SlideShare una empresa de Scribd logo
1 de 18
Descargar para leer sin conexión
โครงสร้างธุรกิจ (Business Model)
                             บริ ษท ปตท. จํากัด (มหาชน)
                                  ั




รายวิชา : องค์การและการจัดการ(Organization and Management)
                          อาจารย์ ผู้สอน : อาจารย์วจนะ ภูผานี
                                              สมาชิกในกลุ่ม
                             1.นางสาวปัทมาวรรณ สี กา 54010915071

                            2.นางสาวปรี ยานันท์ คําภูแก้ว 54010915061
                               3.นายทิวากร ศรี ทะวงษ์ 54010915194

                            4.นายเทพพิทกษ์ เสี ยงหวาน 54010915230
                                       ั



     คณะการบัญชีและการจัดการ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม
                             ภาคเรี ยนที 2 ปี การศึกษา 2554
คํานํา
             การศึ ก ษาโครงสร้ า งธุ ร กิ จ บริ ษั ท ปตท. จํ า กัด (มหาชน)   จัด ทํา ขึ นเพื อ
ประกอบการเรี ยนการสอนรายวิชาองค์การและการจัดการ(Organization and Management)
เพือให้นิสิต สมาชิกในกลุ่มได้ทาการศึกษาหาข้อมูลบริ ษททีสนใจนําเสนอต่อเพือนร่ วมชัน และ
                              ํ                     ั
เป็ นเอกสารสําหรับผูสนใจศึกษาต่อไป
                    ้

             รายงานเล่มนี มีเนื อหาเกียวกับการศึกษาโครงสร้างข้อมูลพืนฐาน บริ ษัท ปตท.
จํากัด (มหาชน) การวิเคราะห์สภาพแวดล้อมต่างๆขององค์กร เพือเป็ นแนวทางในการประกอบ
ธุรกิจในอนาคตต่อไป

             ขอขอบพระคุณ อาจารย์วจนะ ภูผานี อาจารย์ผูสอนรายวิชาองค์การและการ
                                                     ้
จัดการ(Organization and Management) ทีให้นิสิตได้ทาการค้นคว้า ศึกษา ทางสมาชิกในกลุ่ม
                                                  ํ
หวังเป็ นอย่างยิงว่ารายงานเล่มนีคงเป็ นประโยชน์ต่อผูสนใจศึกษา หากมีขอผิดพลาดประการใด
                                                    ้               ้
ขออภัยมา ณ ทีนีด้วย




                                                                             ผูจดทํา
                                                                               ้ั
สารบัญ
เรื อง                                                     หน้า
Company Background (ข้อมูลพืนฐานของกิจการ)                 1-2
         Vision (วิสัยทัศน์)
         Mission (พันธกิจ)
Value Proposition (คุณค่าทีนาเสนอแก่ลูกค้า)                 3-7
Revenue Model (โครงสร้าง/รู ปแบบของรายได้)                     8
Market Opportunity (โอกาสทางการตลาด)                        8
Competitive Environment (สภาพแวดล้อมในการแข่งขัน)              9
Competitive Advantage (ความได้เปรี ยบในการแข่งขัน)          9
Market Strategy (กลยุทธ์การตลาด)                          9-10
         4 Ps (Marketing Mix)
Organization Development (การพัฒนาองค์การ)                 10
Management Team (ทีมบริ หาร/ผูบริ หาร)
                              ้                            11
บทวิเคราะห์                                               12-14
          กระบวนการวางแผน (Planning)
          การจัดองค์การ (Organization)
          ทักษะและภาวะผูนาของผูบริ หารองค์การ (Leading)
                        ้      ้
          การควบคุม (Controlling)
บทสรุ ป และ ข้อเสนอแนะ                                    14

เอกสารอ้างอิง                                             15
Company Background (ข้ อมูลพืนฐานของกิจการ)
สั ญลักษณ์ องค์ กร




      ในช่ วงแรกของการก่อตังการปิ โตรเลี ยมแห่ งประเทศไทย (ปตท.) สัญลักษณ์ ทีใช้อยู่ข ณะนันไม่เหมื อนปั จ จุบัน
กล่าวคือเป็ นเพียงตัวอักษรย่อคําว่า “ปตท.” และ “PTT ” เท่านัน ต่อมา ดร.ทองฉัตร หงศ์ลดารมภ์ ผูว่าการ ปตท. ได้
                                                                                             ้
มอบหมายให้คณะทํางานศิลปกรรมซึงขึนกับงานประชาสัมพันธ์ ออกแบบสัญลักษณ์ใหม่ เพือให้มีคุณค่าทางศิลปะและก่อ
ประโยชน์ทางการค้า คือให้มีสีสนสะดุดตาจําง่ายและสื อความหมายทีเกียวข้องกับองค์กร
                               ั

               เมือ กลางปี พ.ศ. 2523 นายระยอง ยิมสะอาด พนักงาน ได้ออกแบบสัญลักษณ์ ปตท. ไว้ทงสิ น 30 -40 แบบ ดร.
                                                                                            ั
ทองฉัตร ได้คดเลือกและให้คาแนะนําเพือแก้ไขในรายละเอียดต่างๆอีก จนกระทังได้แบบสัญลักษณ์ทีดีทีสุด และในช่วงซึ ง
                   ั             ํ
มีพลเอก เปรม ติณสูลานนท์เป็ นประธาน เมือ ปี 2524 ได้มีการจดทะเบียนเป็ นเครื องการค้ากับกระทรวงพาณิ ชย์ และใช้เป็ น
สัญลักษณ์นนมาตลอดจนถึงปั จจุบน สัญลักษณ์ของ ปตท. ได้รับแรงบันดาลใจมาจาก การค้นพบแหล่งปิ โตรเลียม อันเป็ น
                 ั                    ั
ทรัพยากรทีมีค่ายิงของประเทศ ก่อให้เกิด จินตนาการเกียวเนื องถึงรู ปแบบของคบเพลิงทีมีโครงสร้างแสดงถึงความเจริ ญ
รุ่ งเรื อง อันเกิดจากการผสมผสานของพลังงาน ในรู ปเปลว เพลิงของก๊าซธรรมชาติสีฟ้าสดใส ล้อมรอบหยดนํามัน สี นาเงิน
                                                                                                            ํ
เข้ม รวมทังแสดงถึงอานุภาพของพลังงานด้วยสี แดงเพลิงภายใน

Vision (วิสัยทัศน์ ) " เป็ นบริษัทพลังงานไทยข้ ามชาติชันนํา "
Mission (พันธกิจ)
      ต่ อประเทศ จะดําเนินการสร้างความมันคงด้านพลังงานในระยะยาวโดยการจัดหาปริ มาณทีเพียงพอ
มีคุณภาพได้มาตรฐาน และราคาเป็ นธรรม

       ต่ อสั ง คมชุ มชม จะเป็ นองค์ก ารที ดี ของสังคมในการดําเนิ นกิ จการ โดยปกป้ องผลกระทบต่ อ
สิ งแวดล้อมภายใต้มาตรฐานสากล และมีส่วนร่ วมในการพัฒนาคุณภาพชีวตทีดีแก่สังคมชุมชน
                                                                       ิ
ต่ อผู้ถือหุ้ น จะดําเนิ นธุ รกิ จเชิ งพาณิ ชย์ สามารถสร้ างกําไรเพือให้ผลตอบแทนที ดี และให้มีการ
เจริ ญเติบโตต่อเนืองอย่างยังยืน
         ต่ อลูกค้ า จะสร้างความพึงพอใจแก่ลูกค้า โดยผ่านการนําเสนอผลิตภัณฑ์และบริ การทีมีคุณภาพสู ง
ในระดับมาตรฐานสากล ด้วยราคาเป็ นธรรม

ต่อคู่คา จะดําเนิ นธุ รกิจร่ วมกันโดยพืนฐานของการแข่งขันอย่างเป็ นธรรมมุ่ง สร้างความสัมพันธ์และความ
       ้
ร่ วมมือทีดี เพือพัฒนาศักยภาพและประสิ ทธิ ภาพในการดําเนินธุ รกิจร่ วมกันในระยะยาว

       ต่ อพนักงาน จะสนับสนุ นการพัฒนาความสามารถการทํางานระดับมืออาชี พอย่างต่อเนื องให้ความ
มันใจในคุณภาพชีวตการทํางานของพนักงาน ทัดเทียมบริ ษทชันนํา
                 ิ                                ั

ค่ านิยม




จรรยาบรรณ
         จรรยาบรรณธุ รกิ จ ของ ปตท. จึ ง เป็ นการประมวลแบบแผนกํา หนดขอบเขต มาตรฐาน ความ
                                                          ่
ประพฤติและพฤติกรรมที บุคลากรทุกคนของ ปตท. ไม่วาจะเป็ คณะกรรมการ ผูบริ หาร และพนักงานทุกคน
                                                                             ้
ทุ กระดับ ในทุ กส่ วนงาน พึง กระทํา ในการดําเนิ น ธุ รกิ จและการปฏิ บ ติงาน โดยปฏิ บ ติง านไปในวิถี ทาง
                                                                      ั              ั
เดียวกันภายใต้กรอบจริ ยธรรม คุ ณธรรม ความซื อสัตย์ ในวิถีทางทีสร้างสรรค์ เป็ นระเบียบเรี ยบร้อย เสมอ
ภาคเท่าเทียม
Value Proposition (คุณค่ าทีนาเสนอแก่ ลูกค้ า)
                        การประกอบธุ รกิจ
                                     ธุ รกิจก๊าซธรรมชาติ
                                         ธุ รกิจนํามัน
                                         ธุ รกิจการค้าระหว่างประเทศ
                                         ธุ รกิจปิ โตรเคมีและการกลัน


ธุรกิจก๊ าซธรรมชาติ

         ณ ปั จจุบน ปตท. และบริ ษทในกลุ่มธุ รกิจสํารวจ ผลิต และก๊าซธรรมชาติ เป็ นผูประกอบธุ รกิจก๊าซ
                  ั                   ั                                             ้
ธรรมชาติอย่างครบวงจรเพียงรายเดียวในประเทศ โดยครอบคลุมตังแต่การสํารวจและผลิต การจัดหา การ
ขนส่ ง ก๊ า ซธรรมชาติ ท างท่ อ การแยกก๊ า ซธรรมชาติ และการจัด จํา หน่ า ย โดย ปตท. เป็ นเจ้า ของและ
ผูดาเนิ นการโครงข่ายระบบท่อส่ งก๊าซธรรมชาติ (Transmission Network) ทังบนบกและในทะเลและเป็ น
  ้ํ
ผูดาเนิ นการจัดหา ขนส่ งก๊าซธรรมชาติ ทางท่อ จัดจําหน่ ายก๊าซธรรมชาติ และดําเนิ น ธุ รกิ จแยกก๊า ซ
  ้ ํ
ธรรมชาติรายใหญ่ทีสุ ดในประเทศไทย ปตท. สร้ างความมันคงด้านพลังงานให้แก่ประเทศ ด้วยการเป็ น
เจ้าของและดําเนิ นการขยายโครงข่ายระบบท่อส่ งก๊าซธรรมชาติ ทังบนบกและในทะเลและสร้างมูลค่าเพิม
ให้แก่ก๊าซธรรมชาติ โดยนําไปผ่านโรงแยกก๊าซธรรมชาติ จํานวน 5 หน่วยเพือแยกวัตถุดิบและผลิตภัณฑ์
ก๊า ซธรรมชาติ สํา หรั บ ธุ รกิ จปิ โตรเคมี น อกจากนัน ยัง ได้มี การ การลงทุ นและการร่ ว มทุ น กับ บริ ษ ท ที
                                                                                                        ั
เกียวข้องกับธุ รกิจ
ธุรกิจนํามัน

