SlideShare una empresa de Scribd logo
1 de 21
Descargar para leer sin conexión
ชวนคิดชนิดของคำ
หน้าที่ของคา 
คาต่าง ๆ ไม่ว่าจะเป็นคานาม สรรพนาม กริยา วิเศษณ์ สันธาน บุพบท และคา อุทาน จะเข้าประโยคโดยการเรียงคาในประโยค คาใดจะทาหน้าที่อะไรและจะเป็นคาชนิดใดนั้น จะดูได้จากตาแหน่งของคาในประโยค เช่นคาว่า “ขัน” เราไม่สามารถจะบอกได้ว่าเป็นคานาม คากริยา หรือคาวิเศษณ์ จนกว่าคานั้นจะเข้ารูปประโยค เช่น 
ไก่ขันตอนเช้า 
ฉันลุกขึ้นนาขันไปตักน้าล้างหน้า 
ฉันเห็นเจ้าปุยเดินมาดูน่าขัน 
คาว่า “ขัน” เมื่อเข้าประโยคจะบอกหน้าที่ของคาในประโยคว่าขันคาแรกเป็นคากริยา คาที่สองเป็นคานาม และขันคาที่สามเป็นคาวิเศษณ์ 
สวัสดีค่ะ เพื่อน ๆ วันนี้ ปุยฝ้ายจะพาทุกคนมาเรียน เรื่อง ชนิดของคากันนะคะ 
ในการใช้ภาษาเราควรทราบว่า คาไหนมีใช้อย่างไร เพื่อประโยชน์ในการสื่อสาร นักไวยกรณ์ได้สังเกตความหมายและหน้าที่ของคาในประโยค แล้วจึงแบ่งคาในภาษาไทย ออกเป็นหมวดได้แบ่งคาออกเป็น 7 ชนิด คือ 
1. คานาม 
2. คาสรรพนาม 
3. คากริยา 
4. คาวิเศษณ์ 
5. คาสันธาน 
6. คาบุพบท 
7. คาอุทาน
คานาม คือคาที่เป็นชื่อของคน สัตว์ สิ่งของ และกิริยาอาการ ต่าง ๆ แบ่งออกเป็น 5 ชนิด คือ 
1. สามานยนาม คือคาที่เป็นชื่อของ คน สัตว์ สถานที่ สิ่งของ และกิริยาอาการทั่วไป 
2. วิสามานยนาม คือคานามที่เป็นชื่อเฉพาะของ คน สัตว์ สถานที่ และสิ่งของ เป็นชื่อที่บัญญัติขึ้นสาหรับใช้เรียกเฉพาะลงไปว่า เป็นใครหรืออะไร 
3. ลักษณะนาม คือคานามนามที่ทาหน้าที่ประกอบนามอื่น เพื่อแสดง รูปลักษณะ ขนาดหรือปริมาณของนามนั้นให้ชัดเจนยิ่งขึ้น 
4. สมุหนาม ได้แก่ 
ก. คานามที่ทาหน้าที่แสดงหมวดหมู่ของสามานยนามและวิสามานยนาม ข. คานามที่เป็นชื่อของสถานที่หรือองค์การต่าง ๆ แต่สมมติให้เป็นบุคคล ขึ้นตาม ความนิยมของภาษา 
5. อาการนาม หรือคานามซึ่งเกิดจากคากริยาหรือคาวิเศษณ์ที่มีคา “การ” หรือ “ความ” นาหน้าคานามชนิดนี้มีลักษณะผิดกับคานามชนิดอื่น คือใช้ คาประสมทั้งสิ้น เช่น การยืน การเดิน การนั่ง การนอน ความคิด ความนึก 
คานาม
รู้จักคานามกันแล้วต่อไปเราก็ มาเรียนเรื่องต่อไปกันเลย 
คาสรรพนาม 
สรรพนาม คือคาที่ใช้แทนนามหรือข้อความที่กล่าวมาแล้ว เพื่อไม่ ต้องกล่าวนามหรือข้อความนั้นซ้าอีก เพราะภาษาต้องการความไพเราะและ ความหมดจดเกลี้ยงเกลา 
สรรพนามแบ่งออกเป็น 6 ชนิด 
1. บุรุษสรรพนาม คือสรรพนามที่ใช้แทนชื่อผู้พูด ที่พูดด้วย และที่ พูดถึง แบ่งออกเป็น 3 ชนิด คือ 
1) บุรุษที่ 1 ใช้แทนชื่อผู้พูด เช่น ฉัน ผม ข้าพเจ้า เป็นต้น 
2) บุรุษที่ 2 ใช้แทนชื่อผู้ที่พูดด้วย เช่น ท่าน เธอ ฝ่าพระบาท เป็นต้น 
3) บุรุษที่ 3 ใช้แทนชื่อผู้ที่พูดถึง เช่น เขา มัน ใคร อะไร ผู้ใด เป็นต้น
2. ประพันธสรรพนาม คือสรรพนามที่ใช้แทนนาม หรือแทนสรรพนามที่ อยู่ติดต่อกันข้างหน้า ได้แก่คาว่า ผู้ ที่ ซึ่ง อัน ดัง ผู้ที่ ผู้ซึ่ง 
3. วิภาคสรรพนาม หรือสรรพนามที่ใช้แทนนามหรือสรรพนามที่แยก ออกเป็นแต่ละคน แต่ละสิ่ง หรือแต่ละพวก ได้แก่คาว่า ต่าง บ้าง กัน 
4. นิยมสรรพนาม คือสรรพนามที่ใช้แทนนามหรือข้อความที่กล่าวมาแล้ว หรือที่ปรากฏอยู่เฉพาะหน้า เป็นสรรพนามชี้เฉพาะเพื่อบ่งความชัดเจน ได้แก่ นี่ นั่น โน่น นี้ นั้น โน้น ทั้งนี้ ทั้งนั้น 
5. อนิยมสรรพนาม คือสรรพนามทีใช้แทนนามทั่ว ๆ ไป ไม่ชี้ เฉพาะเจาะจงเหมือนนิยมสรรพนาม ได้แก่ ใคร อะไร ไหน ผู้ใด อื่น ผู้อื่น ชาว อะไร ชาวไหน ชาวอื่น ผู้ใดผู้หนึ่ง ผู้หนึ่งผู้ใด 
6. ปฤจฉาสรรพนาม คือสรรพนามที่ใช้แทนนามแต่มีเนื้อความเป็นคาถาม ได้แก่ ใคร อะไร ไหน ผู้ใด ชาวอะไร ชาวไหน ฯลฯ 
รู้แล้ว ! คาสรรพนาม ก็ไม่ได้ยากอย่างที่คิด
เพื่อน ๆ อยากรู้ไหมว่า คากริยานั้นสาคัญไฉน ถ้า อยากรู้แล้วเรามารู้จักคากริยา กันเลย 
คากริยา 
คากริยา คือคาที่แสดงอาการของนามและสรรพนาม หรทอแสดงการกระทา ของประธานแบ่งออกเป็น 5 ชนิด 
1. สกรรมกริยา คือกริยาที่ต้องมีกรรมมารับจึงจะให้ความสมบูรณ์ครบถ้วน เช่น 
1. ทหาร ถือ ปืน 
2. คนครัว หุง ข้าว 
3. กสิกร ไถ นา 
2. อกรรมกริยา คือ กริยาที่มีความหมายครบถ้วนในตัวเองโดยไม่ต้องมีกรรม มารับ เช่น 
1. นักเรียน เดิน ที่ถนน 
2. นก บิน ในอากาศ 
3. เด็ก นั่ง บนเตียง
3. วิกตรรถกริยา คือกริยาที่ไม่สาเร็จความหมายในตัวเอง และใช้เป็นกริยาของ ประธานตามลาพังตัวเองไม่ได้ จะต้องมีคานาม คาสรรพนามหรือคาวิเศษณ์มาขยาย จึงจะได้ความ กริยาพวกนี้ได้แก่คาว่า เป็น เหมือน เท่า คล้าย เสมือน ดุจ ประดุจ ประหนึ่ง ราวกับ เพียงดัง เปรียบเหมือน อุปมา เหมือน 
4. กริยานุเคราะห์ คือคากริยาที่ทาหน้าที่ช่วยกริยาชนิดอื่นให้แสดงความหมาย ออกมาเป็น กาล มาลา หรือ วาจก ต่าง ๆ เพราะคากริยาในภาษาไทยมีรูปคงที่ ไม่ เปลี่ยนรูปไปตามกาล มาลา หรือ วาจก เหมือนภาษาที่มีวิภัตติปัจจัย เช่น ภาษา บาลี สันสกฤต และอังกฤษ เป็นต้น 
5. กริยาสภาวมาลา คือคากริยาที่ทาหน้าที่คล้ายกับนาม อาจเป็นประธาน เป็นกรรม หรือเป็นขยายส่วนใดส่วนหนึ่งของประโยคก็ได้ เช่น 
1. นอน มีประโยชน์กว่าอิริยาบถอื่น (นอน เป็นประธานของกริยา มี) 
2. ฉันชอบ ดู ภาพยนตร์ (ดู เป็นกรรมของกริยา ชอบ) 
3. เขาออมทรัพย์ไว้เพื่อ ซื้อ รองเท้า(ซื้อ เป็นบทขยายของกริยา ออม) 
คากริยาไม่ยากเลย รู้แล้วก็ ใช้ให้ถูกต้องด้วยนะคะ
คาวิเศษณ์ 
คาวิเศษณ์ คือคาที่ทาหน้าที่ประกอบคานาม, คาสรรพนาม, คากริยา และ คาวิเศษณ์ด้วยกันให้ได้ความชัดเจนยิ่งขึ้น เช่น 
1. ประกอบคานาม 
1. คน อ้วน เป็นเพื่อนกับคน ผอม 
2. โต๊ะ กลม ทาสี เหลือง 
2. ประกอบคาสรรพนาม 
1. ท่าน ทั้งหลาย อยากดูใคร บ้าง 
2. เขา ทั้งหมด จะมาหาเรา ทั้งสอง วันนี้ 
3. ประกอบคากริยา 
1. เขาพูด เพราะ 
2. ม้าวิ่ง เร็ว 
4. ประกอบคาวิเศษณ์ 
