SlideShare una empresa de Scribd logo
1 de 90
Descargar para leer sin conexión
พลังทางเศรษฐกิจ (Economic Forces)
 ในฐานะปั จจัยอานาจแห่ งชาติ


  นายนันทพงศ์ สุวรรณรัตน์
  นักวิเคราะห์ นโยบายและแผน ชานาญการพิเศษ
  (กลุ่มประสานนโยบายการกระจายอานาจและความมั่นคง)
  สานักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่ งชาติ
  หลักสูตรพัฒนาสัมพันธ์ การบริหารทรัพยากรเพื่อการปองกันประเทศ (พสท.) รุ่ นที่ 5
                                                   ้
  วันอังคารที่ 13 กรกฎาคม 2553 เวลา 09.00-12.00 น.
  ณ โรงเรี ยนทหารการเงิน กรมการเงินทหารบก กรุ งเทพฯ
10 มิถนายน 2553
      ุ                                        Copyright NESDB                    1
ประเด็นการบรรยาย
          1. แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่ งชาติ ฉบับที่ 1-10
          2. พลังทางเศรษฐกิจ (Economic Forces)
          3. นโยบายทางเศรษฐกิจ
          4. โครงสร้ างเศรษฐกิจและสังคมไทย
          5. ยุทธศาสตร์ การพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมในระยะยาว :
             จากแผนฯ 10 สู่แผนฯ 11


10 มิถนายน 2553
      ุ                          Copyright NESDB              2
แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่ งชาติ ฉบับที่ 1-10
                                                       1



10 มิถนายน 2553
      ุ                        Copyright NESDB             3
การวางแผนพัฒนาประเทศ: แผนพัฒนาฯ ฉบับที่ 1-10


                   แผนฯ 1
                  2504-09

                                  แผนฯ 2
                                 2510-14
                                                                                               ยึดคนเป็ นศูนย์ กลาง
                                       แผนฯ 3
                                      2515-19                                                   เน้ นการมีส่วนร่ วม
                                                                                                 ใช้ เศรษฐกิจเป็ น
                                                 แผนฯ 4
                                                2520-24                                        เครื่ องมือพัฒนาคน
             เน้ นการเติบโตทาง
           เน้ นการเติบโตทาง
                                                            แผนฯ 5
            เศรษฐกิจจด้ วยการ
              เศรษฐกิ ด้ วยการ
                                                           2525-29
             พัฒนาโครงสร้ าาง
               พัฒนาโครงสร้ ง                                                                ยึยึดปฏิบัตตาม
                                                                                               ดปฏิบัตติ าม
                                                                                                       ิ
                                                                                         ปรั ชญาของเศรษฐกิจ
                                                                                        ปรั ชญาของเศรษฐกิจ
                  พืน้นฐาน
                   พื้ ฐาน                                                แผนฯ 6
                                                                         2530-34         พอเพียยงมุ่งสู่สังคม
                                                                                          พอเพี งมุ่งสู่สังคม
                                                                                         อยู่เย็นเป็ นสุขร่ วมกัน
                                           เน้ นการ
                                          เน้ นการ                               แผนฯ 7 อยู่เย็นเป็ นสุขร่ วมกัน
                                            พัฒนา                                 2535-39
                                           พัฒนา                                             แผนฯ 8
                                                                                            2540-44
                                         เศรษฐกิจจ
                                          เศรษฐกิ
                                                                                                    แผนฯ 9
                                       ควบคู่กกับการ
                                        ควบคู่ ับการ
                                                                                                   2545-49
                                       พัฒนาสังงคม
                                        พัฒนาสั คม            เน้ นเสถียยรภาพเศรษฐกิจ
                                                               เน้ นเสถี รภาพเศรษฐกิจ
                                                                                                          แผนฯ 10
                                                              มุ่มุ่งพัฒนาภูมิภาคชนบท
                                                                 งพัฒนาภูมิภาค ชนบท
                                                                                                          2550-54
10 มิถนายน 2553
      ุ                                                Copyright NESDB                                                4
วิว ัฒนาการของระบบเศรษฐกิจ

                                          ่ ่                             ้     ั
                                 คลืนลูกทีหนึง (first wave) คือ การเกิดขึนของสงคมเกษตร วิธการทีมนุษย์
                                    ่                                                            ี ่
                                               ่                               ่ ่                   ิ
                                 สามารถแปรเปลียนทรัพยากรธรรมชาติให ้เป็ นความมังคัง โดยเน ้นการผลิตสนค ้า
                                                     ่
                                 ในภาคการเกษตร มีชวงเวลาคงอยูได ้ประมาณ 500 ปี เน ้นปั จจัยทีดนและ
                                                              ่                              ่ ิ
                                 ทรัพยากรธรรมชาติ และไม่สามารถควบคุมปริมาณผลผลิตได ้




                                          ่                              ้     ั
                                 คลืนลูกทีสอง (second wave) คือ การเกิดขึนของสงคมอุตสาหกรรม เริม
                                    ่                                                              ่
                                 จากการปฏิวตอตสาหกรรมทีอังกฤษในปลายทศวรรษที่ 18 เกิดสงคม
                                            ั ิ ุ       ่                                ั
                                                                           ิ
                                 อุตสาหกรรมทีมโรงงานทาการผลิต สามารถผลิตสนค ้าได ้มาก มีความก ้าวหน ้า
                                               ่ ี
                                 ทางวิทยาศาสตร์ การขยายตลาดระหว่างประเทศ และมีการนา
                                                      ้
                                 ทรัพยากรธรรมชาติไปใชอย่างฟุ่ มเฟื อย




                                 คลืนลูกทีสาม (third wave) คือการปฏิวตความรู ้ (knowledge revolution)
                                     ่      ่                            ั ิ
                                 เกิดการสะสมความรู ้ในด ้านคอมพิวเตอร์ โทรคมนาคม เทคโนโลยีสารสนเทศ
                                                    ี                                     ิ
                                 และเทคโนโลยีชวภาพ ทาให ้เกิดการสร ้างความรู ้ในการผลิตสนค ้าและบริการ
                                 เกิดขึน ก่อให ้เกิดระบบเศรษฐกิจแบบโลกาภิวตน์ (globalization) เกิดขึน
                                       ้                                     ั                      ้
                                                                                                                                          79
       33203 เศรษฐศาสตร์ เพื่อการบริ หารรัฐกิจ (Economics for Public Administration) Sukhothai Thammathirat Open University © Copyright
10 มิถนายน 2553
      ุ                                                        Copyright NESDB                                                                 5
แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่ งชาติ ฉบับที่ 1-2
         2504                           2509                       2510                                     2514


                                แผนฯ 1 (2504 - 2509) ยุคทองของการวางแผนเศรษฐกิจ
    แผนฯ 1                      1. วางแผนจากส่วนกลางแบบ “จากบนลงล่าง” ใช ้แนวคิดความเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจ (Development with
    (2504-2509)                    growth) โดยเน ้นการพัฒนาโครงสร ้างพืนฐาน (คมนาคมขนส่ง โทรคมนาคม เขือนเพือชลประทานและไฟฟ้ า
                                                                          ้                           ่    ่
                                   รวมทังสาธารณูปการ-Project-oriented approach)
                                        ้
                                2. มุงยกมาตรฐานการครองชีพของประชาชน (รายได ้)
                                     ่
                                3. ปรับปรุงการบริหารงานทุกด ้านให ้มีประสิทธิภาพ

                                                     ั
                                สภาวะเศรษฐกิจและสงคมในชวงแผนฯ 1  ่
                                1. เศรษฐกิจของประเทศขึนอยูกบภาคเกษตร ข ้าว ยางพารา ไม ้สัก ดีบก
                                                       ้     ่ ั                              ุ
                                2. เศรษฐกิจขยายตัว 8 % ต่อปี (เป้ าหมาย 5%) และดาเนินโครงการเขือนเจ ้าพระยา และก่อสร ้างเขือนภูมพล
                                                                                                ่                          ่    ิ
                                3. อัตราเพิมของประชากรสูงขึน ประมาณร ้อยละ 3 ต่อปี
                                           ่               ้




                                แผนฯ 2 (2510 - 2514) ยุคทองของการพ ัฒนา

                                1. แนวคิดการวางแผนพัฒนารายสาขา (Sectoral development planning) และขยายขอบเขตแผนครอบคลุม
                                   การพัฒนารัฐวิสาหกิจและองค์การบริหารส่วนท ้องถิน
                                                                                 ่
                                2. ลงทุนในโครงสร ้างพืนฐานต่อเนืองจากแผนฯ 1
                                                       ้        ่
                                3. พัฒนาชนบทเพือเสริมสร ้างความมันคง และกระจายผลการพัฒนา (ร ้อยละ 75-80 ของงบพัฒนาเป็ นการลงทุน
                                                 ่                ่
                                   ในภูมภาค)
                                         ิ
                                4. ส่งเสริมเอกชนให ้มีบทบาทร่วมในการพัฒนาประเทศ

                                                    ั       ่
                                สภาวะเศรษฐกิจและสงคมในชวงแผนฯ 2
                  แผนฯ 2                                            ่
                                1. ปั ญหาความแตกต่างด ้านรายได ้ มีชองว่างรายได ้เพิมขึน
                                                                                    ่ ้
                  (2510-2514)   2. เศรษฐกิจขยายตัวร ้อยละ 7.2 ต่อปี เศรษฐกิจถดถอยหลังจากขยายตัวมาเป็ น 10 ปี
                                3. ประชาชนได ้รับประโยชน์จากโครงสร ้างพืนฐานไม่เท่าเทียมกันและอยูในวงจากัด
                                                                         ้                       ่
                                4. การเพิมจานวนของประชากรในอัตราสูงส่งผลต่อความเป็ นอยูของประชากรโดยรวม
                                         ่                                                ่



10 มิถนายน 2553
      ุ                                               Copyright NESDB                                                                6
แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่ งชาติ ฉบับที่ 3-4
         2515                                 2519                         2520                                      2524


                                                          1.     กาเนิดของการวางแผนพัฒนาสังคมและวัตถุประสงค์การพัฒนาทีหลากหลาย
                                                                                                                           ่
                                                                 (Growth + Social fairness + Income distribution)
          แผนฯ 3 (2515-2519) :                            2.                        ่ ู ิ
                                                                 กระจายการพัฒนาสูภมภาค เร่งรัดพัฒนาภาคและชนบท
                 ั
       การพ ัฒนาสงคมควบคูเศรษฐกิจ
                         ่                                3.     เน ้นการเพิมผลผลิตการเกษตร เพิมรายได ้ประชาชนใน ชนบท เพือลดความต่างของ
                                                                            ่                    ่                           ่
                                                                 รายได ้
                                                          4.     สร ้างความเท่าเทียมในการใช ้ประโยชน์จากบริการของรัฐ โดยเฉพาะด ้านการศึกษา
                                                                 และสาธารณสุข

                                                                                ั
                                                          สภาวะเศรษฐกิจและสงคมในชวงแผนฯ 3 ่
                                                          1. ปั ญหาการกระจายรายได ้ และความไม่เท่าเทียมในการเข ้าถึงบริการรัฐมีความรุนแรง
                              แผนฯ 3                      2. เศรษฐกิจขยายตัว 6.5 % ราคาน้ ามันเพิมขึน 4 เท่า (วิกฤติน้ ามันครังแรก) และอัตราเงิน
                                                                                                   ่ ้                        ้
                              (2515-2519)                    เฟ้ อสูงถึง 15.5% ในปี 16 ส่งผลให ้เศรษฐกิจซบเซาช่วงหลังของแผนฯ 3
                                                          3. การเมืองมีความผันผวนเปลียนแปลงรัฐบาลบ่อยครัง ศก.โลกตกต่า น้ ามันแพง
                                                                                       ่                   ้
                                                          4. ราคาสินค ้าเกษตรตกต่า
                                                          5. การว่างงานเพิมขึน
                                                                            ่ ้


                                                          1. พัฒนาต่อเนืองจากแผนฯ 3 โดยยึดถือความมันคงปลอดภัยของชาติเป็ นพืนฐานของการ
                                                                            ่                         ่                          ้
                                            แผนฯ 4           พัฒนา แนวคิดการพัฒนาระหว่างสาขาร่วมกัน (Inter-sectoral planning)
                                            (2520-2524)   2. เร่งฟื้ นฟูเสถียรภาพทางเศรษฐกิจของประเทศให ้มันคง เช่น การผลิตสินค ้าเพือทดแทน
                                                                                                           ่                         ่
                                                             การนาเข ้า ปรับปรุงนโยบายการควบคุมราคาสินค ้าและเร่งรัดการส่งออก
             แผนฯ 4 (2520 – 2524) :                       3. เน ้นเสริมสร ้างสวัสดิภาพทางสังคมแก่คนในชาติมากกว่าเน ้นการขยายตัวทางเศรษฐกิจ
                                    ั
             เร่งฟื้ นฟูเศรษฐกิจและสงคม                      เป็ นหลัก

                                                                               ั       ่
                                                          สภาวะเศรษฐกิจและสงคมในชวงแผนฯ 4
                                                          1. ยุคการเมืองรุนแรง พรรคคอมมิวนิสต์ขยายตัว
                                                          2. การพัฒนาด ้านประสิทธิภาพการผลิตภาคเกษตรต่า
                                                          3. เศรษฐกิจขยายตัวร ้อยละ 7.4 เงินเฟ้ อสูงถึงร ้อยละ 11.7 และขาดดุลการค ้า
                                                                                 ่
                                                          4. ทรัพยากรธรรมชาติเสือมโทรม
                                                          5. การให ้บริการทางสังคมไม่เพียงพอและไม่ท่วถึง
                                                                                                       ั
                                                          6. ไทยยกระดับกลายเป็ นประเทศกาลังพัฒนาทีมรายได ้ปานกลาง จากประเทศรายได ้ต่า
                                                                                                          ่ ี

10 มิถนายน 2553
      ุ                                                        Copyright NESDB                                                                     7
แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่ งชาติ ฉบับที่ 5-6
         2525                                   2529                         2530                                       2534



    แผนฯ 5 (2525 - 2529) :
    การแก้ไขปัญหาและปร ับสู่
                                                                                                                     แผนฯ 6 (2530 – 2534) :
                                                                                                                                      ่
                                                                                                                        การจ ัดทาแผนสูระด ับ
       การพ ัฒนายุคใหม่                                    แผนฯ 5                                                             กระทรวง
                                                           (2525-2529)   แผนฯ 6
1. วางแผนโดยยึดหลักภูมภาคและพืนที่ กาหนดพืนที่
                          ิ       ้            ้                         (2530-2534)
   เป้ าหมายเพือแก ้ปั ญหาความยากจน เป้ าหมายเพือความ
               ่                                 ่
   มันคง และพืนทีรองรับอุตสาหกรรม ESB
     ่           ้ ่                                                                   1. กาหนดขอบเขตและวิธการใช ้แผนฯ ทีชดเจน มีทังระยะสัน
                                                                                                              ี             ่ ั     ้     ้
2. เน ้นการปรับโครงสร ้างเศรษฐกิจมากกว่าการมุงขยาย
                                             ่                                            กลาง ยาว และแผนปฏิบตระดับกระทรวง
                                                                                                                  ั ิ
   อัตราความเจริญทางเศรษฐกิจ                                                           2. เพิมประสิทธิภาพการพัฒนาประเทศทังด ้านทรัพยากรมนุษย์
                                                                                             ่                            ้
3. พัฒนาเศรษฐกิจและสังคมบนความสมดุล                                                       พัฒนาวิทยาศาสตร์และการบริหารจัดการ
                            ่
4. พัฒนาการแปลงแผนไปสูภาคปฏิบต ิ    ั                                                  3. ปรับปรุงระบบการผลิตและการตลาด
5. เพิมบทบาทและระดมความร่วมมือจากภาคเอกชน
       ่                                                                               4. ยกระดับคุณภาพปั จจัยพืนฐานเพือลดต ้นทุน
                                                                                                                ้      ่

