SlideShare a Scribd company logo
1 of 4
)หน่ว ยการเรีย นรู้ท ี่ 7 ความขัด แย้ง และการประสาน
                       ประโยชน์ ฮ ฮระหว่า งประเทศ
   ใบความรูท ี่ 1 ความขัด แย้ง และการประสานประโยชน์ร ะหว่า งประเทศ
           ้
       ศึก ษาความหมายของความขัด แย้ง
            พจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. 2525 ให้คำาอธิบาย “ ขัดแย้ง” ว่า
“ ขัด” หมายถึงไม่ทำาตาม ฝ่าฝืน ขืนไว้ ส่วน “ แย้ง” หมายถึง ไม่ตรงกัน ไม่ลงรอยกัน
ต้านไว้ ทานไว้ รวมความแล้ว ความขัดแย้งหมายถึง “ สภาพความไม่ลงรอยกัน คือไม่
ยอมทำาตามและยังมีความต้านทานไว้ ”
            นักสังคมวิทยาและนักมานุษยวิทยาเห็นว่า “ความขัดแย้งเป็นผลผลิตของสิ่ง
แวดล้อมในทางสังคม” ส่วนนักเศรษฐศาสตร์เห็นว่า “ความขัดแย้งเป็นการศึกษาและการ
วิเคราะห์ถึงระหว่างผู้แสดงในรายการบางรายการที่หายากและมีคุณค่า” ส่วนนัก
รัฐศาสตร์เห็นว่า “…เป็นสัมพันธภาพระหว่างอำานาจ อิทธิพล และอำานาจหน้าที่ เป็น
พฤติกรรมทางสังคม มองที่การแบ่งอำานาจทางสังคม เกี่ยวกับอำานาจ กระบวนการตัดสิน
ใจระหว่างสถาบันต่างๆ การเมืองระหว่างเอกชน กลุ่ม และชาติ และสัมพันธภาพเช่นนั้น
ทำาให้เกิดความขัดแย้งขึ้นระหว่างบุคคล สังคม และ ระบบ”
          จากความหมายดังกล่าวมาพอสรุปได้ว่า ความขัดแย้งเป็นความรู้สึกนึกคิด หรือ
การกระทำาที่ขัดกันทั้งภายในตนเอง ระหว่างบุคคล และระหว่างกลุ่ม ซึ่งมีผลทำาให้เกิด
การแข่งขัน หรือการทำาลายกัน
         สาเหตุค วามขัด แย้ง ระหว่า งประเทศ
         ศึกษาสาเหตุของความขัดแย้งระหว่างประเทศ ซึ่งแบ่งออกได้ดังต่อไปนี้
         1. สาเหตุค วามขัด แย้ง ของมนุษ ยชาติใ นอดีต ในอดีตมนุษยชาติมีปัญหา
ความขัดแย้งไม่ลงรอยกัน ทั้งขัดแย้งทางความคิดและการกระทำา ซึ่งนำาไปสู่การต่อสู้หรือ
ทำาสงครามทำาลายล้างกัน สาเหตุที่ทำาให้เกิดความขัดแย้ง ได้แก่
               (1) แย่งชิงดินแดนและที่อยู่อาศัย
               (2) แย่งชิงแหล่งนำ้าและอาหาร
               (3) แย่งชิงทรัพย์สินและกวาดต้อนผู้คน เพื่อนำามาใช้เป็นกำาลังแรงงาน
               (4) ความขัดแย้งในความเชื่อและศาสนา
         2. สาเหตุค วามขัด แย้ง ของมนุษ ยชาติใ นยุค ปัจ จุบ ัน ภายหลังสงครามโลก
ครั้งที่ 2 (ค.ศ.1939-1945) สิ้นสุดลง ความขัดแย้งของมนุษยชาติในสมัยปัจจุบันยิ่งเพิ่ม
มากขึ้น โดยมีสาเหตุสรุปได้ดังนี้
               2.1 ความแตกต่างทางด้านสังคมและวัฒนธรรม
               2.2 ความแตกต่างทางด้านอุดมการณ์ทางการเมืองและระบบเศรษฐกิจ
               2.3 การแข่งขันด้านอาวุธ
               2.4 ลัทธิชาตินิยม
               2.5 การต่อต้านบทบาทของชาติมหาอำานาจ
         3. ความแตกต่า งทางด้า นสัง คมและวัฒ นธรรม ความขัดแย้งของมนุษย์ชาติ
ในสมัยปัจจุบันที่มีสาเหตุเกิดจากความแตกต่างทางด้านสังคมและวัฒนธรรม มีดังนี้
               3.1 ความแตกต่า งทางด้า นเชื้อ ชาติแ ละเผ่า พัน ธุ์ หรือที่เรียกว่า “ลัทธิ
เผ่าพันธุ์นิยม” เป็นความรู้สึกของผู้คนในประเทศหนึ่งที่ผูกพันกับเผ่าพันธุ์เดิมของตน เกิด
ความคิดที่จะแบ่งแยกดินแดนเพื่อตั้งเป็นประเทศเอกราชใหม่และเป็นที่อยู่อาศัยเฉพาะเผ่า
พันธุ์ของตน ดังตัวอย่าง เช่น ชาวโครแอต (Croat) ก่อตั้งประเทศโครเอเชีย (Republic
or Croatia) โดยแยกตัวออกจากสหพันธรัฐยูโกสลาเวีย เมื่อปี ค.ศ.1991
              3.2 ความขัด แย้ง ทางด้า นศาสนา เช่น ความขัดแย้งระหว่างชาวฮินดูกับ
ชาวมุสลิมในอินเดีย หรือความขัดแย้งระหว่างผู้นับถือศาสนาเดียวกันแต่เป็นคนละนิกาย
เช่น สงครามครูเสด เป็นความขัดแย้งระหว่างผู้นับถือศาสนาคริสต์กับศาสนาอิสลาม
              3.3 ความแตกต่า งทางด้า นอารยธรรม ทำาให้มนุษย์เกิดความไม่เข้าใจ
กันและกลายเป็นสาเหตุความขัดแย้งระหว่างประเทศได้ อารยธรรมที่สำาคัญของโลกใน
ปัจจุบัน เช่น อารยธรรมตะวันตก อารยธรรมจีน และ อารยธรรมฮินดู เป็นต้น