1. เขากินอาหาร จุ มาก (ประกอบ จุ) 
2. คนอ้วน ตุ๊ตะ วิ่งช้า (ประกอบ อ้วน) 
คาวิเศษณ์ทาหน้าที่ประกอบทั้ง คานาม สรรพนาม กริยา และ ประกอบคาวิเศษณ์
ชนิดของคาวิเศษณ์ แบ่งออกเป็น 10 ชนิด คือ 
1. ลักษณวิเศษณ์ คือคาวิเศษณ์ที่ประกอบบอกลักษณะต่าง ๆ เช่น 
บอกชนิด (ดี, ชั่ว) สี (ขาว, ดา) สัณฐาน (กลม, แบน) 
ขนาด (เล็ก, ใหญ่) เสียง (โครม, เปรี้ยง) อาการ (เร็ว, ช้า) 
2. กาลวิเศษณ์ คือคาวิเศษณ์ที่ปรกอบบอกเวลา เช่น เช้า สาย บ่าย เย็น เที่ยง ค่า อดีต อนาคต ปัจจุบัน 
3. สถานวิเศษณ์ คือคาวิเศษณ์ที่ประกอบบอกสถานที่ เช่น บน ล่าง เหนือ ใต้ ไกล ใกล้ บก น้า บ้าน ป่า ฯลฯ 
4. ประมาณวิเศษณ์ คือคาวิเศษณ์ที่ประกอบบอกจานวน แบ่งออกเป็น 2 ชนิด คือ 
1. บอกจานวนนับ เช่น หนึ่ง สอง สาม สี่ ห้า ที่หนึ่ง ที่สอง ที่สาม ที่สี่ ที่ห้า ฯลฯ จะใช้เป็นตัวเลข หรือตัวหนังสือก็ได้ 
2. บอกจานวนปริมาณ คือ มิได้บอกชัดลงไปว่าเท่านั้นเท่านี้ เป็นแต่กาหนด ว่ามากหรือน้อยซึ่งพอจะรู้ความหมายได้โดยปริมาณ 
5. นิยมวิเศษณ์ คือคาวิเศษณ์ที่ประกอบบอกความชี้เฉพาะหรือจากัดลงไปว่าเป็น เช่นนั้นเช่นนี้ หรือสิ่งนั้นสิ่งนี้ เช่น นี่ นั่น โน่น นี้ นั้น โน้น ทั้งนี้ ทั้งนั้น อย่างนี้ อย่าง นั้น ดังนี้ ดังนั้น แท้ จริง เฉพาะ เอง ดอก แน่นอน ทีเดียว เจียว ฯลฯ 
ต่อไปเรามาดูชนิด ของคาวิเศษณ์กัน เถอะค่ะ
6. อนิยมวิเศษณ์ คือคาวิเศษณ์ที่ประกอบบอกคาไม่ชี้เฉพาะหรือไม่จากัดลงไปว่าเป็น เช่นนั้นเช่นนี้หรือสิ่งนั้นสิ่งนี้ เช่น ใด ไร ไหน กี่ อะไร ทาไม ฉันใด เช่นไร ฯลฯ แต่พึง สังเกตว่า คาพวกนี้จะต้องไม่ใช้ในข้อที่เป็นคาถามหรือสงสัยจึงจะนับว่า เป็นอนิยมวิเศษณ์ ถ้าใช้ ในข้อความที่เป็นคาถามหรือสงสัยเรียกว่า ปฤจฉาวิเศษณ์ 
7. ปฤจฉาวิเศษณ์ คือคาวิเศษณ์ที่ประกอบบอกเนื้อความเป็นคาถามหรือความสงสัย เช่น ใด ไร ไหน กี่ อะไร ทาไม ฉันใด ไหม อันใด อย่างไร เท่าไหร่ ไย หรือ หนอ ฯลฯ 
8. ประติชญาวิเศษณ์ คือคาวิเศษณ์ที่ประกอบบอกเสียงร้องเรียกและเสียงขานรับเพื่อ แสดงความสละสลวยของภาษาและแสดงความเป็นกันเองในระหว่างผู้พูด เช่น จ๋า ขอรับ เว้ย โวย โว้ย 
9. ประติเษธวิเศษณ์ คือคาวิเศษณ์ที่ประกอบบอกความปฏิเสธ หรือไม่ยอมรับ เช่น ไม่ มิ ใช่ ไม่ใช่ บ บ่ บมิ บ่มิ บราง ฤ ฤา มิได้ ไม่ได้ หาไม่ หา....ไม่ หา มิได้ ไม่...มิได้ ไม่...หามิได้ คาประติเษธวิเศษณ์นี้ จะปฏิเสธที่นาม สรรพนาม กริยา หรือ วิเศษณ์ ก็ได้ 
10. ประพันธวิเศษณ์ คือคาวิเศษณ์ที่ประกอบคากริยาหรือดาวิเศษณ์ เพื่อเชื่อม ประโยคให้มีข้อความเกี่ยวข้องกัน เช่น ที่ ซึ่ง อัน อย่างที่ ชนิดที่ ให้ ว่า ที่ว่า คือ เพื่อ ให้เพื่อว่า ฯลฯ 
ชนิดของคาวิเศษณ์มี 10 ชนิดด้วยกันตามที่กล่าวมาแล้ว ข้างต้นนะคะ
ต่อไปเราจะมารู้จักกับคา บุพบทกันนะคะเพื่อน ๆ ตั้งใจ กันหน่อย 
คาบุพบท 
คาบุพบท คือคาที่แสดงความสัมพันธ์ระหว่างคาหรือประโยค เพื่อให้รู้ว่าคา หรือประโยคที่อยู่หลังบุพบทนั้นมีหน้าที่เกี่ยวข้องกับคาหรือประโยคที่อยู่ข้างหน้า อย่างไร เช่น 
1. บุตร ของ นายแดงเรียนเก่งมาก 
2. เขาเป็นบิดา แห่ง ประวัติศาสตร์ 
3. ฉันทางาน เพื่อ เขา 
4. เขาเลี้ยงนกไว้ สาหรับ ดู
หน้าที่ของบุพบท 
คาบุพบททาหน้าที่ 
1. นาหน้านาม 
1) หนังสือ ของ บิดาหาย 
2) เขาไป กับ เพื่อน 
2. นาหน้าสรรพนาม 
1) ปากกา ของ ฉันอยู่ ที่ เขา 
2) ฉันคิด ถึง ท่านมาก 
3. นาหน้ากริยา 
1) เขากิน เพื่อ อยู่ 
2) เขาเก็บอาหารไว้ สาหรับ รับประทาน 
3) เขาทางาน กระทั้ง ตาย 
4. นาหน้าวิเศษณ์ 
1) เขาทา สิ้น ดี 
2) ถ้าพูดกัน ตาม จริงแล้ว เขาต้องมาหาฉัน โดย เร็ว 
5. นาหน้าประโยค 
1) เขายืนใกล้ กับ นายดาทางาน 
2) เขามา ตั้งแต่ ฉันตื่นนอน 
3) เขาให้รางวัล เฉพาะ คนแต่งโคลงได้ที่หนึ่ง 
4) เขาพูดเสียงดัง กับ คนตวาดเขา 
รู้จักคาบุพบทแล้ว ต่อไปเรา ก็ต้องรู้จักหน้าที่ของมันด้วย
คาสันธาน 
คาสันธาน คือคาที่ทาหน้าที่เชื่อมคากับคา ประโยคกับประโยค ข้อความกับข้อความ หรือเชื่อมความให้สละสลวย ตัวอย่างเช่น 
1. เชื่อมคากับคา 
1) เขาพบครู และ นักเรียน 
2) บิดามารดา และ บุตรไปเที่ยว 
3) นายดา กับ นายแดงเป็นเพื่อนกัน 
4) เขาเลี้ยงหมู เป็ด ไก่ และ ปลา 
2. เชื่อมประโยคกับประโยค 
1) นักเรียนมาหาครู และ ผู้ปกครองก็มาด้วย 
2) เขาชอบแกงเผ็ด แต่ ฉันชอบแกงจืด 
3) เพราะ เขาขยัน เขา จึง สอบไล่ได้ 
4) เขามาทางาน หรือ เขามาเล่น 
3. เชื่อมข้อความกับข้อความ 
1) ชาวต่างชาติเขาเข้ามาอยู่เมืองไทย เขาขยันหมั่นเพียร ไม่ยอมให้ เวลาผ่านไปโดยเปล่าประโยชน์ เขาจึงร่ารวยจนเกือบจะซื้อแผ่นดินไทยได้ทั้งหมดแล้ว เพราะฉะนั้น ขอให้พี่น้องชาวไทยทั้งหลายจงตื่นเถิด จงพากันขยันทางานทุกชนิด เพื่อ จะได้รักษาผืนแผ่นดินของไทยไว้ 
4. เชื่อความให้สละสลวย 
1) เขา ก็ เป็นคนสาคัญเหมือนกัน 
2) อันว่า ทรัพย์สมบัตินั้น เป็นแต่เพียงของนอกกาย ตายแล้ว ก็ เอาไปไม่ได้ 
3) อย่างไรก็ตาม ฉันต้องไปกับท่านคนหนึ่งละ
ชนิดของสันธาน 
สันธาน แบ่งออกเป็นชนิดใหญ่ ๆ ได้ 3 ชนิด คือ 
1) สันธานที่เชื่อมให้เป็นอเนกรรถประโยค 
2) สันธานที่เชื่อมให้สังกรประโยค 
3) สันธานที่เชื่อมให้เนื้อความเด่น 
1. สันธานที่เชื่อมให้เป็นอเนกรรถประโยค แบ่งออกเป็น 4 ชนิด 
1. เชื่อมความที่คล้อยตามกัน คาสันธานที่ใช้ ก็, กับ, และ, จึง, เช่น, ว่า, ให้, คือ, ทั้ง, ครั้น...ก็, ครั้น...จึง, เมื่อ...ก็, พอ...ก็, ทั้ง...ก็, ทั้ง...กับ, ทั้ง...แล, ก็คือ..., ก็ดี, 
2. เชื่อมความที่ขัดแย้งกัน คาสันธานที่ใช้ แต่, แต่ว่า, แต่ทว่า, กว่า... ก็, ถึง...ก็ ฯลฯ 
3. เชื่อมความเป็นเหตุเป็นผลกัน คาสันธานที่ใช้ เพราะ, ด้วย, จึง, ฉะนั้น, ฉะนี้, ค่าที่, ด้วยว่า, เหตุเพราะ, เหตุว่า, เพราะว่า, ฉะนั้น...จึง, เพราะฉะนั้น, เหตุฉะนี้ ฯลฯ 
