน์ ( Hyperbole )
อติพจน์ หรือ อธิพจน์ คือโวหารที่กล่าวเกิน
ความจริง เพื่อสร้างและเน้นความรู้สึกและอารมณ์ ทำาให้ผู้ฟังเกิด
ความรู้สึกที่ลึกซึ้ง ภาพพจน์ชนิดนี้นิยมใช้กันมากแม้ในภาษาพูด
เพราะเป็นการกล่าวที่ทำาให้เห็นภาพได้ง่ายและแสดงความรู้สึก
ของกวีได้อย่างชัดเจน
ตัวอย่างเช่น คิดถึงใจจะขาด
คอแห้งเป็นผง
ร้อนตับจะแตก
หนาวกระดูกจะหลุด
การบินไทยรักคุณเท่าฟ้า
คิดถึงเธอทุกลมหายใจเข้าออก
เอียงอกเทออกอ้าง อวดองค์ อร
เอย
เมรุชุบสมุทรดินลง เลขแต้ม
อากาศจักจารผจง จารึก พอ
ฤา
โฉมแม่หยาดฟ้าแย้ม อยู่ร้อนฤา
เห็น
*ในกรณีที่ใช้โวหารตำ่ากว่าจริง
เรียกว่า "อวพจน์"
ตัวอย่างเช่น เล็กเท่าขี้ตาแมว
เพียงชั่วลัดนิ้วมือเดียว
รอสักอึดใจเดียว
6. สัทพจน์ ( Onematoboeia )
สัทพจน์ หมายถึง ภาพพจน์ที่เลียนเสียงธรรมชาติ
เช่น เสียงดนตรี เสียงสัตว์ เสียงคลื่น เสียงลม เสียงฝน
ตก เสียงนำ้าไหล ฯลฯ การใช้ภาพพจน์ประเภทนี้จะทำาให้
เหมือนได้ยินเสียงนั้นจริง ๆ
ตัวอย่างเช่น ลูกหมาร้องบ๊อก ๆ ๆ ลุกนกร้องจิ๊บๆๆ
ลูกแมวร้องเหมียว ๆ ๆ
เปรี้ยง ๆ ดังเสียงฟ้าฟาด
ตะแลกแต๊กแต๊กตะแลกแต๊กแต๊ก
กระเดื่องดังแทรกสำารวลสรวลสันต์
คลื่นซัดครืนครืนซ่าที่ผาแดง
นำ้าพุพุ่งซ่า ไหลมาฉาดฉาน เห็น
ตระการ เสียงกังวาน
มันดังจอกโครม จอกโครม มันดังจอก
จอก โครม โครม
บัดเดี๋ยวดังหง่างเหง่งวังเวงแว่ว
อ้อยอี๋เอียง อ้อยอี๋เอียงส่งเสียงร้อง
เสียงลิงค่างบ่างชะนีวะหวีดโหวย
กระหึมโหยห้อยไม้น่าใจหาย
ป๊ะโท่นป๊ะโท่นป๊ะโท่นโท่น
7. นามนัย ( Metonymy )
นามนัย คือ การใช้คำาหรือวลีซึ่งบ่งลักษณะหรือ
คุณสมบัติของสิ่งใดสิ่งหนึ่งแทนอีกสิ่งหนึ่ง คล้ายๆ สัญลักษณ์
แต่ต่างกันตรงที่ นามนัยนั้นจะดึงเอาลักษณะบางส่วนของสิ่งหนึ่ง
มากล่าวให้หมายถึงส่วนทั้งหมด หรือใช้ชื่อส่วนประกอบสำาคัญ
ของสิ่งนั้นแทนสิ่งนั้นทั้งหมด
ตัวอย่างเช่น เมืองโอ่ง หมายถึง
จังหวัดราชบุรี
เมืองย่าโม หมายถึง
จังหวัดนครราชสีมา
ทีมเสือเหลือง หมายถึง ทีม
มาเลเซีย
ทีมกังหันลม หมายถึง ทีม
เนเธอร์แลนด์
ทีมสิงโตคำาราม หมายถึง
อังกฤษ
ฉัตร มงกุฎ หมายถึง
กษัตริย์
เก้าอี้ หมายถึง
ตำาแหน่ง หน้าที่
มือที่สาม หมายถึง ผู้
ก่อความเดือดร้อน
เอวบาง หมายถึง
นาง ผู้หญิง
8. ปรพากย์ ( Paradox )
ปฏิพากย์ หรือ ปรพากย์ คือการใช้ถ้อยคำาที่มี
ความหมายตรงกันข้ามหรือขัดแย้งกันมากล่าว อย่างกลมกลืนกัน
เพื่อเพิ่มความหมายให้มีนำ้าหนักมากยิ่งขึ้น
ตัวอย่างเช่น เลวบริสุทธิ์ บาปบริสุทธิ์
สวยเป็นบ้า สวยอย่างร้ายกาจ
สนุกฉิบหาย สวรรค์บนดิน
ยิ่งรีบยิ่งช้า
นำ้าร้อนปลาเป็น นำ้าเย็นปลา
ตาย
เสียน้อยเสียยาก เสียมากเสีย
ง่าย
รักยาวให้บั่น รักสั้นให้ต่อ
แพ้เป็นพระ ชนะเป็น
มาร