       ความร่ว มมือ แก้ไ ขความขัด แย้ง
            ประเภทของความร่วมมือ ความร่วมมือเพื่อแก้ไขปัญหาความขัดแย้งของ
มนุษยชาติ ทั้งภายในประเทศและระหว่างประเทศ จำาแนกเป็น 4 ประเภท ดังนี้
       1. ความร่ว มมือ ทางการเมือ ง เช่น องค์การอาเซียน (ASEAN) ส่งเสริมให้
ประเทศสมาชิกพัฒนาระบอบการเมืองภายในของตนให้เป็นประชาธิปไตยมากขึ้น ดัง
กรณีของประเทศพม่าที่ถูกนานาชาติกดดันให้ปลดปล่อยนางอองซาน ซูจี ผู้นำาต่อต้าน
การปกครองเผด็จการในพม่าให้เป็นอิสระ
       2. ความร่ว มมือ ทางการทหาร เช่น สหรัฐอเมริกาเป็นผู้นำาในการจัดตั้งองค์การ
สนธิสัญญาแอตแลนติกเหนือ (หรือ NATO) เพื่อความร่วมมือทางด้านการทหารและ
ความมั่นคงร่วมกันระหว่างประเทศในทวีปอเมริกาเหนือและยุโรป ในปัจจุบันมีชาติ
สมาชิก 19 ประเทศ
       3. ความร่ว มมือ ด้า นเศรษฐกิจ มีลักษณะเป็นกลุ่มความร่วมมือทางเศรษฐกิจ
ระหว่างประเทศและเขตการค้าเสรี เช่น สหภาพยุโรป (EU), นาฟตา (NAFTA) และ อาฟ
ตา (AFTA) เป็นต้น
       4. ความร่ว มมือ ทางด้า นการศึก ษา วัฒ นธรรม และอื่น ๆ เช่น องค์การยูเนส
โก (UNESCO) หรือองค์การการศึกษาวิทยาศาสตร์และวัฒนธรรมแห่งสหประชาชาติ
ยูนิเซฟ (UNICEF) หรือกองทุนเด็กแห่งประชาชาติ เป็นต้น
       แนวทางการสร้า งความร่ว มมือ ระหว่า งประเทศ มี 2 ลักษณะ ดังนี้
       1. การสร้า งความร่ว มมือ ในเชิง สร้า งสรรค์ (Positive) เป็น แนวทางโดย
สัน ติว ธ แ ละเกิด ผลอย่า งยืน ยาว มีดังนี้
        ิ ี
              1. การจัดตั้งองค์การความร่วมมือระหว่างประเทศ เช่น องค์การ
สหประชาชาติ (UN) และองค์การการค้าโลก (WTO) เป็นต้น
              2. การจัดทำากฎหมายระหว่างประเทศ หรือข้อตกลงร่วมกัน เช่น ข้อตกลง
 เกี่ยวกับการส่งผู้ร้ายข้ามแดน กฎหมายอาชญากรสงคราม เป็นต้น
              3. การทูต มีการสถาปนาความสัมพันธ์ทางการทูตขั้นปกติ มีสถาน
เอกอัครราชทูตและเอกอัครราชทูตทำาหน้าที่เป็นตัวแทนของประเทศ
              4. การควบคุมและลดกำาลังอาวุธ มีการเจรจาจำากัดการสะสมหรือการ
ทดลองขีปนาวุธต่าง ๆ เพื่อป้องกันมิให้เกิดความหวาดระแวงต่อกัน
              5. ความร่วมมือทางด้านกีฬา ศิลปวัฒนธรรม และด้านอื่น ๆ เช่น การ
แข่งขันกีฬาโอลิมปิก (Olympic) การแข่งขันโอลิมปิกวิชาการ เป็นต้น
2. การสร้า งความร่ว มมือ ที่ไ ม่ส ร้า งสรรค์ (Negative) เป็นความร่วมมือ
ระหว่างประเทศที่ไม่ใช้แนวทางสันติวิธี แต่เป็นลักษณะการต่อต้านและใช้กำาลัง หรือไม่
ติดต่อคบค้าด้วย (Boycott)
              1. กรณีสหรัฐอเมริการ่วมมือกับชาติพันธมิตร เช่น อังกฤษ อิตาลี ฯลฯ ใช้
กำาลังทางทหารเข้าแทรกแซงในอิรัก เพื่อโค่นล้มประธานาธิบดีซัดดัม ฮุสเซน (Saddam
Hussein) เมื่อปี ค.ศ. 2003 (พ.ศ. 2546) โดยอ้างว่าผู้นำาอิรักสนับสนุนการผลิต
ขีปนาวุธที่เป็นภัยคุกคามต่อสันติภาพของโลก
              2. การใช้กำาลังทางทหารเข้าบังคับ หรือการทำาสงคราม มี 2 ระดับ คือ
                    (1) สงครามจำากัดขอบเขต (Limited War) โดยใช้กำาลังทางทหาร
เข้าปฏิบัติการในระยะเวลาและพื้นที่อันจำากัด เพื่อมิให้ฝ่ายตรงข้ามเสียหายมากนัก โดยมี
วัตถุประสงค์เพื่อให้ฝ่ายตรงข้ามปฏิบัติตามนโยบายของตนเท่านั้น เมื่อบรรลุวัตถุประสงค์
ก็ถอนตัวกลับ เช่น สงครามขับไล่อิรักออกจากการยึดครองคูเวตของกองกำาลัง
สหประชาชาติ (UN) โดยการนำาของสหรัฐอเมริกา เมื่อปี ค.ศ.1990
                    (2) สงครามเบ็ดเสร็จ (Absolute War) เป็นสงครามที่ประเทศ
มหาอำานาจใช้กำาลังทางทหารเข้ายึดและครอบครองดินแดนแห่งนั้นไว้ตลอดไป โดย
เข้าไปจัดระเบียบการปกครองใหม่ตามความต้องการของตน และตักตวงผลประโยชน์จาก
ทรัพยากร ธรรมชาติและอื่น ๆ ตัวอย่างเช่น ประเทศอังกฤษ ฝรั่งเศส สเปน ฯลฯ ในช่วง
การขยายตัวของลัทธิจักรวรรดินิยมในคริสต์ศตวรรษที่ 19-20 เป็นต้น
       การแก้ไ ขความขัด แย้ง
       1. การแก้ไ ขความขัด แย้ง ด้ว ยสัน ติว ธ ี โดยใช้ว ธ ีก ารทางการทูต และ
                                                    ิ        ิ
การเมือ ง ได้แก่
             1.1 การเจรจาโดยตรงระหว่างคู่กรณี
             1.2 การไกล่เกลี่ยเพื่อหาข้อยุติ
             1.3 การสืบสวนหาข้อเท็จจริง
             1.4 การเป็นคนกลางเข้ามาช่วยเจรจา
             1.5 การประนีประนอม
             1.6 การตัดสินของศาลยุติธรรมระหว่างประเทศ
       2. การแก้ไ ขความขัด แย้ง ด้ว ยวิธ ีบ ีบ บัง คับ จะใช้วิธีการนี้ในกรณีที่ไม่
สามารถใช้แบบสันติวิธีได้สัมฤทธิ์ผลเท่านั้น แบ่งได้ 2 ทาง คือ
             2.1 การตอบโต้ แบ่งออกเป็นดังนี้
                - รีทอร์ชั่น เป็นวิธีการที่ไม่ขัดต่อกฎหมายระหว่างประเทศแต่ก็ไม่เป็น
มิตร เช่นตัดความสัมพันธ์ทางการทูต
                - รีไพรซอล เป็นวิธีการไม่ถูกต้องตามกฎหมายระหว่างประเทศ เช่น การ
ไม่ยอมปฏิบัติตามพันธกรณีในสนธิสัญญา
                - การใช้มาตรการอื่น ๆ เช่น การควำ่าบาตร การปิดล้อมทะเลอย่างสันติ
เป็นต้น
             2.2 การใช้กำาลัง เป็นวิธีการสุดท้ายที่ทำา คือ ใช้กำาลังสูงสุด คือ การทำา
       สงคราม
                - สงครามจำากัดขอบเขต คือ การใช้กำาลังเข้าบังคับเพื่อคลี่คลายปัญหา
ความขัดแย้ง โดยให้เกิดความเสียหายน้อยที่สุด
                - สงครามเบ็ดเสร็จ คือ การเข้าไปครอบครองดินแดนของชาติอื่น และ
แทรกแซงด้านการบริหารการปกครอง เพื่อสร้างความยิ่งใหญ่กับชาติของตน
การประสานประโยชน์ร ะหว่า งประเทศ
            การประสานประโยชน์ หมายถึง การร่วมมือกันเพื่อรักษาและปกป้องผล
ประโยชน์ของตนและเป็นการระงับกรณีความขัดแย้งที่มาจากการแข่งขันทางการเมือง
และเศรษฐกิจระหว่างประเทศ การประสานประโยชน์มีความสำาคัญทั้งทางด้านการเมือง
การทหาร การค้า และการทูต อย่างไรก็ตามแม้จะมีการประสานประโยชน์ แต่ก็ยังมีการ
แข่งขัน ความขัดแย้ง และสงครามอยู่ ดังนั้นสังคมโลกจึงมีความจำาเป็นที่จะต้องให้การ
สนับสนุน และปรับปรุงวิธีการประสานประโยชน์ระหว่างประเทศให้มากยิ่งขึ้น ทั้งใน
ปัจจุบันและอนาคต