          ดํ า เนิ น ธุ ร กิ จ หลั ก ในการจํ า หน่ ายผลิ ต ภั ณ ฑ์ นํ ามั น เชื อเพลิ ง ก๊ า ซหุ ง ต้ ม และผลิ ต ภั ณ ฑ์
นํามันหล่ อลืนครอบคลุม ดังนี                          การตลาดค้าปลีก (Retail Marketing) จัดจําหน่ายเชื อเพลิง
                                                          ่ ั
ผ่านเครื อข่ายสถานี บริ การนํามันของ ปตท. ซึ งมีอยูทวประเทศกว่า 1,180 แห่ ง (ไม่รวมสถานี บริ การนํามัน
ปตท. ทีดําเนิ นงานภายใต้บริ ษท ปตท. บริ หารธุ รกิจค้าปลีก จํากัด) โดยพัฒนาสถานี บริ การภาพลักษณ์ใหม่
                                     ั
ครบวงจรในรู ปแบบ PTT Park พร้อมขยายธุ รกิจ ค้าปลีกในสถานี บริ การ อีกทังเป็ นผูนาการค้นคว้าและ        ้ ํ
พัฒนาพลังงานทดแทนพร้ อมจําหน่ ายเป็ นรายแรกของ ประเทศ ทัง“นํามัน แก๊สโซฮอล์” “นํามันดี เซล-
ปาล์มบริ สุทธิ ” และ “นํามันไบโอดีเซล” โดยล่าสุ ด ปตท. ได้พฒนา “นํามันแก๊สโซฮอล์ E85” เพือเพิม
                                                                            ั
ผลิ ตภัณฑ์ทางเลื อกให้แก้ผบริ โภค และเป็ นการสนับสนุ นภาคการเกษตรอีกทางหนึ ง ทังนี ปตท. ได้ทา
                                 ู้                                                                                    ํ
หน้าทีรักษาระดับราคานํามันมิให้ผบริ โภคได้รับความเดือดร้อนในขณะ ทีราคา นํามันในตลาดโลกสู งขึน
                                         ู้
ด้วยการชะลอการปรับขึนราคานํามันขายปลี กช้ากว่าผูคานํามันรายอืนเพือ รับภาระแทนผูบริ โภค ทําให้
                                                              ้้                                          ้
ปตท. ครองใจผูบริ โภคโดยมีส่วนแบ่งการตลาดในระดับสู งสุ ดเป็ นอันดับหนึ งอย่างต่อ เนื องนับตังแต่ปี
                    ้
2536 เป็ นต้นมา

       การตลาดพาณิ ชย์ (Commercial Marketing) จัดจําหน่ายผลิตภัณฑ์ทีมีความหลากหลาย แบ่งชนิ ดตาม
ความต้องการของลูกค้า โดยจําหน่ายผลิตภัณฑ์นามันเชือเพลิงทุกประเภท ผลิตภัณฑ์หล่อลืน และผลิตภัณฑ์
                                                  ํ
อืนๆ ให้แก่กลุ่มลูกค้าภาคอุตสาหกรรม บริ ษทสายการบิน การเดินเรื อขนส่ ง เรื อประมง หน่วยงานราชการ
                                               ั
รัฐวิสาหกิจ ลูกค้าก๊าซหุ งต้ม ลูกค้ากลุ่มขนส่ งและสร้างทาง รวมถึงจัดจําหน่ายไปยัง ตลาดต่างประเทศ เพือ
ร่ วมสร้างศักยภาพทางธุ รกิจแก่ลูกค้า ซึ งปั จจุบนมีจานวนกว่า 2,500 ราย โดย ปตท. ได้สร้างอุปกรณ์ในการ
                                                 ั ํ
เก็บสํารองเชื อเพลิงหรื ออํานวยความสะดวกอืนๆรวมทังให้ บริ การแนะนําเรื องการประหยัดพลังงาน และ
ความปลอดภัยอีกด้วย ในการดําเนินงานเพือให้ธุรกิจนํามันบรรลุเป้ า หมายอย่างมีประสิ ทธิ ภาพเต็มที ปตท.
ได้จดให้มีการบริ หารและปฏิ บติการคลังและ การจัดหาและจัดส่ งปิ โตรเลี ยม เพือเพิมศักยภาพให้ธุรกิ จ
     ั                           ั
เข้มแข็งขึน นอกจากนันยังมี การลงทุ นและการร่ ว มทุ นในบริ ษทย่อยและบริ ษทร่ วมที เกี ยวเนื องกับการ
                                                                ั             ั
ดําเนินธุ รกิจนํามันทังภายในและภายนอกประเทศ
ธุรกิจการค้ าระหว่ างประเทศ

             ประกอบธุ รกิ จด้านการจัดหา การนําเข้า การส่ งออกและการค้าระหว่างประเทศ ครอบคลุ ม
นํามันดิ บ คอนเดนเสท ผลิตภัณฑ์ปิโตรเลียม ปิ โตรเคมี รวมถึ งผลิตภัณฑ์ปิโตรเลียมพิเศษอืนๆทีเกี ยวข้อง
ตลอดจนการทําการค้าระหว่างประเทศ เพือสนับสนุ นการดําเนิ นธุ รกิ จของ ปตท. และกลุ่ม ปตท. ให้มี
ศักยภาพในการแข่งขันและทํากําไรจากการค้าผลิตภัณฑ์ปิโตรเลียมและ ผลิตภัณฑ์อืนๆ รวมทังเพิมมูลค่า
ทางการค้าให้แก่ กลุ่มปั จจุบน การดําเนิ นธุ รกิ จการค้าระหว่างประเทศของ ปตท. เป็ นไปอย่างครบวงจร
                            ั
นอกจากนันยังได้มีการจัด บริ ษท PTT International Trading Pte. จํากัด ทีสิ งคโปร์ เพือเป็ นตัวแทนของ
                               ั
ปตท. ในการธุ รกรรมการค้าระหว่างประเทศ ตลอดจนให้บริ การประสานงานกับลูกค้าทีเป็ นคู่คา ปตท.     ้
อย่างใกล้ชิด และสนับสนุนการทําธุ รกรรมของ ปตท. และ บริ ษทในเครื อ
                                                              ั

           หน่วยธุ รกิ จการค้าระหว่างประเทศ (PTT International Trading) ประกอบธุ รกิจด้านการจัดหา
การนําเข้า การส่ งออกและการค้าระหว่างประเทศ ครอบคลุมนํามันดิบ คอนเดนเสท ผลิตภัณฑ์ปิโตรเลียม
ปิ โตรเคมี รวมถึงผลิตภัณฑ์ปิโตรเลียมพิเศษอืนๆทีเกียวข้อง ตลอดจนทําการค้าระหว่างประเทศ (Out-Out
Trading) เพือสนับสนุ นการดําเนิ นธุ รกิจของบริ ษท ปตท. จํากัด (มหาชน) และกลุ่ม ปตท. ให้มีศกยภาพใน
                                                ั                                         ั
การแข่งขันและทํากําไรจากการค้าผลิ ตภัณฑ์ปิโตรเลี ยมและ ผลิ ตภัณฑ์อืนๆ รวมทังเพิมมูลค่าทางการค้า
ให้แก่กลุ่มทังนี จากการดําเนิ นธุ รกรรมทีผ่านมา ได้ใช้กลไกของการบริ หารความเสี ยงกําไร/ขาดทุนที เกิ ด
จากความผันผวนของราคาผลิตภัณฑ์ดวย โดยมีหน่วยงานบริ หารความเสี ยง ทําหน้าที วิเคราะห์และบริ หาร
                                      ้
ความเสี ยงราคาผลิตภัณฑ์ทงในประเทศและการค้าระหว่างประเทศ ตลอดจนทําหน้าทีเป็ นศูนย์กลางข้อมูล
                           ั
ปิ โตรเลียม โดยศึกษาวิเคราะห์แนวโน้มราคา สถานการณ์ตลาดนํามันโลก ทังปั จจัยพืนฐาน ปั จจัยความรู ้สึก
และปั จจัยทางเทคนิค สําหรับเป็ นข้อมูลในการทําธุ รกรรมเพือบริ หารความเสี ยงให้กบ ปตท. และกลุ่ม ปตท.
                                                                               ั
อีกด้วย นอกจากนันยังมีหน่วยจัดหาการขนส่ งทางเรื อระหว่างประเทศ ทําหน้าทีจัดหาเรื อขนส่ ง นํามันดิบ
ผลิ ตภัณฑ์ปิโตรเลี ยม บริ การให้แก่ หน่ วยงานภายในและบริ ษทในกลุ่มอีกด้วย ปั จจุบน การดําเนิ นธุ รกิ จ
                                                           ั                      ั
การค้าระหว่างประเทศ (International Oil Trading) ของ ปตท. ดําเนิ นไปอย่างครบวงจร ทังการนําเข้าและ
ส่ งออกนํามันดิบ คอนเดนเสท ผลิตภัณฑ์ปิโตรเลียมรวมถึงวัตถุดิบและผลิตภัณฑ์ปิโตรเคมี ตลอดจนการทํา
การค้าระหว่างประเทศ




ธุรกิจปิ โตรเคมี

ปตท. ลงทุนในธุ รกิจปิ โตรเคมีแบบครบวงจรผ่านบริ ษทในกลุ่ม ปตท. 8 แห่ ง โดยเริ มตังแต่การผลิตและ
                                                       ั
จําหน่ายผลิตภัณฑ์ปิโตรเคมีขนต้น ขันกลางและขันปลาย ทังสายโอเลฟิ นส์ และอะโรเมติกส์ จนปั จจุบน
                              ั                                                                   ั
กลุ่ม ปตท. กลายเป็ นหนึ งในกลุ่มผูผลิตผลิตภัณฑ์ปิโตรเคมีรายใหญ่ของประเทศ และเป็ นอันดับต้น ๆ ใน
                                   ้
ภูมิภาคเอเชี ยและเอเชี ยตะวันออกเฉี ยงใต้ ทังนี ผลิตภัณฑ์ปิโตรเคมีขนปลายของกลุ่ม ปตท. ประกอบด้วย
                                                                   ั
สายการผลิตภัณฑ์ทีหลากหลาย ได้แก่ กลุ่มโพลีเมอร์ และเม็ดพลาสติก กลุ่มผลิตภัณฑ์เอทิลีนออกไซด์และ
ผลิตภัณฑ์เกียวเนือง กลุ่มผลิตภัณฑ์โอลีโอเคมี โดยเฉพาะ bio – based chemical กลุ่มผลิตภัณฑ์อะโรเมติกส์
และกลุ่มผลิตภัณฑ์ Specialty ต่าง ๆ