More Related Content

What's hot

แบบประเมินต่างๆ
แบบประเมินต่างๆแบบประเมินต่างๆ
แบบประเมินต่างๆNaphachol Aon
 
หลักการทรงงาน 23 ข้อกับการประยุกต์ใช้
หลักการทรงงาน 23 ข้อกับการประยุกต์ใช้หลักการทรงงาน 23 ข้อกับการประยุกต์ใช้
หลักการทรงงาน 23 ข้อกับการประยุกต์ใช้Sutthiluck Kaewboonrurn
 
เปรียบเทียบสงครามโลกครั้งที่ 1 และ 2
เปรียบเทียบสงครามโลกครั้งที่ 1 และ 2เปรียบเทียบสงครามโลกครั้งที่ 1 และ 2
เปรียบเทียบสงครามโลกครั้งที่ 1 และ 2Taraya Srivilas
 
เฉลยเอกสารประกอบสื่อสังคมออนไลน์เรื่องคลื่นกลและเสียง
เฉลยเอกสารประกอบสื่อสังคมออนไลน์เรื่องคลื่นกลและเสียงเฉลยเอกสารประกอบสื่อสังคมออนไลน์เรื่องคลื่นกลและเสียง
เฉลยเอกสารประกอบสื่อสังคมออนไลน์เรื่องคลื่นกลและเสียงโรงเรียนเทพลีลา
 
งานนำเสนอ มหาเวสสันดรชาดก กันฑ์กุมาร
งานนำเสนอ มหาเวสสันดรชาดก กันฑ์กุมารงานนำเสนอ มหาเวสสันดรชาดก กันฑ์กุมาร
งานนำเสนอ มหาเวสสันดรชาดก กันฑ์กุมารSantichon Islamic School
 
บทวิเคราะห์ร่ายยาวเวสสันดรมหาชาดก กัณฑ์มัทรี
บทวิเคราะห์ร่ายยาวเวสสันดรมหาชาดก กัณฑ์มัทรีบทวิเคราะห์ร่ายยาวเวสสันดรมหาชาดก กัณฑ์มัทรี
บทวิเคราะห์ร่ายยาวเวสสันดรมหาชาดก กัณฑ์มัทรีBlackrab Chiba
 
แบบทดสอบ บทที่ 6 การถ่ายทอดลักษณะทางพันธูกรรม
แบบทดสอบ บทที่  6  การถ่ายทอดลักษณะทางพันธูกรรมแบบทดสอบ บทที่  6  การถ่ายทอดลักษณะทางพันธูกรรม
แบบทดสอบ บทที่ 6 การถ่ายทอดลักษณะทางพันธูกรรมdnavaroj
 
คำถามพร้อมตอบ อิเหนา-ตอน-ศึกกะหมังกุหนิง
คำถามพร้อมตอบ อิเหนา-ตอน-ศึกกะหมังกุหนิงคำถามพร้อมตอบ อิเหนา-ตอน-ศึกกะหมังกุหนิง
คำถามพร้อมตอบ อิเหนา-ตอน-ศึกกะหมังกุหนิงWan Wan
 
ศาสนาเปรียบเทียบ
ศาสนาเปรียบเทียบศาสนาเปรียบเทียบ
ศาสนาเปรียบเทียบthnaporn999
 
อารยธรรมลุ่มแม่น้ำสินธุ(อินเดีย)
อารยธรรมลุ่มแม่น้ำสินธุ(อินเดีย)อารยธรรมลุ่มแม่น้ำสินธุ(อินเดีย)
อารยธรรมลุ่มแม่น้ำสินธุ(อินเดีย)พัน พัน
 
หลักฐานทางประวัติศาสตร์1
หลักฐานทางประวัติศาสตร์1หลักฐานทางประวัติศาสตร์1
หลักฐานทางประวัติศาสตร์1montira
 