4. เชื่อมความที่เลือกเอา คาสันธานที่ใช้ หรือ, ไม่ก็, ไม่เช่นนั้น, มิฉะนั้น, หรือมิฉะนั้น 
คาสันธานใช้ให้ ถูกนะคะ
คาอุทาน คือคาที่แสดงถึงเสียงที่เปล่งออกมาในเวลาดีใจ เสียใจ ตกใจ ประหลาดใจ หรือกริ่งใจ เป็นต้น หรือเป็นคาที่ใช้ต่อถ้อยเสริมบทให้บริบูรณ์ ยิ่งขึ้น 
เสียงที่เปล่งออกมาเป็นคาอุทานนั้นอาจเป็น 
1. คา แหม ! พุทโธ่ ! โอ้ ! โอย ! 
2. วลี เวรกรรมจริงหนอ ! โอ้อกเราเอ๋ย ! กลุ้มใจจริงด้วย ! 
3. ประโยค ไฟไหม้เจ้าข้า ! อกแตกแล้วโว้ย ! 
รวมความว่า คา วลี หรือประโยคใด ๆ ก็ตาม ถ้านามาใช้แสดงถึงเสียงที่ ดีใจหรือตกใจ เป็นต้น นับว่าเป็นอุทานทั้งสิ้น 
เรามารู้จักกับคา ชนิดสุดท้ายกันดีกว่าค่ะ คาชนิดสุดท้ายของชนิดของ คาไทย คือ คาอุทาน 
คาอุทาน
ชนิดของคาอุทาน 
คาอุทานแบ่งออกเป็น 2 ชนิด คือ 
1. อุทานบอกอาการ สาหรับ 
1) ใช้แสดงความรู้สึกต่าง ๆ ในการพูด เช่นคา ชิ ! ชิ ๆ ! ชิชะ ! โธ่ ! พุทโธ่ ! บ๊ะ ! วะ ! วา ! หื้อหือ ! เหม่ ! แหม ! อนิจจัง ! อ๊ะ ! อือ ! อนิจจา ! อุบ๊ะ ! เอ ! เอ๊ะ ! เอ๊ว ! เอ้อเฮอ ! โอ ! โอย ! โอ๊ย ! ฮะ ! ฮึ ! เฮ้ ! เฮ้ว ! เฮ้ย ! เฮ้อ ! ไฮ้ ! เป็นต้น 
คาเหล่านี้ใช้แสดงความรู้สึกต่าง ๆ กัน คือ 
ชิ ! ชิ ๆ ! ชิชะ ! ใช้แสดงความ เสียดาย หรือ โกรธ 
โธ่ ! ” อนาถใจ หรือสงสาร 
พุทโธ่ ! ” สงสาร น้อยใจ เสียใจ 
บ๊ะ ! วะ ! ” ประหลาดใจ 
2) ใช้เป็นคาขึ้นต้นประโยคในคาประพันธ์ เพื่อแสดงความราพึง ราพัน วิงวอน หรือปลอบโยน เป็นต้น ได้แก่คา อ้า โอ้ โอ้ว่า 
อ้า ใช้แสดงความ ราพึง หรือพรรณนาวิงวอน 
โอ้ โอ้ว่า ใช้แสดงความ ราพึง ปลอบโยน หรือคร่า ครวญ 
เมื่อทราบ ความหมายแล้วเรามา ทราบชนิดของคากัน ดีกว่าค่ะ
2. อุทานเสริมบท คืออุทานที่ใช้เป็นคาสร้อยหรือเสริมบทต่าง ๆ เพื่อให้คาครบถ้วน ตามที่ต้องการ หรือให้มีความกระซับ หรือให้สละสลวยขึ้น มี 3 ชนิด คือ 
1) อุทานเสริมบทที่ใช้เป็นคาสร้อย 
2) อุทานเสริมบทที่ใช้เป็นคาแทรก 
3) อุทานเสริมบทที่ใช้เป็นคาเสริม 
1) อุทานเสริมบทที่ใช้เป็นคาสร้อย คืออุทานใช้เป็นสร้อยของโคลง และร่ายหรือใช้ เป็นคาลงท้ายในบทประพันธ์ แสดงว่าจบข้อความบริบูรณ์แล้ว เช่นคา ฮา เฮย แฮ แล นา รา เอย ฯลฯ 
2) อุทานเสริมบทที่ใช้เป็นคาแทรก คืออุทานที่ใช้แทรกลงในระหว่างคาหรือข้อความ มี 2 ชนิด คือ 
1. ใช้เป็นบทบูรณ์ คือเป็นคาที่ทาให้บทประพันธ์มีพยางค์ครบถ้วนตามฉันท ลักษณ์ได้แก่คา นุซิ สิ นิ เป็น 
2. ใช้ประกอบข้างท้ายให้มีความกระชับหรือสละสลวยขึ้น ได้แก่คา นา เอย เอ่ย เอ๋ย โวย ฯลฯ เช่น 
3) อุทานเสริมบทที่ใช้เป็นคาเสริม คืออุทานที่ใช้ต่อถ้อยคาให้ยาวออกไป แต่ไม่ ต้องการความหมายที่เสริมนั้น 
บทเรียนเรื่อง ชนิดของคา ก็จบลงไปแล้วนะคะ เพื่อน ๆ ต่อไปปุยฝ้ายจะพาทุกคนไปทาแบบทดสอบกัน ค่ะ ว่าที่เราเรียนมานั้นเพื่อน ๆ มีความเข้าใจกันมาก น้อยเพียงไร ไปทาแบบทดสอบกันเลย
แบบทดสอบ 
เรื่องชนิดของคา 
คาชี้แจง ให้นักเรียนเลือกคาตอบที่ถูกที่สุดเพียงข้อเดียว 
1. คานามหมายถึง 
ก. คาที่เป็นชื่อคน สัตว์ สถานที่ สิ่งของ 
ข. คาที่ใช้เรียกคน สัตว์ สถานที่ สิ่งของ 
ค. คาที่สร้างมาจากคากริยา โดยใช้คาว่า “ การ ” และ “ ความ ” นาหน้า 
ง. คาที่แสดงลักษณะของคาอื่นว่าเป็นอย่างไรรวมทั้งบอกการกระทาว่าทาอะไร 
2. คาที่ขีดเส้นใต้ต่อไปนี้คาใดเป็นคานาม 
ก. พี่เป็นคนภาคใต้ 
ข. เขามาอย่างรวดเร็ว 
ค. มยุราเดินบนถนนสายนี้ 
ง. ภูเขาสูงแค่ไหนก็ยังวัดได้ 
3. ประโยคต่อนี้ประโยคใดมีคานามมากที่สุด 
ก. คนเดินบนถนน 
ข. ฟ้ามืดท่าทางฝนจะตก 
ค. เดือนดาวกาลังจะลับจากฟ้า 
ง. สายัญไม่เคยลืมสัญญาของเขาเลย 
4. คาสรรพนามคืออะไร 
ก. คาที่ใช้แทนคานาม 
ข. คาที่ใช้เรียกคน สัตว์ สถานที่ สิ่งของ 
ค. คาที่เป็นชื่อคน สัตว์ สถานที่ สิ่งของ 
ง. คาที่แสดงการกระทาของคน สัตว์ ว่าทาอะไร 
5. “เค้าบอกว่าอาทิตย์หน้าจะมาเยี่ยม” ประโยคนี้มีคาใดเป็นคาสรรพนาม 
ก. เค้า 
ข. ว่า 
ค. จะ 
ง. มา 
6. “เรื่องนี้เขาไม่ได้บอกใครเลย” คาใดในประโยคนี้เป็นคาสรรพนามไม่ชี้เฉพาะ 
ก. นี้ 
ข. เขา 
ค. ไม่ได้ 
ง. ใคร
7. คากริยาหมายถึง 
ก. คาที่ใช้แทนคานาม 
ข. คาที่ใช้เรียกคน สัตว์ สถานที่ สิ่งของ 
ค. คาที่เป็นชื่อคน สัตว์ สถานที่ สิ่งของ 
ง.คาที่แสดงการกระทาและสภาพความมีความเป็น 
8. “เค้าบอกว่าอาทิตย์หน้าจะมาเยี่ยม” ประโยคนี้มีคาใดที่เป็นคากริยาที่มีหน่วยกรรม 
ก. เค้า 
ข. บอก 
ค. ว่า 
ง. มา 
9. “อารีย์เรียนจบไปแล้ว” คาใดเป็นคากริยาตาม 
ก. เรียน 
ข. จบ 
ค. ไป 
ง. แล้ว 
10. คาวิเศษณ์คืออะไร 
ก. คาที่ใช้ขยายคากริยา 
ข. คาที่เป็นคาหลักของกริยา 
ค. คาที่แสดงความเข้มข้นของคากริยา 
ง. คาที่บอกลักษณะทางไวยากรณ์ของคากริยา 
11. คาวิเศษณ์มักจะเกิดในตาแหน่งใดของประโยค 
ก. หน้าคากริยา 
ข. หลังคากริยา 
ค. หน้าบทกรรม 
ง. หลังบทกรรม 
12. “นกตัวนี้บินสูง” ประโยคนี้มีคาใดเป็นคาวิเศษณ์ 
ก. ตัว 
ข. นี้ 
ค. บิน 
ง. สูง
13. คาบุพบทมีกี่ชนิด 
ก. 3 
ข. 4 
ค. 5 
ง. 6 
14. ข้อใด เป็น คาบุพบทบอกสถานที่ 
ก. บ้านฉันอยู่ใกล้โรงเรียน 
ข. หนังสือเล่มนี้เป็นของฉัน 
ค. สวนลุมพินีเป็นสวนสาธารณะสาหรับประชาชน 
ง. รถคันนั้นวิ่งเร็วกว่ารถคันนี้ 
15. ดังนั้น ฉะนั้น เหตุเพราะ เหตุว่า เพราะฉะนั้น...จึง ฉะนั้น...จึง จัดอยู่ใน คาสันธานประเภท ใด 
ก. คาสันธานเชื่อมประโยคที่มีใจความขัดแย้งกัน 
ข. คาสันธานเชื่อมประโยคที่มีใจความเลือกอย่างใดอย่างหนึ่ง 
ค. คาสันธานเชื่อมประโยคเพื่อให้มีความสละสลวย 
ง. คาสันธานเชื่อมประโยคที่มีใจความเป็นเหตุเป็นผลกัน 
ขอให้ทุกคนโชคดี 
และตั้งใจทาแบบทดสอบนะคะ
จัดทาโดย นางสาวพิสมัย ทาบุรี นางสาวลดาวัลย์ มั่นจิตร นางสาวสมฤดี หอมจิตร