       การประสานประโยชน์โ ดยการรวมกลุ่ม ของประเทศต่า งๆ
       การรวมกลุ่มของประเทศต่าง ๆ นั้น เพื่อหลีกเลี่ยงความขัดแย้งและประสานผล
ประโยชน์ระหว่างประเทศ นอกจากนั้นยังเป็นการถ่วงดุลอำานาจให้ประเทศต่าง ๆ มีความ
เสมอภาคเท่าเทียมกัน
       1. ปัจจัยของการรวมกลุ่มของประเทศต่าง ๆ ปัจจัยในการรวมกลุ่มมีหลายประการ
ดังนี้
              1) สภาพแวดล้อมทางภูมิศาสตร์ เช่น มีพรมแดนติดต่อกัน
              2) ระบบเศรษฐกิจที่เหมือนกันหรือคล้ายคลึงกัน
              3) ระบบการเมืองการปกครองที่คล้ายคลึงกันจะรวมกลุ่มเพื่อประสาน
ประโยชน์ร่วมกัน
              4) ลักษณะทางสังคมและวัฒนธรรม เป็นการรวมกลุ่มเพื่อสร้างความ
ก้าวหน้าทางสังคม การศึกษา วัฒนธรรมในแต่ละประเทศให้เท่าเทียมกัน
       2. รูปแบบการรวมกลุ่มระหว่างประเทศ
              1) การรวมกลุ่มทางเศรษฐกิจระหว่างประเทศ มี 4 ระดับ คือ
                    - เขตการค้าเสรี (Free Trade Area) หรือเขตปลอดภาษี มีการ
ยกเว้นการเก็บภาษีศุลกากรให้แก่ประเทศสมาชิกในกลุ่ม แต่จะเก็บภาษีศุลกากรเท่าใด
ก็ได้กับประเทศนอกกลุ่ม ได้แก่ นาฟตา (NAFTA) และ อาฟตา (AFTA)
                    - สหภาพศุลกากร (Custom Union) ยกเว้นการเก็บภาษีศุลกากร
และข้อจำากัดทางการค้าให้แก่ประเทศสมาชิกในกลุ่ม และแต่ละประเทศในกลุ่มต้อง
กำาหนดอัตราภาษีศุลกากรกับประเทศนอกกลุ่มในอัตราเดียวกัน ในขณะนี้ยังไม่มีการรวม
กลุ่มประเทศในระดับนี้ เช่น ประชาคมเศรษฐกิจยุโรป (EEC)
                    - ตลาดร่วม (Common Market) การควบคุมสินค้าเข้าและสินค้า
ออกจะถูกยกเลิกให้แก่ประเทศสมาชิก และสามารถเคลื่อนไหวโยกย้ายปัจจัยการผลิตใน
ประเทศสมาชิกได้อย่างเสรี เช่น ประชาคมยุโรป (EC)
                    - สหภาพเศรษฐกิจ (Economic Union) นอกจากมีลักษณะเหมือน
ตลาดร่วมแล้วประเทศสมาชิกยังต้องมีนโยบายทางเศรษฐกิจ และสังคมอย่างเดียวกัน เช่น
กำาหนดอัตราแลกเปลี่ยนเงิน นโยบายภาษีอากรอย่างเดียวกัน ร่วมกันตั้งองค์กรกลางขึ้น
มาเป็นผู้คอยกำาหนดนโยบายและวางแผนเศรษฐกิจให้ประเทศสมาชิกยึดถือ เช่น
สหภาพยุโรป (EU)
              2) การรวมกลุ่มการเมืองระหว่างประเทศ
              ในอดีตการรวมกลุ่มความร่วมมือทางการเมืองระหว่างประเทศเป็นการรวม
กลุ่มเพื่อรักษาความปลอดภัยและความมั่นคงร่วมกัน เนื่องจากหวาดกลัวภัยคอมมิวนิสต์
ภายหลังสงครามเย็นสิ้นสุดจึงเปลี่ยนไปเป็นความร่วมมือในการประสานผลประโยชน์ใน
เขตภูมิภาค เช่น องค์การสนธิสัญญาป้องกันร่วมกันในเอเชียอาคเนย์ (SEATO) ซึ่ง