นอกจากนี บริ ษ ท ในกลุ่ ม ปตท. ยัง ดํา เนิ น ธุ ร กิ จด้า นการตลาด เพื อจํา หน่ า ยเม็ด พลาสติ ก ทังในและ
               ั
ต่างประเทศ ให้บริ การโลจิสติกส์ อย่างครบวงจร และให้บริ การระบบสาธารณู ปโภคต่าง ๆ ทีเกียวข้อง อาทิ
ผลิตและจําหน่ายไฟฟ้ า นํา ไอนํา ท่าเทียบเรื อ คลังผลิตภัณฑ์ บริ การซ่ อมบํารุ งและวิศวกรรม เป็ นต้น ทังนี
ปตท. มีแผนขยายการลงทุนในธุ รกิจปิ โตรเคมีทงในภูมิภาคเอเชี ยเละตะวันออกกลาง ด้วยศักยภาพทีแข่งขัน
                                                 ั
                                                      ั
ไดในเวทีสากล โดยเฉพาะการสร้างมูลค่าเพิมให้กบทางธุ รกิจผ่านการพัฒนาผลิตภัณฑ์ประเภท Specialty
และการสร้างโอกาสทางธุ รกิจบนความต้องการของตลาด (market back strategy)เป็ นสําคัญ
ศักยภาพทางธุ รกิ จที แข็งแกร่ งด้วยพลังร่ วมของกลุ่ ม ปตท. ในธุ รกิ จปิ โตรเคมี ไม่ เพียงแต่จะ
ผลักดันให้กลุ่ม ปตท. เป็ นผูนาตลาดปิ โตรเคมีรายใหญ่ของประเทศ ยังทําให้กลุ่ม ปตท. ได้รับความเชื อถือ
                            ้ ํ
จากพันธมิตรทางธุ รกิจชันนําระดับโลก อาทิ บริ ษท LyondellBasell ประเทศสหรัฐอเมริ กา บริ ษท Asahi
                                                  ั                                            ั
Kasei Chemical Corporation ประเทศญีปุ่ น และ บริ ษทSime Darby Plantation ของประเทศมาเลเซี ย
                                                    ั


ธุรกิจการกลัน
          ปตท. ลงทุนในธุ รกิ จโรงกลันนํามันผ่าน 5 บริ ษทในกลุ่ม ปตท. ซึ งมีมีกาลังการกลันรวมกัน
                                                       ั                      ํ
ทังสิ น 1,040,000 บาร์ เรลต่อวัน โดย ปตท. จัดหานํามันดิบและรับซื อผลิ ตภัณฑ์นามันสําเร็ จรู ปจากบริ ษท
                                                                             ํ                       ั
โรงกลันนํามันในกลุ่ม ปตท . เพือจําหน่ ายต่อให้กบลูกค้าของหน่ วยธุ รกิ จนํามัน ทังนี ปตท. จะจัดหา
                                               ั
                                                                                 ่
นํามันดิบและรับซื อผลิตภัณฑ์นามันสําเร็ จรู ปตามสัดส่ วนการถือหุ ้นที ปตท. ถืออยูในโรงกลันนํามันนัน ๆ
                             ํ
นอกจากการประกอบธุ รกิจโรงกลันนํามันทีทันสมัยและมีศกยภาพทางด้านการผลิตสู งแล้ว โรงกลันในกลุ่ม
                                                  ั
ปตท. ยังได้ขยายการลงทุนสู่ ธุรกิจเกียวเนือง เพือเสริ มสร้างศักยภาพในการแข่งขันโดยลงทุนในธุ รกิจปิ โตร
เคมี ธุ รกิจนํามันหล่อลืนพืนฐาน ธุ รกิจผลิตไฟฟ้ า ธุ รกิจการขนส่ งนํามันและธุ รกิจพลังงานทดแทน เช่น การ
ผลิ ตเอทานอล และไบโอดี เซลจากพืชนํามัน ทังนี การลงทุนในธุ รกิ จเกียวเนื องจะช่วยเสริ มสร้ าง ความ
มันคงและการเจริ ญเติบโตอย่างเป็ นปึ กแผ่นในอนาคต
Revenue Model (โครงสร้ าง/รู ปแบบของรายได้ )




*- ปตท. จัดทําขึน โดยใช้ขอมูลจากงบการเงินงวด เดือน ( มกราคม - กันยายน ) ของการ
                           ้
ปิ โตรเลียมแห่งประเทศไทย ประกอบกับงบการเงิน เดือน ( ตุลาคม - ธันวาคม ) ของ ปตท. ซึ ง
งบการเงินทังสองงวดดังกล่าว ตรวจสอบโดย สตง. แล้ว
*- เป็ นสัดส่ วนระหว่างผลิตภัณฑ์ก๊าซ กับผลิตภัณฑ์นามัน และผลิตภัณฑ์ปิโตรเคมี เท่านัน
                                                  ํ
*- จัดทําโดย ปตท. ซึ งรวมรายการระหว่างหน่วยธุ รกิจ
*- ก่อนการแปลงสภาพ ปตท. จ่ายภาษีในรู ปของเงินนําส่ งคลัง ซึ งหักออกจากกําไรสะสม โดยไม่เป็ น
ค่าใช้จ่ายในงบกําไรขาดทุน




Market Opportunity (โอกาสทางการตลาด)
             นอกจากการประกอบธุ รกิจโรงกลันนํามันทีทันสมัยและมีศกยภาพทางด้านการผลิตสู งแล้ว โรง
                                                                             ั
กลันในกลุ่ม ปตท. ยังได้ขยายการลงทุนสู่ ธุรกิจเกียวเนื อง เพือเสริ มสร้างศักยภาพในการแข่งขันโดยลงทุน
ในธุ รกิจปิ โตรเคมี ธุ รกิ จนํามันหล่อลื นพืนฐาน ธุ รกิ จผลิ ตไฟฟ้ า ธุ รกิ จการขนส่ งนํามันและธุ รกิ จพลังงาน
ทดแทน เช่ น การผลิ ตเอทานอล และไบโอดี เซลจากพืชนํามัน ทังนี การลงทุนในธุ รกิ จเกี ยวเนื องจะช่ วย
เสริ มสร้าง ความมันคงและการเจริ ญเติบโตอย่างเป็ นปึ กแผ่นในอนาคต
Competitive Environment (สภาพแวดล้ อมในการแข่ งขัน)
                 ( ) อุปสรรคจากคู่แข่งขันทีเข้ามาใหม่
                 ( ) อํานาจการต่อรองของผูขายปั จจัยการผลิต
                                             ้
                 ( ) อํานาจการต่อรองของผูซือ
                                           ้
                 ( ) อุปสรรคจากผลิตภัณฑ์หรื อบริ การทีสามารถใช้ทดแทนได้
                  ( ) ระดับการแข่งขันระหว่างธุ รกิจเดิม


Competitive Advantage (ความได้ เปรียบในการแข่ งขัน)
            ปตท. เป็ นองค์กรชันนําซึ งมีการกํากับดูแลกิจการทีดี มีคุณธรรม โปร่ งใสและตรวจสอบได้และ
เพือให้การดําเนิ นการ ด้านการกํากับดูแลกิจการทีดีมีการพัฒนาอย่างต่อเนื อง สอดคล้องกับหลักการกํากับ
ดูแลกิจการสําหรับบริ ษทจดทะเบียนของตลาดหลักทรัพย์แห่ งประเทศไทยและหลักปฏิบติสากลตลอดเวลา
                        ั                                                                 ั
ปตท. จึงปรับปรุ งหลักการกํากับดูแลกิจการทีดีขึน เพือเป็ นรู ปแบบของการดําเนิ นธุ รกิจของคณะกรรมการ
คณะผู ้บ ริ ห ารและพนัก งานโดยให้ ยึ ด ถื อ หลัก การกํา กับ ดู แ ลกิ จ การที ดี ในการดํา เนิ น ธุ ร กิ จ และให้
ความสํา คัญกับ การปฏิ บ ติตามกฎหมายของประเทศที เข้าไปลงทุ น ตลอดจนการปฏิ บ ติที สอดคล้องกับ
                          ั                                                                 ั
ขนบธรรมเนียมประเพณี และวัฒนธรรมอันดีงามของท้องถินนันๆ


Market Strategy (กลยุทธ์ การตลาด)
              4 Ps (Marketing Mix)
Product
          บริ ษท ปตท ได้มีการประกอบธุ รกิจทีเป็ นผลิตภัณฑ์หลักๆ ได้แก่
               ั
                          ธุ รกิจก๊าซธรรมชาติ
                          ธุ รกิจนํามัน
                          ธุ รกิจการค้าระหว่างประเทศ
                          ธุ รกิจปิ โตรเคมีและการกลัน
Place
                          - สถานีบริ การนํามัน
                          - โรงบรรจุก๊าชหุ งต้ม
                          - ร้านค้าก๊าชหุ งต้ม
Price
                                                                ํ
        - เทียบกับ Gazprom ของรัสเซี ย มียอดขาย . ล้าน ๆ บาท มีกาไรมากถึง , ล้านบาท หรื อคิด
                                                       ํ
เป็ นร้อยละ . คือมียอดขายเกือบ เท่าของ ปตท. แต่มีกาไรมากกว่า ปตท. ถึง เท่า
       - Petronas ของมาเลเซี ย ยอดขาย ล้าน ๆ บาท กําไรถึง , ล้านบาท ขณะที ปตท. ขาย . ล้าน
ๆ บาท กําไรแค่ , ล้านบาทเท่านัน ผลประกอบการแย่กว่า เท่า (ทียอดขายเท่ากัน)




Promotion
                      บริ การต่าง ๆสถานีบริ การนํามันและธุ รกิจค้าปลีกในสถานี
                      สถานีบริ การนํามัน ปตท. JIFFY
                      บริ การบัตรเติมนํามัน
                      บริ การขายต่างประเทศ
                      บริ การคลังสํารอง
                      บริ การลูกค้าก๊าซธรรมชาติ
                      PTT Oil e-Service/m-Service