Más contenido relacionado

La actualidad más candente

แบบฝึกเสริมทักษะการอ่านจับใจความชั้นป.3
แบบฝึกเสริมทักษะการอ่านจับใจความชั้นป.3แบบฝึกเสริมทักษะการอ่านจับใจความชั้นป.3
แบบฝึกเสริมทักษะการอ่านจับใจความชั้นป.3สุภาพร สิทธิการ
 
แบบประเมินผลชิ้นงาน
แบบประเมินผลชิ้นงานแบบประเมินผลชิ้นงาน
แบบประเมินผลชิ้นงานpacharawalee
 
เขียนเรื่องจากจินตนาการ ป.3
เขียนเรื่องจากจินตนาการ ป.3เขียนเรื่องจากจินตนาการ ป.3
เขียนเรื่องจากจินตนาการ ป.3เกษสุดา สนน้อย
 
บทอาขยาน ภาษาไทย ม.๓
บทอาขยาน ภาษาไทย ม.๓บทอาขยาน ภาษาไทย ม.๓
บทอาขยาน ภาษาไทย ม.๓kruthai40
 
ข้อสอบอ่านจับใจความสำคัญ ป.6
ข้อสอบอ่านจับใจความสำคัญ ป.6ข้อสอบอ่านจับใจความสำคัญ ป.6
ข้อสอบอ่านจับใจความสำคัญ ป.6sapatchanook
 
คำกริยาที่บ่งบอกพฤติกรรมการเรียนรู้ KPA
คำกริยาที่บ่งบอกพฤติกรรมการเรียนรู้ KPAคำกริยาที่บ่งบอกพฤติกรรมการเรียนรู้ KPA
คำกริยาที่บ่งบอกพฤติกรรมการเรียนรู้ KPAณัฐพล แสงทวี
 
การเทียบเสียงตัวอักษรภาษาอังกฤษกับไทย
การเทียบเสียงตัวอักษรภาษาอังกฤษกับไทยการเทียบเสียงตัวอักษรภาษาอังกฤษกับไทย
การเทียบเสียงตัวอักษรภาษาอังกฤษกับไทยปาริชาต แท่นแก้ว
 
ใบงานที่ 1-5 ม.1 1/61
ใบงานที่ 1-5 ม.1 1/61ใบงานที่ 1-5 ม.1 1/61
ใบงานที่ 1-5 ม.1 1/61Beerza Kub
 
คำกล่าวต้อนรับคณะกรรมการประเมิน
คำกล่าวต้อนรับคณะกรรมการประเมินคำกล่าวต้อนรับคณะกรรมการประเมิน
คำกล่าวต้อนรับคณะกรรมการประเมินpupphawittayacom
 
แบบสอบถาม โครงการบันทึกรักการอ่าน2013
แบบสอบถาม โครงการบันทึกรักการอ่าน2013แบบสอบถาม โครงการบันทึกรักการอ่าน2013
แบบสอบถาม โครงการบันทึกรักการอ่าน2013Kruthai Kidsdee
 
แบบฝึกทักษะวิชาวิทยาศาสตร์ป.1สิ่งมีชีวิต
แบบฝึกทักษะวิชาวิทยาศาสตร์ป.1สิ่งมีชีวิตแบบฝึกทักษะวิชาวิทยาศาสตร์ป.1สิ่งมีชีวิต
แบบฝึกทักษะวิชาวิทยาศาสตร์ป.1สิ่งมีชีวิตsripayom
 
ตัวอย่าง PPT นำเสนอประเมินการพัฒนางาน ว.PA (15 นา.pptx
ตัวอย่าง PPT นำเสนอประเมินการพัฒนางาน ว.PA (15 นา.pptxตัวอย่าง PPT นำเสนอประเมินการพัฒนางาน ว.PA (15 นา.pptx
ตัวอย่าง PPT นำเสนอประเมินการพัฒนางาน ว.PA (15 นา.pptxJessie SK
 
เขียนเรื่องจากจินตนาการ ป.3
เขียนเรื่องจากจินตนาการ ป.3เขียนเรื่องจากจินตนาการ ป.3
เขียนเรื่องจากจินตนาการ ป.3เกษสุดา สนน้อย
 
แบบฝึกเสริมทักษะ ชุด มาตราตัวสะกด ป.4
แบบฝึกเสริมทักษะ ชุด มาตราตัวสะกด ป.4แบบฝึกเสริมทักษะ ชุด มาตราตัวสะกด ป.4
แบบฝึกเสริมทักษะ ชุด มาตราตัวสะกด ป.4Sasiprapha Srisaeng
 
ประโยคในภาษาไทย
ประโยคในภาษาไทยประโยคในภาษาไทย
ประโยคในภาษาไทยLilrat Witsawachatkun
 
โครงสร้างหลักสูตรประถม
โครงสร้างหลักสูตรประถมโครงสร้างหลักสูตรประถม
โครงสร้างหลักสูตรประถมwangasom
 

La actualidad más candente (20)

คำบุพบท
คำบุพบทคำบุพบท
คำบุพบท
 
แบบฝึกเสริมทักษะการอ่านจับใจความชั้นป.3
แบบฝึกเสริมทักษะการอ่านจับใจความชั้นป.3แบบฝึกเสริมทักษะการอ่านจับใจความชั้นป.3
แบบฝึกเสริมทักษะการอ่านจับใจความชั้นป.3
 
กลุ่มที่ ๒
กลุ่มที่ ๒กลุ่มที่ ๒
กลุ่มที่ ๒
 
แบบประเมินผลชิ้นงาน
แบบประเมินผลชิ้นงานแบบประเมินผลชิ้นงาน
แบบประเมินผลชิ้นงาน
 
เขียนเรื่องจากจินตนาการ ป.3
เขียนเรื่องจากจินตนาการ ป.3เขียนเรื่องจากจินตนาการ ป.3
เขียนเรื่องจากจินตนาการ ป.3
 
บทอาขยาน ภาษาไทย ม.๓
บทอาขยาน ภาษาไทย ม.๓บทอาขยาน ภาษาไทย ม.๓
บทอาขยาน ภาษาไทย ม.๓
 
ข้อสอบอ่านจับใจความสำคัญ ป.6
ข้อสอบอ่านจับใจความสำคัญ ป.6ข้อสอบอ่านจับใจความสำคัญ ป.6
ข้อสอบอ่านจับใจความสำคัญ ป.6
 
คำกริยาที่บ่งบอกพฤติกรรมการเรียนรู้ KPA
คำกริยาที่บ่งบอกพฤติกรรมการเรียนรู้ KPAคำกริยาที่บ่งบอกพฤติกรรมการเรียนรู้ KPA
คำกริยาที่บ่งบอกพฤติกรรมการเรียนรู้ KPA
 
การเทียบเสียงตัวอักษรภาษาอังกฤษกับไทย
การเทียบเสียงตัวอักษรภาษาอังกฤษกับไทยการเทียบเสียงตัวอักษรภาษาอังกฤษกับไทย
การเทียบเสียงตัวอักษรภาษาอังกฤษกับไทย
 
ใบงานที่ 1-5 ม.1 1/61
ใบงานที่ 1-5 ม.1 1/61ใบงานที่ 1-5 ม.1 1/61
ใบงานที่ 1-5 ม.1 1/61
 
คำกล่าวต้อนรับคณะกรรมการประเมิน
คำกล่าวต้อนรับคณะกรรมการประเมินคำกล่าวต้อนรับคณะกรรมการประเมิน
คำกล่าวต้อนรับคณะกรรมการประเมิน
 
แบบสอบถาม โครงการบันทึกรักการอ่าน2013
แบบสอบถาม โครงการบันทึกรักการอ่าน2013แบบสอบถาม โครงการบันทึกรักการอ่าน2013
แบบสอบถาม โครงการบันทึกรักการอ่าน2013
 
แบบฝึกทักษะวิชาวิทยาศาสตร์ป.1สิ่งมีชีวิต
แบบฝึกทักษะวิชาวิทยาศาสตร์ป.1สิ่งมีชีวิตแบบฝึกทักษะวิชาวิทยาศาสตร์ป.1สิ่งมีชีวิต
แบบฝึกทักษะวิชาวิทยาศาสตร์ป.1สิ่งมีชีวิต
 
ตัวอย่าง PPT นำเสนอประเมินการพัฒนางาน ว.PA (15 นา.pptx
ตัวอย่าง PPT นำเสนอประเมินการพัฒนางาน ว.PA (15 นา.pptxตัวอย่าง PPT นำเสนอประเมินการพัฒนางาน ว.PA (15 นา.pptx
ตัวอย่าง PPT นำเสนอประเมินการพัฒนางาน ว.PA (15 นา.pptx
 
เขียนเรื่องจากจินตนาการ ป.3
เขียนเรื่องจากจินตนาการ ป.3เขียนเรื่องจากจินตนาการ ป.3
เขียนเรื่องจากจินตนาการ ป.3
 
แบบฝึกเสริมทักษะ ชุด มาตราตัวสะกด ป.4
แบบฝึกเสริมทักษะ ชุด มาตราตัวสะกด ป.4แบบฝึกเสริมทักษะ ชุด มาตราตัวสะกด ป.4
แบบฝึกเสริมทักษะ ชุด มาตราตัวสะกด ป.4
 
ตัวอย่างโครงงานคอมพิวเตอร์
ตัวอย่างโครงงานคอมพิวเตอร์ตัวอย่างโครงงานคอมพิวเตอร์
ตัวอย่างโครงงานคอมพิวเตอร์
 
ประโยคในภาษาไทย
ประโยคในภาษาไทยประโยคในภาษาไทย
ประโยคในภาษาไทย
 
โครงสร้างหลักสูตรประถม
โครงสร้างหลักสูตรประถมโครงสร้างหลักสูตรประถม
โครงสร้างหลักสูตรประถม
 
การลบแบบมีการยืม 3 หลัก สำหรับ ป.1
การลบแบบมีการยืม 3 หลัก สำหรับ ป.1การลบแบบมีการยืม 3 หลัก สำหรับ ป.1
การลบแบบมีการยืม 3 หลัก สำหรับ ป.1
 

Destacado

งานนำเสนอ1ภาษาไทย(ประโยคความรวม) (2)
งานนำเสนอ1ภาษาไทย(ประโยคความรวม) (2)งานนำเสนอ1ภาษาไทย(ประโยคความรวม) (2)
งานนำเสนอ1ภาษาไทย(ประโยคความรวม) (2)Nongkran Jarurnphong
 
ชนิดของประโยคแบ่งตามเจตนา ๕ ๙
ชนิดของประโยคแบ่งตามเจตนา ๕ ๙ชนิดของประโยคแบ่งตามเจตนา ๕ ๙
ชนิดของประโยคแบ่งตามเจตนา ๕ ๙Nongkran Jarurnphong
 
ประโยคตามเจตนา 7
ประโยคตามเจตนา 7ประโยคตามเจตนา 7
ประโยคตามเจตนา 7Nongkran Jarurnphong
 
ประโยคความรวม กลุ่ม๓
ประโยคความรวม กลุ่ม๓ประโยคความรวม กลุ่ม๓
ประโยคความรวม กลุ่ม๓Nongkran Jarurnphong
 