ประโยคที่ซับซ้อน
ประโยคที่ซับซ้อนประโยคที่ซับซ้อน
ประโยคที่ซับซ้อนพัน พัน
 
กระดาษเส้น
กระดาษเส้นกระดาษเส้น
กระดาษเส้นTik Msr
 
ตัวอย่างการนำเสนอโครงร่างวิจัย 3 บท
ตัวอย่างการนำเสนอโครงร่างวิจัย 3 บทตัวอย่างการนำเสนอโครงร่างวิจัย 3 บท
ตัวอย่างการนำเสนอโครงร่างวิจัย 3 บทDr.Krisada [Hua] RMUTT
 
บทที่ 2 เอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง
บทที่  2 เอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้องบทที่  2 เอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง
บทที่ 2 เอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้องmoohhack
 
โครงงานฉบับสมบูรณ์
โครงงานฉบับสมบูรณ์โครงงานฉบับสมบูรณ์
โครงงานฉบับสมบูรณ์paifahnutya
 

What's hot (20)

แบบประเมินต่างๆ
แบบประเมินต่างๆแบบประเมินต่างๆ
แบบประเมินต่างๆ
 
โครงงานภาษาไทย เรื่อง คำไทยที่มักเขียนผิด
โครงงานภาษาไทย เรื่อง คำไทยที่มักเขียนผิดโครงงานภาษาไทย เรื่อง คำไทยที่มักเขียนผิด
โครงงานภาษาไทย เรื่อง คำไทยที่มักเขียนผิด
 
หลักการทรงงาน 23 ข้อกับการประยุกต์ใช้
หลักการทรงงาน 23 ข้อกับการประยุกต์ใช้หลักการทรงงาน 23 ข้อกับการประยุกต์ใช้
หลักการทรงงาน 23 ข้อกับการประยุกต์ใช้
 
ระดับภาษา 2
ระดับภาษา 2ระดับภาษา 2
ระดับภาษา 2
 
ละครไทย
ละครไทยละครไทย
ละครไทย
 
เปรียบเทียบสงครามโลกครั้งที่ 1 และ 2
เปรียบเทียบสงครามโลกครั้งที่ 1 และ 2เปรียบเทียบสงครามโลกครั้งที่ 1 และ 2
เปรียบเทียบสงครามโลกครั้งที่ 1 และ 2
 
เฉลยเอกสารประกอบสื่อสังคมออนไลน์เรื่องคลื่นกลและเสียง
เฉลยเอกสารประกอบสื่อสังคมออนไลน์เรื่องคลื่นกลและเสียงเฉลยเอกสารประกอบสื่อสังคมออนไลน์เรื่องคลื่นกลและเสียง
เฉลยเอกสารประกอบสื่อสังคมออนไลน์เรื่องคลื่นกลและเสียง
 
งานนำเสนอ มหาเวสสันดรชาดก กันฑ์กุมาร
งานนำเสนอ มหาเวสสันดรชาดก กันฑ์กุมารงานนำเสนอ มหาเวสสันดรชาดก กันฑ์กุมาร
งานนำเสนอ มหาเวสสันดรชาดก กันฑ์กุมาร
 
บทวิเคราะห์ร่ายยาวเวสสันดรมหาชาดก กัณฑ์มัทรี
บทวิเคราะห์ร่ายยาวเวสสันดรมหาชาดก กัณฑ์มัทรีบทวิเคราะห์ร่ายยาวเวสสันดรมหาชาดก กัณฑ์มัทรี
บทวิเคราะห์ร่ายยาวเวสสันดรมหาชาดก กัณฑ์มัทรี
 
แบบทดสอบ บทที่ 6 การถ่ายทอดลักษณะทางพันธูกรรม
แบบทดสอบ บทที่  6  การถ่ายทอดลักษณะทางพันธูกรรมแบบทดสอบ บทที่  6  การถ่ายทอดลักษณะทางพันธูกรรม
แบบทดสอบ บทที่ 6 การถ่ายทอดลักษณะทางพันธูกรรม
 
คำถามพร้อมตอบ อิเหนา-ตอน-ศึกกะหมังกุหนิง
คำถามพร้อมตอบ อิเหนา-ตอน-ศึกกะหมังกุหนิงคำถามพร้อมตอบ อิเหนา-ตอน-ศึกกะหมังกุหนิง
คำถามพร้อมตอบ อิเหนา-ตอน-ศึกกะหมังกุหนิง
 