                       ั      ่
สภาวะเศรษฐกิจและสงคมในชวงแผนฯ 5                                                                                 ั
                                                                                       สภาวะเศรษฐกิจและสงคมในชวงแผนฯ 6่
1. แผนพัฒนาชนบท เพือแก ้ไขปั ญหายากจนในชนบท
                         ่                                                             1. หนีตางประเทศลดลง ทุนสารองเพิมขึน
                                                                                              ้ ่                          ่ ้
2. แผนพัฒนาเชิงรุก เช่น การพัฒนาพืนที่ ESB การริเริม
                                  ้                ่                                   2. เศรษฐกิจฟื้ นตัว และขยายตัวร ้อยละ 10.9 ต่อปี (สูงสุดใน
   กรอ.                                                                                   รอบ 25 ปี ทผานมา)
                                                                                                      ี่ ่
3. แผนพัฒนาเพือความมันคง เช่น หมูบ ้านอาสาและพัฒนา
                 ่         ่        ่                                                  3. การจ ้างงานภาคอุตสาหกรรม/บริการเพิมขึน
                                                                                                                               ่ ้
   ป้ องกันตนเอง                                                                       4. ปั ญหาความเหลือมล้ารายได ้ระหว่างกลุมครัวเรือน และ
                                                                                                           ่                    ่
4. เศรษฐกิจขยายตัวตาเทียบกับช่วงแผนฯ ทีผานมา เพียง
                     ่                   ่ ่                                              ชนบทกับเมืองมากขึน  ้
   ร ้อยละ 5.4 ต่อปี
5. รัฐบาลสามารถกระจายบริการสังคมได ้กว ้างขวางมากขึน ้
   เช่น โรงพยาบาลประจาอาเภอ

สศช. กับแผนงานพัฒนาพืนที่ ESB และพืนทีเมืองหลัก เป็ น
                     ้             ้ ่
การพัฒนาประเทศแนวใหม่ยดพืนที่
                       ึ ้



10 มิถนายน 2553
      ุ                                                        Copyright NESDB                                                                      8
แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่ งชาติ ฉบับที่ 7
                               2535                                          2539


 1. เริมแนวคิด “การพัฒนาทียงยืน”
       ่                   ่ ั่
      ่ ่
 2. มุงสูเศรษฐกิจมีเสถียรภาพ รักษาอัตราการเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจ กระจายการ
             ่ ู ิ                                   ่
    พัฒนาสูภมภาคและชนบท และพัฒนาคุณภาพชีวต สิงแวดล ้อม และ
                                                 ิ
    ทรัพยากรธรรมชาติ
                     ่                                    ่
 3. พัฒนาเศรษฐกิจสูเศรษฐกิจด่านหน ้าในภูมภาค และยกระดับสูระดับนานาชาติ
                                          ิ                                         แผนฯ 7
                        ั
 สภาวะเศรษฐกิจและสงคมในชวงแผนฯ 7่                                                   (2535-2539)
                                                                                                  แผนฯ 7 (2535-2539) :
 1. รายได ้ต่อหัวเพิมถึง 28 เท่าจากแผนฯ 1 เป็ น 77,000 บาท
                    ่
                                                                                                    การพ ัฒนาทียงยืน
                                                                                                               ่ ่ั
 2. เศรษฐกิจขยายตัวร ้อยละ 8.1 ต่อปี เงินเฟ้ อเฉลีย 4.8 %
                                                  ่
 3. ทุนสารองสูงถึง USD 38,700 ล ้าน

                               ั
                  “เศรษฐกิจดี สงคมมีปญหา การพ ัฒนาไม่ยงยืน”
                                     ั                ่ั
       ปี 2539 ในชวงปลายแผนฯ 7 ประเทศไทยก้าวเข้าสู่ วิกฤตเศรษฐกิจ
                  ่



                               สภาวะแวดล้ อม                          แผนฯ 1 - แผนฯ 7
                                                                       (2504 - 2539)                       ผล
   ทบทวน
   ผลการ                    • การเมือง/ปกครองรวม                          โดยราชการ
                                                                         เพือประชาชน
                                                                            ่
                                                                                                       เศรษฐกิจดี
   พัฒนา                       ศูนย์ อานาจ
                                                                      บริหารแบบควบคุม                 สังคมมีปัญหา
    แผนฯ                    • เศรษฐกิจนาสังคม                     สั่งการ เป็ น Top-down มี
                                                                     กรอบในการวางแผน                การพัฒนาไม่ ย่ งยืน
                                                                                                                   ั
     1-7                    • ใช้ ทรั พยากรแรงงาน
                                                                                                            ปร ับ
                                            ปรั บตัว/พร้ อมรั บการเปลี่ยนแปลง                          กระบวนทรรศน์
                                                                                                      ใหม่ในการพ ัฒนา

10 มิถนายน 2553
      ุ                                                      Copyright NESDB                                              9
แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่ งชาติ ฉบับที่ 8
                              2540                                         2544


 1.   เน ้นคนเป็ นศูนย์กลางการพัฒนา และใช ้การพัฒนาเศรษฐกิจเป็ นเครืองมือ
                                                                    ่
 2.   ปรับเปลียนกระบวนการจัดทาแผนใหม่เป็ นแบบ “จากล่างขึนบน” บูรณาการแบบองค์รวม ไม่พัฒนา
              ่                                           ้
      แยกส่วน
 3.                       ่
      ภาคประชาชนมีสวนร่วมพัฒนา
 4.                ่                                        ่
      แปลงแผนสูปฏิบต ิ โดยยึดหลักการพืนที่ ภารกิจ และการมีสวนร่วม
                        ั              ้

                     ั        ่
 สภาวะเศรษฐกิจและสงคมในชวงแผนฯ 8                                                            แผนฯ 8
 1. วิกฤตเศรษฐกิจปี 2540                                                                    (2540-2544)
 2. ปั ญหาสถาบันการเงิน
 3. หนึตางประเทศและหนึสาธารณะเพิมขึน
        ้ ่              ้           ่ ้                                                                   แผนฯ 8 (2540-2544) :
 4. มีเครือข่ายการพัฒนาร่วมกับภาครัฐ                                                                      “คน” เปนศูนย์กลางการพ ัฒนา
                                                                                                                 ็

          ่                          ็                  ่
        มุงเน้นการพ ัฒนาแบบองค์รวม เปนการวางรากฐานการมีสวนร่วมของประชาชน



                                                                                                วิกฤต
                                     สภาวะแวดล้อม                              แผนฯ 8                        ปร ับแผนฯ 8

                                • เผชญกระแส   ิ                    • โดยประชาชน                       • ปร ับกรอบเศรษฐกิจ
 การปร ับ ับ
  การปร                           โลกาภิว ัตน์ทรนแรง
                                                  ี่ ุ               เพือประชาชน
                                                                          ่                             มหภาค
                                • เศรษฐกิจ                                                            • ลดผลกระทบต่อคน
 แผนฯ 8
 แผนฯ                                                              • คน-ศูนย์กลางการพ ัฒนา
        8                           ่ ั
                                  สงสญญาณ
                                  มีปญหา  ั
                                                                   • เศรษฐกิจเปนเครืองมือในการ
                                                                               ็     ่                     ั
                                                                                                        สงคม
 (40-44)                                                             พ ัฒนาคน                         • ปร ับโครงสร้าง

 (40-44)                        • การพ ัฒนากระจุกต ัว
                                  ไม่กระจาย
                                                                   • วิธการพ ัฒนา-เน้นองค์รวมและ
                                                                        ี
                                                                     บูรณาการ
                                                                                                        เศรษฐกิจ
                                                                                                      • ปร ับระบบบริหาร
                                            ั   ั
                                • มีปญหาสงคม คุณภาพ                                                     จ ัดการ
                                  ช ิีวต ทร ัพยากรธรรมชาติ         • บริหารแบบชนา ี้
                                       ื่
                                  เสอมโทรม                                      ่
                                                                     สร้างการมีสวนร่วม
                                                                     เปน Bottom-up
                                                                       ็


10 มิถนายน 2553
      ุ                                                      Copyright NESDB                                                           10
แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่ งชาติ ฉบับที่ 9
                                 2545                                         2549


   1.   ยึดคนเป็ นศูนย์กลางการพัฒนาต่อเนืองจากแผนฯ 8
                                         ่
   2.                                            ่
        มุงการพัฒนาทีสมดุลคน สังคม เศรษฐกิจ และสิงแวดล ้อม
          ่            ่
   3.   เพิมขีดความสามารถในการแข่งขัน
            ่
   4.   บริหารจัดการทีด ี ในทุกระดับ
                         ่                                                          แผนฯ 9 (2545-2549):
                                                                                   ิ
                                                                             อ ัญเชญปร ัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
                         ั       ่
   สภาวะเศรษฐกิจและสงคมในชวงแผนฯ 9
   1. นาปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงมาใช ้
   2. คุณภาพชีวตดีขน ทังด ้านสุขภาพ ยาเสพติด และการกระจายรายได ้
               ิ   ้ึ  ้

                                       ่
                      สร้างกระบวนการมีสวนร่วมของภาคีการพ ัฒนาทุกระด ับอย่างกว้างขวาง
                                                                                                               แผนฯ 9
                                   เหตุการณ์ร ัฐประหาร 19 ก ันยายน 2549                                       (2545-2549)


3 สังคมที่พงประสงค์
           ึ                                          การบริหารการเปลี่ยนแปลงเพื่อการแปลงแผนสู่การปฏิบัติ
                                                                       4 วัตถุประสงค์ หลัก
     สังคมคุณภาพ
                                      ฟื ้ นฟูเศรษฐกิจ        วางรากฐานการพัฒนา              การบริหารจัดการที่ดี             แก้ ไขปั ญหา
                                  ให้ มีเสถียรภาพมั่นคง      ประเทศให้ เข้ มแข็ง ยั่งยืน        ในทุกระดับ                    ความยากจน
     สังคมแห่ งการ
         เรี ยนรู้
                                                                    7 ยุทธศาสตร์ การพัฒนา
     สังคมสมานฉันท์                                 คน         ชนบท            ทรัพยากร         บริหาร      เพิ่มสมรรถนะขีด        ความ
                                    บริหาร                                                    เศรษฐกิจ      ความสามารถใน          เข้ มแข็ง
         เอืออาทร
            ้                     จัดการที่ดี      สังคม       เมือง          สิ่งแวดล้ อม     ส่ วนรวม         การแข่ งขัน         ว&ท

 10 มิถนายน 2553
       ุ                                                      Copyright NESDB                                                                 11
แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่ งชาติ ฉบับที่ 10
                                   2550                                       2554


                                       แผนฯ 10 (2550-2554):
                               การปฏิบ ัติตามปร ัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
                              เพือสร้างสมดุลและมีความอยูเย็ นเปนสุขร่วมก ัน
                                 ่                      ่      ็

   1.    ยึดกระบวนทรรศน์การพัฒนาต่อเนือง จากแผนฯ 8 และ แผนฯ 9
                                       ่
   2.    ประกอบด ้วย 5 ยุทธศาสตร์การพัฒนา

   ยุทธศาสตร์การพัฒนาคุณภาพคนและ                     ยุทธศาสตร์การพัฒนาบนฐานความ
               ่ ั
     สังคมไทยสูสงคมแห่งภูมปัญญาและการ
                          ิ                              หลากหลายทางชีวภาพ และสร ้างความมันคง
                                                                                          ่
     เรียนรู ้                                           ของฐานทรัพยากรและคุณภาพ สวล.
                                                                                                   แผนฯ 10
   ยุทธศาสตร์การสร ้างความเข ้มแข็งของชุมชน          ยุทธศาสตร์การปรับโครงสร ้างเศรษฐกิจให ้   (2550-2554)
     และสังคมเป็ นฐานทีมนคงของประเทศ
                       ่ ั่                              สมดุลและยังยืน
                                                                   ่


                               ยุทธศาสตร์การเสริมสร ้างธรรมาภิบาลในการ
                                         บริหารจัดการประเทศ

                           ั
  สภาวะเศรษฐกิจและสงคมในชวงแผนฯ 10 ่
  1. การเตรียมพืนทีใหม่ (SSB) เพือรองรับการพัฒนาอุตสาหกรรม
                ้ ่              ่
  2. การเมือง เศรษฐกิจผันผวน สังคมแตกความสามัคคี
                         ่
  3. สภาพเศรษฐกิจเข ้าสูภาวะถดถอย จากทังปั จจัยภายในและภายนอก
                                         ้
  4. การนาทุน 3 ด ้านมาพิจารณา (ทุนทางเศรษฐกิจ ทุนทางสังคม ทุนทรัพยากรธรรมชาติ)


  โลก             Subprime & Global financial crisis, Euro Zone Debt Crisis (Greece&PIIGS)

  ไทย            2547-ปั จจุบัน          เหตุการณ์ความไม่สงบใน 3 จังหวัดชายแดนใต ้
                  2551                    การประท ้วงทางการเมือง และการปิ ดสนามบินสุวรรณภูม ิ
                  2552 (เม.ย.-พ.ค.)       เหตุการณ์ความไม่สงบทางการเมือง
10 มิถนายน 2553
      ุ                                                         Copyright NESDB                                  12
พลังทางเศรษฐกิจ (Economic Forces)
                                                2



10 มิถนายน 2553
      ุ                       Copyright NESDB       13
ความสมดุลระหว่ าง 3 ทุน เพื่อสร้ างภูมค้ ุมกันและความมั่นคงของชาติ
                                                        ิ




10 มิถนายน 2553
      ุ                                    Copyright NESDB                             14
อย่างไรก็ตาม ความไม่ สมดุล สามารถสร้ างพลังในการขับเคลื่อนระบบเศรษฐกิจได้
      พลังในระบบเศรษฐกิจแบ่งได้ 2 ประเภท

                  • พลังของตลาด (Internal Forces)  เป็ นประสิทธิภาพการ
                    ดาเนินงานของภาคเอกชนเพื่อสร้ างอุปสงค์ให้ มากกว่าอุปทาน (Excess
                    Demand)
                  • พลังนอกตลาด (External Forces)  เป็ นประสิทธิภาพการ
                    ดาเนินงานของภาครัฐโดยได้ รับแรงกดดันจากภาคเอกชนเพื่อให้ อปทาน
                                                                              ุ
                    มากกว่าอุปสงค์ (Excess Supply)



                                                                     15
10 มิถนายน 2553
      ุ                                  Copyright NESDB                              15
อุปสงค์ มากกว่ าอุปทาน (Excess Demand) จะส่งผลกระตุ้นต่อระบบเศรษฐกิจได้ ง่ายและ
          ค่อนข้ างมาก เนื่องจากมีผลกาไรเป็ นแรงจูงใจ การสร้ างพลังแบบนี ้ เน้ นให้ ความสาคัญกับภาค
          การผลิตที่สร้ างมูลค่าเพิ่มได้ มากเช่นภาคอุตสาหกรรมและบริ การ มากกว่าภาคเกษตรกรรม
          หรื อภาคการผลิตสินค้ าขันปฐมภูมิ
                                     ้
          อุปทานมากกว่ าอุปสงค์ (Excess Supply) เป็ นการกระตุ้นการลงทุนโดยใช้ เครื่ องมือต่างๆ
          เช่น การลดอัตราดอกเบี ้ยเงินกู้ และให้ สิทธิประโยชน์ต่างๆ ตลอดจนถึงการให้ การบริ การต่างๆ
          ของรัฐ และพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ให้ เพียงพอและมีคณภาพ   ุ

  Internal Forces               Marketing Power                  Excess Demand           Profit



  Unbalanced                                                                    Economic Expansion



  External Forces               Government Service               Excess Supply           Incentive




10 มิถนายน 2553
      ุ                                        Copyright NESDB                                        16
โครงสร้ าง
                   •ภาคการผลิต     เกษตร อุตสาหกรรม และบริการ
                   •ภาคการเงิน     ปริมาณเงิน ฐานเงิน และอัตราดอกเบี ้ย
                   •ภาคการคลัง     รายรับ/รายจ่ายของรัฐบาล และหนี ้สาธารณะ
                   •ภาคต่ างประเทศ การส่งออก นาเข้ า ดุลการค้ า ดุลการชาระเงิน
                                   ทุนสารองระหว่างประเทศ อัตราแลกเปลี่ยน
              ดัชนีเศรษฐกิจมหภาค
                    •ดัชนีชีนา
                            ้
                    •ดัชนีพ้อง
                    •ดัชนีตาม