คำนาม111
คำนาม111คำนาม111
คำนาม111wannisa_md
 
พลิกโฉมกระบวนการเรียนรู้ด้วยทฤษฎี Bbl
พลิกโฉมกระบวนการเรียนรู้ด้วยทฤษฎี Bblพลิกโฉมกระบวนการเรียนรู้ด้วยทฤษฎี Bbl
พลิกโฉมกระบวนการเรียนรู้ด้วยทฤษฎี Bblวิพร มาตย์นอก
 
เฉลยแบบฝึกหัดชนิดของคำ
เฉลยแบบฝึกหัดชนิดของคำเฉลยแบบฝึกหัดชนิดของคำ
เฉลยแบบฝึกหัดชนิดของคำKu'kab Ratthakiat
 
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ ภาษาไทย ป.5 ใหม่1
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ ภาษาไทย  ป.5   ใหม่1ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ ภาษาไทย  ป.5   ใหม่1
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ ภาษาไทย ป.5 ใหม่1sripayom
 
ข้อสอบพร้อมเฉลยอย่างละเอียด O net - ภาษาไทย
ข้อสอบพร้อมเฉลยอย่างละเอียด O net - ภาษาไทยข้อสอบพร้อมเฉลยอย่างละเอียด O net - ภาษาไทย
ข้อสอบพร้อมเฉลยอย่างละเอียด O net - ภาษาไทยSuriyawaranya Asatthasonthi
 

Destacado (17)

ใบงานที่ 1 เรื่องคำนาม
ใบงานที่ 1  เรื่องคำนามใบงานที่ 1  เรื่องคำนาม
ใบงานที่ 1 เรื่องคำนาม
 
Powerpoint คำนาม ม.1
Powerpoint คำนาม ม.1Powerpoint คำนาม ม.1
Powerpoint คำนาม ม.1
 
กลุ่มที่ ๑
กลุ่มที่ ๑กลุ่มที่ ๑
กลุ่มที่ ๑
 
งานนำเสนอ1ภาษาไทย(ประโยคความรวม) (2)
งานนำเสนอ1ภาษาไทย(ประโยคความรวม) (2)งานนำเสนอ1ภาษาไทย(ประโยคความรวม) (2)
งานนำเสนอ1ภาษาไทย(ประโยคความรวม) (2)
 
ชนิดของประโยคแบ่งตามเจตนา ๕ ๙
ชนิดของประโยคแบ่งตามเจตนา ๕ ๙ชนิดของประโยคแบ่งตามเจตนา ๕ ๙
ชนิดของประโยคแบ่งตามเจตนา ๕ ๙
 
ประโยคตามเจตนา 7
ประโยคตามเจตนา 7ประโยคตามเจตนา 7
ประโยคตามเจตนา 7
 
Flickr
FlickrFlickr
Flickr
 
ประโยคความรวม กลุ่ม๓
ประโยคความรวม กลุ่ม๓ประโยคความรวม กลุ่ม๓
ประโยคความรวม กลุ่ม๓
 
คำนาม111
คำนาม111คำนาม111
คำนาม111
 
พลิกโฉมกระบวนการเรียนรู้ด้วยทฤษฎี Bbl
พลิกโฉมกระบวนการเรียนรู้ด้วยทฤษฎี Bblพลิกโฉมกระบวนการเรียนรู้ด้วยทฤษฎี Bbl
พลิกโฉมกระบวนการเรียนรู้ด้วยทฤษฎี Bbl
 
ใบงานที่1 คำนาม
ใบงานที่1 คำนามใบงานที่1 คำนาม
ใบงานที่1 คำนาม
 
คำสรรพนาม
คำสรรพนามคำสรรพนาม
คำสรรพนาม
 
เฉลยแบบฝึกหัดชนิดของคำ
เฉลยแบบฝึกหัดชนิดของคำเฉลยแบบฝึกหัดชนิดของคำ
เฉลยแบบฝึกหัดชนิดของคำ
 
ใบงาน
ใบงานใบงาน
ใบงาน
 
โจทย์ปัญหาระคนป.3 4
โจทย์ปัญหาระคนป.3 4โจทย์ปัญหาระคนป.3 4
โจทย์ปัญหาระคนป.3 4
 
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ ภาษาไทย ป.5 ใหม่1
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ ภาษาไทย  ป.5   ใหม่1ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ ภาษาไทย  ป.5   ใหม่1
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ ภาษาไทย ป.5 ใหม่1
 
ข้อสอบพร้อมเฉลยอย่างละเอียด O net - ภาษาไทย
ข้อสอบพร้อมเฉลยอย่างละเอียด O net - ภาษาไทยข้อสอบพร้อมเฉลยอย่างละเอียด O net - ภาษาไทย
ข้อสอบพร้อมเฉลยอย่างละเอียด O net - ภาษาไทย
 

Similar a แบบเรียนชนิดของคำ

บทเรียนสำเร็จรูปภาษาไทยป6
บทเรียนสำเร็จรูปภาษาไทยป6บทเรียนสำเร็จรูปภาษาไทยป6
บทเรียนสำเร็จรูปภาษาไทยป6thaneerat
 
บทเรียนสำเร็จรูปภาษาไทย
บทเรียนสำเร็จรูปภาษาไทยบทเรียนสำเร็จรูปภาษาไทย
บทเรียนสำเร็จรูปภาษาไทยthaneerat
 
คำในภาษาไทย
คำในภาษาไทยคำในภาษาไทย
คำในภาษาไทยSiraporn Boonyarit
 
การร้อยเรียงประโยค ครูคุณานนต์
การร้อยเรียงประโยค ครูคุณานนต์การร้อยเรียงประโยค ครูคุณานนต์
การร้อยเรียงประโยค ครูคุณานนต์คุณานนต์ ทองกรด
 
คำในภาษาไทย (1)
คำในภาษาไทย (1)คำในภาษาไทย (1)
คำในภาษาไทย (1)perunruk
 
บทเรียน เรื่อง คำสรรพนาม ป.5
บทเรียน เรื่อง คำสรรพนาม ป.5บทเรียน เรื่อง คำสรรพนาม ป.5
บทเรียน เรื่อง คำสรรพนาม ป.5ปวริศา
 
โครงงานคอมพิวเตอร์ เรื่องสื่อการสอนภาษาไทย
โครงงานคอมพิวเตอร์ เรื่องสื่อการสอนภาษาไทยโครงงานคอมพิวเตอร์ เรื่องสื่อการสอนภาษาไทย
โครงงานคอมพิวเตอร์ เรื่องสื่อการสอนภาษาไทยNook Kanokwan
 
PowerPoint Presentation
PowerPoint PresentationPowerPoint Presentation
PowerPoint PresentationVisualBee.com
 
อุปกรณ์การประพันธ์
อุปกรณ์การประพันธ์อุปกรณ์การประพันธ์
อุปกรณ์การประพันธ์Kalasom Mad-adam
 
อุปกรณ์การประพันธ์
อุปกรณ์การประพันธ์อุปกรณ์การประพันธ์
อุปกรณ์การประพันธ์Kalasom Mad-adam
 
บทเรียนเรื่อง คำวิเศษณ์
บทเรียนเรื่อง คำวิเศษณ์บทเรียนเรื่อง คำวิเศษณ์
บทเรียนเรื่อง คำวิเศษณ์ปวริศา
 
ชุดฝึกทักษะเพื่อพัฒนาการเรียนคำประสม
ชุดฝึกทักษะเพื่อพัฒนาการเรียนคำประสมชุดฝึกทักษะเพื่อพัฒนาการเรียนคำประสม
ชุดฝึกทักษะเพื่อพัฒนาการเรียนคำประสมkrupanida sornkheang
 
บทเรียน เรื่อง คำนาม ป.5
บทเรียน เรื่อง คำนาม ป.5บทเรียน เรื่อง คำนาม ป.5
บทเรียน เรื่อง คำนาม ป.5ปวริศา
 
(การทำข้อสอบ Reading passage)
(การทำข้อสอบ Reading passage)(การทำข้อสอบ Reading passage)
(การทำข้อสอบ Reading passage)pingpingmum
 

Similar a แบบเรียนชนิดของคำ (20)

บทเรียนสำเร็จรูปภาษาไทยป6
บทเรียนสำเร็จรูปภาษาไทยป6บทเรียนสำเร็จรูปภาษาไทยป6
บทเรียนสำเร็จรูปภาษาไทยป6
 
บทเรียนสำเร็จรูปภาษาไทย
บทเรียนสำเร็จรูปภาษาไทยบทเรียนสำเร็จรูปภาษาไทย
บทเรียนสำเร็จรูปภาษาไทย
 
คำในภาษาไทย
คำในภาษาไทยคำในภาษาไทย
คำในภาษาไทย
 
คำกริยา
คำกริยาคำกริยา
คำกริยา
 
การร้อยเรียงประโยค ครูคุณานนต์
การร้อยเรียงประโยค ครูคุณานนต์การร้อยเรียงประโยค ครูคุณานนต์
การร้อยเรียงประโยค ครูคุณานนต์
 
คำในภาษาไทย (1)
คำในภาษาไทย (1)คำในภาษาไทย (1)
คำในภาษาไทย (1)
 
คำสรรพนาม
คำสรรพนามคำสรรพนาม
คำสรรพนาม
 
บทเรียน เรื่อง คำสรรพนาม ป.5
บทเรียน เรื่อง คำสรรพนาม ป.5บทเรียน เรื่อง คำสรรพนาม ป.5
บทเรียน เรื่อง คำสรรพนาม ป.5
 
โครงงานคอมพิวเตอร์ เรื่องสื่อการสอนภาษาไทย
โครงงานคอมพิวเตอร์ เรื่องสื่อการสอนภาษาไทยโครงงานคอมพิวเตอร์ เรื่องสื่อการสอนภาษาไทย
โครงงานคอมพิวเตอร์ เรื่องสื่อการสอนภาษาไทย
 
Korat
KoratKorat
Korat
 
การจำแนกชนิดคำในภาษาไทย
การจำแนกชนิดคำในภาษาไทยการจำแนกชนิดคำในภาษาไทย
การจำแนกชนิดคำในภาษาไทย
 
PowerPoint Presentation
PowerPoint PresentationPowerPoint Presentation
PowerPoint Presentation
 