Organization Development (การพัฒนาองค์ การ)
            โครงการหลักในอนาคตของ ปตท.
                      ) โครงการระบบท่อส่ งก๊าซธรรมชาติ (Transmission Pipeline)
                      ) โครงการโรงแยกก๊าซธรรมชาติ
                      ) โครงการก๊าซธรรมชาติเหลว (Liquefied Natural Gas หรื อ LNG)
Management Team (ทีมบริหาร/ผู้บริหาร)
บทวิเคราะห์

กระบวนการวางแผน (Planning)
           แผนรับมือความผันผวนเศรษฐกิจโลกกลุ่ม ปตท.เร่ งทําแผนรับมือความผันผวนด้านเศรษฐกิ จ
โลก และการเปลี ยนแปลงภูมิอากาศ ทําให้รับมือได้ทุกด้านกับการเปลี ยนแปลง รวมทังศึกษาแยกเอ็นจี วี
ออกมาเป็ นบริ ษทเชิงสังคม ในขณะที ปตท.สผ.ยอมรับต้องทบทวนการลงทุนใหม่รับมือความผันผวน
               ั


การจัดองค์ การ (Organization)
ทักษะและภาวะผู้นาของผู้บริ หารองค์ การ (Leading)


นายไพริ นทร์ ชูโชติถาวร
ประวัติดานการศึกษา
        ้

          - วิศวกรรมศาสตรบัณฑิต (ปี พ.ศ. ) (เกียรตินิยมอันดับ ) จุฬาฯ
          - มหาบัณฑิต วิศวกรรมศาสตร์ (ปี พ.ศ. ) Tokyo Inst. of Tech., Japan
           - ดุษฎีบณฑิต วิศวกรรมศาสตร์ (ปี พ.ศ.
                   ั                                    ) Tokyo Inst. of Tech., Japan
ประวัติดานการทํางาน
        ้

            พ.ศ.      -     กรรมการผูจดการ บริ ษท บางกอกโพลีเอททีลีน จํากัด (มหาชน)
                                     ้ั         ั
            พ.ศ.      -     รองประธานกลุ่มสภาอุตสาหกรรมพลาสติก สภาอุตสาหกรรมแห่งประเทศ
ไทย
            พ.ศ. -           กรรมการผูจดการ บริ ษท พีทีที โพลีเมอร์ มาร์ เก็ตติง จํากัด และกรรมการ
                                        ้ั          ั
ผูจดการ บริ ษท พีทีที อาซาฮี เคมิคอล จํากัด และผูช่วยกรรมการผูจดการใหญ่ บมจ.ปตท.
  ้ั         ั                                   ้            ้ั
            พ.ศ.         กรรมการผูจดการใหญ่ บมจ.ไออาร์ พีซี (IRPC)
                                     ้ั
            พ.ศ.         ประธานคณะอนุกรรมการกํากับแนวทางหน่วยปฏิบติการกลาง ศูนย์นาโน
                                                                             ั
เทคโนโลยีแห่งชาติ
            พ.ศ.         ประธานกลุ่มอุตสาหกรรมโรงกลันนํามันปิ โตรเลียม สภาอุตสาหกรรมแห่ง
ประเทศไทย


    การควบคุม (Controlling)
                    ปตท. กําหนดให้มีนโยบายและระเบียบปฏิบติเป็ นลายลักษณ์อกษรและกําหนดการควบคุม
                                                             ั               ั
ในส่ วนทีมีความเสี ยงทีสําคัญ เช่น ธุ รกรรมด้านการเงิน การจัดซื อ และการบริ หารทัวไป โดยมีการแบ่งแยก
หน้าทีความรับผิดชอบออกจากกันอย่างชัดเจน รวมทังระบุการดําเนิ นงานในส่ วนทีมีความเสี ยงสําคัญและ
กําหนดกลไกในการควบคุ มเพือป้ องกันและลดข้อผิดพลาด มี ก ารสอบทานผลการดําเนิ น งานโดยฝ่ าย
บริ หาร มีการกําหนดให้ใช้ดชนีวดผลการดําเนิ นงานกับพนักงานทังองค์กร เพือให้การควบคุมกิจกรรมด้าน
                              ั ั
การบริ หารมีความเหมาะสมและเพียงพอ การควบคุมภายในด้านการเงินการบัญชี เกียวกับการเก็บเงิน รักษา
เงิ น การรั บ จ่า ย เงิ นฝากธนาคาร และเงิ น ยืม ทดรอง ให้เป็ นไปตามระเบี ย บที กํา หนด มี ก ารบัน ทึ ก บัญชี
ครบถ้วนถูกต้องและสมําเสมอ มีการจัดเก็บเอกสารทางบัญชี ทงทีเป็ นเอกสารและข้อมูลทางคอมพิวเตอร์ ไว้
                                                      ั
อย่างเป็ นระบบ




บทสรุ ป และ ข้ อเสนอแนะ
          ปตท. มุ่งมันทีจะเป็ นบริ ษททีดีของคนไทยภายใต้วิสัยทัศน์บริ ษทพลังงานไทยข้ามชาติชนนํา ที
                                    ั                                 ั                   ั
มีความเข้มแข็งระดับประเทศและมุ่งก้าวสู่ เวทีโลก โดยมีพนธกิจต่อผูมีส่วนได้ส่วนเสี ยทุกฝ่ าย ทังประเทศ
                                                      ั         ้
สังคม ชุ มชน ผูถือหุ ้น คู่คา ลู กค้าและพนักงานอย่างเท่าเที ยมกันปตท. ให้ความสําคัญกับการสร้ างความ
               ้            ้
มันคงทางพลังงานของประเทศควบคู่กบการดูแลสังคม ชุมชน และสิ งแวดล้อมมาตลอดระยะเวลา
                               ั                                                              ปี ของ
                      ํ
การดําเนิ นงาน และได้กาหนดแนวทางการพัฒนาอย่างยังยืนไว้ชดเจน ด้วยการรักษาความสมดุ ลระหว่าง
                                                       ั
การมี ความรั บผิดชอบต่อสังคม (Corporate Social Responsibility: CSR) การกํา กับดู แลกิ จการที ดี
(Corporate Governance: CG) และการมุ่งสู่ องค์กรแห่ งความเป็ นเลิศ (High Performance Organization:
HPO) เพือเป็ นรากฐานการพัฒนาทีแข็งแกร่ งให้แก่องค์กรในระยะยาว
เอกสารอ้างอิง



        ขอขอบคุณข้อมูลจาก

 เว็บไชต์ บริ ษท ปตท จํากัด (มหาชน)
               ั

http://www.pttplc.com/TH/Default.aspx

Más contenido relacionado

La actualidad más candente

กระดาษเส้น
กระดาษเส้นกระดาษเส้น
กระดาษเส้น
Tik Msr
 
รายงานการศึกษาค้นคว้า
รายงานการศึกษาค้นคว้ารายงานการศึกษาค้นคว้า
รายงานการศึกษาค้นคว้า
tanakit pintong
 
หน้าปกโครงงาน
หน้าปกโครงงานหน้าปกโครงงาน
หน้าปกโครงงาน
Kanistha Chudchum
 
สามัคคีเภทคำฉันท์
สามัคคีเภทคำฉันท์สามัคคีเภทคำฉันท์
สามัคคีเภทคำฉันท์
Sp'z Puifai
 
ตัวอย่างบทคัดย่อ
ตัวอย่างบทคัดย่อตัวอย่างบทคัดย่อ
ตัวอย่างบทคัดย่อ
sukanya5729
 
ตัวอย่างแผนธุรกิจPocket tissue
ตัวอย่างแผนธุรกิจPocket tissueตัวอย่างแผนธุรกิจPocket tissue
ตัวอย่างแผนธุรกิจPocket tissue
Nattakorn Sunkdon
 
รัฐเดี่ยว รัฐรวม
รัฐเดี่ยว รัฐรวมรัฐเดี่ยว รัฐรวม
รัฐเดี่ยว รัฐรวม
thnaporn999
 
ตัวอย่างแผนธุรกิจการทำร้านอาหาร(Restuarant)
ตัวอย่างแผนธุรกิจการทำร้านอาหาร(Restuarant)ตัวอย่างแผนธุรกิจการทำร้านอาหาร(Restuarant)
ตัวอย่างแผนธุรกิจการทำร้านอาหาร(Restuarant)
Nattakorn Sunkdon
 
โครงงานเรื่องสบู่สุนไพร
โครงงานเรื่องสบู่สุนไพรโครงงานเรื่องสบู่สุนไพร
โครงงานเรื่องสบู่สุนไพร
Pornthip Nabnain
 

La actualidad más candente (20)

The criticism of art
The criticism of artThe criticism of art
The criticism of art
 
ตัวอย่างแผนธุรกิจน้ำพริก
ตัวอย่างแผนธุรกิจน้ำพริกตัวอย่างแผนธุรกิจน้ำพริก
ตัวอย่างแผนธุรกิจน้ำพริก
 
กระดาษเส้น
กระดาษเส้นกระดาษเส้น
กระดาษเส้น
 
รายงานวิจัยบทที่ 1 5
รายงานวิจัยบทที่ 1 5รายงานวิจัยบทที่ 1 5
รายงานวิจัยบทที่ 1 5
 
รายงานการศึกษาค้นคว้า
รายงานการศึกษาค้นคว้ารายงานการศึกษาค้นคว้า
รายงานการศึกษาค้นคว้า
 
หน้าปกโครงงาน
หน้าปกโครงงานหน้าปกโครงงาน
หน้าปกโครงงาน
 
สามัคคีเภทคำฉันท์
สามัคคีเภทคำฉันท์สามัคคีเภทคำฉันท์
สามัคคีเภทคำฉันท์
 
ตัวอย่างบทคัดย่อ
ตัวอย่างบทคัดย่อตัวอย่างบทคัดย่อ
ตัวอย่างบทคัดย่อ
 
ตัวอย่างแผนธุรกิจPocket tissue
ตัวอย่างแผนธุรกิจPocket tissueตัวอย่างแผนธุรกิจPocket tissue
ตัวอย่างแผนธุรกิจPocket tissue
 
รัฐเดี่ยว รัฐรวม
รัฐเดี่ยว รัฐรวมรัฐเดี่ยว รัฐรวม
รัฐเดี่ยว รัฐรวม
 
มูลค่าเงินตามเวลา
มูลค่าเงินตามเวลามูลค่าเงินตามเวลา
มูลค่าเงินตามเวลา
 
ลิลิตตะเลงพ่าย (สอน Ppt)[1]
ลิลิตตะเลงพ่าย (สอน Ppt)[1]ลิลิตตะเลงพ่าย (สอน Ppt)[1]
ลิลิตตะเลงพ่าย (สอน Ppt)[1]
 
โครงงานคณิตบทที่ 1
โครงงานคณิตบทที่ 1โครงงานคณิตบทที่ 1
โครงงานคณิตบทที่ 1
 
รายงานกฎกติกาเทเบิลเทนนิส
รายงานกฎกติกาเทเบิลเทนนิสรายงานกฎกติกาเทเบิลเทนนิส
รายงานกฎกติกาเทเบิลเทนนิส
 