10 มิถนายน 2553
      ุ                                  Copyright NESDB                         17
ภาพรวมทางเศรษฐกิจ                อุปทาน                        การบริโภคเอกชน                    การลงทุนเอกชน
 • อัตราการขยายตัวของ      ดัชนีผลผลิตสินค้ าเกษตร           • ภาษี มลค่าเพิ่ม ณ ราคา
                                                                         ู                      • ปริ มาณนาเข้ าสินค้ าทุน
   GDP                     ดัชนีราคาสินค้ าเกษตร               คงที่                           • ยอดจาหน่ายรถยนต์เชิง
                           รายได้ เกษตรกรที่แท้ จริ ง        • ยอดจาหน่ายรถยนต์นง       ั่       พาณิชย์
                           ดั ช นี ผ ล ผ ลิ ต สิ น ค้ า      • ย อ ด จ า ห น่ า ย              • ภาษี ธุรกรรม
                            อุตสาหกรรม                          รถจักรยานยนต์                     อสังหาริ มทรัพย์
                           อัตราการใช้ กาลังการ              • ปริ มาณน าเข้ าสิ น ค้ า        • ยอดขายปูนซีเมนต์
                            ผลิตภาคอุตสาหกรรม                   อุปโภค                          • ยอดขายเหล็ก
                           ดั ช นี ค ว า ม เ ชื่ อ มั่ น     • ดั ช นี ค ว า ม เ ชื่ อ มั่ น   • ดัชนีราคาวัสดุก่อสร้ าง
                            อุตสาหกรรม                          ผู้บริ โภค
                           จ า น ว น นั ก ท่ อ ง เ ที่ ย ว
                            ต่างประเทศ




10 มิถนายน 2553
      ุ                                             Copyright NESDB                                                          18
การค้ าระหว่ างประเทศ                 การเงิน                   เสถียรภาพเศรษฐกิจ
       • มูลค่าส่งออกสินค้ า          อัตราดอกเบี ้ยนโยบาย             • ดุลการค้ า
       • ราคาส่งออกสินค้ า            อัตราดอกเบี ้ยเงินกู้ MLR ของ    • ดุลบัญชีเดินสะพัด
       • ปริ มาณส่งออกสินค้ า          ธนาคารพาณิชย์                    • ทุนสารองระหว่างประเทศ
       • มูลค่านาเข้ าสินค้ า         อัตราดอกเบี ้ยเงินฝากประจา       • อัตราการว่างงาน
       • ราคานาเข้ าสินค้ า            1 2 เ ดื อ น ข อ ง ธ น า ค า ร   • อัตราเงินเฟอ
                                                                                     ้
       • ปริ มาณนาเข้ าสินค้ า         พาณิชย์                          • หนี ้สาธารณะต่อ GDP
                                      อัตราการขยายตัวของสินเชื่อ
                                      อั ต ราการขยายตั ว ของเงิ น
                                       ฝาก




10 มิถนายน 2553
      ุ                                      Copyright NESDB                                      19
1993 UN SNA หรือ revised SNA
       1. บัญชีรายได้ ประชาชาติ (National Income Account)
       2. บัญชีเศรษฐกิจเงินทุน (Flow of Fund Account)
                                                                  สภาพัฒน์ ฯ
       3. บัญชีงบดุลแห่ งชาติ (National Balance Sheet)
       4. ตารางปั จจัยการผลิตและผลผลิต (Input-Output Table)

                                                             ธนาคารแห่ งประเทศไทย
       5. บัญชีดุลการชาระเงิน (Balance of Payment Account)


10 มิถนายน 2553
      ุ                               Copyright NESDB                           20
การคาดการณ์ แนวโน้ มเศรษฐกิจระยะ
      วางแผนและกาหนดกรอบยุทธศาสตร์
                                                           ปานกลาง (เพื่อสนับสนุนงานวาง
       และการพัฒนาเศรษฐกิจและสังคม
                                                                 แผนการพัฒนา)


                                                                 Macroeconomic framework
                  แผนพัฒนาเศรษฐกิจ
                                                                 (แนวโน้ มและเปาหมายทาง
                                                                               ้
                   และสังคมแห่ งชาติ
                                                                         เศรษฐกิจ)


                    กรอบแนวทางการ                                    ศักยภาพการผลิต
                  พัฒนาประเทศในระยะ
                       ปานกลาง                                       (Potential growth)


10 มิถนายน 2553
      ุ                                Copyright NESDB                                      21
นโยบายทางเศรษฐกิจ (การคลัง)
                                                    3



10 มิถนายน 2553
      ุ                           Copyright NESDB       22
1. นโยบายการคลังด้ านรายได้ เป็ นการตัดสินใจของรัฐบาลเกี่ยวกับการกาหนดขนาดของ
          รายได้ โครงสร้ างภาษี ประเภทของภาษี และอัตราภาษี เพื่อให้ เหมาะสมกับการดาเนินการ
          แก้ ไขปั ญหาและพัฒนาเศรษฐกิจของประเทศ

       2. นโยบายการคลังด้ านรายจ่ าย เป็ นการตัดสินใจของรัฐบาลเกี่ยวกับวงเงินงบประมาณ
          นโยบายงบประมาณ โครงสร้ างงบประมาณ และแนวทางในการจัดสรรงบประมาณเพื่อให้
          สามารถเป็ นเครื่ องมือของรัฐบาลในการแก้ ไขปั ญหาและพัฒนาเศรษฐกิจของประเทศให้ มี
          เสถียรภาพและเจริ ญเติบโตได้ อย่างยังยืน
                                             ่

       3. นโยบายการคลังด้ านหนี สาธารณะ เป็ นการตัดสินใจของรั ฐบาลเกี่ ยวกับกู้ยืมเงินเพื่อ
                                             ้
          นามาใช้ จ่ายในการแก้ ไขปั ญหาและพัฒนาเศรษฐกิจของประเทศ โดยการกาหนดขนาดของ
          วงเงิ น กู้ วิธี ก ารก่ อ หนี ส าธารณะ และวิ ธี ก ารบริ หารหนี ส าธารณะ เพื่ อ ให้ ก ารก่ อ หนี เ้ กิ ด
                                        ้                                ้
          ประสิทธิภาพสูงสุด


10 มิถนายน 2553
      ุ                                              Copyright NESDB                                                23
นโยบายการคลังแบบปรั บเสถียรภาพโดยอัตโนมัติ
         เป็ นนโยบายที่มีผลทาให้ ภาวะเศรษฐกิจสามารถปรั บตัวเข้ าสู่เสถียรภาพได้ เอง ในยามที่
         เศรษฐกิจขาดเสถียรภาพ โดยรัฐบาลไม่ต้องดาเนินมาตรการเพิ่มหรื อลดงบประมาณรายจ่าย
         หรื อเปลี่ยนแปลงภาษี อากรแต่อย่างใด ตัวอย่างเช่น
                      การจัดเก็บภาษี รายได้ ในอัตราก้ าวหน้ า
                      การใช้ จ่ า ยเงิ น โอนและเงิ น อุ ด หนุ น ของรั ฐ บาล เช่ น เงิ น ประกั น การว่ า งงาน
                      (Unemployment Insurance Benefits) เงินการประกันราคาสินค้ าเกษตร เป็ นต้ น

        นโยบายการคลังแบบจงใจ
         เป็ นนโยบายที่รัฐบาลจะต้ องดาเนินการเพิ่มหรื อลดงบประมาณรายจ่ ายหรื อเปลี่ยนแปลง
         ชนิดภาษี และอัตราภาษีในภาวะที่เศรษฐกิจตกต่ า หรื อในภาวะที่เศรษฐกิจขยายตัวมาก
         เกินไป เพื่อปรับสภาวะเศรษฐกิจให้ อยู่ในสภาวะ สมดุล เช่น
                     มาตรการทางภาษี เพื่อช่วยเหลือผู้ได้ รับผลกระทบจากการชุมนุม
                     มาตรการภาษี เพื่อกระตุ้นการท่องเที่ยว
                     มาตรการทางภาษี ศลกากรเพื่อกระตุ้นการส่งออก
                                       ุ

10 มิถนายน 2553
      ุ                                              Copyright NESDB                                           24
1. นโยบายการคลังแบบขยายตัว
        นโยบายการคลังแบบขยายตัว (Expansionary Fiscal Policy) เป็ นนโยบายการคลังที่รัฐบาลเพิ่มการใช้
        จ่ายเงินของภาครัฐ และลดปริ มาณการเก็บภาษี ลงเป็ นการกระตุ้นภาวะเศรษฐกิจให้ เกิดการขยายตัวด้ วย
        การยกระดับรายจ่ายมวลรวมของระบบเศรษฐกิจ
          • การเพิ่มการใช้ จ่ายเงินของภาครั ฐ มีผลให้ เกิดการใช้ จ่ายเงินในระบบเศรษฐกิจเพื่อการซื ้อสินค้ า
            และบริ ก าร และมีผ ลให้ เกิ ดการผลิตสินค้ าและบริ ก ารเพิ่ มมากขึน เกิ ด การจ้ างงาน ทาให้ ร ายได้
                                                                             ้
            ประชาชาติเพิ่มสูงขึ ้น
          • การลดปริ มาณการจัดเก็บภาษี จะทาให้ ภาคเอกชนมีเงินเหลือมากขึน และสามารถนาไปใช้ เพื่อ
                                                                                   ้
            การบริ โภคและการลงทุนได้ มากขึน ก่อให้ เกิดการขยายการผลิต และการจ้ างงาน และจะส่งผลให้
                                             ้
            รายได้ ประชาชาติเพิ่มสูงขึ ้น

        รัฐบาลสามารถเลือกใช้ นโยบายการคลังแบบขยายตัวในกรณีท่ เกิดภาวะเศรษฐกิจตกต่า
                                                             ี
        และต้ องการกระตุ้นเศรษฐกิจให้ ขยายตัวมากขึน
                                                  ้



10 มิถนายน 2553
      ุ                                            Copyright NESDB                                               25
2. นโยบายการคลังแบบเป็ นกลาง
     นโยบายการคลังแบบเป็ นกลาง ( Neutral Fiscal Policy) เป็ นนโยบายการคลังที่ไม่มีผลทาให้ ความ
     ต้ องการใช้ จ่ายมวลรวมเปลี่ยนแปลงไป โดยรัฐบาลใช้ จ่ายเงินเท่ากับจานวนรายได้ ที่จดเก็บได้ จากภาษี อากร
                                                                                     ั
     และรายได้ อื่น ๆ

   3. นโยบายการคลังแบบหดตัว
     นโยบายการคลังแบบหดตัว (Restrictive Fiscal Policy) เป็ นนโยบายการคลังที่รัฐบาลลดการใช้ จ่ายเงิน
     ของภาครั ฐ และเพิ่ มปริ มาณการเก็ บ ภาษี มีผ ลทาให้ เ ป็ นการลดรายจ่ ายมวลรวมของระบบเศรษฐกิ จ
     เนื่องจากรายจ่ายทังในภาครั ฐบาลและภาคเอกชนลดลง การผลิตสินค้ าและบริ การลดลง การจ้ างงานมี
                          ้
     น้ อยลง ทาให้ รายได้ ประชาชาติ หรื อการขยายตัวทางเศรษฐกิจลดลง

      รั ฐบาลสามารถเลือกใช้ นโยบายการคลังแบบหดตัวในกรณีท่ ีภาวะเศรษฐกิจขยายตัวอย่ าง
      รวดเร็วและเกิดปั ญหาภาวะเงินเฟอเพิ่มมากขึน และต้ องการให้ เศรษฐกิจชะลอตัวและลด
                                    ้          ้
      ความร้ อนแรง (overheat) ลง


10 มิถนายน 2553
      ุ                                         Copyright NESDB                                              26
1. บทบาทต่ อการกระจายรายได้ ท่ เป็ นธรรมมากขึน โดยการใช้ รายได้ จากภาษีอากรที่เก็บจาก
                                         ี              ้
      ผู้มีรายได้ มากในอัตราสูง และนาเงินภาษี นนมาให้ การสงเคราะห์ช่วยเหลือผู้มีรายได้ น้อย และ
                                                  ั้
      ใช้ นโยบายรายจ่ายในการจัดสรรเงินงบประมาณในโครงการต่าง ๆ ที่เป็ นประโยชน์แก่ผ้ มีรายได้
                                                                                         ู
      น้ อย เป็ นการลดปั ญหาความแตกต่างด้ านรายได้ ของคนในสังคม
   2. บทบาทในการรั กษาเสถียรภาพทางเศรษฐกิจของประเทศ ในหลาย ๆ ด้ าน เช่น การ
      แก้ ไขปั ญหาเงินเฟอ การแก้ ไขปั ญหาเศรษฐกิจตกต่า และการแก้ ไขปั ญหาการว่างงาน โดยการ
                        ้
      เพิ่มหรื อลดงบประมาณรายจ่ายและเปลี่ยนแปลงชนิดและอัตราภาษี เพื่อให้ เศรษฐกิจปรับเข้ าสู่
      สภาวะสมดุลและมีเสถียรภาพ
   3. บทบาทในการพัฒนาเศรษฐกิจของประเทศให้ ขยายตัวในระดับที่เหมาะสม โดยการใช้
      นโยบายและมาตรการด้ านรายได้ ด้ านรายจ่าย และด้ านหนีสาธารณะเพื่อให้ รัฐบาลมีรายได้
                                                                ้
      มากพอที่จะนามาใช้ จ่ายในการพัฒนาเศรษฐกิจของประเทศ และหากจาเป็ นรัฐบาลอาจกู้เงิน
      เพื่อนามาใช้ จ่ายเพิ่มเติมเพื่อผลักดันให้ การพัฒนาเศรษฐกิจของประเทศบรรลุเปาหมายทาง
                                                                                   ้
      เศรษฐกิจที่กาหนดไว้

10 มิถนายน 2553
      ุ                                    Copyright NESDB                                        27
โครงสร้ างเศรษฐกิจและสังคมไทย
              และตัวอย่ างการวิเคราะห์ ดัชนีชีวัดทางเศรษฐกิจ ในช่ วง Q1/2553
                                              ้
                                                                             4




10 มิถนายน 2553
      ุ                                 Copyright NESDB                          28
2545    2546      2547     2548    2549    2550    2551    2552
ภาคเกษตร                                             10.0    10.5       9.6      9.0     9.0     8.7     8.8     8.9
                   ั
เกษตรกรรม การล่าสตว์                                  8.4     8.9       8.1      7.5     7.5     7.2     7.3     7.4
การประมง                                              1.5     1.6       1.6      1.5     1.6     1.5     1.4     1.5
ภาคนอกเกษตร                                          90.0    89.5      90.4     91.0    91.0    91.3    91.2    91.1
การทาเหมืองแร่และเหมืองหิน                            2.2     2.2       2.2      2.3     2.3     2.2     2.2     2.2
การผลิตอุตสาหกรรม                                    36.8    38.0      38.7     38.9    39.1    39.6    40.2    39.0
การไฟฟ้ า ก๊าซ และการประปา                            3.4     3.3       3.3      3.3     3.3     3.3     3.4     3.5
การก่อสร ้าง                                          2.5     2.4       2.4      2.4     2.4     2.4     2.2     2.2
          ่                 ่
 การขายสง การขายปลีก การซอมแซม      ยาน
ยนต์จั กรยานยนต์ ของใช สวนบุคคลและของใช ้
                       ้ ่                           14.8    14.2       14.0    14.0    13.8    13.8    13.7    13.7
ในครัวเรือน
 โรงแรมและภัตตาคาร                                    3.8     3.4        3.6     3.5     3.7     3.7     3.7     3.7

                                                     10.2     9.8        9.9    10.0    10.0    10.1     9.9     9.9
        ่               ิ
การขนสง สถานทีเก็บสนค ้าและการคมนาคม
                  ่
ตัวกลางทางการเงิน                                     3.0     3.2        3.4     3.5     3.5     3.5     3.6     3.9
บริก ารด า นอสั ง หาริม ทรั พ ย์ การให เ ช ่ า และ
          ้                            ้              4.0     3.9        3.9     3.9     3.9     3.9     3.9     3.9
บริการทางธุรกิจ
การบริ ห ารราชการแผ่ น ดิน และการป้ องกั น            3.3     3.1        3.0     3.0     2.8     2.8     2.8     3.0
                            ั
ประเทศ รวมทังการประกันสงคมภาคบังคับ
             ้
      ึ
การศกษา                                               2.7     2.5        2.4     2.5     2.4     2.6     2.5     2.6

                                                      1.4     1.2        1.2     1.3     1.3     1.3     1.2     1.3
                            ั
การบริการด ้านสุขภาพและงานสงคมสงเคราะห์
การให ้บริการชุมชน สังคมและบริการสวนบุคคล
                                  ่
                                                      2.0     2.1        2.2     2.2     2.2     2.0     1.9     2.0
อืน ๆ
  ่
                    ่
ลูกจ ้างในครัวเรือนสวนบุคคล                           0.1     0.1       0.1      0.1     0.1     0.1     0.1     0.1
ผลิตภ ัณฑ์มวลรวมในประเทศ (GDP)                       100.0   100.0     100.0    100.0   100.0   100.0   100.0   100.0
 ที่มา: สศช.
 10 มิถนายน 2553
       ุ                                                      Copyright NESDB                                           29
ร้ อยละ
                                  2545    2546      2547    2548    2549    2550    2551     2552

การบริโภคภาคเอกชน                 55.1    54.7       54.7   54.7    53.6    52.0    52.1     52.7

     ้
ค่าใชจ่ายภาครัฐ                    8.8     8.5       8.4     8.9     8.7     9.1     9.3     10.0

การลงทุน                          19.9    20.8       22.1   23.4    23.1    22.3    22.1     20.5

 ิ
สนค ้าคงคลัง                       1.1     1.4       1.4     2.0     0.2     0.0     1.3      -2.3

    ่    ิ
การสงออกสนค ้าและบริการ           64.5    64.5       66.5   66.2    68.7    70.6    72.4     64.7

                   ่    ิ
               การสงออกสนค ้า     51.9    53.0       54.0   54.0    55.8    57.2    59.1     52.0

                   ่
               การสงออกบริการ     12.7    11.5       12.5   12.2    12.9    13.5    13.3     12.7

           ิ
การนาเข ้าสนค ้าและบริการ         49.7    50.3       53.6   55.9    54.9    54.7    57.9     46.3

                          ิ
               การนาเข ้าสนค ้า   41.6    43.0       45.3   47.2    44.9    44.3    46.9     36.6

               การนาเข ้าบริการ    8.1     7.3       8.3     8.7    10.0    10.3    11.0      9.7

ผลิตภ ัณฑ์มวลรวมภายในประเทศ       100.0   100.0     100.0   100.0   100.0   100.0   100.0   100.0


 ที่มา: สศช.