More Related Content

Viewers also liked

小情歌
小情歌小情歌
小情歌HCW ART
 
E learning
E learningE learning
E learningUNEFA
 
Top 10 grossing british films
Top 10 grossing british films Top 10 grossing british films
Top 10 grossing british films HollyFairbairn
 
massage anti cellulite
massage anti cellulitemassage anti cellulite
massage anti cellulitegrade38board
 
การสร างเกณฑ ร_บร_คสกอร_ นางสาวศ_ร_ก_ล มะล_งาม
การสร างเกณฑ ร_บร_คสกอร_ นางสาวศ_ร_ก_ล  มะล_งามการสร างเกณฑ ร_บร_คสกอร_ นางสาวศ_ร_ก_ล  มะล_งาม
การสร างเกณฑ ร_บร_คสกอร_ นางสาวศ_ร_ก_ล มะล_งาม4821010054
 
Fiberfab brochure - Jamaican kit car
Fiberfab brochure - Jamaican kit carFiberfab brochure - Jamaican kit car
Fiberfab brochure - Jamaican kit cartr-freunde
 
Proposal studi kelayakan_bisnis_cafe
Proposal studi kelayakan_bisnis_cafeProposal studi kelayakan_bisnis_cafe
Proposal studi kelayakan_bisnis_cafeKosong Molompong
 
Presentación evaluacion del desempeño
Presentación evaluacion del desempeñoPresentación evaluacion del desempeño
Presentación evaluacion del desempeñoYamileth Caldera
 
Predicting free-riding behavior with 94% accuracy using brain signals - welco...
Predicting free-riding behavior with 94% accuracy using brain signals - welco...Predicting free-riding behavior with 94% accuracy using brain signals - welco...
Predicting free-riding behavior with 94% accuracy using brain signals - welco...Kyongsik Yun
 
Social mediamarketingindustryreport2012
Social mediamarketingindustryreport2012Social mediamarketingindustryreport2012
Social mediamarketingindustryreport2012Joost Wingerden, van
 
la empresa contribucion de la administracion de empresas
 la empresa contribucion de la administracion de empresas la empresa contribucion de la administracion de empresas
la empresa contribucion de la administracion de empresasDiana Rodriguez
 

Viewers also liked (13)

小情歌
小情歌小情歌
小情歌
 
E learning
E learningE learning
E learning
 
Top 10 grossing british films
Top 10 grossing british films Top 10 grossing british films
Top 10 grossing british films
 
massage anti cellulite
massage anti cellulitemassage anti cellulite
massage anti cellulite
 
การสร างเกณฑ ร_บร_คสกอร_ นางสาวศ_ร_ก_ล มะล_งาม
การสร างเกณฑ ร_บร_คสกอร_ นางสาวศ_ร_ก_ล  มะล_งามการสร างเกณฑ ร_บร_คสกอร_ นางสาวศ_ร_ก_ล  มะล_งาม
การสร างเกณฑ ร_บร_คสกอร_ นางสาวศ_ร_ก_ล มะล_งาม
 
Parktown 2
Parktown 2Parktown 2
Parktown 2
 
Fiberfab brochure - Jamaican kit car
Fiberfab brochure - Jamaican kit carFiberfab brochure - Jamaican kit car
Fiberfab brochure - Jamaican kit car
 
Proposal studi kelayakan_bisnis_cafe
Proposal studi kelayakan_bisnis_cafeProposal studi kelayakan_bisnis_cafe
Proposal studi kelayakan_bisnis_cafe
 
Presentación evaluacion del desempeño
Presentación evaluacion del desempeñoPresentación evaluacion del desempeño
Presentación evaluacion del desempeño
 
Predicting free-riding behavior with 94% accuracy using brain signals - welco...
Predicting free-riding behavior with 94% accuracy using brain signals - welco...Predicting free-riding behavior with 94% accuracy using brain signals - welco...
Predicting free-riding behavior with 94% accuracy using brain signals - welco...
 
Social mediamarketingindustryreport2012
Social mediamarketingindustryreport2012Social mediamarketingindustryreport2012
Social mediamarketingindustryreport2012
 
How to reset canon mp145
How to reset canon mp145How to reset canon mp145
How to reset canon mp145
 
la empresa contribucion de la administracion de empresas
 la empresa contribucion de la administracion de empresas la empresa contribucion de la administracion de empresas
la empresa contribucion de la administracion de empresas
 

Similar to งาน อ.ป

7.2 การประสานประโยชน์
7.2 การประสานประโยชน์7.2 การประสานประโยชน์
7.2 การประสานประโยชน์Jitjaree Lertwilaiwittaya
 
ยุทธศาสตร์ชาติในการสู้รบกับการก่อการร้าย (สหรัฐอเมริกา)
ยุทธศาสตร์ชาติในการสู้รบกับการก่อการร้าย (สหรัฐอเมริกา)ยุทธศาสตร์ชาติในการสู้รบกับการก่อการร้าย (สหรัฐอเมริกา)
ยุทธศาสตร์ชาติในการสู้รบกับการก่อการร้าย (สหรัฐอเมริกา)Washirasak Poosit
 
บทบาทมหาอำนาจโลกของสหรัฐอเมริกา
บทบาทมหาอำนาจโลกของสหรัฐอเมริกาบทบาทมหาอำนาจโลกของสหรัฐอเมริกา
บทบาทมหาอำนาจโลกของสหรัฐอเมริกาThammasat University
 