ตัวอย่างแผนธุรกิจการทำร้านอาหาร(Restuarant)
ตัวอย่างแผนธุรกิจการทำร้านอาหาร(Restuarant)ตัวอย่างแผนธุรกิจการทำร้านอาหาร(Restuarant)
ตัวอย่างแผนธุรกิจการทำร้านอาหาร(Restuarant)
 
บทที่ 3 วิธีการดำเนินงาน [โครงการอ่านหนังสือให้กับผู้พิการทางสายตา]
บทที่ 3 วิธีการดำเนินงาน [โครงการอ่านหนังสือให้กับผู้พิการทางสายตา]บทที่ 3 วิธีการดำเนินงาน [โครงการอ่านหนังสือให้กับผู้พิการทางสายตา]
บทที่ 3 วิธีการดำเนินงาน [โครงการอ่านหนังสือให้กับผู้พิการทางสายตา]
 
หน้าปกคำนำสารบัญ
หน้าปกคำนำสารบัญหน้าปกคำนำสารบัญ
หน้าปกคำนำสารบัญ
 
โครงงานเรื่องสบู่สุนไพร
โครงงานเรื่องสบู่สุนไพรโครงงานเรื่องสบู่สุนไพร
โครงงานเรื่องสบู่สุนไพร
 
โครงงานการทำขนมเค้ก
โครงงานการทำขนมเค้กโครงงานการทำขนมเค้ก
โครงงานการทำขนมเค้ก
 
รายงานการประชุมครั้งที่ 2 54
รายงานการประชุมครั้งที่ 2 54รายงานการประชุมครั้งที่ 2 54
รายงานการประชุมครั้งที่ 2 54
 

Similar a รายงาน บริษัท ปตท. จำกัด (มหาชน)

แหล่งท่องเที่ยว
แหล่งท่องเที่ยวแหล่งท่องเที่ยว
แหล่งท่องเที่ยว
Tananya Jangouksom
 
ประวัติ True อีก1
ประวัติ True อีก1ประวัติ True อีก1
ประวัติ True อีก1
Tn' Nam
 
แบบฟอร์มข..[1]
แบบฟอร์มข..[1]แบบฟอร์มข..[1]
แบบฟอร์มข..[1]
kvlovelove
 
Connectivity customer relationship community society
Connectivity  customer  relationship  community societyConnectivity  customer  relationship  community society
Connectivity customer relationship community society
Sirirat Yimthanom
 
NSTDA Newsletter ฉบับที่ 13 ประจำเดือนเมษายน 2559
NSTDA Newsletter ฉบับที่ 13 ประจำเดือนเมษายน 2559NSTDA Newsletter ฉบับที่ 13 ประจำเดือนเมษายน 2559
NSTDA Newsletter ฉบับที่ 13 ประจำเดือนเมษายน 2559
National Science and Technology Development Agency (NSTDA) - Thailand
 
Dr Danai Thieanphut -BioData
Dr Danai Thieanphut -BioDataDr Danai Thieanphut -BioData
Dr Danai Thieanphut -BioData
DrDanai Thienphut
 
20 marketing trend 2011
20 marketing trend 201120 marketing trend 2011
20 marketing trend 2011
HIPO_Training
 

Similar a รายงาน บริษัท ปตท. จำกัด (มหาชน) (20)

แหล่งท่องเที่ยว
แหล่งท่องเที่ยวแหล่งท่องเที่ยว
แหล่งท่องเที่ยว
 
แหล่งท่องเที่ยว
แหล่งท่องเที่ยวแหล่งท่องเที่ยว
แหล่งท่องเที่ยว
 
Planning with PDCA
Planning with PDCAPlanning with PDCA
Planning with PDCA
 
case study Cp
case study Cpcase study Cp
case study Cp
 
รูปเล่มวิชาโครงงาน
รูปเล่มวิชาโครงงานรูปเล่มวิชาโครงงาน
รูปเล่มวิชาโครงงาน
 
ประวัติ True อีก1
ประวัติ True อีก1ประวัติ True อีก1
ประวัติ True อีก1
 
แบบฟอร์มข..[1]
แบบฟอร์มข..[1]แบบฟอร์มข..[1]
แบบฟอร์มข..[1]
 
Connectivity customer relationship community society
Connectivity  customer  relationship  community societyConnectivity  customer  relationship  community society
Connectivity customer relationship community society
 
พัฒนาตนเองสู่ประเทศไทย 4.0
พัฒนาตนเองสู่ประเทศไทย 4.0พัฒนาตนเองสู่ประเทศไทย 4.0
พัฒนาตนเองสู่ประเทศไทย 4.0
 
Singha Biz Course Entrepreneur
Singha Biz Course EntrepreneurSingha Biz Course Entrepreneur
Singha Biz Course Entrepreneur
 
NSTDA Newsletter ฉบับที่ 13 ประจำเดือนเมษายน 2559
NSTDA Newsletter ฉบับที่ 13 ประจำเดือนเมษายน 2559NSTDA Newsletter ฉบับที่ 13 ประจำเดือนเมษายน 2559
NSTDA Newsletter ฉบับที่ 13 ประจำเดือนเมษายน 2559
 
Ktc powerpint 2
Ktc powerpint 2Ktc powerpint 2
Ktc powerpint 2
 
HRM of TAT
HRM of TATHRM of TAT
HRM of TAT
 
แรงงาน 4.0
แรงงาน 4.0แรงงาน 4.0
แรงงาน 4.0
 
Dr Danai Thieanphut -BioData
Dr Danai Thieanphut -BioDataDr Danai Thieanphut -BioData
Dr Danai Thieanphut -BioData
 
การปฏิรูปการสหกรณ์สู่ศตวรรษที่สอง
การปฏิรูปการสหกรณ์สู่ศตวรรษที่สองการปฏิรูปการสหกรณ์สู่ศตวรรษที่สอง
การปฏิรูปการสหกรณ์สู่ศตวรรษที่สอง
 
20 marketing trend 2011
20 marketing trend 201120 marketing trend 2011
20 marketing trend 2011
 
Supply Chain Visibility
Supply Chain VisibilitySupply Chain Visibility
Supply Chain Visibility
 
Singha Biz Course Entrepreneur
Singha Biz Course EntrepreneurSingha Biz Course Entrepreneur
Singha Biz Course Entrepreneur
 
Singha Biz Course Entrepreneur
Singha Biz Course EntrepreneurSingha Biz Course Entrepreneur
Singha Biz Course Entrepreneur
 

รายงาน บริษัท ปตท. จำกัด (มหาชน)