10 มิถนายน 2553
      ุ                                   Copyright NESDB                                             30
โครงสร้ างประชากรไทยใน 20 ปี ข้ างหน้ า
              โครงสร้างประชากรตามช่วงอายุ 2543-2570                                           ประมาณการประชากร 2543-2570
                                                                           80
      100%
                                                                           75

       80%
                                                                           70




                                                                 ล ้านคน
       60%                                            60+                  65
                                                      25-59
       40%                                            <25                  60
                                                                                                            สมมติฐานภายใต ้ภาวะเจริญพันธุระดับสูง
                                                                                                                                         ์
                                                                           55
       20%                                                                                                  สมมติฐานภายใต ้ภาวะเจริญพันธุระดับปานกลาง
                                                                                                                                         ์

                                                                           50




                                                                                2543
                                                                                       2545
                                                                                              2547
                                                                                                     2549
                                                                                                             2551
                                                                                                                    2553
                                                                                                                           2555
                                                                                                                                  2557
                                                                                                                                         2559
                                                                                                                                                2561
                                                                                                                                                       2563
                                                                                                                                                              2565
                                                                                                                                                                     2567
                                                                                                                                                                            2569
        0%
         43

         46

         49

         52

         55

         58

         61

         64

         67

         70
       25

       25

       25

       25

       25

       25

       25

       25

       25

       25




                                                                      ทีม า: การคาดประมาณประชากรของประเทศไทย 2543-2573, สศช. 2550
                                                                        ่




   ในระยะ 20 ปี ข้างหน้ า ประชากรไทยจะเพิ่มขึ ้นเป็ น ประมาณ 71-75 ล้ านคน
   โดยสัดส่วนของผู้สงอายุ (อายุตงแต่ 60 ปี ขึ ้นไป) จะเพิ่มขึ ้นเป็ น 21%
                     ู          ั้
   ในขณะที่ สัดส่วนประชากรวัยแรงงานจะเปลี่ยนแปลงไม่มากนัก
  ที่มา: สศช (ประมาณการก่อน Crisis)

10 มิถนายน 2553
      ุ                                               Copyright NESDB                                                                                                              31
ความยากจนและการกระจายรายได้

                                                                                                                                             แม่ฮ่องสอน
                                                                             ปี 2550

                                                                                                                                      อยุธยา/นนทบุรี


                                                          Poverty Number ('000)
                                                                    0.00 - 100.00
                                                                                                                           Poverty Ratio (%)
                                                                    100.01 - 200.00
                                                                                                                                      0.00 - 1.96
                                                                    200.01 - 300.00
                                                                                                                                      1.97 - 6.70
                                                                    300.01 - 400.00
                                                                                                                                      6.71 - 13.69
                                                                    400.01 - 500.00
                                                                                                                                      13.70 - 28.65

                                                                                                                                      28.66 - 65.16

                                    ศรี ษะเกศ



                                      อยุธยา
                                                175,000    87,500   0
                                                                         .            175,000 Miles
                                                                                                                                              .
ที่มา: สานักงานสถิติแห่งชาติ 2552                                                                                220,000    110,000      0            220,000 Miles




 10 มิถนายน 2553
       ุ                                                                            Copyright NESDB                                                                   32
ความยากจนและการกระจายรายได้



  Poverty Line        ปั จจุบันเฉลี่ย 1,443 บาท/คน/เดือน                  สัดส่วนคนจน                   ประเทศไทย (เฉลี่ย)
                        เส ้นความยากจน (บาท/คน/เดือน)                      45.0

                                                                           40.0
    1,600                                                                                                                   จานวนคนจน (ล ้านคน)
    1,400
                                                                           35.0
                                                                                                                            สัดส่วนคนจน (ร ้อยละ)
                                                                           30.0
    1,200
                                                                           25.0
    1,000
     800                                                                   20.0
                                    เส ้นความยากจน
     600                            (บาท/คน/เดือน)                         15.0

     400

                                                                                                                                                   9.6%
                                                                           10.0

     200                                                                    5.0
      -
                                                                            -
            2531 2533 2535 2537 2539 2541 2543 2545 2547 2549 2550                2531   2533   2535   2537   2539   2541   2543   2545   2547   2549   2550




10 มิถนายน 2553
      ุ                                                       Copyright NESDB                                                                                  33
ตัวอย่ างการวิเคราะห์ ดัชนีชีวัดทางเศรษฐกิจ ในช่ วง Q1/2553
                                       ้




10 มิถนายน 2553
      ุ                             Copyright NESDB                     34
GDP Growth (%)
                                                                                 2552                2553
                              2551           2552
                                                            Q1            Q2            Q3     Q4    Q1
           GDP                 2.5           -2.3          -7.1           -4.9          -2.7   5.9   12.0
    GDP ปรั บฤดูกาล             -              -           -1.6           2.4           1.4    4.0   3.8
 ขยายตัวสูงรองจากสิงค์โปร์   (ร้ อยละ 15.5) และไต้ หวัน (ร้ อยละ 13.3)
  GDP ขยายตัว Q1 lสูงถึงร้ อยละ 12.0 สูงสุดในรอบ 15 ปี นับตังแต่ไตรมาส 2 ปี 2538 ที่ขยายตัวร้ อยละ 12.3
                                                                   ้
  และสูงที่สดเป็ นอันดับ 3 ในภูมิภาค รองจากสิงคโปร์ และไต้ หวัน โดยมีปัจจัยหลักมาจาก
            ุ
      การส่งออกขยายตัวสูงขึ ้นชัดเจน
      ภาคอุตสาหกรรมขยายตัวทังอุตสาหกรรมการผลิตเพื่อการส่งออกและอุตสาหกรรมเพื่อใช้ ภายในประเทศ
                                      ้
         อัตราการใช้ กาลังการผลิตสูงขึ ้น
      นักท่องเที่ยวต่างชาติเดินทางเข้ าประเทศสูงเป็ นประวัติการณ์ ถึง 4.7 ล้ านคน
      การลงทุนภาคเอกชนปรับตัวดีขึ ้น จากมาตรการกระตุ้นของภาครัฐ
      การใช้ จ่ายภาคครัวเรื อนขยายตัวต่อเนื่องจากความเชื่อมันที่เพิ่มขึ ้น
                                                                ่
10 มิถนายน 2553
      ุ                                                Copyright NESDB                                      35
จะเห็นได้ ว่า GDP และ MPI มีความสัมพันธ์กนในลักษณะที่เป็ นการแปรผันตามซึงกันและกัน
                                                       ั                              ่
10 มิถนายน 2553
      ุ                                          Copyright NESDB                                   36
ิ
ราคาสนค้าเกษตรลดลงเล็กน้อย                                                                    ิ
                                                                                   ด ัชนีราคาสนค้าเกษตรรวม
                                                   ่
ราคาเฉลียไตรมาสแรกของปี 2553 สูงกว่าปี 2552 ในชวงเดียวกันร ้อย
        ่
ละ 13.5 ตามการฟื้ นตั ว ของเศรษฐกิจ โลก และการฟื้ นตั ว ของ
อุตสาหกรรมต่อเนื่อง แต่เมือเทียบเดือนต่อเดือนแล ้วพบว่าราคาเฉลีย
                          ่                                    ่     350                                 MoM -3.8
ในเดือนมีนาคมลดลงจากเดือนกุมภาพันธ์ร ้อยละ 3.8                       300
                                                                     250
                         ิ
                    ราคาสนค้าเกษตรสาค ัญ                             200
                                                                     150                               Q-o-Q1
                                                                     100
                                                                                                       +13.5
                                                                      50
                                                                      0



                                                                                             ิ
                                                                                  ด ัชนีราคาสนค้าเกษตรรวม

                                                                     350
                                                                     250
                                                                     150
                                                                      50


        ทีมา สานั กงานเศรษฐกิจการเกษตร
          ่                                                          ทีมา : ธนาคารแห่งประเทศไทย
                                                                       ่
 10 มิถนายน 2553
       ุ                                           Copyright NESDB                                              37
10 มิถนายน 2553
      ุ           Copyright NESDB   38
พลังทางเศรษฐกิจ(นันทพงศ์) 530713
พลังทางเศรษฐกิจ(นันทพงศ์) 530713
พลังทางเศรษฐกิจ(นันทพงศ์) 530713
พลังทางเศรษฐกิจ(นันทพงศ์) 530713
พลังทางเศรษฐกิจ(นันทพงศ์) 530713
พลังทางเศรษฐกิจ(นันทพงศ์) 530713
พลังทางเศรษฐกิจ(นันทพงศ์) 530713
พลังทางเศรษฐกิจ(นันทพงศ์) 530713
พลังทางเศรษฐกิจ(นันทพงศ์) 530713
พลังทางเศรษฐกิจ(นันทพงศ์) 530713
พลังทางเศรษฐกิจ(นันทพงศ์) 530713
พลังทางเศรษฐกิจ(นันทพงศ์) 530713
พลังทางเศรษฐกิจ(นันทพงศ์) 530713
พลังทางเศรษฐกิจ(นันทพงศ์) 530713
พลังทางเศรษฐกิจ(นันทพงศ์) 530713
พลังทางเศรษฐกิจ(นันทพงศ์) 530713
พลังทางเศรษฐกิจ(นันทพงศ์) 530713
พลังทางเศรษฐกิจ(นันทพงศ์) 530713
พลังทางเศรษฐกิจ(นันทพงศ์) 530713
พลังทางเศรษฐกิจ(นันทพงศ์) 530713
พลังทางเศรษฐกิจ(นันทพงศ์) 530713
พลังทางเศรษฐกิจ(นันทพงศ์) 530713
พลังทางเศรษฐกิจ(นันทพงศ์) 530713
พลังทางเศรษฐกิจ(นันทพงศ์) 530713
พลังทางเศรษฐกิจ(นันทพงศ์) 530713
พลังทางเศรษฐกิจ(นันทพงศ์) 530713
พลังทางเศรษฐกิจ(นันทพงศ์) 530713
พลังทางเศรษฐกิจ(นันทพงศ์) 530713
พลังทางเศรษฐกิจ(นันทพงศ์) 530713
พลังทางเศรษฐกิจ(นันทพงศ์) 530713
พลังทางเศรษฐกิจ(นันทพงศ์) 530713
พลังทางเศรษฐกิจ(นันทพงศ์) 530713
พลังทางเศรษฐกิจ(นันทพงศ์) 530713
พลังทางเศรษฐกิจ(นันทพงศ์) 530713
พลังทางเศรษฐกิจ(นันทพงศ์) 530713
พลังทางเศรษฐกิจ(นันทพงศ์) 530713
พลังทางเศรษฐกิจ(นันทพงศ์) 530713
พลังทางเศรษฐกิจ(นันทพงศ์) 530713
พลังทางเศรษฐกิจ(นันทพงศ์) 530713
พลังทางเศรษฐกิจ(นันทพงศ์) 530713
พลังทางเศรษฐกิจ(นันทพงศ์) 530713
พลังทางเศรษฐกิจ(นันทพงศ์) 530713
พลังทางเศรษฐกิจ(นันทพงศ์) 530713
พลังทางเศรษฐกิจ(นันทพงศ์) 530713
พลังทางเศรษฐกิจ(นันทพงศ์) 530713
พลังทางเศรษฐกิจ(นันทพงศ์) 530713
พลังทางเศรษฐกิจ(นันทพงศ์) 530713
พลังทางเศรษฐกิจ(นันทพงศ์) 530713
พลังทางเศรษฐกิจ(นันทพงศ์) 530713
พลังทางเศรษฐกิจ(นันทพงศ์) 530713
พลังทางเศรษฐกิจ(นันทพงศ์) 530713
พลังทางเศรษฐกิจ(นันทพงศ์) 530713

Más contenido relacionado

La actualidad más candente

งานนำเสนอ..
งานนำเสนอ..งานนำเสนอ..
งานนำเสนอ..Pornthip Tanamai
 
กระบวนการงบประมาณ
กระบวนการงบประมาณกระบวนการงบประมาณ
กระบวนการงบประมาณAreeluk Ngankoh
 
บรรยาย ป้องกันประเทศ (Y54)
บรรยาย ป้องกันประเทศ (Y54)บรรยาย ป้องกันประเทศ (Y54)
บรรยาย ป้องกันประเทศ (Y54)Link Standalone
 
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการบริหารการคลัง และงบประมาณ
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการบริหารการคลัง และงบประมาณความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการบริหารการคลัง และงบประมาณ
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการบริหารการคลัง และงบประมาณชญานิษฐ์ ทบวัน
 
แผนการปฎิบัติราชการ
แผนการปฎิบัติราชการแผนการปฎิบัติราชการ
แผนการปฎิบัติราชการjax jaxguitar
 
การบริหารจัดการงบประมาณ
การบริหารจัดการงบประมาณการบริหารจัดการงบประมาณ
การบริหารจัดการงบประมาณWeIvy View
 
บ้านสอบครู (อ.บวร) บรรยายความรอบรู้ทั่วไปสำหรับผู้บริหารสถานศึกษา
บ้านสอบครู (อ.บวร) บรรยายความรอบรู้ทั่วไปสำหรับผู้บริหารสถานศึกษาบ้านสอบครู (อ.บวร) บรรยายความรอบรู้ทั่วไปสำหรับผู้บริหารสถานศึกษา
บ้านสอบครู (อ.บวร) บรรยายความรอบรู้ทั่วไปสำหรับผู้บริหารสถานศึกษาสอบครูดอทคอม เว็บเตรียมสอบ
 
เศรษฐกิจพอเพียง
เศรษฐกิจพอเพียงเศรษฐกิจพอเพียง
เศรษฐกิจพอเพียงพัน พัน
 
๑.๖ แผนปฏิบัติราชการ ๔ ปี ศธ.จักราวุธ คำทวี
๑.๖ แผนปฏิบัติราชการ ๔ ปี ศธ.จักราวุธ คำทวี๑.๖ แผนปฏิบัติราชการ ๔ ปี ศธ.จักราวุธ คำทวี
๑.๖ แผนปฏิบัติราชการ ๔ ปี ศธ.จักราวุธ คำทวีนายจักราวุธ คำทวี
 
Strategic planning 2
Strategic planning 2Strategic planning 2
Strategic planning 2krooyui2555
 
คู่มือการขับเคลื่อนการพัฒนาตามปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงในภาคการเกษตรชนบทและด้า...
คู่มือการขับเคลื่อนการพัฒนาตามปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงในภาคการเกษตรชนบทและด้า...คู่มือการขับเคลื่อนการพัฒนาตามปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงในภาคการเกษตรชนบทและด้า...
คู่มือการขับเคลื่อนการพัฒนาตามปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงในภาคการเกษตรชนบทและด้า...พัฒนาชุมชน นครราชสีมา
 
บทที่3 การพัฒนาที่ส่งผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อม
บทที่3 การพัฒนาที่ส่งผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อมบทที่3 การพัฒนาที่ส่งผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อม
บทที่3 การพัฒนาที่ส่งผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อมGreen Greenz
 

La actualidad más candente (17)

งานนำเสนอ..
งานนำเสนอ..งานนำเสนอ..
งานนำเสนอ..
 