บรรยายยุทธศาสตร์ชาติในการต่อสู้การก่อการร้าย (สหรัฐอเมริกา)
บรรยายยุทธศาสตร์ชาติในการต่อสู้การก่อการร้าย (สหรัฐอเมริกา)บรรยายยุทธศาสตร์ชาติในการต่อสู้การก่อการร้าย (สหรัฐอเมริกา)
บรรยายยุทธศาสตร์ชาติในการต่อสู้การก่อการร้าย (สหรัฐอเมริกา)Washirasak Poosit
 
บทความยุทธศาสตร์ชาติในการสู้รบกับการก่อการร้าย (สหรัฐอเมริกา)
บทความยุทธศาสตร์ชาติในการสู้รบกับการก่อการร้าย (สหรัฐอเมริกา)บทความยุทธศาสตร์ชาติในการสู้รบกับการก่อการร้าย (สหรัฐอเมริกา)
บทความยุทธศาสตร์ชาติในการสู้รบกับการก่อการร้าย (สหรัฐอเมริกา)Washirasak Poosit
 
การประสานประโยชน์ระหว่างประเทศ
การประสานประโยชน์ระหว่างประเทศการประสานประโยชน์ระหว่างประเทศ
การประสานประโยชน์ระหว่างประเทศPannaray Kaewmarueang
 
Still coldwar
Still coldwarStill coldwar
Still coldwarTeeranan
 
การสร้างความปรองดองแห่งชาติ
การสร้างความปรองดองแห่งชาติการสร้างความปรองดองแห่งชาติ
การสร้างความปรองดองแห่งชาติTaraya Srivilas
 
53011312317.
53011312317.53011312317.
53011312317.wissanujo
 
สงครามเย็น
สงครามเย็นสงครามเย็น
สงครามเย็นMarz Zuthamat
 
สงครามเย็น
สงครามเย็นสงครามเย็น
สงครามเย็นMarz Zuthamat
 
Conspiracy
ConspiracyConspiracy
ConspiracyTeeranan
 
เร ยงความ
เร ยงความเร ยงความ
เร ยงความpapontee
 
Political warfare
Political warfarePolitical warfare
Political warfareTeeranan
 

Similar to งาน อ.ป (20)

7.2 การประสานประโยชน์
7.2 การประสานประโยชน์7.2 การประสานประโยชน์
7.2 การประสานประโยชน์
 
ยุทธศาสตร์ชาติในการสู้รบกับการก่อการร้าย (สหรัฐอเมริกา)
ยุทธศาสตร์ชาติในการสู้รบกับการก่อการร้าย (สหรัฐอเมริกา)ยุทธศาสตร์ชาติในการสู้รบกับการก่อการร้าย (สหรัฐอเมริกา)
ยุทธศาสตร์ชาติในการสู้รบกับการก่อการร้าย (สหรัฐอเมริกา)
 
บทบาทมหาอำนาจโลกของสหรัฐอเมริกา
บทบาทมหาอำนาจโลกของสหรัฐอเมริกาบทบาทมหาอำนาจโลกของสหรัฐอเมริกา
บทบาทมหาอำนาจโลกของสหรัฐอเมริกา
 
บรรยายยุทธศาสตร์ชาติในการต่อสู้การก่อการร้าย (สหรัฐอเมริกา)
บรรยายยุทธศาสตร์ชาติในการต่อสู้การก่อการร้าย (สหรัฐอเมริกา)บรรยายยุทธศาสตร์ชาติในการต่อสู้การก่อการร้าย (สหรัฐอเมริกา)
บรรยายยุทธศาสตร์ชาติในการต่อสู้การก่อการร้าย (สหรัฐอเมริกา)
 
บทความยุทธศาสตร์ชาติในการสู้รบกับการก่อการร้าย (สหรัฐอเมริกา)
บทความยุทธศาสตร์ชาติในการสู้รบกับการก่อการร้าย (สหรัฐอเมริกา)บทความยุทธศาสตร์ชาติในการสู้รบกับการก่อการร้าย (สหรัฐอเมริกา)
บทความยุทธศาสตร์ชาติในการสู้รบกับการก่อการร้าย (สหรัฐอเมริกา)
 
เนื้อหาสรุป Comprehensive หมวด b
เนื้อหาสรุป Comprehensive หมวด bเนื้อหาสรุป Comprehensive หมวด b
เนื้อหาสรุป Comprehensive หมวด b
 
การประสานประโยชน์ระหว่างประเทศ
การประสานประโยชน์ระหว่างประเทศการประสานประโยชน์ระหว่างประเทศ
การประสานประโยชน์ระหว่างประเทศ
 
Still coldwar
Still coldwarStill coldwar
Still coldwar
 
รวมเล่ม (1)
รวมเล่ม (1)รวมเล่ม (1)
รวมเล่ม (1)
 
21
2121
21
 
บทบาทสหรัฐอเมริกาหลังสงครามโลก2
บทบาทสหรัฐอเมริกาหลังสงครามโลก2บทบาทสหรัฐอเมริกาหลังสงครามโลก2
บทบาทสหรัฐอเมริกาหลังสงครามโลก2
 
การสร้างความปรองดองแห่งชาติ
การสร้างความปรองดองแห่งชาติการสร้างความปรองดองแห่งชาติ
การสร้างความปรองดองแห่งชาติ
 
53011312317.
53011312317.53011312317.
53011312317.
 