  • 1. โครงสร้างธุรกิจ (Business Model) บริ ษท ปตท. จํากัด (มหาชน) ั รายวิชา : องค์การและการจัดการ(Organization and Management) อาจารย์ ผู้สอน : อาจารย์วจนะ ภูผานี สมาชิกในกลุ่ม 1.นางสาวปัทมาวรรณ สี กา 54010915071 2.นางสาวปรี ยานันท์ คําภูแก้ว 54010915061 3.นายทิวากร ศรี ทะวงษ์ 54010915194 4.นายเทพพิทกษ์ เสี ยงหวาน 54010915230 ั คณะการบัญชีและการจัดการ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม ภาคเรี ยนที 2 ปี การศึกษา 2554
  • 2. คํานํา การศึ ก ษาโครงสร้ า งธุ ร กิ จ บริ ษั ท ปตท. จํ า กัด (มหาชน) จัด ทํา ขึ นเพื อ ประกอบการเรี ยนการสอนรายวิชาองค์การและการจัดการ(Organization and Management) เพือให้นิสิต สมาชิกในกลุ่มได้ทาการศึกษาหาข้อมูลบริ ษททีสนใจนําเสนอต่อเพือนร่ วมชัน และ ํ ั เป็ นเอกสารสําหรับผูสนใจศึกษาต่อไป ้ รายงานเล่มนี มีเนื อหาเกียวกับการศึกษาโครงสร้างข้อมูลพืนฐาน บริ ษัท ปตท. จํากัด (มหาชน) การวิเคราะห์สภาพแวดล้อมต่างๆขององค์กร เพือเป็ นแนวทางในการประกอบ ธุรกิจในอนาคตต่อไป ขอขอบพระคุณ อาจารย์วจนะ ภูผานี อาจารย์ผูสอนรายวิชาองค์การและการ ้ จัดการ(Organization and Management) ทีให้นิสิตได้ทาการค้นคว้า ศึกษา ทางสมาชิกในกลุ่ม ํ หวังเป็ นอย่างยิงว่ารายงานเล่มนีคงเป็ นประโยชน์ต่อผูสนใจศึกษา หากมีขอผิดพลาดประการใด ้ ้ ขออภัยมา ณ ทีนีด้วย ผูจดทํา ้ั
  • 3. สารบัญ เรื อง หน้า Company Background (ข้อมูลพืนฐานของกิจการ) 1-2 Vision (วิสัยทัศน์) Mission (พันธกิจ) Value Proposition (คุณค่าทีนาเสนอแก่ลูกค้า) 3-7 Revenue Model (โครงสร้าง/รู ปแบบของรายได้) 8 Market Opportunity (โอกาสทางการตลาด) 8 Competitive Environment (สภาพแวดล้อมในการแข่งขัน) 9 Competitive Advantage (ความได้เปรี ยบในการแข่งขัน) 9 Market Strategy (กลยุทธ์การตลาด) 9-10 4 Ps (Marketing Mix) Organization Development (การพัฒนาองค์การ) 10 Management Team (ทีมบริ หาร/ผูบริ หาร) ้ 11 บทวิเคราะห์ 12-14 กระบวนการวางแผน (Planning) การจัดองค์การ (Organization) ทักษะและภาวะผูนาของผูบริ หารองค์การ (Leading) ้ ้ การควบคุม (Controlling) บทสรุ ป และ ข้อเสนอแนะ 14 เอกสารอ้างอิง 15
  • 4. Company Background (ข้ อมูลพืนฐานของกิจการ) สั ญลักษณ์ องค์ กร ในช่ วงแรกของการก่อตังการปิ โตรเลี ยมแห่ งประเทศไทย (ปตท.) สัญลักษณ์ ทีใช้อยู่ข ณะนันไม่เหมื อนปั จ จุบัน กล่าวคือเป็ นเพียงตัวอักษรย่อคําว่า “ปตท.” และ “PTT ” เท่านัน ต่อมา ดร.ทองฉัตร หงศ์ลดารมภ์ ผูว่าการ ปตท. ได้ ้ มอบหมายให้คณะทํางานศิลปกรรมซึงขึนกับงานประชาสัมพันธ์ ออกแบบสัญลักษณ์ใหม่ เพือให้มีคุณค่าทางศิลปะและก่อ ประโยชน์ทางการค้า คือให้มีสีสนสะดุดตาจําง่ายและสื อความหมายทีเกียวข้องกับองค์กร ั เมือ กลางปี พ.ศ. 2523 นายระยอง ยิมสะอาด พนักงาน ได้ออกแบบสัญลักษณ์ ปตท. ไว้ทงสิ น 30 -40 แบบ ดร. ั ทองฉัตร ได้คดเลือกและให้คาแนะนําเพือแก้ไขในรายละเอียดต่างๆอีก จนกระทังได้แบบสัญลักษณ์ทีดีทีสุด และในช่วงซึ ง ั ํ มีพลเอก เปรม ติณสูลานนท์เป็ นประธาน เมือ ปี 2524 ได้มีการจดทะเบียนเป็ นเครื องการค้ากับกระทรวงพาณิ ชย์ และใช้เป็ น สัญลักษณ์นนมาตลอดจนถึงปั จจุบน สัญลักษณ์ของ ปตท. ได้รับแรงบันดาลใจมาจาก การค้นพบแหล่งปิ โตรเลียม อันเป็ น ั ั ทรัพยากรทีมีค่ายิงของประเทศ ก่อให้เกิด จินตนาการเกียวเนื องถึงรู ปแบบของคบเพลิงทีมีโครงสร้างแสดงถึงความเจริ ญ รุ่ งเรื อง อันเกิดจากการผสมผสานของพลังงาน ในรู ปเปลว เพลิงของก๊าซธรรมชาติสีฟ้าสดใส ล้อมรอบหยดนํามัน สี นาเงิน ํ เข้ม รวมทังแสดงถึงอานุภาพของพลังงานด้วยสี แดงเพลิงภายใน Vision (วิสัยทัศน์ ) " เป็ นบริษัทพลังงานไทยข้ ามชาติชันนํา " Mission (พันธกิจ) ต่ อประเทศ จะดําเนินการสร้างความมันคงด้านพลังงานในระยะยาวโดยการจัดหาปริ มาณทีเพียงพอ มีคุณภาพได้มาตรฐาน และราคาเป็ นธรรม ต่ อสั ง คมชุ มชม จะเป็ นองค์ก ารที ดี ของสังคมในการดําเนิ นกิ จการ โดยปกป้ องผลกระทบต่ อ สิ งแวดล้อมภายใต้มาตรฐานสากล และมีส่วนร่ วมในการพัฒนาคุณภาพชีวตทีดีแก่สังคมชุมชน ิ
  • 5. ต่ อผู้ถือหุ้ น จะดําเนิ นธุ รกิ จเชิ งพาณิ ชย์ สามารถสร้ างกําไรเพือให้ผลตอบแทนที ดี และให้มีการ เจริ ญเติบโตต่อเนืองอย่างยังยืน ต่ อลูกค้ า จะสร้างความพึงพอใจแก่ลูกค้า โดยผ่านการนําเสนอผลิตภัณฑ์และบริ การทีมีคุณภาพสู ง ในระดับมาตรฐานสากล ด้วยราคาเป็ นธรรม ต่อคู่คา จะดําเนิ นธุ รกิจร่ วมกันโดยพืนฐานของการแข่งขันอย่างเป็ นธรรมมุ่ง สร้างความสัมพันธ์และความ ้ ร่ วมมือทีดี เพือพัฒนาศักยภาพและประสิ ทธิ ภาพในการดําเนินธุ รกิจร่ วมกันในระยะยาว ต่ อพนักงาน จะสนับสนุ นการพัฒนาความสามารถการทํางานระดับมืออาชี พอย่างต่อเนื องให้ความ มันใจในคุณภาพชีวตการทํางานของพนักงาน ทัดเทียมบริ ษทชันนํา ิ ั ค่ านิยม จรรยาบรรณ จรรยาบรรณธุ รกิ จ ของ ปตท. จึ ง เป็ นการประมวลแบบแผนกํา หนดขอบเขต มาตรฐาน ความ ่ ประพฤติและพฤติกรรมที บุคลากรทุกคนของ ปตท. ไม่วาจะเป็ คณะกรรมการ ผูบริ หาร และพนักงานทุกคน ้ ทุ กระดับ ในทุ กส่ วนงาน พึง กระทํา ในการดําเนิ น ธุ รกิ จและการปฏิ บ ติงาน โดยปฏิ บ ติง านไปในวิถี ทาง ั ั เดียวกันภายใต้กรอบจริ ยธรรม คุ ณธรรม ความซื อสัตย์ ในวิถีทางทีสร้างสรรค์ เป็ นระเบียบเรี ยบร้อย เสมอ ภาคเท่าเทียม
  • 6. Value Proposition (คุณค่ าทีนาเสนอแก่ ลูกค้ า) การประกอบธุ รกิจ ธุ รกิจก๊าซธรรมชาติ ธุ รกิจนํามัน ธุ รกิจการค้าระหว่างประเทศ ธุ รกิจปิ โตรเคมีและการกลัน ธุรกิจก๊ าซธรรมชาติ ณ ปั จจุบน ปตท. และบริ ษทในกลุ่มธุ รกิจสํารวจ ผลิต และก๊าซธรรมชาติ เป็ นผูประกอบธุ รกิจก๊าซ ั ั ้ ธรรมชาติอย่างครบวงจรเพียงรายเดียวในประเทศ โดยครอบคลุมตังแต่การสํารวจและผลิต การจัดหา การ ขนส่ ง ก๊ า ซธรรมชาติ ท างท่ อ การแยกก๊ า ซธรรมชาติ และการจัด จํา หน่ า ย โดย ปตท. เป็ นเจ้า ของและ ผูดาเนิ นการโครงข่ายระบบท่อส่ งก๊าซธรรมชาติ (Transmission Network) ทังบนบกและในทะเลและเป็ น ้ํ ผูดาเนิ นการจัดหา ขนส่ งก๊าซธรรมชาติ ทางท่อ จัดจําหน่ ายก๊าซธรรมชาติ และดําเนิ น ธุ รกิ จแยกก๊า ซ ้ ํ ธรรมชาติรายใหญ่ทีสุ ดในประเทศไทย ปตท. สร้ างความมันคงด้านพลังงานให้แก่ประเทศ ด้วยการเป็ น เจ้าของและดําเนิ นการขยายโครงข่ายระบบท่อส่ งก๊าซธรรมชาติ ทังบนบกและในทะเลและสร้างมูลค่าเพิม ให้แก่ก๊าซธรรมชาติ โดยนําไปผ่านโรงแยกก๊าซธรรมชาติ จํานวน 5 หน่วยเพือแยกวัตถุดิบและผลิตภัณฑ์ ก๊า ซธรรมชาติ สํา หรั บ ธุ รกิ จปิ โตรเคมี น อกจากนัน ยัง ได้มี การ การลงทุ นและการร่ ว มทุ น กับ บริ ษ ท ที ั เกียวข้องกับธุ รกิจ