Plan101
Plan101Plan101
Plan101
 
Ch5
Ch5Ch5
Ch5
 
กระบวนการงบประมาณ
กระบวนการงบประมาณกระบวนการงบประมาณ
กระบวนการงบประมาณ
 
บรรยาย ป้องกันประเทศ (Y54)
บรรยาย ป้องกันประเทศ (Y54)บรรยาย ป้องกันประเทศ (Y54)
บรรยาย ป้องกันประเทศ (Y54)
 
บทที่ 3
บทที่ 3บทที่ 3
บทที่ 3
 
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการบริหารการคลัง และงบประมาณ
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการบริหารการคลัง และงบประมาณความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการบริหารการคลัง และงบประมาณ
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการบริหารการคลัง และงบประมาณ
 
แผนการปฎิบัติราชการ
แผนการปฎิบัติราชการแผนการปฎิบัติราชการ
แผนการปฎิบัติราชการ
 
ศูนย์เรียนรู้ฯ สมเด็จพิทยาคม
ศูนย์เรียนรู้ฯ สมเด็จพิทยาคมศูนย์เรียนรู้ฯ สมเด็จพิทยาคม
ศูนย์เรียนรู้ฯ สมเด็จพิทยาคม
 
การบริหารจัดการงบประมาณ
การบริหารจัดการงบประมาณการบริหารจัดการงบประมาณ
การบริหารจัดการงบประมาณ
 
บ้านสอบครู (อ.บวร) บรรยายความรอบรู้ทั่วไปสำหรับผู้บริหารสถานศึกษา
บ้านสอบครู (อ.บวร) บรรยายความรอบรู้ทั่วไปสำหรับผู้บริหารสถานศึกษาบ้านสอบครู (อ.บวร) บรรยายความรอบรู้ทั่วไปสำหรับผู้บริหารสถานศึกษา
บ้านสอบครู (อ.บวร) บรรยายความรอบรู้ทั่วไปสำหรับผู้บริหารสถานศึกษา
 
เศรษฐกิจพอเพียง
เศรษฐกิจพอเพียงเศรษฐกิจพอเพียง
เศรษฐกิจพอเพียง
 
๑.๖ แผนปฏิบัติราชการ ๔ ปี ศธ.จักราวุธ คำทวี
๑.๖ แผนปฏิบัติราชการ ๔ ปี ศธ.จักราวุธ คำทวี๑.๖ แผนปฏิบัติราชการ ๔ ปี ศธ.จักราวุธ คำทวี
๑.๖ แผนปฏิบัติราชการ ๔ ปี ศธ.จักราวุธ คำทวี
 
Strategic planning 2
Strategic planning 2Strategic planning 2
Strategic planning 2
 
คู่มือการขับเคลื่อนการพัฒนาตามปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงในภาคการเกษตรชนบทและด้า...
คู่มือการขับเคลื่อนการพัฒนาตามปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงในภาคการเกษตรชนบทและด้า...คู่มือการขับเคลื่อนการพัฒนาตามปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงในภาคการเกษตรชนบทและด้า...
คู่มือการขับเคลื่อนการพัฒนาตามปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงในภาคการเกษตรชนบทและด้า...
 
บทที่3 การพัฒนาที่ส่งผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อม
บทที่3 การพัฒนาที่ส่งผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อมบทที่3 การพัฒนาที่ส่งผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อม
บทที่3 การพัฒนาที่ส่งผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อม
 
บทที่ ๑
บทที่ ๑บทที่ ๑
บทที่ ๑
 

Destacado

ยุทธศาสตร์การพัฒนาระบบราชการไทยจากภาคทฤษฎีสู่การปฏิบัติ
ยุทธศาสตร์การพัฒนาระบบราชการไทยจากภาคทฤษฎีสู่การปฏิบัติยุทธศาสตร์การพัฒนาระบบราชการไทยจากภาคทฤษฎีสู่การปฏิบัติ
ยุทธศาสตร์การพัฒนาระบบราชการไทยจากภาคทฤษฎีสู่การปฏิบัติLink Standalone
 
อบตศพอเพียง เสรี
อบตศพอเพียง เสรีอบตศพอเพียง เสรี
อบตศพอเพียง เสรีLink Standalone
 
เศรษฐกิจกับความมั่นคงแห่งชาติ
เศรษฐกิจกับความมั่นคงแห่งชาติเศรษฐกิจกับความมั่นคงแห่งชาติ
เศรษฐกิจกับความมั่นคงแห่งชาติLink Standalone
 
ตลาดทุนและการบริหารเงินลงทุน Handout
ตลาดทุนและการบริหารเงินลงทุน Handoutตลาดทุนและการบริหารเงินลงทุน Handout
ตลาดทุนและการบริหารเงินลงทุน HandoutLink Standalone
 
การพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ
การพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐการพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ
การพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐPrachyanun Nilsook
 
สถาบันพระมหากษัตริย์กับความมั่นคงแห่งชาติ มิย53
สถาบันพระมหากษัตริย์กับความมั่นคงแห่งชาติ มิย53สถาบันพระมหากษัตริย์กับความมั่นคงแห่งชาติ มิย53
สถาบันพระมหากษัตริย์กับความมั่นคงแห่งชาติ มิย53Link Standalone
 
๑.๙ การบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดี กพร.จักราวุธ คำทวี
๑.๙ การบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดี กพร.จักราวุธ คำทวี๑.๙ การบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดี กพร.จักราวุธ คำทวี
๑.๙ การบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดี กพร.จักราวุธ คำทวีนายจักราวุธ คำทวี
 

Destacado (7)

ยุทธศาสตร์การพัฒนาระบบราชการไทยจากภาคทฤษฎีสู่การปฏิบัติ
ยุทธศาสตร์การพัฒนาระบบราชการไทยจากภาคทฤษฎีสู่การปฏิบัติยุทธศาสตร์การพัฒนาระบบราชการไทยจากภาคทฤษฎีสู่การปฏิบัติ
ยุทธศาสตร์การพัฒนาระบบราชการไทยจากภาคทฤษฎีสู่การปฏิบัติ
 
อบตศพอเพียง เสรี
อบตศพอเพียง เสรีอบตศพอเพียง เสรี
อบตศพอเพียง เสรี
 
เศรษฐกิจกับความมั่นคงแห่งชาติ
เศรษฐกิจกับความมั่นคงแห่งชาติเศรษฐกิจกับความมั่นคงแห่งชาติ
เศรษฐกิจกับความมั่นคงแห่งชาติ
 
ตลาดทุนและการบริหารเงินลงทุน Handout
ตลาดทุนและการบริหารเงินลงทุน Handoutตลาดทุนและการบริหารเงินลงทุน Handout
ตลาดทุนและการบริหารเงินลงทุน Handout
 
การพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ
การพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐการพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ
การพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ
 
สถาบันพระมหากษัตริย์กับความมั่นคงแห่งชาติ มิย53
สถาบันพระมหากษัตริย์กับความมั่นคงแห่งชาติ มิย53สถาบันพระมหากษัตริย์กับความมั่นคงแห่งชาติ มิย53
สถาบันพระมหากษัตริย์กับความมั่นคงแห่งชาติ มิย53
 
๑.๙ การบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดี กพร.จักราวุธ คำทวี
๑.๙ การบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดี กพร.จักราวุธ คำทวี๑.๙ การบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดี กพร.จักราวุธ คำทวี
๑.๙ การบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดี กพร.จักราวุธ คำทวี
 

Similar a พลังทางเศรษฐกิจ(นันทพงศ์) 530713

งบประมาณโดยสังเขป ประจำปีงบประมาณ 2556
งบประมาณโดยสังเขป ประจำปีงบประมาณ 2556งบประมาณโดยสังเขป ประจำปีงบประมาณ 2556
งบประมาณโดยสังเขป ประจำปีงบประมาณ 2556waranyuati
 
Ppt ประชุมอาเซียน mar 29
Ppt ประชุมอาเซียน mar 29Ppt ประชุมอาเซียน mar 29
Ppt ประชุมอาเซียน mar 29Kamolkan Thippaboon
 
สรุปสาระสำคัญของแผนพัฒนาฯ
สรุปสาระสำคัญของแผนพัฒนาฯสรุปสาระสำคัญของแผนพัฒนาฯ
สรุปสาระสำคัญของแผนพัฒนาฯPannatut Pakphichai
 
ประกาศ อบตผลการดำเนินงานตามรัฐธรรมนูญ54
ประกาศ อบตผลการดำเนินงานตามรัฐธรรมนูญ54ประกาศ อบตผลการดำเนินงานตามรัฐธรรมนูญ54
ประกาศ อบตผลการดำเนินงานตามรัฐธรรมนูญ54auy48
 
การพัฒนาเศรษกิจชุมชนตามแนวเศรษฐกิจพอเพียงบทที่ 5
การพัฒนาเศรษกิจชุมชนตามแนวเศรษฐกิจพอเพียงบทที่ 5การพัฒนาเศรษกิจชุมชนตามแนวเศรษฐกิจพอเพียงบทที่ 5
การพัฒนาเศรษกิจชุมชนตามแนวเศรษฐกิจพอเพียงบทที่ 5ศุภวัฒน์ ปภัสสรากาญจน์
 
การพัฒนาเศรษกิจชุมชนตามแนวเศรษฐกิจพอเพียงบทที่ 5
การพัฒนาเศรษกิจชุมชนตามแนวเศรษฐกิจพอเพียงบทที่ 5การพัฒนาเศรษกิจชุมชนตามแนวเศรษฐกิจพอเพียงบทที่ 5
การพัฒนาเศรษกิจชุมชนตามแนวเศรษฐกิจพอเพียงบทที่ 5ศุภวัฒน์ ปภัสสรากาญจน์
 
Transformation to hi value and sustainable thailand
Transformation to hi value and sustainable thailandTransformation to hi value and sustainable thailand
Transformation to hi value and sustainable thailandPattie Pattie
 
เอกสารรายงานการประกันคุณภาพการศึกษาภายใน ปี 2553
เอกสารรายงานการประกันคุณภาพการศึกษาภายใน ปี 2553เอกสารรายงานการประกันคุณภาพการศึกษาภายใน ปี 2553
เอกสารรายงานการประกันคุณภาพการศึกษาภายใน ปี 2553pentanino
 

Similar a พลังทางเศรษฐกิจ(นันทพงศ์) 530713 (10)

Summary plan1 11
Summary plan1 11Summary plan1 11
Summary plan1 11
 
งบประมาณโดยสังเขป ประจำปีงบประมาณ 2556
งบประมาณโดยสังเขป ประจำปีงบประมาณ 2556งบประมาณโดยสังเขป ประจำปีงบประมาณ 2556
งบประมาณโดยสังเขป ประจำปีงบประมาณ 2556
 
Ppt ประชุมอาเซียน mar 29
Ppt ประชุมอาเซียน mar 29Ppt ประชุมอาเซียน mar 29
Ppt ประชุมอาเซียน mar 29
 
สรุปสาระสำคัญของแผนพัฒนาฯ
สรุปสาระสำคัญของแผนพัฒนาฯสรุปสาระสำคัญของแผนพัฒนาฯ
สรุปสาระสำคัญของแผนพัฒนาฯ
 
ประกาศ อบตผลการดำเนินงานตามรัฐธรรมนูญ54
ประกาศ อบตผลการดำเนินงานตามรัฐธรรมนูญ54ประกาศ อบตผลการดำเนินงานตามรัฐธรรมนูญ54
ประกาศ อบตผลการดำเนินงานตามรัฐธรรมนูญ54
 
แผนพัฒนาการศึกษาฉบับที่ 11
แผนพัฒนาการศึกษาฉบับที่ 11แผนพัฒนาการศึกษาฉบับที่ 11
แผนพัฒนาการศึกษาฉบับที่ 11
 
การพัฒนาเศรษกิจชุมชนตามแนวเศรษฐกิจพอเพียงบทที่ 5
การพัฒนาเศรษกิจชุมชนตามแนวเศรษฐกิจพอเพียงบทที่ 5การพัฒนาเศรษกิจชุมชนตามแนวเศรษฐกิจพอเพียงบทที่ 5
การพัฒนาเศรษกิจชุมชนตามแนวเศรษฐกิจพอเพียงบทที่ 5
 
การพัฒนาเศรษกิจชุมชนตามแนวเศรษฐกิจพอเพียงบทที่ 5
การพัฒนาเศรษกิจชุมชนตามแนวเศรษฐกิจพอเพียงบทที่ 5การพัฒนาเศรษกิจชุมชนตามแนวเศรษฐกิจพอเพียงบทที่ 5
การพัฒนาเศรษกิจชุมชนตามแนวเศรษฐกิจพอเพียงบทที่ 5
 
Transformation to hi value and sustainable thailand
Transformation to hi value and sustainable thailandTransformation to hi value and sustainable thailand
Transformation to hi value and sustainable thailand
 
เอกสารรายงานการประกันคุณภาพการศึกษาภายใน ปี 2553
เอกสารรายงานการประกันคุณภาพการศึกษาภายใน ปี 2553เอกสารรายงานการประกันคุณภาพการศึกษาภายใน ปี 2553
เอกสารรายงานการประกันคุณภาพการศึกษาภายใน ปี 2553
 