อุปกรณ์การประพันธ์
อุปกรณ์การประพันธ์อุปกรณ์การประพันธ์
อุปกรณ์การประพันธ์
 
อุปกรณ์การประพันธ์
อุปกรณ์การประพันธ์อุปกรณ์การประพันธ์
อุปกรณ์การประพันธ์
 
คำนาม
คำนามคำนาม
คำนาม
 
การสร้างคำในภาษาไทย
การสร้างคำในภาษาไทยการสร้างคำในภาษาไทย
การสร้างคำในภาษาไทย
 
บทเรียนเรื่อง คำวิเศษณ์
บทเรียนเรื่อง คำวิเศษณ์บทเรียนเรื่อง คำวิเศษณ์
บทเรียนเรื่อง คำวิเศษณ์
 
ชุดฝึกทักษะเพื่อพัฒนาการเรียนคำประสม
ชุดฝึกทักษะเพื่อพัฒนาการเรียนคำประสมชุดฝึกทักษะเพื่อพัฒนาการเรียนคำประสม
ชุดฝึกทักษะเพื่อพัฒนาการเรียนคำประสม
 
บทเรียน เรื่อง คำนาม ป.5
บทเรียน เรื่อง คำนาม ป.5บทเรียน เรื่อง คำนาม ป.5
บทเรียน เรื่อง คำนาม ป.5
 
(การทำข้อสอบ Reading passage)
(การทำข้อสอบ Reading passage)(การทำข้อสอบ Reading passage)
(การทำข้อสอบ Reading passage)
 