  • 7. ธุรกิจนํามัน ดํ า เนิ น ธุ ร กิ จ หลั ก ในการจํ า หน่ ายผลิ ต ภั ณ ฑ์ นํ ามั น เชื อเพลิ ง ก๊ า ซหุ ง ต้ ม และผลิ ต ภั ณ ฑ์ นํามันหล่ อลืนครอบคลุม ดังนี การตลาดค้าปลีก (Retail Marketing) จัดจําหน่ายเชื อเพลิง ่ ั ผ่านเครื อข่ายสถานี บริ การนํามันของ ปตท. ซึ งมีอยูทวประเทศกว่า 1,180 แห่ ง (ไม่รวมสถานี บริ การนํามัน ปตท. ทีดําเนิ นงานภายใต้บริ ษท ปตท. บริ หารธุ รกิจค้าปลีก จํากัด) โดยพัฒนาสถานี บริ การภาพลักษณ์ใหม่ ั ครบวงจรในรู ปแบบ PTT Park พร้อมขยายธุ รกิจ ค้าปลีกในสถานี บริ การ อีกทังเป็ นผูนาการค้นคว้าและ ้ ํ พัฒนาพลังงานทดแทนพร้ อมจําหน่ ายเป็ นรายแรกของ ประเทศ ทัง“นํามัน แก๊สโซฮอล์” “นํามันดี เซล- ปาล์มบริ สุทธิ ” และ “นํามันไบโอดีเซล” โดยล่าสุ ด ปตท. ได้พฒนา “นํามันแก๊สโซฮอล์ E85” เพือเพิม ั ผลิ ตภัณฑ์ทางเลื อกให้แก้ผบริ โภค และเป็ นการสนับสนุ นภาคการเกษตรอีกทางหนึ ง ทังนี ปตท. ได้ทา ู้ ํ หน้าทีรักษาระดับราคานํามันมิให้ผบริ โภคได้รับความเดือดร้อนในขณะ ทีราคา นํามันในตลาดโลกสู งขึน ู้ ด้วยการชะลอการปรับขึนราคานํามันขายปลี กช้ากว่าผูคานํามันรายอืนเพือ รับภาระแทนผูบริ โภค ทําให้ ้้ ้ ปตท. ครองใจผูบริ โภคโดยมีส่วนแบ่งการตลาดในระดับสู งสุ ดเป็ นอันดับหนึ งอย่างต่อ เนื องนับตังแต่ปี ้ 2536 เป็ นต้นมา การตลาดพาณิ ชย์ (Commercial Marketing) จัดจําหน่ายผลิตภัณฑ์ทีมีความหลากหลาย แบ่งชนิ ดตาม ความต้องการของลูกค้า โดยจําหน่ายผลิตภัณฑ์นามันเชือเพลิงทุกประเภท ผลิตภัณฑ์หล่อลืน และผลิตภัณฑ์ ํ อืนๆ ให้แก่กลุ่มลูกค้าภาคอุตสาหกรรม บริ ษทสายการบิน การเดินเรื อขนส่ ง เรื อประมง หน่วยงานราชการ ั รัฐวิสาหกิจ ลูกค้าก๊าซหุ งต้ม ลูกค้ากลุ่มขนส่ งและสร้างทาง รวมถึงจัดจําหน่ายไปยัง ตลาดต่างประเทศ เพือ ร่ วมสร้างศักยภาพทางธุ รกิจแก่ลูกค้า ซึ งปั จจุบนมีจานวนกว่า 2,500 ราย โดย ปตท. ได้สร้างอุปกรณ์ในการ ั ํ เก็บสํารองเชื อเพลิงหรื ออํานวยความสะดวกอืนๆรวมทังให้ บริ การแนะนําเรื องการประหยัดพลังงาน และ ความปลอดภัยอีกด้วย ในการดําเนินงานเพือให้ธุรกิจนํามันบรรลุเป้ า หมายอย่างมีประสิ ทธิ ภาพเต็มที ปตท. ได้จดให้มีการบริ หารและปฏิ บติการคลังและ การจัดหาและจัดส่ งปิ โตรเลี ยม เพือเพิมศักยภาพให้ธุรกิ จ ั ั เข้มแข็งขึน นอกจากนันยังมี การลงทุ นและการร่ ว มทุ นในบริ ษทย่อยและบริ ษทร่ วมที เกี ยวเนื องกับการ ั ั ดําเนินธุ รกิจนํามันทังภายในและภายนอกประเทศ
  • 8. ธุรกิจการค้ าระหว่ างประเทศ ประกอบธุ รกิ จด้านการจัดหา การนําเข้า การส่ งออกและการค้าระหว่างประเทศ ครอบคลุ ม นํามันดิ บ คอนเดนเสท ผลิตภัณฑ์ปิโตรเลียม ปิ โตรเคมี รวมถึ งผลิตภัณฑ์ปิโตรเลียมพิเศษอืนๆทีเกี ยวข้อง ตลอดจนการทําการค้าระหว่างประเทศ เพือสนับสนุ นการดําเนิ นธุ รกิ จของ ปตท. และกลุ่ม ปตท. ให้มี ศักยภาพในการแข่งขันและทํากําไรจากการค้าผลิตภัณฑ์ปิโตรเลียมและ ผลิตภัณฑ์อืนๆ รวมทังเพิมมูลค่า ทางการค้าให้แก่ กลุ่มปั จจุบน การดําเนิ นธุ รกิ จการค้าระหว่างประเทศของ ปตท. เป็ นไปอย่างครบวงจร ั นอกจากนันยังได้มีการจัด บริ ษท PTT International Trading Pte. จํากัด ทีสิ งคโปร์ เพือเป็ นตัวแทนของ ั ปตท. ในการธุ รกรรมการค้าระหว่างประเทศ ตลอดจนให้บริ การประสานงานกับลูกค้าทีเป็ นคู่คา ปตท. ้ อย่างใกล้ชิด และสนับสนุนการทําธุ รกรรมของ ปตท. และ บริ ษทในเครื อ ั หน่วยธุ รกิ จการค้าระหว่างประเทศ (PTT International Trading) ประกอบธุ รกิจด้านการจัดหา การนําเข้า การส่ งออกและการค้าระหว่างประเทศ ครอบคลุมนํามันดิบ คอนเดนเสท ผลิตภัณฑ์ปิโตรเลียม ปิ โตรเคมี รวมถึงผลิตภัณฑ์ปิโตรเลียมพิเศษอืนๆทีเกียวข้อง ตลอดจนทําการค้าระหว่างประเทศ (Out-Out Trading) เพือสนับสนุ นการดําเนิ นธุ รกิจของบริ ษท ปตท. จํากัด (มหาชน) และกลุ่ม ปตท. ให้มีศกยภาพใน ั ั การแข่งขันและทํากําไรจากการค้าผลิ ตภัณฑ์ปิโตรเลี ยมและ ผลิ ตภัณฑ์อืนๆ รวมทังเพิมมูลค่าทางการค้า ให้แก่กลุ่มทังนี จากการดําเนิ นธุ รกรรมทีผ่านมา ได้ใช้กลไกของการบริ หารความเสี ยงกําไร/ขาดทุนที เกิ ด จากความผันผวนของราคาผลิตภัณฑ์ดวย โดยมีหน่วยงานบริ หารความเสี ยง ทําหน้าที วิเคราะห์และบริ หาร ้
  • 9. ความเสี ยงราคาผลิตภัณฑ์ทงในประเทศและการค้าระหว่างประเทศ ตลอดจนทําหน้าทีเป็ นศูนย์กลางข้อมูล ั ปิ โตรเลียม โดยศึกษาวิเคราะห์แนวโน้มราคา สถานการณ์ตลาดนํามันโลก ทังปั จจัยพืนฐาน ปั จจัยความรู ้สึก และปั จจัยทางเทคนิค สําหรับเป็ นข้อมูลในการทําธุ รกรรมเพือบริ หารความเสี ยงให้กบ ปตท. และกลุ่ม ปตท. ั อีกด้วย นอกจากนันยังมีหน่วยจัดหาการขนส่ งทางเรื อระหว่างประเทศ ทําหน้าทีจัดหาเรื อขนส่ ง นํามันดิบ ผลิ ตภัณฑ์ปิโตรเลี ยม บริ การให้แก่ หน่ วยงานภายในและบริ ษทในกลุ่มอีกด้วย ปั จจุบน การดําเนิ นธุ รกิ จ ั ั การค้าระหว่างประเทศ (International Oil Trading) ของ ปตท. ดําเนิ นไปอย่างครบวงจร ทังการนําเข้าและ ส่ งออกนํามันดิบ คอนเดนเสท ผลิตภัณฑ์ปิโตรเลียมรวมถึงวัตถุดิบและผลิตภัณฑ์ปิโตรเคมี ตลอดจนการทํา การค้าระหว่างประเทศ ธุรกิจปิ โตรเคมี ปตท. ลงทุนในธุ รกิจปิ โตรเคมีแบบครบวงจรผ่านบริ ษทในกลุ่ม ปตท. 8 แห่ ง โดยเริ มตังแต่การผลิตและ ั จําหน่ายผลิตภัณฑ์ปิโตรเคมีขนต้น ขันกลางและขันปลาย ทังสายโอเลฟิ นส์ และอะโรเมติกส์ จนปั จจุบน ั ั กลุ่ม ปตท. กลายเป็ นหนึ งในกลุ่มผูผลิตผลิตภัณฑ์ปิโตรเคมีรายใหญ่ของประเทศ และเป็ นอันดับต้น ๆ ใน ้ ภูมิภาคเอเชี ยและเอเชี ยตะวันออกเฉี ยงใต้ ทังนี ผลิตภัณฑ์ปิโตรเคมีขนปลายของกลุ่ม ปตท. ประกอบด้วย ั สายการผลิตภัณฑ์ทีหลากหลาย ได้แก่ กลุ่มโพลีเมอร์ และเม็ดพลาสติก กลุ่มผลิตภัณฑ์เอทิลีนออกไซด์และ ผลิตภัณฑ์เกียวเนือง กลุ่มผลิตภัณฑ์โอลีโอเคมี โดยเฉพาะ bio – based chemical กลุ่มผลิตภัณฑ์อะโรเมติกส์ และกลุ่มผลิตภัณฑ์ Specialty ต่าง ๆ นอกจากนี บริ ษ ท ในกลุ่ ม ปตท. ยัง ดํา เนิ น ธุ ร กิ จด้า นการตลาด เพื อจํา หน่ า ยเม็ด พลาสติ ก ทังในและ ั ต่างประเทศ ให้บริ การโลจิสติกส์ อย่างครบวงจร และให้บริ การระบบสาธารณู ปโภคต่าง ๆ ทีเกียวข้อง อาทิ ผลิตและจําหน่ายไฟฟ้ า นํา ไอนํา ท่าเทียบเรื อ คลังผลิตภัณฑ์ บริ การซ่ อมบํารุ งและวิศวกรรม เป็ นต้น ทังนี ปตท. มีแผนขยายการลงทุนในธุ รกิจปิ โตรเคมีทงในภูมิภาคเอเชี ยเละตะวันออกกลาง ด้วยศักยภาพทีแข่งขัน ั ั ไดในเวทีสากล โดยเฉพาะการสร้างมูลค่าเพิมให้กบทางธุ รกิจผ่านการพัฒนาผลิตภัณฑ์ประเภท Specialty และการสร้างโอกาสทางธุ รกิจบนความต้องการของตลาด (market back strategy)เป็ นสําคัญ
  • 10. ศักยภาพทางธุ รกิ จที แข็งแกร่ งด้วยพลังร่ วมของกลุ่ ม ปตท. ในธุ รกิ จปิ โตรเคมี ไม่ เพียงแต่จะ ผลักดันให้กลุ่ม ปตท. เป็ นผูนาตลาดปิ โตรเคมีรายใหญ่ของประเทศ ยังทําให้กลุ่ม ปตท. ได้รับความเชื อถือ ้ ํ จากพันธมิตรทางธุ รกิจชันนําระดับโลก อาทิ บริ ษท LyondellBasell ประเทศสหรัฐอเมริ กา บริ ษท Asahi ั ั Kasei Chemical Corporation ประเทศญีปุ่ น และ บริ ษทSime Darby Plantation ของประเทศมาเลเซี ย ั ธุรกิจการกลัน ปตท. ลงทุนในธุ รกิ จโรงกลันนํามันผ่าน 5 บริ ษทในกลุ่ม ปตท. ซึ งมีมีกาลังการกลันรวมกัน ั ํ ทังสิ น 1,040,000 บาร์ เรลต่อวัน โดย ปตท. จัดหานํามันดิบและรับซื อผลิ ตภัณฑ์นามันสําเร็ จรู ปจากบริ ษท ํ ั โรงกลันนํามันในกลุ่ม ปตท . เพือจําหน่ ายต่อให้กบลูกค้าของหน่ วยธุ รกิ จนํามัน ทังนี ปตท. จะจัดหา ั ่ นํามันดิบและรับซื อผลิตภัณฑ์นามันสําเร็ จรู ปตามสัดส่ วนการถือหุ ้นที ปตท. ถืออยูในโรงกลันนํามันนัน ๆ ํ นอกจากการประกอบธุ รกิจโรงกลันนํามันทีทันสมัยและมีศกยภาพทางด้านการผลิตสู งแล้ว โรงกลันในกลุ่ม ั ปตท. ยังได้ขยายการลงทุนสู่ ธุรกิจเกียวเนือง เพือเสริ มสร้างศักยภาพในการแข่งขันโดยลงทุนในธุ รกิจปิ โตร เคมี ธุ รกิจนํามันหล่อลืนพืนฐาน ธุ รกิจผลิตไฟฟ้ า ธุ รกิจการขนส่ งนํามันและธุ รกิจพลังงานทดแทน เช่น การ ผลิ ตเอทานอล และไบโอดี เซลจากพืชนํามัน ทังนี การลงทุนในธุ รกิ จเกียวเนื องจะช่วยเสริ มสร้ าง ความ มันคงและการเจริ ญเติบโตอย่างเป็ นปึ กแผ่นในอนาคต