พลังทางเศรษฐกิจ(นันทพงศ์) 530713

  • 1. พลังทางเศรษฐกิจ (Economic Forces) ในฐานะปั จจัยอานาจแห่ งชาติ นายนันทพงศ์ สุวรรณรัตน์ นักวิเคราะห์ นโยบายและแผน ชานาญการพิเศษ (กลุ่มประสานนโยบายการกระจายอานาจและความมั่นคง) สานักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่ งชาติ หลักสูตรพัฒนาสัมพันธ์ การบริหารทรัพยากรเพื่อการปองกันประเทศ (พสท.) รุ่ นที่ 5 ้ วันอังคารที่ 13 กรกฎาคม 2553 เวลา 09.00-12.00 น. ณ โรงเรี ยนทหารการเงิน กรมการเงินทหารบก กรุ งเทพฯ 10 มิถนายน 2553 ุ Copyright NESDB 1
  • 2. ประเด็นการบรรยาย 1. แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่ งชาติ ฉบับที่ 1-10 2. พลังทางเศรษฐกิจ (Economic Forces) 3. นโยบายทางเศรษฐกิจ 4. โครงสร้ างเศรษฐกิจและสังคมไทย 5. ยุทธศาสตร์ การพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมในระยะยาว : จากแผนฯ 10 สู่แผนฯ 11 10 มิถนายน 2553 ุ Copyright NESDB 2
  • 4. การวางแผนพัฒนาประเทศ: แผนพัฒนาฯ ฉบับที่ 1-10 แผนฯ 1 2504-09 แผนฯ 2 2510-14 ยึดคนเป็ นศูนย์ กลาง แผนฯ 3 2515-19 เน้ นการมีส่วนร่ วม ใช้ เศรษฐกิจเป็ น แผนฯ 4 2520-24 เครื่ องมือพัฒนาคน เน้ นการเติบโตทาง เน้ นการเติบโตทาง แผนฯ 5 เศรษฐกิจจด้ วยการ เศรษฐกิ ด้ วยการ 2525-29 พัฒนาโครงสร้ าาง พัฒนาโครงสร้ ง ยึยึดปฏิบัตตาม ดปฏิบัตติ าม ิ ปรั ชญาของเศรษฐกิจ ปรั ชญาของเศรษฐกิจ พืน้นฐาน พื้ ฐาน แผนฯ 6 2530-34 พอเพียยงมุ่งสู่สังคม พอเพี งมุ่งสู่สังคม อยู่เย็นเป็ นสุขร่ วมกัน เน้ นการ เน้ นการ แผนฯ 7 อยู่เย็นเป็ นสุขร่ วมกัน พัฒนา 2535-39 พัฒนา แผนฯ 8 2540-44 เศรษฐกิจจ เศรษฐกิ แผนฯ 9 ควบคู่กกับการ ควบคู่ ับการ 2545-49 พัฒนาสังงคม พัฒนาสั คม เน้ นเสถียยรภาพเศรษฐกิจ เน้ นเสถี รภาพเศรษฐกิจ แผนฯ 10 มุ่มุ่งพัฒนาภูมิภาคชนบท งพัฒนาภูมิภาค ชนบท 2550-54 10 มิถนายน 2553 ุ Copyright NESDB 4
  • 5. วิว ัฒนาการของระบบเศรษฐกิจ ่ ่ ้ ั คลืนลูกทีหนึง (first wave) คือ การเกิดขึนของสงคมเกษตร วิธการทีมนุษย์ ่ ี ่ ่ ่ ่ ิ สามารถแปรเปลียนทรัพยากรธรรมชาติให ้เป็ นความมังคัง โดยเน ้นการผลิตสนค ้า ่ ในภาคการเกษตร มีชวงเวลาคงอยูได ้ประมาณ 500 ปี เน ้นปั จจัยทีดนและ ่ ่ ิ ทรัพยากรธรรมชาติ และไม่สามารถควบคุมปริมาณผลผลิตได ้ ่ ้ ั คลืนลูกทีสอง (second wave) คือ การเกิดขึนของสงคมอุตสาหกรรม เริม ่ ่ จากการปฏิวตอตสาหกรรมทีอังกฤษในปลายทศวรรษที่ 18 เกิดสงคม ั ิ ุ ่ ั ิ อุตสาหกรรมทีมโรงงานทาการผลิต สามารถผลิตสนค ้าได ้มาก มีความก ้าวหน ้า ่ ี ทางวิทยาศาสตร์ การขยายตลาดระหว่างประเทศ และมีการนา ้ ทรัพยากรธรรมชาติไปใชอย่างฟุ่ มเฟื อย คลืนลูกทีสาม (third wave) คือการปฏิวตความรู ้ (knowledge revolution) ่ ่ ั ิ เกิดการสะสมความรู ้ในด ้านคอมพิวเตอร์ โทรคมนาคม เทคโนโลยีสารสนเทศ ี ิ และเทคโนโลยีชวภาพ ทาให ้เกิดการสร ้างความรู ้ในการผลิตสนค ้าและบริการ เกิดขึน ก่อให ้เกิดระบบเศรษฐกิจแบบโลกาภิวตน์ (globalization) เกิดขึน ้ ั ้ 79 33203 เศรษฐศาสตร์ เพื่อการบริ หารรัฐกิจ (Economics for Public Administration) Sukhothai Thammathirat Open University © Copyright 10 มิถนายน 2553 ุ Copyright NESDB 5
  • 6. แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่ งชาติ ฉบับที่ 1-2 2504 2509 2510 2514 แผนฯ 1 (2504 - 2509) ยุคทองของการวางแผนเศรษฐกิจ แผนฯ 1 1. วางแผนจากส่วนกลางแบบ “จากบนลงล่าง” ใช ้แนวคิดความเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจ (Development with (2504-2509) growth) โดยเน ้นการพัฒนาโครงสร ้างพืนฐาน (คมนาคมขนส่ง โทรคมนาคม เขือนเพือชลประทานและไฟฟ้ า ้ ่ ่ รวมทังสาธารณูปการ-Project-oriented approach) ้ 2. มุงยกมาตรฐานการครองชีพของประชาชน (รายได ้) ่ 3. ปรับปรุงการบริหารงานทุกด ้านให ้มีประสิทธิภาพ ั สภาวะเศรษฐกิจและสงคมในชวงแผนฯ 1 ่ 1. เศรษฐกิจของประเทศขึนอยูกบภาคเกษตร ข ้าว ยางพารา ไม ้สัก ดีบก ้ ่ ั ุ 2. เศรษฐกิจขยายตัว 8 % ต่อปี (เป้ าหมาย 5%) และดาเนินโครงการเขือนเจ ้าพระยา และก่อสร ้างเขือนภูมพล ่ ่ ิ 3. อัตราเพิมของประชากรสูงขึน ประมาณร ้อยละ 3 ต่อปี ่ ้ แผนฯ 2 (2510 - 2514) ยุคทองของการพ ัฒนา 1. แนวคิดการวางแผนพัฒนารายสาขา (Sectoral development planning) และขยายขอบเขตแผนครอบคลุม การพัฒนารัฐวิสาหกิจและองค์การบริหารส่วนท ้องถิน ่ 2. ลงทุนในโครงสร ้างพืนฐานต่อเนืองจากแผนฯ 1 ้ ่ 3. พัฒนาชนบทเพือเสริมสร ้างความมันคง และกระจายผลการพัฒนา (ร ้อยละ 75-80 ของงบพัฒนาเป็ นการลงทุน ่ ่ ในภูมภาค) ิ 4. ส่งเสริมเอกชนให ้มีบทบาทร่วมในการพัฒนาประเทศ ั ่ สภาวะเศรษฐกิจและสงคมในชวงแผนฯ 2 แผนฯ 2 ่ 1. ปั ญหาความแตกต่างด ้านรายได ้ มีชองว่างรายได ้เพิมขึน ่ ้ (2510-2514) 2. เศรษฐกิจขยายตัวร ้อยละ 7.2 ต่อปี เศรษฐกิจถดถอยหลังจากขยายตัวมาเป็ น 10 ปี 3. ประชาชนได ้รับประโยชน์จากโครงสร ้างพืนฐานไม่เท่าเทียมกันและอยูในวงจากัด ้ ่ 4. การเพิมจานวนของประชากรในอัตราสูงส่งผลต่อความเป็ นอยูของประชากรโดยรวม ่ ่ 10 มิถนายน 2553 ุ Copyright NESDB 6
  • 7. แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่ งชาติ ฉบับที่ 3-4 2515 2519 2520 2524 1. กาเนิดของการวางแผนพัฒนาสังคมและวัตถุประสงค์การพัฒนาทีหลากหลาย ่ (Growth + Social fairness + Income distribution) แผนฯ 3 (2515-2519) : 2. ่ ู ิ กระจายการพัฒนาสูภมภาค เร่งรัดพัฒนาภาคและชนบท ั การพ ัฒนาสงคมควบคูเศรษฐกิจ ่ 3. เน ้นการเพิมผลผลิตการเกษตร เพิมรายได ้ประชาชนใน ชนบท เพือลดความต่างของ ่ ่ ่ รายได ้ 4. สร ้างความเท่าเทียมในการใช ้ประโยชน์จากบริการของรัฐ โดยเฉพาะด ้านการศึกษา และสาธารณสุข ั สภาวะเศรษฐกิจและสงคมในชวงแผนฯ 3 ่ 1. ปั ญหาการกระจายรายได ้ และความไม่เท่าเทียมในการเข ้าถึงบริการรัฐมีความรุนแรง แผนฯ 3 2. เศรษฐกิจขยายตัว 6.5 % ราคาน้ ามันเพิมขึน 4 เท่า (วิกฤติน้ ามันครังแรก) และอัตราเงิน ่ ้ ้ (2515-2519) เฟ้ อสูงถึง 15.5% ในปี 16 ส่งผลให ้เศรษฐกิจซบเซาช่วงหลังของแผนฯ 3 3. การเมืองมีความผันผวนเปลียนแปลงรัฐบาลบ่อยครัง ศก.โลกตกต่า น้ ามันแพง ่ ้ 4. ราคาสินค ้าเกษตรตกต่า 5. การว่างงานเพิมขึน ่ ้ 1. พัฒนาต่อเนืองจากแผนฯ 3 โดยยึดถือความมันคงปลอดภัยของชาติเป็ นพืนฐานของการ ่ ่ ้ แผนฯ 4 พัฒนา แนวคิดการพัฒนาระหว่างสาขาร่วมกัน (Inter-sectoral planning) (2520-2524) 2. เร่งฟื้ นฟูเสถียรภาพทางเศรษฐกิจของประเทศให ้มันคง เช่น การผลิตสินค ้าเพือทดแทน ่ ่ การนาเข ้า ปรับปรุงนโยบายการควบคุมราคาสินค ้าและเร่งรัดการส่งออก แผนฯ 4 (2520 – 2524) : 3. เน ้นเสริมสร ้างสวัสดิภาพทางสังคมแก่คนในชาติมากกว่าเน ้นการขยายตัวทางเศรษฐกิจ ั เร่งฟื้ นฟูเศรษฐกิจและสงคม เป็ นหลัก ั ่ สภาวะเศรษฐกิจและสงคมในชวงแผนฯ 4 1. ยุคการเมืองรุนแรง พรรคคอมมิวนิสต์ขยายตัว 2. การพัฒนาด ้านประสิทธิภาพการผลิตภาคเกษตรต่า 3. เศรษฐกิจขยายตัวร ้อยละ 7.4 เงินเฟ้ อสูงถึงร ้อยละ 11.7 และขาดดุลการค ้า ่ 4. ทรัพยากรธรรมชาติเสือมโทรม 5. การให ้บริการทางสังคมไม่เพียงพอและไม่ท่วถึง ั 6. ไทยยกระดับกลายเป็ นประเทศกาลังพัฒนาทีมรายได ้ปานกลาง จากประเทศรายได ้ต่า ่ ี 10 มิถนายน 2553 ุ Copyright NESDB 7
  • 8. แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่ งชาติ ฉบับที่ 5-6 2525 2529 2530 2534 แผนฯ 5 (2525 - 2529) : การแก้ไขปัญหาและปร ับสู่ แผนฯ 6 (2530 – 2534) : ่ การจ ัดทาแผนสูระด ับ การพ ัฒนายุคใหม่ แผนฯ 5 กระทรวง (2525-2529) แผนฯ 6 1. วางแผนโดยยึดหลักภูมภาคและพืนที่ กาหนดพืนที่ ิ ้ ้ (2530-2534) เป้ าหมายเพือแก ้ปั ญหาความยากจน เป้ าหมายเพือความ ่ ่ มันคง และพืนทีรองรับอุตสาหกรรม ESB ่ ้ ่ 1. กาหนดขอบเขตและวิธการใช ้แผนฯ ทีชดเจน มีทังระยะสัน ี ่ ั ้ ้ 2. เน ้นการปรับโครงสร ้างเศรษฐกิจมากกว่าการมุงขยาย ่ กลาง ยาว และแผนปฏิบตระดับกระทรวง ั ิ อัตราความเจริญทางเศรษฐกิจ 2. เพิมประสิทธิภาพการพัฒนาประเทศทังด ้านทรัพยากรมนุษย์ ่ ้ 3. พัฒนาเศรษฐกิจและสังคมบนความสมดุล พัฒนาวิทยาศาสตร์และการบริหารจัดการ ่ 4. พัฒนาการแปลงแผนไปสูภาคปฏิบต ิ ั 3. ปรับปรุงระบบการผลิตและการตลาด 5. เพิมบทบาทและระดมความร่วมมือจากภาคเอกชน ่ 4. ยกระดับคุณภาพปั จจัยพืนฐานเพือลดต ้นทุน ้ ่ ั ่ สภาวะเศรษฐกิจและสงคมในชวงแผนฯ 5 ั สภาวะเศรษฐกิจและสงคมในชวงแผนฯ 6่ 1. แผนพัฒนาชนบท เพือแก ้ไขปั ญหายากจนในชนบท ่ 1. หนีตางประเทศลดลง ทุนสารองเพิมขึน ้ ่ ่ ้ 2. แผนพัฒนาเชิงรุก เช่น การพัฒนาพืนที่ ESB การริเริม ้ ่ 2. เศรษฐกิจฟื้ นตัว และขยายตัวร ้อยละ 10.9 ต่อปี (สูงสุดใน กรอ. รอบ 25 ปี ทผานมา) ี่ ่ 3. แผนพัฒนาเพือความมันคง เช่น หมูบ ้านอาสาและพัฒนา ่ ่ ่ 3. การจ ้างงานภาคอุตสาหกรรม/บริการเพิมขึน ่ ้ ป้ องกันตนเอง 4. ปั ญหาความเหลือมล้ารายได ้ระหว่างกลุมครัวเรือน และ ่ ่ 4. เศรษฐกิจขยายตัวตาเทียบกับช่วงแผนฯ ทีผานมา เพียง ่ ่ ่ ชนบทกับเมืองมากขึน ้ ร ้อยละ 5.4 ต่อปี 5. รัฐบาลสามารถกระจายบริการสังคมได ้กว ้างขวางมากขึน ้ เช่น โรงพยาบาลประจาอาเภอ สศช. กับแผนงานพัฒนาพืนที่ ESB และพืนทีเมืองหลัก เป็ น ้ ้ ่ การพัฒนาประเทศแนวใหม่ยดพืนที่ ึ ้ 10 มิถนายน 2553 ุ Copyright NESDB 8
  • 9. แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่ งชาติ ฉบับที่ 7 2535 2539 1. เริมแนวคิด “การพัฒนาทียงยืน” ่ ่ ั่ ่ ่ 2. มุงสูเศรษฐกิจมีเสถียรภาพ รักษาอัตราการเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจ กระจายการ ่ ู ิ ่ พัฒนาสูภมภาคและชนบท และพัฒนาคุณภาพชีวต สิงแวดล ้อม และ ิ ทรัพยากรธรรมชาติ ่ ่ 3. พัฒนาเศรษฐกิจสูเศรษฐกิจด่านหน ้าในภูมภาค และยกระดับสูระดับนานาชาติ ิ แผนฯ 7 ั สภาวะเศรษฐกิจและสงคมในชวงแผนฯ 7่ (2535-2539) แผนฯ 7 (2535-2539) : 1. รายได ้ต่อหัวเพิมถึง 28 เท่าจากแผนฯ 1 เป็ น 77,000 บาท ่ การพ ัฒนาทียงยืน ่ ่ั 2. เศรษฐกิจขยายตัวร ้อยละ 8.1 ต่อปี เงินเฟ้ อเฉลีย 4.8 % ่ 3. ทุนสารองสูงถึง USD 38,700 ล ้าน ั “เศรษฐกิจดี สงคมมีปญหา การพ ัฒนาไม่ยงยืน” ั ่ั ปี 2539 ในชวงปลายแผนฯ 7 ประเทศไทยก้าวเข้าสู่ วิกฤตเศรษฐกิจ ่ สภาวะแวดล้ อม แผนฯ 1 - แผนฯ 7 (2504 - 2539) ผล ทบทวน ผลการ • การเมือง/ปกครองรวม โดยราชการ เพือประชาชน ่ เศรษฐกิจดี พัฒนา ศูนย์ อานาจ บริหารแบบควบคุม สังคมมีปัญหา แผนฯ • เศรษฐกิจนาสังคม สั่งการ เป็ น Top-down มี กรอบในการวางแผน การพัฒนาไม่ ย่ งยืน ั 1-7 • ใช้ ทรั พยากรแรงงาน ปร ับ ปรั บตัว/พร้ อมรั บการเปลี่ยนแปลง กระบวนทรรศน์ ใหม่ในการพ ัฒนา 10 มิถนายน 2553 ุ Copyright NESDB 9