แบบเรียนชนิดของคำ

  • 2. หน้าที่ของคา คาต่าง ๆ ไม่ว่าจะเป็นคานาม สรรพนาม กริยา วิเศษณ์ สันธาน บุพบท และคา อุทาน จะเข้าประโยคโดยการเรียงคาในประโยค คาใดจะทาหน้าที่อะไรและจะเป็นคาชนิดใดนั้น จะดูได้จากตาแหน่งของคาในประโยค เช่นคาว่า “ขัน” เราไม่สามารถจะบอกได้ว่าเป็นคานาม คากริยา หรือคาวิเศษณ์ จนกว่าคานั้นจะเข้ารูปประโยค เช่น ไก่ขันตอนเช้า ฉันลุกขึ้นนาขันไปตักน้าล้างหน้า ฉันเห็นเจ้าปุยเดินมาดูน่าขัน คาว่า “ขัน” เมื่อเข้าประโยคจะบอกหน้าที่ของคาในประโยคว่าขันคาแรกเป็นคากริยา คาที่สองเป็นคานาม และขันคาที่สามเป็นคาวิเศษณ์ สวัสดีค่ะ เพื่อน ๆ วันนี้ ปุยฝ้ายจะพาทุกคนมาเรียน เรื่อง ชนิดของคากันนะคะ ในการใช้ภาษาเราควรทราบว่า คาไหนมีใช้อย่างไร เพื่อประโยชน์ในการสื่อสาร นักไวยกรณ์ได้สังเกตความหมายและหน้าที่ของคาในประโยค แล้วจึงแบ่งคาในภาษาไทย ออกเป็นหมวดได้แบ่งคาออกเป็น 7 ชนิด คือ 1. คานาม 2. คาสรรพนาม 3. คากริยา 4. คาวิเศษณ์ 5. คาสันธาน 6. คาบุพบท 7. คาอุทาน
  • 3. คานาม คือคาที่เป็นชื่อของคน สัตว์ สิ่งของ และกิริยาอาการ ต่าง ๆ แบ่งออกเป็น 5 ชนิด คือ 1. สามานยนาม คือคาที่เป็นชื่อของ คน สัตว์ สถานที่ สิ่งของ และกิริยาอาการทั่วไป 2. วิสามานยนาม คือคานามที่เป็นชื่อเฉพาะของ คน สัตว์ สถานที่ และสิ่งของ เป็นชื่อที่บัญญัติขึ้นสาหรับใช้เรียกเฉพาะลงไปว่า เป็นใครหรืออะไร 3. ลักษณะนาม คือคานามนามที่ทาหน้าที่ประกอบนามอื่น เพื่อแสดง รูปลักษณะ ขนาดหรือปริมาณของนามนั้นให้ชัดเจนยิ่งขึ้น 4. สมุหนาม ได้แก่ ก. คานามที่ทาหน้าที่แสดงหมวดหมู่ของสามานยนามและวิสามานยนาม ข. คานามที่เป็นชื่อของสถานที่หรือองค์การต่าง ๆ แต่สมมติให้เป็นบุคคล ขึ้นตาม ความนิยมของภาษา 5. อาการนาม หรือคานามซึ่งเกิดจากคากริยาหรือคาวิเศษณ์ที่มีคา “การ” หรือ “ความ” นาหน้าคานามชนิดนี้มีลักษณะผิดกับคานามชนิดอื่น คือใช้ คาประสมทั้งสิ้น เช่น การยืน การเดิน การนั่ง การนอน ความคิด ความนึก คานาม
  • 4. รู้จักคานามกันแล้วต่อไปเราก็ มาเรียนเรื่องต่อไปกันเลย คาสรรพนาม สรรพนาม คือคาที่ใช้แทนนามหรือข้อความที่กล่าวมาแล้ว เพื่อไม่ ต้องกล่าวนามหรือข้อความนั้นซ้าอีก เพราะภาษาต้องการความไพเราะและ ความหมดจดเกลี้ยงเกลา สรรพนามแบ่งออกเป็น 6 ชนิด 1. บุรุษสรรพนาม คือสรรพนามที่ใช้แทนชื่อผู้พูด ที่พูดด้วย และที่ พูดถึง แบ่งออกเป็น 3 ชนิด คือ 1) บุรุษที่ 1 ใช้แทนชื่อผู้พูด เช่น ฉัน ผม ข้าพเจ้า เป็นต้น 2) บุรุษที่ 2 ใช้แทนชื่อผู้ที่พูดด้วย เช่น ท่าน เธอ ฝ่าพระบาท เป็นต้น 3) บุรุษที่ 3 ใช้แทนชื่อผู้ที่พูดถึง เช่น เขา มัน ใคร อะไร ผู้ใด เป็นต้น
  • 5. 2. ประพันธสรรพนาม คือสรรพนามที่ใช้แทนนาม หรือแทนสรรพนามที่ อยู่ติดต่อกันข้างหน้า ได้แก่คาว่า ผู้ ที่ ซึ่ง อัน ดัง ผู้ที่ ผู้ซึ่ง 3. วิภาคสรรพนาม หรือสรรพนามที่ใช้แทนนามหรือสรรพนามที่แยก ออกเป็นแต่ละคน แต่ละสิ่ง หรือแต่ละพวก ได้แก่คาว่า ต่าง บ้าง กัน 4. นิยมสรรพนาม คือสรรพนามที่ใช้แทนนามหรือข้อความที่กล่าวมาแล้ว หรือที่ปรากฏอยู่เฉพาะหน้า เป็นสรรพนามชี้เฉพาะเพื่อบ่งความชัดเจน ได้แก่ นี่ นั่น โน่น นี้ นั้น โน้น ทั้งนี้ ทั้งนั้น 5. อนิยมสรรพนาม คือสรรพนามทีใช้แทนนามทั่ว ๆ ไป ไม่ชี้ เฉพาะเจาะจงเหมือนนิยมสรรพนาม ได้แก่ ใคร อะไร ไหน ผู้ใด อื่น ผู้อื่น ชาว อะไร ชาวไหน ชาวอื่น ผู้ใดผู้หนึ่ง ผู้หนึ่งผู้ใด 6. ปฤจฉาสรรพนาม คือสรรพนามที่ใช้แทนนามแต่มีเนื้อความเป็นคาถาม ได้แก่ ใคร อะไร ไหน ผู้ใด ชาวอะไร ชาวไหน ฯลฯ รู้แล้ว ! คาสรรพนาม ก็ไม่ได้ยากอย่างที่คิด
  • 6. เพื่อน ๆ อยากรู้ไหมว่า คากริยานั้นสาคัญไฉน ถ้า อยากรู้แล้วเรามารู้จักคากริยา กันเลย คากริยา คากริยา คือคาที่แสดงอาการของนามและสรรพนาม หรทอแสดงการกระทา ของประธานแบ่งออกเป็น 5 ชนิด 1. สกรรมกริยา คือกริยาที่ต้องมีกรรมมารับจึงจะให้ความสมบูรณ์ครบถ้วน เช่น 1. ทหาร ถือ ปืน 2. คนครัว หุง ข้าว 3. กสิกร ไถ นา 2. อกรรมกริยา คือ กริยาที่มีความหมายครบถ้วนในตัวเองโดยไม่ต้องมีกรรม มารับ เช่น 1. นักเรียน เดิน ที่ถนน 2. นก บิน ในอากาศ 3. เด็ก นั่ง บนเตียง
  • 7. 3. วิกตรรถกริยา คือกริยาที่ไม่สาเร็จความหมายในตัวเอง และใช้เป็นกริยาของ ประธานตามลาพังตัวเองไม่ได้ จะต้องมีคานาม คาสรรพนามหรือคาวิเศษณ์มาขยาย จึงจะได้ความ กริยาพวกนี้ได้แก่คาว่า เป็น เหมือน เท่า คล้าย เสมือน ดุจ ประดุจ ประหนึ่ง ราวกับ เพียงดัง เปรียบเหมือน อุปมา เหมือน 4. กริยานุเคราะห์ คือคากริยาที่ทาหน้าที่ช่วยกริยาชนิดอื่นให้แสดงความหมาย ออกมาเป็น กาล มาลา หรือ วาจก ต่าง ๆ เพราะคากริยาในภาษาไทยมีรูปคงที่ ไม่ เปลี่ยนรูปไปตามกาล มาลา หรือ วาจก เหมือนภาษาที่มีวิภัตติปัจจัย เช่น ภาษา บาลี สันสกฤต และอังกฤษ เป็นต้น 5. กริยาสภาวมาลา คือคากริยาที่ทาหน้าที่คล้ายกับนาม อาจเป็นประธาน เป็นกรรม หรือเป็นขยายส่วนใดส่วนหนึ่งของประโยคก็ได้ เช่น 1. นอน มีประโยชน์กว่าอิริยาบถอื่น (นอน เป็นประธานของกริยา มี) 2. ฉันชอบ ดู ภาพยนตร์ (ดู เป็นกรรมของกริยา ชอบ) 3. เขาออมทรัพย์ไว้เพื่อ ซื้อ รองเท้า(ซื้อ เป็นบทขยายของกริยา ออม) คากริยาไม่ยากเลย รู้แล้วก็ ใช้ให้ถูกต้องด้วยนะคะ
  • 8. คาวิเศษณ์ คาวิเศษณ์ คือคาที่ทาหน้าที่ประกอบคานาม, คาสรรพนาม, คากริยา และ คาวิเศษณ์ด้วยกันให้ได้ความชัดเจนยิ่งขึ้น เช่น 1. ประกอบคานาม 1. คน อ้วน เป็นเพื่อนกับคน ผอม 2. โต๊ะ กลม ทาสี เหลือง 2. ประกอบคาสรรพนาม 1. ท่าน ทั้งหลาย อยากดูใคร บ้าง 2. เขา ทั้งหมด จะมาหาเรา ทั้งสอง วันนี้ 3. ประกอบคากริยา 1. เขาพูด เพราะ 2. ม้าวิ่ง เร็ว 4. ประกอบคาวิเศษณ์ 1. เขากินอาหาร จุ มาก (ประกอบ จุ) 2. คนอ้วน ตุ๊ตะ วิ่งช้า (ประกอบ อ้วน) คาวิเศษณ์ทาหน้าที่ประกอบทั้ง คานาม สรรพนาม กริยา และ ประกอบคาวิเศษณ์
  • 9. ชนิดของคาวิเศษณ์ แบ่งออกเป็น 10 ชนิด คือ 1. ลักษณวิเศษณ์ คือคาวิเศษณ์ที่ประกอบบอกลักษณะต่าง ๆ เช่น บอกชนิด (ดี, ชั่ว) สี (ขาว, ดา) สัณฐาน (กลม, แบน) ขนาด (เล็ก, ใหญ่) เสียง (โครม, เปรี้ยง) อาการ (เร็ว, ช้า) 2. กาลวิเศษณ์ คือคาวิเศษณ์ที่ปรกอบบอกเวลา เช่น เช้า สาย บ่าย เย็น เที่ยง ค่า อดีต อนาคต ปัจจุบัน 3. สถานวิเศษณ์ คือคาวิเศษณ์ที่ประกอบบอกสถานที่ เช่น บน ล่าง เหนือ ใต้ ไกล ใกล้ บก น้า บ้าน ป่า ฯลฯ 4. ประมาณวิเศษณ์ คือคาวิเศษณ์ที่ประกอบบอกจานวน แบ่งออกเป็น 2 ชนิด คือ 1. บอกจานวนนับ เช่น หนึ่ง สอง สาม สี่ ห้า ที่หนึ่ง ที่สอง ที่สาม ที่สี่ ที่ห้า ฯลฯ จะใช้เป็นตัวเลข หรือตัวหนังสือก็ได้ 2. บอกจานวนปริมาณ คือ มิได้บอกชัดลงไปว่าเท่านั้นเท่านี้ เป็นแต่กาหนด ว่ามากหรือน้อยซึ่งพอจะรู้ความหมายได้โดยปริมาณ 5. นิยมวิเศษณ์ คือคาวิเศษณ์ที่ประกอบบอกความชี้เฉพาะหรือจากัดลงไปว่าเป็น เช่นนั้นเช่นนี้ หรือสิ่งนั้นสิ่งนี้ เช่น นี่ นั่น โน่น นี้ นั้น โน้น ทั้งนี้ ทั้งนั้น อย่างนี้ อย่าง นั้น ดังนี้ ดังนั้น แท้ จริง เฉพาะ เอง ดอก แน่นอน ทีเดียว เจียว ฯลฯ ต่อไปเรามาดูชนิด ของคาวิเศษณ์กัน เถอะค่ะ
  • 10. 6. อนิยมวิเศษณ์ คือคาวิเศษณ์ที่ประกอบบอกคาไม่ชี้เฉพาะหรือไม่จากัดลงไปว่าเป็น เช่นนั้นเช่นนี้หรือสิ่งนั้นสิ่งนี้ เช่น ใด ไร ไหน กี่ อะไร ทาไม ฉันใด เช่นไร ฯลฯ แต่พึง สังเกตว่า คาพวกนี้จะต้องไม่ใช้ในข้อที่เป็นคาถามหรือสงสัยจึงจะนับว่า เป็นอนิยมวิเศษณ์ ถ้าใช้ ในข้อความที่เป็นคาถามหรือสงสัยเรียกว่า ปฤจฉาวิเศษณ์ 7. ปฤจฉาวิเศษณ์ คือคาวิเศษณ์ที่ประกอบบอกเนื้อความเป็นคาถามหรือความสงสัย เช่น ใด ไร ไหน กี่ อะไร ทาไม ฉันใด ไหม อันใด อย่างไร เท่าไหร่ ไย หรือ หนอ ฯลฯ 8. ประติชญาวิเศษณ์ คือคาวิเศษณ์ที่ประกอบบอกเสียงร้องเรียกและเสียงขานรับเพื่อ แสดงความสละสลวยของภาษาและแสดงความเป็นกันเองในระหว่างผู้พูด เช่น จ๋า ขอรับ เว้ย โวย โว้ย 9. ประติเษธวิเศษณ์ คือคาวิเศษณ์ที่ประกอบบอกความปฏิเสธ หรือไม่ยอมรับ เช่น ไม่ มิ ใช่ ไม่ใช่ บ บ่ บมิ บ่มิ บราง ฤ ฤา มิได้ ไม่ได้ หาไม่ หา....ไม่ หา มิได้ ไม่...มิได้ ไม่...หามิได้ คาประติเษธวิเศษณ์นี้ จะปฏิเสธที่นาม สรรพนาม กริยา หรือ วิเศษณ์ ก็ได้ 10. ประพันธวิเศษณ์ คือคาวิเศษณ์ที่ประกอบคากริยาหรือดาวิเศษณ์ เพื่อเชื่อม ประโยคให้มีข้อความเกี่ยวข้องกัน เช่น ที่ ซึ่ง อัน อย่างที่ ชนิดที่ ให้ ว่า ที่ว่า คือ เพื่อ ให้เพื่อว่า ฯลฯ ชนิดของคาวิเศษณ์มี 10 ชนิดด้วยกันตามที่กล่าวมาแล้ว ข้างต้นนะคะ
