SlideShare una empresa de Scribd logo
1 de 48
Descargar para leer sin conexión
รานงาน

                    เรือง บริษทการบินไทย
                              ั

วิชา องค์ การและการจัดการ Organization and Management0903101

                          นําเสนอ

                    อาจารย์ วจนะ ภูผานี

                         จัดทําโดย

                           BE541

       นางสาว วิจิตรา อุทยรัตน์ 54010915110
                         ั

       นางสาว สุ นิสา จันทะไทย 54010915135

       นายอิทธิพล วรรณชิโนรส 54010915156

       นางสาว สุ ภิญญา ปานนะลา 54010915224

       นางสาว ศิรินภา โครตธาดา 54010915215




           มหาวิทยาลัยมหาสารคาม ปี การศึกษา 2554



                             1
คํานํา
    รายงานเล่มนีเป็ นส่ วนหนึงของวิชาองค์การและการจัดการ0903101โดยมีจุดประสงค์เพือ
การศึกษาหาความรู ้หรื อเพือหาข้อมูลเพิมเติมจากข้อมูลของบริ ษทการบินไทย จํากัดซึงรายงานเล่มนี
                                                            ั
มีเนือหาเกียวกับ ประวัติของบริ ษทการบินไทย การพัฒนาการบิน และสภาพแวดล้อมของบริ ษท
                                ั                                               ั
ผูจดทําหวังว่ารายงานฉบับนีจะให้ความรู ้และเป็ นประโยชน์แก่ผอ่านทุกๆท่านต่อไป
  ้ั                                                       ู้




                                             2
สารบัญ
เนือหา                          หน้า

ประวัติบริ ษทฯ
            ั                   1

วิสัยทัศน์                      4

ผลการดําเนินงาน                 6

พัฒนาการบิน                     8

สภาพแวดล้อมของบริ ษท
                   ั            19

หลักบริ ษทภิบาล
         ั                      21

ข้อมูลทางการตลาด                25

ข้อมูลทางการเงิน                28

คณะกรรมการบริ ษท
               ั                36

บทสรุ ป                         42




                         3
การบินไทย
                                             ประวัตบริษทฯ
                                                   ิ ั
การบินไทย สายการบินแห่ งชาติ
บริ ษท การบินไทย จํากัด ( มหาชน ) เป็ นรัฐวิสาหกิจ ในสังกัดกระทรวงคมนาคม ดําเนิ นกิจการในด้านการบิน
      ั
พาณิ ชย์ในประเทศ และระหว่างประเทศ ในฐานะสายการบินแห่งชาติ โดยเฉพาะอย่างยิง เป็ นรัฐวิสาหกิจของชาติ
ทีดําเนินกิจการแข่งขันกับต่างประเทศ ในธุ รกิจการบินโลก และเป็ นรัฐวิสาหกิจทีสามารถทํากําไรต่อเนื อง
                                                ่
เรื อยมา ทังยังได้รับการยกย่องในด้านต่างๆ ให้อยูในระดับสายการบินชันนําของโลกเสมอมา




การบินไทยเริ มก่อตังขึนโดยการทําสัญญาร่ วมทุนระหว่าง บริ ษท เดินอากาศไทย จํากัด กับสายการบิน
                                                                ั
สแกนดิเนเวียน แอร์ ไลน์ ซิ สเต็ม หรื อใช้ชือย่อว่า เอส เอ เอส เมือวันที 24 สิ งหาคม 2502 โดยมีวตถุประสงค์เพือ
                                                                                               ั
ดําเนินธุ รกิจการบิน ระหว่าง ประเทศ และได้จดทะเบียนเป็ นบริ ษทจํากัด เมือวันที 29 มีนาคม 2503 ด้วยทุน จด
                                                                  ั
ทะเบียน 2 ล้านบาท โดยบริ ษท เดินอากาศไทย จํากัด ถือหุ นร้อยละ 70 และ เอส. เอ. เอส. ถือหุ นร้อยละ 30 ของ
                             ั                              ้                                ้
ทุนจดทะเบียน