สงครามโลก
สงครามโลกสงครามโลก
สงครามโลก
 
สังคม
สังคมสังคม
สังคม
 
สงครามเย็น
สงครามเย็นสงครามเย็น
สงครามเย็น
 
สงครามเย็น
สงครามเย็นสงครามเย็น
สงครามเย็น
 
Conspiracy
ConspiracyConspiracy
Conspiracy
 
เร ยงความ
เร ยงความเร ยงความ
เร ยงความ
 
Political warfare
Political warfarePolitical warfare
Political warfare
 

งาน อ.ป

  • 1. )หน่ว ยการเรีย นรู้ท ี่ 7 ความขัด แย้ง และการประสาน ประโยชน์ ฮ ฮระหว่า งประเทศ ใบความรูท ี่ 1 ความขัด แย้ง และการประสานประโยชน์ร ะหว่า งประเทศ ้ ศึก ษาความหมายของความขัด แย้ง พจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. 2525 ให้คำาอธิบาย “ ขัดแย้ง” ว่า “ ขัด” หมายถึงไม่ทำาตาม ฝ่าฝืน ขืนไว้ ส่วน “ แย้ง” หมายถึง ไม่ตรงกัน ไม่ลงรอยกัน ต้านไว้ ทานไว้ รวมความแล้ว ความขัดแย้งหมายถึง “ สภาพความไม่ลงรอยกัน คือไม่ ยอมทำาตามและยังมีความต้านทานไว้ ” นักสังคมวิทยาและนักมานุษยวิทยาเห็นว่า “ความขัดแย้งเป็นผลผลิตของสิ่ง แวดล้อมในทางสังคม” ส่วนนักเศรษฐศาสตร์เห็นว่า “ความขัดแย้งเป็นการศึกษาและการ วิเคราะห์ถึงระหว่างผู้แสดงในรายการบางรายการที่หายากและมีคุณค่า” ส่วนนัก รัฐศาสตร์เห็นว่า “…เป็นสัมพันธภาพระหว่างอำานาจ อิทธิพล และอำานาจหน้าที่ เป็น พฤติกรรมทางสังคม มองที่การแบ่งอำานาจทางสังคม เกี่ยวกับอำานาจ กระบวนการตัดสิน ใจระหว่างสถาบันต่างๆ การเมืองระหว่างเอกชน กลุ่ม และชาติ และสัมพันธภาพเช่นนั้น ทำาให้เกิดความขัดแย้งขึ้นระหว่างบุคคล สังคม และ ระบบ” จากความหมายดังกล่าวมาพอสรุปได้ว่า ความขัดแย้งเป็นความรู้สึกนึกคิด หรือ การกระทำาที่ขัดกันทั้งภายในตนเอง ระหว่างบุคคล และระหว่างกลุ่ม ซึ่งมีผลทำาให้เกิด การแข่งขัน หรือการทำาลายกัน สาเหตุค วามขัด แย้ง ระหว่า งประเทศ ศึกษาสาเหตุของความขัดแย้งระหว่างประเทศ ซึ่งแบ่งออกได้ดังต่อไปนี้ 1. สาเหตุค วามขัด แย้ง ของมนุษ ยชาติใ นอดีต ในอดีตมนุษยชาติมีปัญหา ความขัดแย้งไม่ลงรอยกัน ทั้งขัดแย้งทางความคิดและการกระทำา ซึ่งนำาไปสู่การต่อสู้หรือ ทำาสงครามทำาลายล้างกัน สาเหตุที่ทำาให้เกิดความขัดแย้ง ได้แก่ (1) แย่งชิงดินแดนและที่อยู่อาศัย (2) แย่งชิงแหล่งนำ้าและอาหาร (3) แย่งชิงทรัพย์สินและกวาดต้อนผู้คน เพื่อนำามาใช้เป็นกำาลังแรงงาน (4) ความขัดแย้งในความเชื่อและศาสนา 2. สาเหตุค วามขัด แย้ง ของมนุษ ยชาติใ นยุค ปัจ จุบ ัน ภายหลังสงครามโลก ครั้งที่ 2 (ค.ศ.1939-1945) สิ้นสุดลง ความขัดแย้งของมนุษยชาติในสมัยปัจจุบันยิ่งเพิ่ม มากขึ้น โดยมีสาเหตุสรุปได้ดังนี้ 2.1 ความแตกต่างทางด้านสังคมและวัฒนธรรม 2.2 ความแตกต่างทางด้านอุดมการณ์ทางการเมืองและระบบเศรษฐกิจ 2.3 การแข่งขันด้านอาวุธ 2.4 ลัทธิชาตินิยม 2.5 การต่อต้านบทบาทของชาติมหาอำานาจ 3. ความแตกต่า งทางด้า นสัง คมและวัฒ นธรรม ความขัดแย้งของมนุษย์ชาติ ในสมัยปัจจุบันที่มีสาเหตุเกิดจากความแตกต่างทางด้านสังคมและวัฒนธรรม มีดังนี้ 3.1 ความแตกต่า งทางด้า นเชื้อ ชาติแ ละเผ่า พัน ธุ์ หรือที่เรียกว่า “ลัทธิ เผ่าพันธุ์นิยม” เป็นความรู้สึกของผู้คนในประเทศหนึ่งที่ผูกพันกับเผ่าพันธุ์เดิมของตน เกิด ความคิดที่จะแบ่งแยกดินแดนเพื่อตั้งเป็นประเทศเอกราชใหม่และเป็นที่อยู่อาศัยเฉพาะเผ่า
  • 2. พันธุ์ของตน ดังตัวอย่าง เช่น ชาวโครแอต (Croat) ก่อตั้งประเทศโครเอเชีย (Republic or Croatia) โดยแยกตัวออกจากสหพันธรัฐยูโกสลาเวีย เมื่อปี ค.