  • 11. ต่อไปเราจะมารู้จักกับคา บุพบทกันนะคะเพื่อน ๆ ตั้งใจ กันหน่อย คาบุพบท คาบุพบท คือคาที่แสดงความสัมพันธ์ระหว่างคาหรือประโยค เพื่อให้รู้ว่าคา หรือประโยคที่อยู่หลังบุพบทนั้นมีหน้าที่เกี่ยวข้องกับคาหรือประโยคที่อยู่ข้างหน้า อย่างไร เช่น 1. บุตร ของ นายแดงเรียนเก่งมาก 2. เขาเป็นบิดา แห่ง ประวัติศาสตร์ 3. ฉันทางาน เพื่อ เขา 4. เขาเลี้ยงนกไว้ สาหรับ ดู
  • 12. หน้าที่ของบุพบท คาบุพบททาหน้าที่ 1. นาหน้านาม 1) หนังสือ ของ บิดาหาย 2) เขาไป กับ เพื่อน 2. นาหน้าสรรพนาม 1) ปากกา ของ ฉันอยู่ ที่ เขา 2) ฉันคิด ถึง ท่านมาก 3. นาหน้ากริยา 1) เขากิน เพื่อ อยู่ 2) เขาเก็บอาหารไว้ สาหรับ รับประทาน 3) เขาทางาน กระทั้ง ตาย 4. นาหน้าวิเศษณ์ 1) เขาทา สิ้น ดี 2) ถ้าพูดกัน ตาม จริงแล้ว เขาต้องมาหาฉัน โดย เร็ว 5. นาหน้าประโยค 1) เขายืนใกล้ กับ นายดาทางาน 2) เขามา ตั้งแต่ ฉันตื่นนอน 3) เขาให้รางวัล เฉพาะ คนแต่งโคลงได้ที่หนึ่ง 4) เขาพูดเสียงดัง กับ คนตวาดเขา รู้จักคาบุพบทแล้ว ต่อไปเรา ก็ต้องรู้จักหน้าที่ของมันด้วย
  • 13. คาสันธาน คาสันธาน คือคาที่ทาหน้าที่เชื่อมคากับคา ประโยคกับประโยค ข้อความกับข้อความ หรือเชื่อมความให้สละสลวย ตัวอย่างเช่น 1. เชื่อมคากับคา 1) เขาพบครู และ นักเรียน 2) บิดามารดา และ บุตรไปเที่ยว 3) นายดา กับ นายแดงเป็นเพื่อนกัน 4) เขาเลี้ยงหมู เป็ด ไก่ และ ปลา 2. เชื่อมประโยคกับประโยค 1) นักเรียนมาหาครู และ ผู้ปกครองก็มาด้วย 2) เขาชอบแกงเผ็ด แต่ ฉันชอบแกงจืด 3) เพราะ เขาขยัน เขา จึง สอบไล่ได้ 4) เขามาทางาน หรือ เขามาเล่น 3. เชื่อมข้อความกับข้อความ 1) ชาวต่างชาติเขาเข้ามาอยู่เมืองไทย เขาขยันหมั่นเพียร ไม่ยอมให้ เวลาผ่านไปโดยเปล่าประโยชน์ เขาจึงร่ารวยจนเกือบจะซื้อแผ่นดินไทยได้ทั้งหมดแล้ว เพราะฉะนั้น ขอให้พี่น้องชาวไทยทั้งหลายจงตื่นเถิด จงพากันขยันทางานทุกชนิด เพื่อ จะได้รักษาผืนแผ่นดินของไทยไว้ 4. เชื่อความให้สละสลวย 1) เขา ก็ เป็นคนสาคัญเหมือนกัน 2) อันว่า ทรัพย์สมบัตินั้น เป็นแต่เพียงของนอกกาย ตายแล้ว ก็ เอาไปไม่ได้ 3) อย่างไรก็ตาม ฉันต้องไปกับท่านคนหนึ่งละ
  • 14. ชนิดของสันธาน สันธาน แบ่งออกเป็นชนิดใหญ่ ๆ ได้ 3 ชนิด คือ 1) สันธานที่เชื่อมให้เป็นอเนกรรถประโยค 2) สันธานที่เชื่อมให้สังกรประโยค 3) สันธานที่เชื่อมให้เนื้อความเด่น 1. สันธานที่เชื่อมให้เป็นอเนกรรถประโยค แบ่งออกเป็น 4 ชนิด 1. เชื่อมความที่คล้อยตามกัน คาสันธานที่ใช้ ก็, กับ, และ, จึง, เช่น, ว่า, ให้, คือ, ทั้ง, ครั้น...ก็, ครั้น...จึง, เมื่อ...ก็, พอ...ก็, ทั้ง...ก็, ทั้ง...กับ, ทั้ง...แล, ก็คือ..., ก็ดี, 2. เชื่อมความที่ขัดแย้งกัน คาสันธานที่ใช้ แต่, แต่ว่า, แต่ทว่า, กว่า... ก็, ถึง...ก็ ฯลฯ 3. เชื่อมความเป็นเหตุเป็นผลกัน คาสันธานที่ใช้ เพราะ, ด้วย, จึง, ฉะนั้น, ฉะนี้, ค่าที่, ด้วยว่า, เหตุเพราะ, เหตุว่า, เพราะว่า, ฉะนั้น...จึง, เพราะฉะนั้น, เหตุฉะนี้ ฯลฯ 4. เชื่อมความที่เลือกเอา คาสันธานที่ใช้ หรือ, ไม่ก็, ไม่เช่นนั้น, มิฉะนั้น, หรือมิฉะนั้น คาสันธานใช้ให้ ถูกนะคะ
  • 15. คาอุทาน คือคาที่แสดงถึงเสียงที่เปล่งออกมาในเวลาดีใจ เสียใจ ตกใจ ประหลาดใจ หรือกริ่งใจ เป็นต้น หรือเป็นคาที่ใช้ต่อถ้อยเสริมบทให้บริบูรณ์ ยิ่งขึ้น เสียงที่เปล่งออกมาเป็นคาอุทานนั้นอาจเป็น 1. คา แหม ! พุทโธ่ ! โอ้ ! โอย ! 2. วลี เวรกรรมจริงหนอ ! โอ้อกเราเอ๋ย ! กลุ้มใจจริงด้วย ! 3. ประโยค ไฟไหม้เจ้าข้า ! อกแตกแล้วโว้ย ! รวมความว่า คา วลี หรือประโยคใด ๆ ก็ตาม ถ้านามาใช้แสดงถึงเสียงที่ ดีใจหรือตกใจ เป็นต้น นับว่าเป็นอุทานทั้งสิ้น เรามารู้จักกับคา ชนิดสุดท้ายกันดีกว่าค่ะ คาชนิดสุดท้ายของชนิดของ คาไทย คือ คาอุทาน คาอุทาน
  • 16. ชนิดของคาอุทาน คาอุทานแบ่งออกเป็น 2 ชนิด คือ 1. อุทานบอกอาการ สาหรับ 1) ใช้แสดงความรู้สึกต่าง ๆ ในการพูด เช่นคา ชิ ! ชิ ๆ ! ชิชะ ! โธ่ ! พุทโธ่ ! บ๊ะ ! วะ ! วา ! หื้อหือ ! เหม่ ! แหม ! อนิจจัง ! อ๊ะ ! อือ ! อนิจจา ! อุบ๊ะ ! เอ ! เอ๊ะ ! เอ๊ว ! เอ้อเฮอ ! โอ ! โอย ! โอ๊ย ! ฮะ ! ฮึ ! เฮ้ ! เฮ้ว ! เฮ้ย ! เฮ้อ ! ไฮ้ ! เป็นต้น คาเหล่านี้ใช้แสดงความรู้สึกต่าง ๆ กัน คือ ชิ ! ชิ ๆ ! ชิชะ ! ใช้แสดงความ เสียดาย หรือ โกรธ โธ่ ! ” อนาถใจ หรือสงสาร พุทโธ่ ! ” สงสาร น้อยใจ เสียใจ บ๊ะ ! วะ ! ” ประหลาดใจ 2) ใช้เป็นคาขึ้นต้นประโยคในคาประพันธ์ เพื่อแสดงความราพึง ราพัน วิงวอน หรือปลอบโยน เป็นต้น ได้แก่คา อ้า โอ้ โอ้ว่า อ้า ใช้แสดงความ ราพึง หรือพรรณนาวิงวอน โอ้ โอ้ว่า ใช้แสดงความ ราพึง ปลอบโยน หรือคร่า ครวญ เมื่อทราบ ความหมายแล้วเรามา ทราบชนิดของคากัน ดีกว่าค่ะ
  • 17. 2. อุทานเสริมบท คืออุทานที่ใช้เป็นคาสร้อยหรือเสริมบทต่าง ๆ เพื่อให้คาครบถ้วน ตามที่ต้องการ หรือให้มีความกระซับ หรือให้สละสลวยขึ้น มี 3 ชนิด คือ 1) อุทานเสริมบทที่ใช้เป็นคาสร้อย 2) อุทานเสริมบทที่ใช้เป็นคาแทรก 3) อุทานเสริมบทที่ใช้เป็นคาเสริม 1) อุทานเสริมบทที่ใช้เป็นคาสร้อย คืออุทานใช้เป็นสร้อยของโคลง และร่ายหรือใช้ เป็นคาลงท้ายในบทประพันธ์ แสดงว่าจบข้อความบริบูรณ์แล้ว เช่นคา ฮา เฮย แฮ แล นา รา เอย ฯลฯ 2) อุทานเสริมบทที่ใช้เป็นคาแทรก คืออุทานที่ใช้แทรกลงในระหว่างคาหรือข้อความ มี 2 ชนิด คือ 1. ใช้เป็นบทบูรณ์ คือเป็นคาที่ทาให้บทประพันธ์มีพยางค์ครบถ้วนตามฉันท ลักษณ์ได้แก่คา นุซิ สิ นิ เป็น 2. ใช้ประกอบข้างท้ายให้มีความกระชับหรือสละสลวยขึ้น ได้แก่คา นา เอย เอ่ย เอ๋ย โวย ฯลฯ เช่น 3) อุทานเสริมบทที่ใช้เป็นคาเสริม คืออุทานที่ใช้ต่อถ้อยคาให้ยาวออกไป แต่ไม่ ต้องการความหมายที่เสริมนั้น บทเรียนเรื่อง ชนิดของคา ก็จบลงไปแล้วนะคะ เพื่อน ๆ ต่อไปปุยฝ้ายจะพาทุกคนไปทาแบบทดสอบกัน ค่ะ ว่าที่เราเรียนมานั้นเพื่อน ๆ มีความเข้าใจกันมาก น้อยเพียงไร ไปทาแบบทดสอบกันเลย
  • 18. แบบทดสอบ เรื่องชนิดของคา คาชี้แจง ให้นักเรียนเลือกคาตอบที่ถูกที่สุดเพียงข้อเดียว 1. คานามหมายถึง ก. คาที่เป็นชื่อคน สัตว์ สถานที่ สิ่งของ ข. คาที่ใช้เรียกคน สัตว์ สถานที่ สิ่งของ ค. คาที่สร้างมาจากคากริยา โดยใช้คาว่า “ การ ” และ “ ความ ” นาหน้า ง. คาที่แสดงลักษณะของคาอื่นว่าเป็นอย่างไรรวมทั้งบอกการกระทาว่าทาอะไร 2. คาที่ขีดเส้นใต้ต่อไปนี้คาใดเป็นคานาม ก. พี่เป็นคนภาคใต้ ข. เขามาอย่างรวดเร็ว ค. มยุราเดินบนถนนสายนี้ ง. ภูเขาสูงแค่ไหนก็ยังวัดได้ 3. ประโยคต่อนี้ประโยคใดมีคานามมากที่สุด ก. คนเดินบนถนน ข. ฟ้ามืดท่าทางฝนจะตก ค. เดือนดาวกาลังจะลับจากฟ้า ง. สายัญไม่เคยลืมสัญญาของเขาเลย 4. คาสรรพนามคืออะไร ก. คาที่ใช้แทนคานาม ข. คาที่ใช้เรียกคน สัตว์ สถานที่ สิ่งของ ค. คาที่เป็นชื่อคน สัตว์ สถานที่ สิ่งของ ง. คาที่แสดงการกระทาของคน สัตว์ ว่าทาอะไร 5. “เค้าบอกว่าอาทิตย์หน้าจะมาเยี่ยม” ประโยคนี้มีคาใดเป็นคาสรรพนาม ก. เค้า ข. ว่า ค. จะ ง. มา 6. “เรื่องนี้เขาไม่ได้บอกใครเลย” คาใดในประโยคนี้เป็นคาสรรพนามไม่ชี้เฉพาะ ก. นี้ ข. เขา ค. ไม่ได้ ง. ใคร
  • 19. 7. คากริยาหมายถึง ก. คาที่ใช้แทนคานาม ข. คาที่ใช้เรียกคน สัตว์ สถานที่ สิ่งของ ค. คาที่เป็นชื่อคน สัตว์ สถานที่ สิ่งของ ง.คาที่แสดงการกระทาและสภาพความมีความเป็น 8. “เค้าบอกว่าอาทิตย์หน้าจะมาเยี่ยม” ประโยคนี้มีคาใดที่เป็นคากริยาที่มีหน่วยกรรม ก. เค้า ข. บอก ค. ว่า ง. มา 9. “อารีย์เรียนจบไปแล้ว” คาใดเป็นคากริยาตาม ก. เรียน ข. จบ ค. ไป ง. แล้ว 10. คาวิเศษณ์คืออะไร ก. คาที่ใช้ขยายคากริยา ข. คาที่เป็นคาหลักของกริยา ค. คาที่แสดงความเข้มข้นของคากริยา ง. คาที่บอกลักษณะทางไวยากรณ์ของคากริยา 11. คาวิเศษณ์มักจะเกิดในตาแหน่งใดของประโยค ก. หน้าคากริยา ข. หลังคากริยา ค. หน้าบทกรรม ง. หลังบทกรรม 12. “นกตัวนี้บินสูง” ประโยคนี้มีคาใดเป็นคาวิเศษณ์ ก. ตัว ข. นี้ ค. บิน ง. สูง
  • 20. 13. คาบุพบทมีกี่ชนิด ก. 3 ข. 4 ค. 5 ง. 6 14. ข้อใด เป็น คาบุพบทบอกสถานที่ ก. บ้านฉันอยู่ใกล้โรงเรียน ข. หนังสือเล่มนี้เป็นของฉัน ค. สวนลุมพินีเป็นสวนสาธารณะสาหรับประชาชน ง. รถคันนั้นวิ่งเร็วกว่ารถคันนี้ 15. ดังนั้น ฉะนั้น เหตุเพราะ เหตุว่า เพราะฉะนั้น...จึง ฉะนั้น...จึง จัดอยู่ใน คาสันธานประเภท ใด ก. คาสันธานเชื่อมประโยคที่มีใจความขัดแย้งกัน ข. คาสันธานเชื่อมประโยคที่มีใจความเลือกอย่างใดอย่างหนึ่ง ค. คาสันธานเชื่อมประโยคเพื่อให้มีความสละสลวย ง. คาสันธานเชื่อมประโยคที่มีใจความเป็นเหตุเป็นผลกัน ขอให้ทุกคนโชคดี และตั้งใจทาแบบทดสอบนะคะ
  • 21. จัดทาโดย นางสาวพิสมัย ทาบุรี นางสาวลดาวัลย์ มั่นจิตร นางสาวสมฤดี หอมจิตร