ศาสนาเปรียบเทียบ
ศาสนาเปรียบเทียบศาสนาเปรียบเทียบ
ศาสนาเปรียบเทียบ
 
อารยธรรมลุ่มแม่น้ำสินธุ(อินเดีย)
อารยธรรมลุ่มแม่น้ำสินธุ(อินเดีย)อารยธรรมลุ่มแม่น้ำสินธุ(อินเดีย)
อารยธรรมลุ่มแม่น้ำสินธุ(อินเดีย)
 
หลักฐานทางประวัติศาสตร์1
หลักฐานทางประวัติศาสตร์1หลักฐานทางประวัติศาสตร์1
หลักฐานทางประวัติศาสตร์1
 
คำบุพบท
คำบุพบทคำบุพบท
คำบุพบท
 
ประโยคที่ซับซ้อน
ประโยคที่ซับซ้อนประโยคที่ซับซ้อน
ประโยคที่ซับซ้อน
 
กระดาษเส้น
กระดาษเส้นกระดาษเส้น
กระดาษเส้น
 
ตัวอย่างการนำเสนอโครงร่างวิจัย 3 บท
ตัวอย่างการนำเสนอโครงร่างวิจัย 3 บทตัวอย่างการนำเสนอโครงร่างวิจัย 3 บท
ตัวอย่างการนำเสนอโครงร่างวิจัย 3 บท
 
บทที่ 2 เอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง
บทที่  2 เอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้องบทที่  2 เอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง
บทที่ 2 เอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง
 
โครงงานฉบับสมบูรณ์
โครงงานฉบับสมบูรณ์โครงงานฉบับสมบูรณ์
โครงงานฉบับสมบูรณ์
 

Similar to โวหารภาพพจน์

สะเรนเหลา : โวหารภาพพจน์
สะเรนเหลา : โวหารภาพพจน์สะเรนเหลา : โวหารภาพพจน์
สะเรนเหลา : โวหารภาพพจน์Prasong Somarat
 
โวหารในวรรณคดี
โวหารในวรรณคดีโวหารในวรรณคดี
โวหารในวรรณคดีSaimai Jitlang
 
โวหารภาพพจน์สำหรับนักเรียนม.ปลาย
โวหารภาพพจน์สำหรับนักเรียนม.ปลายโวหารภาพพจน์สำหรับนักเรียนม.ปลาย
โวหารภาพพจน์สำหรับนักเรียนม.ปลายคุณานนต์ ทองกรด
 
คำในภาษาไทย
คำในภาษาไทยคำในภาษาไทย
คำในภาษาไทยSiraporn Boonyarit
 
ทัศนธาตุ
ทัศนธาตุทัศนธาตุ
ทัศนธาตุsarungolf
 
โวหารในการเขียน
โวหารในการเขียนโวหารในการเขียน
โวหารในการเขียนkrubuatoom
 
ฉันทลักษณ์
ฉันทลักษณ์ฉันทลักษณ์
ฉันทลักษณ์krudow14
 
คำในภาษาไทย (1)
คำในภาษาไทย (1)คำในภาษาไทย (1)
คำในภาษาไทย (1)perunruk
 
ใบงานที่ 1เรื่องการเขียนเรียงความ
ใบงานที่ 1เรื่องการเขียนเรียงความใบงานที่ 1เรื่องการเขียนเรียงความ
ใบงานที่ 1เรื่องการเขียนเรียงความmarisa724
 
1 11+อธิบายบาลีไวยากรณ์+นามกิตก์+และกิริยากิตก์
1 11+อธิบายบาลีไวยากรณ์+นามกิตก์+และกิริยากิตก์1 11+อธิบายบาลีไวยากรณ์+นามกิตก์+และกิริยากิตก์
1 11+อธิบายบาลีไวยากรณ์+นามกิตก์+และกิริยากิตก์Wataustin Austin
 
1 11+อธิบายบาลีไวยากรณ์+นามกิตก์+และกิริยากิตก์
1 11+อธิบายบาลีไวยากรณ์+นามกิตก์+และกิริยากิตก์1 11+อธิบายบาลีไวยากรณ์+นามกิตก์+และกิริยากิตก์
1 11+อธิบายบาลีไวยากรณ์+นามกิตก์+และกิริยากิตก์Tongsamut vorasan
 