                                                               ่ ั
ต่อมา เมือวันที 30 มีนาคม 2520 เอส. เอ. เอส. ได้โอนหุ ้นทีมีอยูทงหมดให้แก่ บริ ษท เดินอากาศไทย จํากัด และ
                                                                                ั
ถือเป็ น การยกเลิกสัญญาร่ วมทุน ก่อตังขึนในปี พุทธศักราช 2503 โดย บริ ษท เดินอากาศไทย จํากัด กับบริ ษทสาย
                                                                          ั                            ั
การบินสแกนดิเนเวียนแอร์ ไลน์ ซิ สเต็มหรื อใช้ชือย่อว่า เอส เอ เอส ได้ร่วมลงทุนกิจการด้วยทุนเพียง 2 ล้านบาท
โดยเดินอากาศไทยถือหุ นร้อยละ 70 และ เอส เอ เอส ถือหุ นร้อยละ 30 ซึ งในเวลาต่อมาได้มีการเพิมทุนอย่างเป็ น
                         ้                               ้
ขันตอนตลอดมาจนถึงปี พุทธศักราช 2520 บริ ษท เดินอากาศไทย ได้ซือหุ นทังหมดคืนจาก เอส เอ เอส ตามมติ
                                              ั                         ้
คณะรัฐมนตรี และมอบโอนหุ นทีซือมาให้กระทรวงการคลัง ดังนัน การบินไทย จึงเป็ นสายการบินของคนไทย
                               ้
อย่างแท้จริ ง และมี บริ ษท เดินอากาศไทยกับกระทรวงการคลัง เป็ นผูร่วมถือหุ น
                           ั                                       ้        ้

ต่อมาเมือวันที1 เมษายน 2531 คณะรัฐมนตรี ได้มีมติให้ดาเนินการรวมกิจการการบินภายในประเทศทีดําเนินการ
                                                     ํ
โดยบริ ษท เดินอากาศไทย จํากัด เข้ากับกิจการของบริ ษทฯ เป็ นผลให้เงินทุนจดทะเบียนของบริ ษทฯ เพิมขึนเป็ น
         ั                                         ั                                    ั

                                                      4
2,230 ล้านบาท โดยมีกระทรวงการคลังเป็ นผูถือหุ นรายใหญ่ ดังนันบริ ษทฯ จึงเป็ นสายการบินแห่งชาติที
                                           ้ ้                     ั
รับผิดชอบกิจการ การบินพาณิ ชย์ ทังเส้นทางบินระหว่างประเทศ และเส้นทางบินภายในประเทศทังหมด และเมือ
วันที 25 มิถุนายน 2534 มีการเปลียนแปลงนโยบายการดําเนินธุ รกิจทีสําคัญเกิดขึน โดยคณะรัฐมนตรี มีมติให้
ดําเนินการดังนี
1. นําบริ ษท ฯ เข้าจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย
           ั
2. เพิมทุนจดทะเบียนอีกจํานวน 3,000 ล้านบาท โดยนําหุ ้นเพิมทุนส่ วนแรกจํานวน 100 ล้านหุ น ในราคาตาม
                                                                                       ้
มูลค่าหุ นทีตราไว้หุนละ 10 บาท ออกจัดสรรก่อน
         ้          ้
3. ให้จดหุ นสามัญเพิมทุนจํานวน 5 ล้านหุ น ขายให้พนักงานเจ้าหน้าทีของบริ ษทฯ ในราคาตามมูลค่าหุ นทีตราไว้
       ั ้                              ้                                ั                    ้
หุ นละ 10 บาท
   ้
4. จัดสรรหุ นสามัญเพิมทุนส่ วนทีเหลืออีกจํานวน 95 ล้านหุ น เสนอขายประชาชนทัวไป
             ้                                           ้