  • 11. Revenue Model (โครงสร้ าง/รู ปแบบของรายได้ ) *- ปตท. จัดทําขึน โดยใช้ขอมูลจากงบการเงินงวด เดือน ( มกราคม - กันยายน ) ของการ ้ ปิ โตรเลียมแห่งประเทศไทย ประกอบกับงบการเงิน เดือน ( ตุลาคม - ธันวาคม ) ของ ปตท. ซึ ง งบการเงินทังสองงวดดังกล่าว ตรวจสอบโดย สตง. แล้ว *- เป็ นสัดส่ วนระหว่างผลิตภัณฑ์ก๊าซ กับผลิตภัณฑ์นามัน และผลิตภัณฑ์ปิโตรเคมี เท่านัน ํ *- จัดทําโดย ปตท. ซึ งรวมรายการระหว่างหน่วยธุ รกิจ *- ก่อนการแปลงสภาพ ปตท. จ่ายภาษีในรู ปของเงินนําส่ งคลัง ซึ งหักออกจากกําไรสะสม โดยไม่เป็ น ค่าใช้จ่ายในงบกําไรขาดทุน Market Opportunity (โอกาสทางการตลาด) นอกจากการประกอบธุ รกิจโรงกลันนํามันทีทันสมัยและมีศกยภาพทางด้านการผลิตสู งแล้ว โรง ั กลันในกลุ่ม ปตท. ยังได้ขยายการลงทุนสู่ ธุรกิจเกียวเนื อง เพือเสริ มสร้างศักยภาพในการแข่งขันโดยลงทุน ในธุ รกิจปิ โตรเคมี ธุ รกิ จนํามันหล่อลื นพืนฐาน ธุ รกิ จผลิ ตไฟฟ้ า ธุ รกิ จการขนส่ งนํามันและธุ รกิ จพลังงาน ทดแทน เช่ น การผลิ ตเอทานอล และไบโอดี เซลจากพืชนํามัน ทังนี การลงทุนในธุ รกิ จเกี ยวเนื องจะช่ วย เสริ มสร้าง ความมันคงและการเจริ ญเติบโตอย่างเป็ นปึ กแผ่นในอนาคต
  • 12. Competitive Environment (สภาพแวดล้ อมในการแข่ งขัน) ( ) อุปสรรคจากคู่แข่งขันทีเข้ามาใหม่ ( ) อํานาจการต่อรองของผูขายปั จจัยการผลิต ้ ( ) อํานาจการต่อรองของผูซือ ้ ( ) อุปสรรคจากผลิตภัณฑ์หรื อบริ การทีสามารถใช้ทดแทนได้ ( ) ระดับการแข่งขันระหว่างธุ รกิจเดิม Competitive Advantage (ความได้ เปรียบในการแข่ งขัน) ปตท. เป็ นองค์กรชันนําซึ งมีการกํากับดูแลกิจการทีดี มีคุณธรรม โปร่ งใสและตรวจสอบได้และ เพือให้การดําเนิ นการ ด้านการกํากับดูแลกิจการทีดีมีการพัฒนาอย่างต่อเนื อง สอดคล้องกับหลักการกํากับ ดูแลกิจการสําหรับบริ ษทจดทะเบียนของตลาดหลักทรัพย์แห่ งประเทศไทยและหลักปฏิบติสากลตลอดเวลา ั ั ปตท. จึงปรับปรุ งหลักการกํากับดูแลกิจการทีดีขึน เพือเป็ นรู ปแบบของการดําเนิ นธุ รกิจของคณะกรรมการ คณะผู ้บ ริ ห ารและพนัก งานโดยให้ ยึ ด ถื อ หลัก การกํา กับ ดู แ ลกิ จ การที ดี ในการดํา เนิ น ธุ ร กิ จ และให้ ความสํา คัญกับ การปฏิ บ ติตามกฎหมายของประเทศที เข้าไปลงทุ น ตลอดจนการปฏิ บ ติที สอดคล้องกับ ั ั ขนบธรรมเนียมประเพณี และวัฒนธรรมอันดีงามของท้องถินนันๆ Market Strategy (กลยุทธ์ การตลาด) 4 Ps (Marketing Mix) Product บริ ษท ปตท ได้มีการประกอบธุ รกิจทีเป็ นผลิตภัณฑ์หลักๆ ได้แก่ ั ธุ รกิจก๊าซธรรมชาติ ธุ รกิจนํามัน ธุ รกิจการค้าระหว่างประเทศ ธุ รกิจปิ โตรเคมีและการกลัน Place - สถานีบริ การนํามัน - โรงบรรจุก๊าชหุ งต้ม - ร้านค้าก๊าชหุ งต้ม
  • 13. Price ํ - เทียบกับ Gazprom ของรัสเซี ย มียอดขาย . ล้าน ๆ บาท มีกาไรมากถึง , ล้านบาท หรื อคิด ํ เป็ นร้อยละ . คือมียอดขายเกือบ เท่าของ ปตท. แต่มีกาไรมากกว่า ปตท. ถึง เท่า - Petronas ของมาเลเซี ย ยอดขาย ล้าน ๆ บาท กําไรถึง , ล้านบาท ขณะที ปตท. ขาย . ล้าน ๆ บาท กําไรแค่ , ล้านบาทเท่านัน ผลประกอบการแย่กว่า เท่า (ทียอดขายเท่ากัน) Promotion บริ การต่าง ๆสถานีบริ การนํามันและธุ รกิจค้าปลีกในสถานี สถานีบริ การนํามัน ปตท. JIFFY บริ การบัตรเติมนํามัน บริ การขายต่างประเทศ บริ การคลังสํารอง บริ การลูกค้าก๊าซธรรมชาติ PTT Oil e-Service/m-Service Organization Development (การพัฒนาองค์ การ) โครงการหลักในอนาคตของ ปตท. ) โครงการระบบท่อส่ งก๊าซธรรมชาติ (Transmission Pipeline) ) โครงการโรงแยกก๊าซธรรมชาติ ) โครงการก๊าซธรรมชาติเหลว (Liquefied Natural Gas หรื อ LNG)
  • 15. บทวิเคราะห์ กระบวนการวางแผน (Planning) แผนรับมือความผันผวนเศรษฐกิจโลกกลุ่ม ปตท.เร่ งทําแผนรับมือความผันผวนด้านเศรษฐกิ จ โลก และการเปลี ยนแปลงภูมิอากาศ ทําให้รับมือได้ทุกด้านกับการเปลี ยนแปลง รวมทังศึกษาแยกเอ็นจี วี ออกมาเป็ นบริ ษทเชิงสังคม ในขณะที ปตท.สผ.ยอมรับต้องทบทวนการลงทุนใหม่รับมือความผันผวน ั การจัดองค์ การ (Organization)
  • 16. ทักษะและภาวะผู้นาของผู้บริ หารองค์ การ (Leading) นายไพริ นทร์ ชูโชติถาวร ประวัติดานการศึกษา ้ - วิศวกรรมศาสตรบัณฑิต (ปี พ.ศ. ) (เกียรตินิยมอันดับ ) จุฬาฯ - มหาบัณฑิต วิศวกรรมศาสตร์ (ปี พ.ศ. ) Tokyo Inst. of Tech., Japan - ดุษฎีบณฑิต วิศวกรรมศาสตร์ (ปี พ.ศ. ั ) Tokyo Inst. of Tech., Japan ประวัติดานการทํางาน ้ พ.ศ. - กรรมการผูจดการ บริ ษท บางกอกโพลีเอททีลีน จํากัด (มหาชน) ้ั ั พ.ศ. - รองประธานกลุ่มสภาอุตสาหกรรมพลาสติก สภาอุตสาหกรรมแห่งประเทศ ไทย พ.ศ. - กรรมการผูจดการ บริ ษท พีทีที โพลีเมอร์ มาร์ เก็ตติง จํากัด และกรรมการ ้ั ั ผูจดการ บริ ษท พีทีที อาซาฮี เคมิคอล จํากัด และผูช่วยกรรมการผูจดการใหญ่ บมจ.ปตท. ้ั ั ้ ้ั พ.ศ. กรรมการผูจดการใหญ่ บมจ.ไออาร์ พีซี (IRPC) ้ั พ.ศ. ประธานคณะอนุกรรมการกํากับแนวทางหน่วยปฏิบติการกลาง ศูนย์นาโน ั เทคโนโลยีแห่งชาติ พ.ศ. ประธานกลุ่มอุตสาหกรรมโรงกลันนํามันปิ โตรเลียม สภาอุตสาหกรรมแห่ง ประเทศไทย การควบคุม (Controlling) ปตท. กําหนดให้มีนโยบายและระเบียบปฏิบติเป็ นลายลักษณ์อกษรและกําหนดการควบคุม ั ั ในส่ วนทีมีความเสี ยงทีสําคัญ เช่น ธุ รกรรมด้านการเงิน การจัดซื อ และการบริ หารทัวไป โดยมีการแบ่งแยก หน้าทีความรับผิดชอบออกจากกันอย่างชัดเจน รวมทังระบุการดําเนิ นงานในส่ วนทีมีความเสี ยงสําคัญและ กําหนดกลไกในการควบคุ มเพือป้ องกันและลดข้อผิดพลาด มี ก ารสอบทานผลการดําเนิ น งานโดยฝ่ าย บริ หาร มีการกําหนดให้ใช้ดชนีวดผลการดําเนิ นงานกับพนักงานทังองค์กร เพือให้การควบคุมกิจกรรมด้าน ั ั การบริ หารมีความเหมาะสมและเพียงพอ การควบคุมภายในด้านการเงินการบัญชี เกียวกับการเก็บเงิน รักษา เงิ น การรั บ จ่า ย เงิ นฝากธนาคาร และเงิ น ยืม ทดรอง ให้เป็ นไปตามระเบี ย บที กํา หนด มี ก ารบัน ทึ ก บัญชี
  • 17. ครบถ้วนถูกต้องและสมําเสมอ มีการจัดเก็บเอกสารทางบัญชี ทงทีเป็ นเอกสารและข้อมูลทางคอมพิวเตอร์ ไว้ ั อย่างเป็ นระบบ บทสรุ ป และ ข้ อเสนอแนะ ปตท. มุ่งมันทีจะเป็ นบริ ษททีดีของคนไทยภายใต้วิสัยทัศน์บริ ษทพลังงานไทยข้ามชาติชนนํา ที ั ั ั มีความเข้มแข็งระดับประเทศและมุ่งก้าวสู่ เวทีโลก โดยมีพนธกิจต่อผูมีส่วนได้ส่วนเสี ยทุกฝ่ าย ทังประเทศ ั ้ สังคม ชุ มชน ผูถือหุ ้น คู่คา ลู กค้าและพนักงานอย่างเท่าเที ยมกันปตท. ให้ความสําคัญกับการสร้ างความ ้ ้ มันคงทางพลังงานของประเทศควบคู่กบการดูแลสังคม ชุมชน และสิ งแวดล้อมมาตลอดระยะเวลา ั ปี ของ ํ การดําเนิ นงาน และได้กาหนดแนวทางการพัฒนาอย่างยังยืนไว้ชดเจน ด้วยการรักษาความสมดุ ลระหว่าง ั การมี ความรั บผิดชอบต่อสังคม (Corporate Social Responsibility: CSR) การกํา กับดู แลกิ จการที ดี (Corporate Governance: CG) และการมุ่งสู่ องค์กรแห่ งความเป็ นเลิศ (High Performance Organization: HPO) เพือเป็ นรากฐานการพัฒนาทีแข็งแกร่ งให้แก่องค์กรในระยะยาว
  • 18. เอกสารอ้างอิง ขอขอบคุณข้อมูลจาก เว็บไชต์ บริ ษท ปตท จํากัด (มหาชน) ั http://www.pttplc.com/TH/Default.aspx