บาลี 11 80
บาลี 11 80บาลี 11 80
บาลี 11 80Rose Banioki
 
บทวิจารณ์หนังสือลักษณะแห่งพระพุทธศาสนา
บทวิจารณ์หนังสือลักษณะแห่งพระพุทธศาสนา บทวิจารณ์หนังสือลักษณะแห่งพระพุทธศาสนา
บทวิจารณ์หนังสือลักษณะแห่งพระพุทธศาสนา solarcell2
 

Similar to โวหารภาพพจน์ (20)

Thai1
Thai1Thai1
Thai1
 
สะเรนเหลา : โวหารภาพพจน์
สะเรนเหลา : โวหารภาพพจน์สะเรนเหลา : โวหารภาพพจน์
สะเรนเหลา : โวหารภาพพจน์
 
โวหารในวรรณคดี
โวหารในวรรณคดีโวหารในวรรณคดี
โวหารในวรรณคดี
 
โวหารภาพพจน์สำหรับนักเรียนม.ปลาย
โวหารภาพพจน์สำหรับนักเรียนม.ปลายโวหารภาพพจน์สำหรับนักเรียนม.ปลาย
โวหารภาพพจน์สำหรับนักเรียนม.ปลาย
 
ชนิดของคำ
ชนิดของคำชนิดของคำ
ชนิดของคำ
 
คำในภาษาไทย
คำในภาษาไทยคำในภาษาไทย
คำในภาษาไทย
 
ทัศนธาตุ
ทัศนธาตุทัศนธาตุ
ทัศนธาตุ
 
โวหารในการเขียน
โวหารในการเขียนโวหารในการเขียน
โวหารในการเขียน
 
ฉันทลักษณ์
ฉันทลักษณ์ฉันทลักษณ์
ฉันทลักษณ์
 
bgqq.pdf
bgqq.pdfbgqq.pdf
bgqq.pdf
 
คำในภาษาไทย (1)
คำในภาษาไทย (1)คำในภาษาไทย (1)
คำในภาษาไทย (1)
 
โวหาร
โวหารโวหาร
โวหาร
 
ใบงานที่ 1เรื่องการเขียนเรียงความ
ใบงานที่ 1เรื่องการเขียนเรียงความใบงานที่ 1เรื่องการเขียนเรียงความ
ใบงานที่ 1เรื่องการเขียนเรียงความ
 
1 11+อธิบายบาลีไวยากรณ์+นามกิตก์+และกิริยากิตก์
1 11+อธิบายบาลีไวยากรณ์+นามกิตก์+และกิริยากิตก์1 11+อธิบายบาลีไวยากรณ์+นามกิตก์+และกิริยากิตก์
1 11+อธิบายบาลีไวยากรณ์+นามกิตก์+และกิริยากิตก์
 
1 11+อธิบายบาลีไวยากรณ์+นามกิตก์+และกิริยากิตก์
1 11+อธิบายบาลีไวยากรณ์+นามกิตก์+และกิริยากิตก์1 11+อธิบายบาลีไวยากรณ์+นามกิตก์+และกิริยากิตก์
1 11+อธิบายบาลีไวยากรณ์+นามกิตก์+และกิริยากิตก์
 
บาลี 11 80
บาลี 11 80บาลี 11 80
บาลี 11 80
 
การจำแนกชนิดคำในภาษาไทย
การจำแนกชนิดคำในภาษาไทยการจำแนกชนิดคำในภาษาไทย
การจำแนกชนิดคำในภาษาไทย
 
บทที่ 5
บทที่ 5บทที่ 5
บทที่ 5
 
คำสรรพนาม
คำสรรพนามคำสรรพนาม
คำสรรพนาม
 
บทวิจารณ์หนังสือลักษณะแห่งพระพุทธศาสนา
บทวิจารณ์หนังสือลักษณะแห่งพระพุทธศาสนา บทวิจารณ์หนังสือลักษณะแห่งพระพุทธศาสนา
บทวิจารณ์หนังสือลักษณะแห่งพระพุทธศาสนา
 