  • 10. แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่ งชาติ ฉบับที่ 8 2540 2544 1. เน ้นคนเป็ นศูนย์กลางการพัฒนา และใช ้การพัฒนาเศรษฐกิจเป็ นเครืองมือ ่ 2. ปรับเปลียนกระบวนการจัดทาแผนใหม่เป็ นแบบ “จากล่างขึนบน” บูรณาการแบบองค์รวม ไม่พัฒนา ่ ้ แยกส่วน 3. ่ ภาคประชาชนมีสวนร่วมพัฒนา 4. ่ ่ แปลงแผนสูปฏิบต ิ โดยยึดหลักการพืนที่ ภารกิจ และการมีสวนร่วม ั ้ ั ่ สภาวะเศรษฐกิจและสงคมในชวงแผนฯ 8 แผนฯ 8 1. วิกฤตเศรษฐกิจปี 2540 (2540-2544) 2. ปั ญหาสถาบันการเงิน 3. หนึตางประเทศและหนึสาธารณะเพิมขึน ้ ่ ้ ่ ้ แผนฯ 8 (2540-2544) : 4. มีเครือข่ายการพัฒนาร่วมกับภาครัฐ “คน” เปนศูนย์กลางการพ ัฒนา ็ ่ ็ ่ มุงเน้นการพ ัฒนาแบบองค์รวม เปนการวางรากฐานการมีสวนร่วมของประชาชน วิกฤต สภาวะแวดล้อม แผนฯ 8 ปร ับแผนฯ 8 • เผชญกระแส ิ • โดยประชาชน • ปร ับกรอบเศรษฐกิจ การปร ับ ับ การปร โลกาภิว ัตน์ทรนแรง ี่ ุ เพือประชาชน ่ มหภาค • เศรษฐกิจ • ลดผลกระทบต่อคน แผนฯ 8 แผนฯ • คน-ศูนย์กลางการพ ัฒนา 8 ่ ั สงสญญาณ มีปญหา ั • เศรษฐกิจเปนเครืองมือในการ ็ ่ ั สงคม (40-44) พ ัฒนาคน • ปร ับโครงสร้าง (40-44) • การพ ัฒนากระจุกต ัว ไม่กระจาย • วิธการพ ัฒนา-เน้นองค์รวมและ ี บูรณาการ เศรษฐกิจ • ปร ับระบบบริหาร ั ั • มีปญหาสงคม คุณภาพ จ ัดการ ช ิีวต ทร ัพยากรธรรมชาติ • บริหารแบบชนา ี้ ื่ เสอมโทรม ่ สร้างการมีสวนร่วม เปน Bottom-up ็ 10 มิถนายน 2553 ุ Copyright NESDB 10
  • 11. แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่ งชาติ ฉบับที่ 9 2545 2549 1. ยึดคนเป็ นศูนย์กลางการพัฒนาต่อเนืองจากแผนฯ 8 ่ 2. ่ มุงการพัฒนาทีสมดุลคน สังคม เศรษฐกิจ และสิงแวดล ้อม ่ ่ 3. เพิมขีดความสามารถในการแข่งขัน ่ 4. บริหารจัดการทีด ี ในทุกระดับ ่ แผนฯ 9 (2545-2549): ิ อ ัญเชญปร ัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ั ่ สภาวะเศรษฐกิจและสงคมในชวงแผนฯ 9 1. นาปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงมาใช ้ 2. คุณภาพชีวตดีขน ทังด ้านสุขภาพ ยาเสพติด และการกระจายรายได ้ ิ ้ึ ้ ่ สร้างกระบวนการมีสวนร่วมของภาคีการพ ัฒนาทุกระด ับอย่างกว้างขวาง แผนฯ 9 เหตุการณ์ร ัฐประหาร 19 ก ันยายน 2549 (2545-2549) 3 สังคมที่พงประสงค์ ึ การบริหารการเปลี่ยนแปลงเพื่อการแปลงแผนสู่การปฏิบัติ 4 วัตถุประสงค์ หลัก สังคมคุณภาพ ฟื ้ นฟูเศรษฐกิจ วางรากฐานการพัฒนา การบริหารจัดการที่ดี แก้ ไขปั ญหา ให้ มีเสถียรภาพมั่นคง ประเทศให้ เข้ มแข็ง ยั่งยืน ในทุกระดับ ความยากจน สังคมแห่ งการ เรี ยนรู้ 7 ยุทธศาสตร์ การพัฒนา สังคมสมานฉันท์ คน ชนบท ทรัพยากร บริหาร เพิ่มสมรรถนะขีด ความ บริหาร เศรษฐกิจ ความสามารถใน เข้ มแข็ง เอืออาทร ้ จัดการที่ดี สังคม เมือง สิ่งแวดล้ อม ส่ วนรวม การแข่ งขัน ว&ท 10 มิถนายน 2553 ุ Copyright NESDB 11
  • 12. แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่ งชาติ ฉบับที่ 10 2550 2554 แผนฯ 10 (2550-2554): การปฏิบ ัติตามปร ัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง เพือสร้างสมดุลและมีความอยูเย็ นเปนสุขร่วมก ัน ่ ่ ็ 1. ยึดกระบวนทรรศน์การพัฒนาต่อเนือง จากแผนฯ 8 และ แผนฯ 9 ่ 2. ประกอบด ้วย 5 ยุทธศาสตร์การพัฒนา ยุทธศาสตร์การพัฒนาคุณภาพคนและ ยุทธศาสตร์การพัฒนาบนฐานความ ่ ั สังคมไทยสูสงคมแห่งภูมปัญญาและการ ิ หลากหลายทางชีวภาพ และสร ้างความมันคง ่ เรียนรู ้ ของฐานทรัพยากรและคุณภาพ สวล. แผนฯ 10 ยุทธศาสตร์การสร ้างความเข ้มแข็งของชุมชน ยุทธศาสตร์การปรับโครงสร ้างเศรษฐกิจให ้ (2550-2554) และสังคมเป็ นฐานทีมนคงของประเทศ ่ ั่ สมดุลและยังยืน ่ ยุทธศาสตร์การเสริมสร ้างธรรมาภิบาลในการ บริหารจัดการประเทศ ั สภาวะเศรษฐกิจและสงคมในชวงแผนฯ 10 ่ 1. การเตรียมพืนทีใหม่ (SSB) เพือรองรับการพัฒนาอุตสาหกรรม ้ ่ ่ 2. การเมือง เศรษฐกิจผันผวน สังคมแตกความสามัคคี ่ 3. สภาพเศรษฐกิจเข ้าสูภาวะถดถอย จากทังปั จจัยภายในและภายนอก ้ 4. การนาทุน 3 ด ้านมาพิจารณา (ทุนทางเศรษฐกิจ ทุนทางสังคม ทุนทรัพยากรธรรมชาติ) โลก Subprime & Global financial crisis, Euro Zone Debt Crisis (Greece&PIIGS) ไทย 2547-ปั จจุบัน เหตุการณ์ความไม่สงบใน 3 จังหวัดชายแดนใต ้ 2551 การประท ้วงทางการเมือง และการปิ ดสนามบินสุวรรณภูม ิ 2552 (เม.ย.-พ.ค.) เหตุการณ์ความไม่สงบทางการเมือง 10 มิถนายน 2553 ุ Copyright NESDB 12
  • 13. พลังทางเศรษฐกิจ (Economic Forces) 2 10 มิถนายน 2553 ุ Copyright NESDB 13
  • 14. ความสมดุลระหว่ าง 3 ทุน เพื่อสร้ างภูมค้ ุมกันและความมั่นคงของชาติ ิ 10 มิถนายน 2553 ุ Copyright NESDB 14
  • 15. อย่างไรก็ตาม ความไม่ สมดุล สามารถสร้ างพลังในการขับเคลื่อนระบบเศรษฐกิจได้ พลังในระบบเศรษฐกิจแบ่งได้ 2 ประเภท • พลังของตลาด (Internal Forces)  เป็ นประสิทธิภาพการ ดาเนินงานของภาคเอกชนเพื่อสร้ างอุปสงค์ให้ มากกว่าอุปทาน (Excess Demand) • พลังนอกตลาด (External Forces)  เป็ นประสิทธิภาพการ ดาเนินงานของภาครัฐโดยได้ รับแรงกดดันจากภาคเอกชนเพื่อให้ อปทาน ุ มากกว่าอุปสงค์ (Excess Supply) 15 10 มิถนายน 2553 ุ Copyright NESDB 15
  • 16. อุปสงค์ มากกว่ าอุปทาน (Excess Demand) จะส่งผลกระตุ้นต่อระบบเศรษฐกิจได้ ง่ายและ ค่อนข้ างมาก เนื่องจากมีผลกาไรเป็ นแรงจูงใจ การสร้ างพลังแบบนี ้ เน้ นให้ ความสาคัญกับภาค การผลิตที่สร้ างมูลค่าเพิ่มได้ มากเช่นภาคอุตสาหกรรมและบริ การ มากกว่าภาคเกษตรกรรม หรื อภาคการผลิตสินค้ าขันปฐมภูมิ ้ อุปทานมากกว่ าอุปสงค์ (Excess Supply) เป็ นการกระตุ้นการลงทุนโดยใช้ เครื่ องมือต่างๆ เช่น การลดอัตราดอกเบี ้ยเงินกู้ และให้ สิทธิประโยชน์ต่างๆ ตลอดจนถึงการให้ การบริ การต่างๆ ของรัฐ และพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ให้ เพียงพอและมีคณภาพ ุ Internal Forces Marketing Power Excess Demand Profit Unbalanced Economic Expansion External Forces Government Service Excess Supply Incentive 10 มิถนายน 2553 ุ Copyright NESDB 16
  • 17. โครงสร้ าง •ภาคการผลิต เกษตร อุตสาหกรรม และบริการ •ภาคการเงิน ปริมาณเงิน ฐานเงิน และอัตราดอกเบี ้ย •ภาคการคลัง รายรับ/รายจ่ายของรัฐบาล และหนี ้สาธารณะ •ภาคต่ างประเทศ การส่งออก นาเข้ า ดุลการค้ า ดุลการชาระเงิน ทุนสารองระหว่างประเทศ อัตราแลกเปลี่ยน ดัชนีเศรษฐกิจมหภาค •ดัชนีชีนา ้ •ดัชนีพ้อง •ดัชนีตาม 10 มิถนายน 2553 ุ Copyright NESDB 17
  • 18. ภาพรวมทางเศรษฐกิจ อุปทาน การบริโภคเอกชน การลงทุนเอกชน • อัตราการขยายตัวของ  ดัชนีผลผลิตสินค้ าเกษตร • ภาษี มลค่าเพิ่ม ณ ราคา ู • ปริ มาณนาเข้ าสินค้ าทุน GDP  ดัชนีราคาสินค้ าเกษตร คงที่ • ยอดจาหน่ายรถยนต์เชิง  รายได้ เกษตรกรที่แท้ จริ ง • ยอดจาหน่ายรถยนต์นง ั่ พาณิชย์  ดั ช นี ผ ล ผ ลิ ต สิ น ค้ า • ย อ ด จ า ห น่ า ย • ภาษี ธุรกรรม อุตสาหกรรม รถจักรยานยนต์ อสังหาริ มทรัพย์  อัตราการใช้ กาลังการ • ปริ มาณน าเข้ าสิ น ค้ า • ยอดขายปูนซีเมนต์ ผลิตภาคอุตสาหกรรม อุปโภค • ยอดขายเหล็ก  ดั ช นี ค ว า ม เ ชื่ อ มั่ น • ดั ช นี ค ว า ม เ ชื่ อ มั่ น • ดัชนีราคาวัสดุก่อสร้ าง อุตสาหกรรม ผู้บริ โภค  จ า น ว น นั ก ท่ อ ง เ ที่ ย ว ต่างประเทศ 10 มิถนายน 2553 ุ Copyright NESDB 18
  • 19. การค้ าระหว่ างประเทศ การเงิน เสถียรภาพเศรษฐกิจ • มูลค่าส่งออกสินค้ า  อัตราดอกเบี ้ยนโยบาย • ดุลการค้ า • ราคาส่งออกสินค้ า  อัตราดอกเบี ้ยเงินกู้ MLR ของ • ดุลบัญชีเดินสะพัด • ปริ มาณส่งออกสินค้ า ธนาคารพาณิชย์ • ทุนสารองระหว่างประเทศ • มูลค่านาเข้ าสินค้ า  อัตราดอกเบี ้ยเงินฝากประจา • อัตราการว่างงาน • ราคานาเข้ าสินค้ า 1 2 เ ดื อ น ข อ ง ธ น า ค า ร • อัตราเงินเฟอ ้ • ปริ มาณนาเข้ าสินค้ า พาณิชย์ • หนี ้สาธารณะต่อ GDP  อัตราการขยายตัวของสินเชื่อ  อั ต ราการขยายตั ว ของเงิ น ฝาก 10 มิถนายน 2553 ุ Copyright NESDB 19
  • 20. 1993 UN SNA หรือ revised SNA 1. บัญชีรายได้ ประชาชาติ (National Income Account) 2. บัญชีเศรษฐกิจเงินทุน (Flow of Fund Account) สภาพัฒน์ ฯ 3. บัญชีงบดุลแห่ งชาติ (National Balance Sheet) 4. ตารางปั จจัยการผลิตและผลผลิต (Input-Output Table) ธนาคารแห่ งประเทศไทย 5. บัญชีดุลการชาระเงิน (Balance of Payment Account) 10 มิถนายน 2553 ุ Copyright NESDB 20
  • 21. การคาดการณ์ แนวโน้ มเศรษฐกิจระยะ วางแผนและกาหนดกรอบยุทธศาสตร์ ปานกลาง (เพื่อสนับสนุนงานวาง และการพัฒนาเศรษฐกิจและสังคม แผนการพัฒนา) Macroeconomic framework แผนพัฒนาเศรษฐกิจ (แนวโน้ มและเปาหมายทาง ้ และสังคมแห่ งชาติ เศรษฐกิจ) กรอบแนวทางการ ศักยภาพการผลิต พัฒนาประเทศในระยะ ปานกลาง (Potential growth) 10 มิถนายน 2553 ุ Copyright NESDB 21
  • 22. นโยบายทางเศรษฐกิจ (การคลัง) 3 10 มิถนายน 2553 ุ Copyright NESDB 22
  • 23. 1. นโยบายการคลังด้ านรายได้ เป็ นการตัดสินใจของรัฐบาลเกี่ยวกับการกาหนดขนาดของ รายได้ โครงสร้ างภาษี ประเภทของภาษี และอัตราภาษี เพื่อให้ เหมาะสมกับการดาเนินการ แก้ ไขปั ญหาและพัฒนาเศรษฐกิจของประเทศ 2. นโยบายการคลังด้ านรายจ่ าย เป็ นการตัดสินใจของรัฐบาลเกี่ยวกับวงเงินงบประมาณ นโยบายงบประมาณ โครงสร้ างงบประมาณ และแนวทางในการจัดสรรงบประมาณเพื่อให้ สามารถเป็ นเครื่ องมือของรัฐบาลในการแก้ ไขปั ญหาและพัฒนาเศรษฐกิจของประเทศให้ มี เสถียรภาพและเจริ ญเติบโตได้ อย่างยังยืน ่ 3. นโยบายการคลังด้ านหนี สาธารณะ เป็ นการตัดสินใจของรั ฐบาลเกี่ ยวกับกู้ยืมเงินเพื่อ ้ นามาใช้ จ่ายในการแก้ ไขปั ญหาและพัฒนาเศรษฐกิจของประเทศ โดยการกาหนดขนาดของ วงเงิ น กู้ วิธี ก ารก่ อ หนี ส าธารณะ และวิ ธี ก ารบริ หารหนี ส าธารณะ เพื่ อ ให้ ก ารก่ อ หนี เ้ กิ ด ้ ้ ประสิทธิภาพสูงสุด 10 มิถนายน 2553 ุ Copyright NESDB 23