ศ.1991 3.2 ความขัด แย้ง ทางด้า นศาสนา เช่น ความขัดแย้งระหว่างชาวฮินดูกับ ชาวมุสลิมในอินเดีย หรือความขัดแย้งระหว่างผู้นับถือศาสนาเดียวกันแต่เป็นคนละนิกาย เช่น สงครามครูเสด เป็นความขัดแย้งระหว่างผู้นับถือศาสนาคริสต์กับศาสนาอิสลาม 3.3 ความแตกต่า งทางด้า นอารยธรรม ทำาให้มนุษย์เกิดความไม่เข้าใจ กันและกลายเป็นสาเหตุความขัดแย้งระหว่างประเทศได้ อารยธรรมที่สำาคัญของโลกใน ปัจจุบัน เช่น อารยธรรมตะวันตก อารยธรรมจีน และ อารยธรรมฮินดู เป็นต้น ความร่ว มมือ แก้ไ ขความขัด แย้ง ประเภทของความร่วมมือ ความร่วมมือเพื่อแก้ไขปัญหาความขัดแย้งของ มนุษยชาติ ทั้งภายในประเทศและระหว่างประเทศ จำาแนกเป็น 4 ประเภท ดังนี้ 1. ความร่ว มมือ ทางการเมือ ง เช่น องค์การอาเซียน (ASEAN) ส่งเสริมให้ ประเทศสมาชิกพัฒนาระบอบการเมืองภายในของตนให้เป็นประชาธิปไตยมากขึ้น ดัง กรณีของประเทศพม่าที่ถูกนานาชาติกดดันให้ปลดปล่อยนางอองซาน ซูจี ผู้นำาต่อต้าน การปกครองเผด็จการในพม่าให้เป็นอิสระ 2. ความร่ว มมือ ทางการทหาร เช่น สหรัฐอเมริกาเป็นผู้นำาในการจัดตั้งองค์การ สนธิสัญญาแอตแลนติกเหนือ (หรือ NATO) เพื่อความร่วมมือทางด้านการทหารและ ความมั่นคงร่วมกันระหว่างประเทศในทวีปอเมริกาเหนือและยุโรป ในปัจจุบันมีชาติ สมาชิก 19 ประเทศ 3. ความร่ว มมือ ด้า นเศรษฐกิจ มีลักษณะเป็นกลุ่มความร่วมมือทางเศรษฐกิจ ระหว่างประเทศและเขตการค้าเสรี เช่น สหภาพยุโรป (EU), นาฟตา (NAFTA) และ อาฟ ตา (AFTA) เป็นต้น 4. ความร่ว มมือ ทางด้า นการศึก ษา วัฒ นธรรม และอื่น ๆ เช่น องค์การยูเนส โก (UNESCO) หรือองค์การการศึกษาวิทยาศาสตร์และวัฒนธรรมแห่งสหประชาชาติ ยูนิเซฟ (UNICEF) หรือกองทุนเด็กแห่งประชาชาติ เป็นต้น แนวทางการสร้า งความร่ว มมือ ระหว่า งประเทศ มี 2 ลักษณะ ดังนี้ 1. การสร้า งความร่ว มมือ ในเชิง สร้า งสรรค์ (Positive) เป็น แนวทางโดย สัน ติว ธ แ ละเกิด ผลอย่า งยืน ยาว มีดังนี้ ิ ี 1. การจัดตั้งองค์การความร่วมมือระหว่างประเทศ เช่น องค์การ สหประชาชาติ (UN) และองค์การการค้าโลก (WTO) เป็นต้น 2. การจัดทำากฎหมายระหว่างประเทศ หรือข้อตกลงร่วมกัน เช่น ข้อตกลง เกี่ยวกับการส่งผู้ร้ายข้ามแดน กฎหมายอาชญากรสงคราม เป็นต้น 3. การทูต มีการสถาปนาความสัมพันธ์ทางการทูตขั้นปกติ มีสถาน เอกอัครราชทูตและเอกอัครราชทูตทำาหน้าที่เป็นตัวแทนของประเทศ 4. การควบคุมและลดกำาลังอาวุธ มีการเจรจาจำากัดการสะสมหรือการ ทดลองขีปนาวุธต่าง ๆ เพื่อป้องกันมิให้เกิดความหวาดระแวงต่อกัน 5. ความร่วมมือทางด้านกีฬา ศิลปวัฒนธรรม และด้านอื่น ๆ เช่น การ แข่งขันกีฬาโอลิมปิก (Olympic) การแข่งขันโอลิมปิกวิชาการ เป็นต้น
  • 3. 2. การสร้า งความร่ว มมือ ที่ไ ม่ส ร้า งสรรค์ (Negative) เป็นความร่วมมือ ระหว่างประเทศที่ไม่ใช้แนวทางสันติวิธี แต่เป็นลักษณะการต่อต้านและใช้กำาลัง หรือไม่ ติดต่อคบค้าด้วย (Boycott) 1. กรณีสหรัฐอเมริการ่วมมือกับชาติพันธมิตร เช่น อังกฤษ อิตาลี ฯลฯ ใช้ กำาลังทางทหารเข้าแทรกแซงในอิรัก เพื่อโค่นล้มประธานาธิบดีซัดดัม ฮุสเซน (Saddam Hussein) เมื่อปี ค.ศ. 2003 (พ.ศ. 2546) โดยอ้างว่าผู้นำาอิรักสนับสนุนการผลิต ขีปนาวุธที่เป็นภัยคุกคามต่อสันติภาพของโลก 2. การใช้กำาลังทางทหารเข้าบังคับ หรือการทำาสงคราม มี 2 ระดับ คือ (1) สงครามจำากัดขอบเขต (Limited War) โดยใช้กำาลังทางทหาร เข้าปฏิบัติการในระยะเวลาและพื้นที่อันจำากัด เพื่อมิให้ฝ่ายตรงข้ามเสียหายมากนัก โดยมี วัตถุประสงค์เพื่อให้ฝ่ายตรงข้ามปฏิบัติตามนโยบายของตนเท่านั้น เมื่อบรรลุวัตถุประสงค์ ก็ถอนตัวกลับ เช่น สงครามขับไล่อิรักออกจากการยึดครองคูเวตของกองกำาลัง สหประชาชาติ (UN) โดยการนำาของสหรัฐอเมริกา เมื่อปี ค.ศ.1990 (2) สงครามเบ็ดเสร็จ (Absolute War) เป็นสงครามที่ประเทศ มหาอำานาจใช้กำาลังทางทหารเข้ายึดและครอบครองดินแดนแห่งนั้นไว้ตลอดไป โดย เข้าไปจัดระเบียบการปกครองใหม่ตามความต้องการของตน และตักตวงผลประโยชน์จาก ทรัพยากร ธรรมชาติและอื่น ๆ ตัวอย่างเช่น ประเทศอังกฤษ ฝรั่งเศส สเปน ฯลฯ ในช่วง การขยายตัวของลัทธิจักรวรรดินิยมในคริสต์ศตวรรษที่ 19-20 เป็นต้น การแก้ไ ขความขัด แย้ง 1. การแก้ไ ขความขัด แย้ง ด้ว ยสัน ติว ธ ี โดยใช้ว ธ ีก ารทางการทูต และ ิ ิ การเมือ ง ได้แก่ 1.1 การเจรจาโดยตรงระหว่างคู่กรณี 1.2 การไกล่เกลี่ยเพื่อหาข้อยุติ 1.3 การสืบสวนหาข้อเท็จจริง 1.4 การเป็นคนกลางเข้ามาช่วยเจรจา 