โวหารภาพพจน์

  • 1. โวหารภาพพจน์ ความหมายของโวหารภาพพจน์ โวหาร คือ การใช้ถ้อยคำาอย่างมีชั้นเชิง เป็นการ แสดงข้อความออกมาในทำานองต่างๆ เพื่อให้ข้อความได้เนื้อ ความดี มีความหมายแจ่มแจ้ง เหมาะสมน่าฟัง ในการเขียนเรื่อง ราวอาจใช้โวหารต่างๆ กัน แล้วแต่ชนิดของข้อความ (สมถวิล วิเศษสมบัติ. ๒๕๔๔ : ๑๒๙) โวหารภาพพจน์ คือ กลวิธีการนำาเสนอสารโดย การพลิกแพลงภาษาที่ใช้พูด หรือเขียนให้แปลกออกไปจากภาษา ตามตัวอักษรทำาให้ผู้อ่านเกิดภาพในใจ เกิดความประทับใจ เกิดความรู้สึกสะเทือนใจ เป็นการเปรียบเทียบให้เห็นภาพอย่าง ชัดเจน ) ประเภทของโวหารภาพพจน์ 1. อุปมาโวหาร (Simile) อุปมา คือ การเปรียบเทียบว่าสิ่งหนึ่งเหมือนกับ สิ่งหนึ่งโดยใช้คำาเชื่อมที่มีความหมายเช่นเดียวกับคำาว่า “ เหมือน ” เช่น ดุจ ดั่ง ราว ราวกับ เปรียบ ประดุจ เฉก เล่ห์ ปาน ประหนึ่ง เพียง เพี้ยง พ่าง ปูน ถนัด ละหม้าย เสมอ กล อย่าง ฯลฯ ตัวอย่างเช่น ปัญญาประดุจดังอาวุธ ไพเราะกังวานปานเสียงนกร้อง ท่าทางหล่อนราวกับนางพญา จมูกเหมือนลูกชมพู่ ใบหู เหมือนทอดมันร้อนๆ ปากเธอเหมือนกระจับอ่อนๆ ฟันเรียง สลอนเหมือนข้าวโพดพันธุ์ดี ตาเหมือนตามฤคมาศ พิศ คิ้วพระลอราช ประดุจแก้วเกาทัณฑ์ ก่งนา
  • 2. สูงระหงทรงเพรียวเรียวลูด งาม ละม้ายคล้ายอูฐกะหลาป๋า พิศแต่หัวจรดเท้าขาวแต่ตา สอง แก้มกัลยาดังลูกยอ คิ้วก่งดังก่งเขาดีดฝ้าย จมูกละม้ายคล้ายพร้าขอ หูกลวงดวงพักตร์หักงอ ลำา คอโตตันสั้นกลม สองเต้าห้อยตุงดังถุงตะเคียว โคน เหี่ยวแห้งรวบเหมือนบวบต้ม เสวยสลายาจุกพระโอษฐ์อม มัน น่าเชยน่าชมนางเทวี (ระเด่นลันได : พระมหามาตรี (ทรัพย์)) 2. อุปลักษณ์ ( Metaphor ) อุปลักษณ์ ก็คล้ายกับอุปมาโวหารคือเป็นการ เปรียบเทียบเหมือนกัน แต่เป็นการเปรียบเทียบสิ่งหนึ่งเป็นอีกสิ่ง หนึ่ง การเปรียบเทียบสิ่งหนึ่งเป็นอีกสิ่งหนึ่ง มักจะมีคำา เป็น คือ มี ๓ ลักษณะ ๑. ใช้คำากริยา เป็น คือ = เปรียบเป็น เช่น โทสะคือไฟ ๒. ใช้คำาเปรียบเป็น เช่น ไฟโทสะ ดวง ประทีปแห่งโลก ตกเหวรักจะดิ้นรนไปจนตาย ๓. แสดงการเปรียบเทียบโดยปริยาย เช่น มโหรีจากราวป่ามาเรื่อยรี่ อุปลักษณ์จะไม่กล่าวโดยตรงเหมือนอุปมา แต่ใช้วิธี กล่าวเป็นนัยให้เข้าใจเอาเอง ที่สำาคัญอุปลักษณ์จะไม่มีคำาเชื่อม เหมือนอุปมา ตัวอย่างเช่น ขอเป็นเกือกทองรองบาทา ไปจนกว่า ชีวันจะบรรลัย ทหารเป็นรั้วของชาติ เธอคือดอกฟ้าแต่ฉันนั้นคือหมาวัด เธอเป็นดินหรือเธอเป็นหญ้าแท้จริงมีค่า กว่าใครนิรันดร์ ชาวนาเป็นกระดูกสันหลังของชาติ ครูคือแม่พิม์ของชาติ