  • 24. นโยบายการคลังแบบปรั บเสถียรภาพโดยอัตโนมัติ เป็ นนโยบายที่มีผลทาให้ ภาวะเศรษฐกิจสามารถปรั บตัวเข้ าสู่เสถียรภาพได้ เอง ในยามที่ เศรษฐกิจขาดเสถียรภาพ โดยรัฐบาลไม่ต้องดาเนินมาตรการเพิ่มหรื อลดงบประมาณรายจ่าย หรื อเปลี่ยนแปลงภาษี อากรแต่อย่างใด ตัวอย่างเช่น การจัดเก็บภาษี รายได้ ในอัตราก้ าวหน้ า การใช้ จ่ า ยเงิ น โอนและเงิ น อุ ด หนุ น ของรั ฐ บาล เช่ น เงิ น ประกั น การว่ า งงาน (Unemployment Insurance Benefits) เงินการประกันราคาสินค้ าเกษตร เป็ นต้ น นโยบายการคลังแบบจงใจ เป็ นนโยบายที่รัฐบาลจะต้ องดาเนินการเพิ่มหรื อลดงบประมาณรายจ่ ายหรื อเปลี่ยนแปลง ชนิดภาษี และอัตราภาษีในภาวะที่เศรษฐกิจตกต่ า หรื อในภาวะที่เศรษฐกิจขยายตัวมาก เกินไป เพื่อปรับสภาวะเศรษฐกิจให้ อยู่ในสภาวะ สมดุล เช่น มาตรการทางภาษี เพื่อช่วยเหลือผู้ได้ รับผลกระทบจากการชุมนุม มาตรการภาษี เพื่อกระตุ้นการท่องเที่ยว มาตรการทางภาษี ศลกากรเพื่อกระตุ้นการส่งออก ุ 10 มิถนายน 2553 ุ Copyright NESDB 24
  • 25. 1. นโยบายการคลังแบบขยายตัว นโยบายการคลังแบบขยายตัว (Expansionary Fiscal Policy) เป็ นนโยบายการคลังที่รัฐบาลเพิ่มการใช้ จ่ายเงินของภาครัฐ และลดปริ มาณการเก็บภาษี ลงเป็ นการกระตุ้นภาวะเศรษฐกิจให้ เกิดการขยายตัวด้ วย การยกระดับรายจ่ายมวลรวมของระบบเศรษฐกิจ • การเพิ่มการใช้ จ่ายเงินของภาครั ฐ มีผลให้ เกิดการใช้ จ่ายเงินในระบบเศรษฐกิจเพื่อการซื ้อสินค้ า และบริ ก าร และมีผ ลให้ เกิ ดการผลิตสินค้ าและบริ ก ารเพิ่ มมากขึน เกิ ด การจ้ างงาน ทาให้ ร ายได้ ้ ประชาชาติเพิ่มสูงขึ ้น • การลดปริ มาณการจัดเก็บภาษี จะทาให้ ภาคเอกชนมีเงินเหลือมากขึน และสามารถนาไปใช้ เพื่อ ้ การบริ โภคและการลงทุนได้ มากขึน ก่อให้ เกิดการขยายการผลิต และการจ้ างงาน และจะส่งผลให้ ้ รายได้ ประชาชาติเพิ่มสูงขึ ้น รัฐบาลสามารถเลือกใช้ นโยบายการคลังแบบขยายตัวในกรณีท่ เกิดภาวะเศรษฐกิจตกต่า ี และต้ องการกระตุ้นเศรษฐกิจให้ ขยายตัวมากขึน ้ 10 มิถนายน 2553 ุ Copyright NESDB 25
  • 26. 2. นโยบายการคลังแบบเป็ นกลาง นโยบายการคลังแบบเป็ นกลาง ( Neutral Fiscal Policy) เป็ นนโยบายการคลังที่ไม่มีผลทาให้ ความ ต้ องการใช้ จ่ายมวลรวมเปลี่ยนแปลงไป โดยรัฐบาลใช้ จ่ายเงินเท่ากับจานวนรายได้ ที่จดเก็บได้ จากภาษี อากร ั และรายได้ อื่น ๆ 3. นโยบายการคลังแบบหดตัว นโยบายการคลังแบบหดตัว (Restrictive Fiscal Policy) เป็ นนโยบายการคลังที่รัฐบาลลดการใช้ จ่ายเงิน ของภาครั ฐ และเพิ่ มปริ มาณการเก็ บ ภาษี มีผ ลทาให้ เ ป็ นการลดรายจ่ ายมวลรวมของระบบเศรษฐกิ จ เนื่องจากรายจ่ายทังในภาครั ฐบาลและภาคเอกชนลดลง การผลิตสินค้ าและบริ การลดลง การจ้ างงานมี ้ น้ อยลง ทาให้ รายได้ ประชาชาติ หรื อการขยายตัวทางเศรษฐกิจลดลง รั ฐบาลสามารถเลือกใช้ นโยบายการคลังแบบหดตัวในกรณีท่ ีภาวะเศรษฐกิจขยายตัวอย่ าง รวดเร็วและเกิดปั ญหาภาวะเงินเฟอเพิ่มมากขึน และต้ องการให้ เศรษฐกิจชะลอตัวและลด ้ ้ ความร้ อนแรง (overheat) ลง 10 มิถนายน 2553 ุ Copyright NESDB 26
  • 27. 1. บทบาทต่ อการกระจายรายได้ ท่ เป็ นธรรมมากขึน โดยการใช้ รายได้ จากภาษีอากรที่เก็บจาก ี ้ ผู้มีรายได้ มากในอัตราสูง และนาเงินภาษี นนมาให้ การสงเคราะห์ช่วยเหลือผู้มีรายได้ น้อย และ ั้ ใช้ นโยบายรายจ่ายในการจัดสรรเงินงบประมาณในโครงการต่าง ๆ ที่เป็ นประโยชน์แก่ผ้ มีรายได้ ู น้ อย เป็ นการลดปั ญหาความแตกต่างด้ านรายได้ ของคนในสังคม 2. บทบาทในการรั กษาเสถียรภาพทางเศรษฐกิจของประเทศ ในหลาย ๆ ด้ าน เช่น การ แก้ ไขปั ญหาเงินเฟอ การแก้ ไขปั ญหาเศรษฐกิจตกต่า และการแก้ ไขปั ญหาการว่างงาน โดยการ ้ เพิ่มหรื อลดงบประมาณรายจ่ายและเปลี่ยนแปลงชนิดและอัตราภาษี เพื่อให้ เศรษฐกิจปรับเข้ าสู่ สภาวะสมดุลและมีเสถียรภาพ 3. บทบาทในการพัฒนาเศรษฐกิจของประเทศให้ ขยายตัวในระดับที่เหมาะสม โดยการใช้ นโยบายและมาตรการด้ านรายได้ ด้ านรายจ่าย และด้ านหนีสาธารณะเพื่อให้ รัฐบาลมีรายได้ ้ มากพอที่จะนามาใช้ จ่ายในการพัฒนาเศรษฐกิจของประเทศ และหากจาเป็ นรัฐบาลอาจกู้เงิน เพื่อนามาใช้ จ่ายเพิ่มเติมเพื่อผลักดันให้ การพัฒนาเศรษฐกิจของประเทศบรรลุเปาหมายทาง ้ เศรษฐกิจที่กาหนดไว้ 10 มิถนายน 2553 ุ Copyright NESDB 27
  • 28. โครงสร้ างเศรษฐกิจและสังคมไทย และตัวอย่ างการวิเคราะห์ ดัชนีชีวัดทางเศรษฐกิจ ในช่ วง Q1/2553 ้ 4 10 มิถนายน 2553 ุ Copyright NESDB 28
  • 29. 2545 2546 2547 2548 2549 2550 2551 2552 ภาคเกษตร 10.0 10.5 9.6 9.0 9.0 8.7 8.8 8.9 ั เกษตรกรรม การล่าสตว์ 8.4 8.9 8.1 7.5 7.5 7.2 7.3 7.4 การประมง 1.5 1.6 1.6 1.5 1.6 1.5 1.4 1.5 ภาคนอกเกษตร 90.0 89.5 90.4 91.0 91.0 91.3 91.2 91.1 การทาเหมืองแร่และเหมืองหิน 2.2 2.2 2.2 2.3 2.3 2.2 2.2 2.2 การผลิตอุตสาหกรรม 36.8 38.0 38.7 38.9 39.1 39.6 40.2 39.0 การไฟฟ้ า ก๊าซ และการประปา 3.4 3.3 3.3 3.3 3.3 3.3 3.4 3.5 การก่อสร ้าง 2.5 2.4 2.4 2.4 2.4 2.4 2.2 2.2 ่ ่ การขายสง การขายปลีก การซอมแซม ยาน ยนต์จั กรยานยนต์ ของใช สวนบุคคลและของใช ้ ้ ่ 14.8 14.2 14.0 14.0 13.8 13.8 13.7 13.7 ในครัวเรือน โรงแรมและภัตตาคาร 3.8 3.4 3.6 3.5 3.7 3.7 3.7 3.7 10.2 9.8 9.9 10.0 10.0 10.1 9.9 9.9 ่ ิ การขนสง สถานทีเก็บสนค ้าและการคมนาคม ่ ตัวกลางทางการเงิน 3.0 3.2 3.4 3.5 3.5 3.5 3.6 3.9 บริก ารด า นอสั ง หาริม ทรั พ ย์ การให เ ช ่ า และ ้ ้ 4.0 3.9 3.9 3.9 3.9 3.9 3.9 3.9 บริการทางธุรกิจ การบริ ห ารราชการแผ่ น ดิน และการป้ องกั น 3.3 3.1 3.0 3.0 2.8 2.8 2.8 3.0 ั ประเทศ รวมทังการประกันสงคมภาคบังคับ ้ ึ การศกษา 2.7 2.5 2.4 2.5 2.4 2.6 2.5 2.6 1.4 1.2 1.2 1.3 1.3 1.3 1.2 1.3 ั การบริการด ้านสุขภาพและงานสงคมสงเคราะห์ การให ้บริการชุมชน สังคมและบริการสวนบุคคล ่ 2.0 2.1 2.2 2.2 2.2 2.0 1.9 2.0 อืน ๆ ่ ่ ลูกจ ้างในครัวเรือนสวนบุคคล 0.1 0.1 0.1 0.1 0.1 0.1 0.1 0.1 ผลิตภ ัณฑ์มวลรวมในประเทศ (GDP) 100.0 100.0 100.0 100.0 100.0 100.0 100.0 100.0 ที่มา: สศช. 10 มิถนายน 2553 ุ Copyright NESDB 29
  • 30. ร้ อยละ 2545 2546 2547 2548 2549 2550 2551 2552 การบริโภคภาคเอกชน 55.1 54.7 54.7 54.7 53.6 52.0 52.1 52.7 ้ ค่าใชจ่ายภาครัฐ 8.8 8.5 8.4 8.9 8.7 9.1 9.3 10.0 การลงทุน 19.9 20.8 22.1 23.4 23.1 22.3 22.1 20.5 ิ สนค ้าคงคลัง 1.1 1.4 1.4 2.0 0.2 0.0 1.3 -2.3 ่ ิ การสงออกสนค ้าและบริการ 64.5 64.5 66.5 66.2 68.7 70.6 72.4 64.7 ่ ิ การสงออกสนค ้า 51.9 53.0 54.0 54.0 55.8 57.2 59.1 52.0 ่ การสงออกบริการ 12.7 11.5 12.5 12.2 12.9 13.5 13.3 12.7 ิ การนาเข ้าสนค ้าและบริการ 49.7 50.3 53.6 55.9 54.9 54.7 57.9 46.3 ิ การนาเข ้าสนค ้า 41.6 43.0 45.3 47.2 44.9 44.3 46.9 36.6 การนาเข ้าบริการ 8.1 7.3 8.3 8.7 10.0 10.3 11.0 9.7 ผลิตภ ัณฑ์มวลรวมภายในประเทศ 100.0 100.0 100.0 100.0 100.0 100.0 100.0 100.0 ที่มา: สศช. 10 มิถนายน 2553 ุ Copyright NESDB 30
  • 31. โครงสร้ างประชากรไทยใน 20 ปี ข้ างหน้ า โครงสร้างประชากรตามช่วงอายุ 2543-2570 ประมาณการประชากร 2543-2570 80 100% 75 80% 70 ล ้านคน 60% 60+ 65 25-59 40% <25 60 สมมติฐานภายใต ้ภาวะเจริญพันธุระดับสูง ์ 55 20% สมมติฐานภายใต ้ภาวะเจริญพันธุระดับปานกลาง ์ 50 2543 2545 2547 2549 2551 2553 2555 2557 2559 2561 2563 2565 2567 2569 0% 43 46 49 52 55 58 61 64 67 70 25 25 25 25 25 25 25 25 25 25 ทีม า: การคาดประมาณประชากรของประเทศไทย 2543-2573, สศช. 2550 ่ ในระยะ 20 ปี ข้างหน้ า ประชากรไทยจะเพิ่มขึ ้นเป็ น ประมาณ 71-75 ล้ านคน โดยสัดส่วนของผู้สงอายุ (อายุตงแต่ 60 ปี ขึ ้นไป) จะเพิ่มขึ ้นเป็ น 21% ู ั้ ในขณะที่ สัดส่วนประชากรวัยแรงงานจะเปลี่ยนแปลงไม่มากนัก ที่มา: สศช (ประมาณการก่อน Crisis) 10 มิถนายน 2553 ุ Copyright NESDB 31
  • 32. ความยากจนและการกระจายรายได้ แม่ฮ่องสอน ปี 2550 อยุธยา/นนทบุรี Poverty Number ('000) 0.00 - 100.00 Poverty Ratio (%) 100.01 - 200.00 0.00 - 1.96 200.01 - 300.00 1.97 - 6.70 300.01 - 400.00 6.71 - 13.69 400.01 - 500.00 13.70 - 28.65 28.66 - 65.16 ศรี ษะเกศ อยุธยา 175,000 87,500 0 . 175,000 Miles . ที่มา: สานักงานสถิติแห่งชาติ 2552 220,000 110,000 0 220,000 Miles 10 มิถนายน 2553 ุ Copyright NESDB 32
  • 33. ความยากจนและการกระจายรายได้ Poverty Line ปั จจุบันเฉลี่ย 1,443 บาท/คน/เดือน สัดส่วนคนจน ประเทศไทย (เฉลี่ย) เส ้นความยากจน (บาท/คน/เดือน) 45.0 40.0 1,600 จานวนคนจน (ล ้านคน) 1,400 35.0 สัดส่วนคนจน (ร ้อยละ) 30.0 1,200 25.0 1,000 800 20.0 เส ้นความยากจน 600 (บาท/คน/เดือน) 15.0 400 9.6% 10.0 200 5.0 - - 2531 2533 2535 2537 2539 2541 2543 2545 2547 2549 2550 2531 2533 2535 2537 2539 2541 2543 2545 2547 2549 2550 10 มิถนายน 2553 ุ Copyright NESDB 33
  • 34. ตัวอย่ างการวิเคราะห์ ดัชนีชีวัดทางเศรษฐกิจ ในช่ วง Q1/2553 ้ 10 มิถนายน 2553 ุ Copyright NESDB 34
  • 35. GDP Growth (%) 2552 2553 2551 2552 Q1 Q2 Q3 Q4 Q1 GDP 2.5 -2.3 -7.1 -4.9 -2.7 5.9 12.0 GDP ปรั บฤดูกาล - - -1.6 2.4 1.4 4.0 3.8 ขยายตัวสูงรองจากสิงค์โปร์ (ร้ อยละ 15.5) และไต้ หวัน (ร้ อยละ 13.3) GDP ขยายตัว Q1 lสูงถึงร้ อยละ 12.0 สูงสุดในรอบ 15 ปี นับตังแต่ไตรมาส 2 ปี 2538 ที่ขยายตัวร้ อยละ 12.3 ้ และสูงที่สดเป็ นอันดับ 3 ในภูมิภาค รองจากสิงคโปร์ และไต้ หวัน โดยมีปัจจัยหลักมาจาก ุ  การส่งออกขยายตัวสูงขึ ้นชัดเจน  ภาคอุตสาหกรรมขยายตัวทังอุตสาหกรรมการผลิตเพื่อการส่งออกและอุตสาหกรรมเพื่อใช้ ภายในประเทศ ้ อัตราการใช้ กาลังการผลิตสูงขึ ้น  นักท่องเที่ยวต่างชาติเดินทางเข้ าประเทศสูงเป็ นประวัติการณ์ ถึง 4.7 ล้ านคน  การลงทุนภาคเอกชนปรับตัวดีขึ ้น จากมาตรการกระตุ้นของภาครัฐ  การใช้ จ่ายภาคครัวเรื อนขยายตัวต่อเนื่องจากความเชื่อมันที่เพิ่มขึ ้น ่ 10 มิถนายน 2553 ุ Copyright NESDB 35
  • 36. จะเห็นได้ ว่า GDP และ MPI มีความสัมพันธ์กนในลักษณะที่เป็ นการแปรผันตามซึงกันและกัน ั ่ 10 มิถนายน 2553 ุ Copyright NESDB 36
  • 37. ิ ราคาสนค้าเกษตรลดลงเล็กน้อย ิ ด ัชนีราคาสนค้าเกษตรรวม ่ ราคาเฉลียไตรมาสแรกของปี 2553 สูงกว่าปี 2552 ในชวงเดียวกันร ้อย ่ ละ 13.5 ตามการฟื้ นตั ว ของเศรษฐกิจ โลก และการฟื้ นตั ว ของ อุตสาหกรรมต่อเนื่อง แต่เมือเทียบเดือนต่อเดือนแล ้วพบว่าราคาเฉลีย ่ ่ 350 MoM -3.8 ในเดือนมีนาคมลดลงจากเดือนกุมภาพันธ์ร ้อยละ 3.8 300 250 ิ ราคาสนค้าเกษตรสาค ัญ 200 150 Q-o-Q1 100 +13.5 50 0 ิ ด ัชนีราคาสนค้าเกษตรรวม 350 250 150 50 ทีมา สานั กงานเศรษฐกิจการเกษตร ่ ทีมา : ธนาคารแห่งประเทศไทย ่ 10 มิถนายน 2553 ุ Copyright NESDB 37
  • 38. 10 มิถนายน 2553 ุ Copyright NESDB 38