1.5 การประนีประนอม 1.6 การตัดสินของศาลยุติธรรมระหว่างประเทศ 2. การแก้ไ ขความขัด แย้ง ด้ว ยวิธ ีบ ีบ บัง คับ จะใช้วิธีการนี้ในกรณีที่ไม่ สามารถใช้แบบสันติวิธีได้สัมฤทธิ์ผลเท่านั้น แบ่งได้ 2 ทาง คือ 2.1 การตอบโต้ แบ่งออกเป็นดังนี้ - รีทอร์ชั่น เป็นวิธีการที่ไม่ขัดต่อกฎหมายระหว่างประเทศแต่ก็ไม่เป็น มิตร เช่นตัดความสัมพันธ์ทางการทูต - รีไพรซอล เป็นวิธีการไม่ถูกต้องตามกฎหมายระหว่างประเทศ เช่น การ ไม่ยอมปฏิบัติตามพันธกรณีในสนธิสัญญา - การใช้มาตรการอื่น ๆ เช่น การควำ่าบาตร การปิดล้อมทะเลอย่างสันติ เป็นต้น 2.2 การใช้กำาลัง เป็นวิธีการสุดท้ายที่ทำา คือ ใช้กำาลังสูงสุด คือ การทำา สงคราม - สงครามจำากัดขอบเขต คือ การใช้กำาลังเข้าบังคับเพื่อคลี่คลายปัญหา ความขัดแย้ง โดยให้เกิดความเสียหายน้อยที่สุด - สงครามเบ็ดเสร็จ คือ การเข้าไปครอบครองดินแดนของชาติอื่น และ แทรกแซงด้านการบริหารการปกครอง เพื่อสร้างความยิ่งใหญ่กับชาติของตน
  • 4. การประสานประโยชน์ร ะหว่า งประเทศ การประสานประโยชน์ หมายถึง การร่วมมือกันเพื่อรักษาและปกป้องผล ประโยชน์ของตนและเป็นการระงับกรณีความขัดแย้งที่มาจากการแข่งขันทางการเมือง และเศรษฐกิจระหว่างประเทศ การประสานประโยชน์มีความสำาคัญทั้งทางด้านการเมือง การทหาร การค้า และการทูต อย่างไรก็ตามแม้จะมีการประสานประโยชน์ แต่ก็ยังมีการ แข่งขัน ความขัดแย้ง และสงครามอยู่ ดังนั้นสังคมโลกจึงมีความจำาเป็นที่จะต้องให้การ สนับสนุน และปรับปรุงวิธีการประสานประโยชน์ระหว่างประเทศให้มากยิ่งขึ้น ทั้งใน ปัจจุบันและอนาคต การประสานประโยชน์โ ดยการรวมกลุ่ม ของประเทศต่า งๆ การรวมกลุ่มของประเทศต่าง ๆ นั้น เพื่อหลีกเลี่ยงความขัดแย้งและประสานผล ประโยชน์ระหว่างประเทศ นอกจากนั้นยังเป็นการถ่วงดุลอำานาจให้ประเทศต่าง ๆ มีความ เสมอภาคเท่าเทียมกัน 1. ปัจจัยของการรวมกลุ่มของประเทศต่าง ๆ ปัจจัยในการรวมกลุ่มมีหลายประการ ดังนี้ 1) สภาพแวดล้อมทางภูมิศาสตร์ เช่น มีพรมแดนติดต่อกัน 2) ระบบเศรษฐกิจที่เหมือนกันหรือคล้ายคลึงกัน 3) ระบบการเมืองการปกครองที่คล้ายคลึงกันจะรวมกลุ่มเพื่อประสาน ประโยชน์ร่วมกัน 4) ลักษณะทางสังคมและวัฒนธรรม เป็นการรวมกลุ่มเพื่อสร้างความ ก้าวหน้าทางสังคม การศึกษา วัฒนธรรมในแต่ละประเทศให้เท่าเทียมกัน 2. รูปแบบการรวมกลุ่มระหว่างประเทศ 1) การรวมกลุ่มทางเศรษฐกิจระหว่างประเทศ มี 4 ระดับ คือ - เขตการค้าเสรี (Free Trade Area) หรือเขตปลอดภาษี มีการ ยกเว้นการเก็บภาษีศุลกากรให้แก่ประเทศสมาชิกในกลุ่ม แต่จะเก็บภาษีศุลกากรเท่าใด ก็ได้กับประเทศนอกกลุ่ม ได้แก่ นาฟตา (NAFTA) และ อาฟตา (AFTA) - สหภาพศุลกากร (Custom Union) ยกเว้นการเก็บภาษีศุลกากร และข้อจำากัดทางการค้าให้แก่ประเทศสมาชิกในกลุ่ม และแต่ละประเทศในกลุ่มต้อง กำาหนดอัตราภาษีศุลกากรกับประเทศนอกกลุ่มในอัตราเดียวกัน ในขณะนี้ยังไม่มีการรวม กลุ่มประเทศในระดับนี้ เช่น ประชาคมเศรษฐกิจยุโรป (EEC) - ตลาดร่วม (Common Market) การควบคุมสินค้าเข้าและสินค้า ออกจะถูกยกเลิกให้แก่ประเทศสมาชิก และสามารถเคลื่อนไหวโยกย้ายปัจจัยการผลิตใน ประเทศสมาชิกได้อย่างเสรี เช่น ประชาคมยุโรป (EC) - สหภาพเศรษฐกิจ (Economic Union) นอกจากมีลักษณะเหมือน ตลาดร่วมแล้วประเทศสมาชิกยังต้องมีนโยบายทางเศรษฐกิจ และสังคมอย่างเดียวกัน เช่น กำาหนดอัตราแลกเปลี่ยนเงิน นโยบายภาษีอากรอย่างเดียวกัน ร่วมกันตั้งองค์กรกลางขึ้น มาเป็นผู้คอยกำาหนดนโยบายและวางแผนเศรษฐกิจให้ประเทศสมาชิกยึดถือ เช่น สหภาพยุโรป (EU) 2) การรวมกลุ่มการเมืองระหว่างประเทศ ในอดีตการรวมกลุ่มความร่วมมือทางการเมืองระหว่างประเทศเป็นการรวม กลุ่มเพื่อรักษาความปลอดภัยและความมั่นคงร่วมกัน เนื่องจากหวาดกลัวภัยคอมมิวนิสต์ ภายหลังสงครามเย็นสิ้นสุดจึงเปลี่ยนไปเป็นความร่วมมือในการประสานผลประโยชน์ใน เขตภูมิภาค เช่น องค์การสนธิสัญญาป้องกันร่วมกันในเอเชียอาคเนย์ (SEATO) ซึ่ง