  • 3. ชีวิตคือการต่อสู้ ศัตรูคือยากำาลัง 3. สัญลักษณ์ ( symbol ) สัญลักษณ์ เป็นการเรียกชื่อสิ่งๆหนึ่งโดยใช้คำาอื่น มาแทน ไม่เรียกตรงๆ ส่วนใหญ่คำาที่นำามาแทนจะเป็นคำาที่เกิด จากการเปรียบเทียบและตีความ ซึ่งใช้กันมานานจนเป็นที่เข้าใจ และรู้จักกันโดยทั่วไป ทั้งนี้อาจเป็นเพราะผู้ประพันธ์ต้องการ เปรียบเทียบเพื่อสร้างภาพพจน์หรือมิฉะนั้นก็อาจจะอยู่ในภาวะที่ กล่าวโดยตรงไม่ได้ เพราะไม่สมควรจึงต้องใช้สัญลักษณ์แทน ตัวอย่างเช่น เมฆหมอก แทน อุปสรรค สีดำา แทน ความ ตาย ความชั่วร้าย สีขาว แทน ความ บริสุทธิ์ กุหลาบแดง แทน ความรัก หงส์ แทน คนชั้น สูง กา แทน คน ตำ่าต้อย ดอกไม้ แทน ผู้หญิง แสงสว่าง แทน สติ ปัญญา เพชร แทน ความ แข็งแกร่ง ความเป็นเลิศ แก้ว แทน ความดี งาม ของมีค่า ลา แทน คนโง่ คนน่าสงสาร ลา แทน คน พาล คนคด สุนัขจิ้งจอก แทน คนเจ้าเล่ห์ ยักษ์ แทน อธรรม อันของสูงแม้ปองต้องจิต ถ้า ไม่คิดปีนป่ายจะได้หรือ ไม่ใช่ของตลาดที่อาจซื้อ ฤๅ แย่งยื้อถือได้โดยไม่ยอม
  • 4. ไม่คิดสอยมัวคอยดอกไม้ร่วง คง ชวดดวงบุปผชาติสะอาดหอม ดูแต่ภุมรินเที่ยวบินตอม จึ่ง ได้ดอมดมกลิ่นสุมาลี (ท้าว แสนปม : พระบาทสมเด็จพระมงกุฏเกล้าเจ้าอยู่หัว) 4. บุคลาธิษฐาน ( Personification ) บุคลาธิษฐาน หรือ บุคคลวัต บุคคลสมมติ คือการ กล่าวถึงสิ่งต่างๆ ที่ไม่มีชีวิต ไม่มีความคิด ไม่มีวิญญาณ เช่น โต๊ะ เก้าอี้ อิฐ ปูน หรือสิ่งมีชีวิตที่ไม่ใช่มนุษย์ เช่น ต้นไม้ สัตว ์์ โดยให้สิ่งต่างๆเหล่านี้ แสดงกิริยาอาการและความรู้สึก ได้เหมือนมนุษย์ ให้มีคุณลักษณะต่างๆ เหมือนสิ่งมีชีวิต ( บุคลา ธิษฐาน มาจากคำาว่า บุคคล + อธิษฐานหมายถึง อธิษฐานให้ กลายเป็นบุคคล ) ตัวอย่างเช่น มองซิ..มองทะเล เห็นลมคลื่นเห่ จูบหิน บางครั้งมันบ้าบิ่น กระแทกหิน ดังครืนครืน ทะเลไม่เคยหลับไหล ใครตอบได้ ไหมไฉนจึงตื่น บางครั้งยังสะอื้น ทะเลมันตื่น อยู่รำ่าไป ฟ้าหัวเราะเยาะข้าชะตาหรือ ดินนั้นถืออภิสิทธิ์ ชีวิตข้าเองไม่เกรงดินฟ้า ไส้เดือนเที่ยวเกี้ยวสาว ชาวอัปสรนอนชั้นฟ้า ทุกจุลินทรีย์ อะมีบา เชิดหน้าได้ดิบได้ เสียงร้องไห้รำ่าหาเหมือนฟ้าร้อง พระ เสื้อเมืองเมินมองแล้วร้องไห้ พระธรณีตีอกด้วยตกใจ โล กบาลถอนฤทัยไม่อาจมอง 5. อธิพจน์ ( Hyperbole )
  • 5. อติพจน์ หรือ อธิพจน์ คือโวหารที่กล่าวเกิน ความจริง เพื่อสร้างและเน้นความรู้สึกและอารมณ์ ทำาให้ผู้ฟังเกิด ความรู้สึกที่ลึกซึ้ง ภาพพจน์ชนิดนี้นิยมใช้กันมากแม้ในภาษาพูด เพราะเป็นการกล่าวที่ทำาให้เห็นภาพได้ง่ายและแสดงความรู้สึก ของกวีได้อย่างชัดเจน ตัวอย่างเช่น คิดถึงใจจะขาด คอแห้งเป็นผง ร้อนตับจะแตก หนาวกระดูกจะหลุด การบินไทยรักคุณเท่าฟ้า คิดถึงเธอทุกลมหายใจเข้าออก เอียงอกเทออกอ้าง อวดองค์ อร เอย เมรุชุบสมุทรดินลง เลขแต้ม อากาศจักจารผจง จารึก พอ ฤา โฉมแม่หยาดฟ้าแย้ม อยู่ร้อนฤา เห็น *ในกรณีที่ใช้โวหารตำ่ากว่าจริง เรียกว่า "อวพจน์" ตัวอย่างเช่น เล็กเท่าขี้ตาแมว เพียงชั่วลัดนิ้วมือเดียว รอสักอึดใจเดียว 6. สัทพจน์ ( Onematoboeia ) สัทพจน์ หมายถึง ภาพพจน์ที่เลียนเสียงธรรมชาติ เช่น เสียงดนตรี เสียงสัตว์ เสียงคลื่น เสียงลม เสียงฝน ตก เสียงนำ้าไหล ฯลฯ การใช้ภาพพจน์ประเภทนี้จะทำาให้ เหมือนได้ยินเสียงนั้นจริง ๆ ตัวอย่างเช่น ลูกหมาร้องบ๊อก ๆ ๆ ลุกนกร้องจิ๊บๆๆ ลูกแมวร้องเหมียว ๆ ๆ เปรี้ยง ๆ ดังเสียงฟ้าฟาด ตะแลกแต๊กแต๊กตะแลกแต๊กแต๊ก กระเดื่องดังแทรกสำารวลสรวลสันต์ คลื่นซัดครืนครืนซ่าที่ผาแดง นำ้าพุพุ่งซ่า ไหลมาฉาดฉาน เห็น ตระการ เสียงกังวาน
  • 6. มันดังจอกโครม จอกโครม มันดังจอก จอก โครม โครม บัดเดี๋ยวดังหง่างเหง่งวังเวงแว่ว อ้อยอี๋เอียง อ้อยอี๋เอียงส่งเสียงร้อง เสียงลิงค่างบ่างชะนีวะหวีดโหวย กระหึมโหยห้อยไม้น่าใจหาย ป๊ะโท่นป๊ะโท่นป๊ะโท่นโท่น 7. นามนัย ( Metonymy ) นามนัย คือ การใช้คำาหรือวลีซึ่งบ่งลักษณะหรือ คุณสมบัติของสิ่งใดสิ่งหนึ่งแทนอีกสิ่งหนึ่ง คล้ายๆ สัญลักษณ์ แต่ต่างกันตรงที่ นามนัยนั้นจะดึงเอาลักษณะบางส่วนของสิ่งหนึ่ง มากล่าวให้หมายถึงส่วนทั้งหมด หรือใช้ชื่อส่วนประกอบสำาคัญ ของสิ่งนั้นแทนสิ่งนั้นทั้งหมด ตัวอย่างเช่น เมืองโอ่ง หมายถึง จังหวัดราชบุรี เมืองย่าโม หมายถึง จังหวัดนครราชสีมา ทีมเสือเหลือง หมายถึง ทีม มาเลเซีย ทีมกังหันลม หมายถึง ทีม เนเธอร์แลนด์ ทีมสิงโตคำาราม หมายถึง อังกฤษ ฉัตร มงกุฎ หมายถึง กษัตริย์ เก้าอี้ หมายถึง ตำาแหน่ง หน้าที่ มือที่สาม หมายถึง ผู้ ก่อความเดือดร้อน เอวบาง หมายถึง นาง ผู้หญิง 8. ปรพากย์ ( Paradox ) ปฏิพากย์ หรือ ปรพากย์ คือการใช้ถ้อยคำาที่มี ความหมายตรงกันข้ามหรือขัดแย้งกันมากล่าว อย่างกลมกลืนกัน เพื่อเพิ่มความหมายให้มีนำ้าหนักมากยิ่งขึ้น ตัวอย่างเช่น เลวบริสุทธิ์ บาปบริสุทธิ์ สวยเป็นบ้า สวยอย่างร้ายกาจ
  • 7. สนุกฉิบหาย สวรรค์บนดิน ยิ่งรีบยิ่งช้า นำ้าร้อนปลาเป็น นำ้าเย็นปลา ตาย เสียน้อยเสียยาก เสียมากเสีย ง่าย รักยาวให้บั่น รักสั้นให้ต่อ แพ้เป็นพระ ชนะเป็น มาร