ทังนี มีวตถุประสงค์หลัก เพือเป็ นการระดมทุนจากภาคเอกชน อันจะทําให้การบินไทย มีศกยภาพในการแข่งขัน
              ั                                                                        ั
ด้านการพาณิ ชย์ รวมทังเป็ นการให้ประชาชนและพนักงาน ได้มีส่วนร่ วมเป็ นเจ้าของสายการบินแห่งชาติดวย   ้
บริ ษทฯ เข้าจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทยเมือวันที 19 กรกฎาคม 2534 โดยได้ทาการแปลง
          ั                                                                                    ํ
กําไรสะสมให้เป็ นหุ นเพิมทุนทําให้บริ ษทฯ มีทุนจดทะเบียนเป็ น13,000 ล้านบาท และทําการเพิมทุน จดทะเบียน
                        ้               ั
ใหม่อีกจํานวน 3,000 ล้านบาท รวมเป็ นทุนจดทะเบียน 16,000 ล้านบาท เป็ นทุนชําระแล้ว 14,000 ล้านบาท โดย
กระทรวงการคลัง ถือหุ นร้อยละ 79.5 และธนาคารออมสิ นถือหุ นร้อยละ 13.4 ส่ วนทีเหลืออีกร้อยละ 7.1 กระจาย
                          ้                                 ้
สู่ นกลงทุนทัวไป ทังในและต่างประเทศ รวมทังพนักงานของบริ ษทฯ และในวันที20-21 พฤศจิกายน 2546 บริ ษท
        ั                                                         ั                                       ั
ฯ ได้เสนอขายหุ นสามัญแก่ประชาชนทัวไปจํานวน 442.75 ล้านหุ น ตามมติคณะรัฐมนตรี เมือวันที 14 มีนาคม
                    ้                                           ้
2543 วันที 20 สิ งหาคม 2545 และวันที 16 กันยายน 2546 โดยหุ นทีเสนอดังกล่าว เป็ นหุ นเพิมทุน 285,000,000
                                                              ้                    ้
หุ น และหุ นเดิมของกระทรวงการคลัง 157,750,000 หุ น โดยเงินทีได้จากการเสนอขายหุ นครังนี บริ ษทฯ จะ
    ้            ้                                 ้                                 ้           ั
นําไปใช้ในการลงทุนในโครงการท่าอากาศยานสุ วรรณภูมิ การปรับปรุ งผลิตภัณฑ์บนเครื องบิน และเป็ นเงินทุน
หมุนเวียนของบริ ษทฯ   ั
                                      ํ       ้      ั
ตังแต่เดือน กันยายน 2547 บริ ษทฯได้จาหน่ายหุ นให้กบพนักงานจํานวน 13,896,150 หุ น ในราคาหุ ้นละ 15 บาท
                                ั                                                ้
ภายใต้โครงการจัดสรรหลักทรัพย์ให้พนักงาน (Employee Securities Option Plan) โดยบริ ษทฯ จะยังคงจําหน่าย
                                                                                           ั
            ั
หุ นให้กบพนักงานทีถือใบสําคัญแสดงสิ ทธิ ในการซือหุ ้นภายใต้โครงการดังกล่าวจนกระทังสิ นสุ ดโครงการใน
      ้
เดือนเมษายน 2549 และเดือนกันยายน ปี 2553 บริ ษทฯ ได้มีการเพิมทุนหุ นสามัญ ซึ งได้รับความสนใจอย่างมาก
                                                 ั                   ้
จากทังผูถือหุ นเดิมของบริ ษทฯและนักลงทุนรายย่อย เนื องจากนักลงทุนมีความเชื อมันต่อการบินไทย และจากผล
                ้ ้         ั
ประกอบการทีดีขึนกว่าปี ทีผ่านมา ทําให้การบินไทยประสบความสําเร็ จในการระดมทุนครังนี เพือสนับสนุน
แผนการเสริ มความแข็งแกร่ งและความคล่องตัวทางการเงิน การขยายฝูงบิน และการเพิมขีดความสามารถในการ
แข่งขันในอุตสาหกรรมการบินพาณิ ชย์ และเพือนําการบินไทยก้าวสู่ การเป็ นสายการบินชันนํา 1 ใน 3 ของเอเชีย
และ 1 ใน 5 ของโลก โดยบริ ษทฯ ได้เสนอขายหุ ้นสามัญเพิมทุนจํานวนทังสิ น 483.87 ล้านหุ น ตามแผนระดมทุน
                              ั                                                          ้
ของการบินไทย จํานวนประมาณ 15,000 ล้านบาท และเสนอขายทีราคา 31 บาทต่อหุ น ทังนีบริ ษทฯ เสนอขายหุ น
                                                                               ้             ั          ้

                                                    5
สามัญเพิมทุนจํานวนประมาณ 246.93ล้านหุ น ให้กระทรวงการคลัง ซึ งเป็ นผูถือหุ ้นใหญ่ของบริ ษทฯ เพือรักษา
                                           ้                               ้               ั
สัดส่ วนการถือหุ นในบริ ษทฯ ในสัดส่ วนประมาณร้อยละ 51.03 ภายหลังการเสนอขายในครังนี นอกจากนัน
                 ้        ั
บริ ษทฯ ได้เสนอขายหุ นสามัญเพิมทุนจํานวนประมาณ 221.83 ล้านหุ น ให้แก่ผถือหุ ้นเดิมของบริ ษทฯ (ยกเว้น
      ั                 ้                                         ้          ู้                ั
                                    ่
กระทรวงการคลัง) ทีมีชือปรากฏอยูในสมุดทะเบียนผูถือหุ น ณ วันที 30 สิ งหาคม 2553 ซึ งได้สิทธิ ในการจองซือ
                                                     ้ ้
หุ นในอัตราส่ วน 1 หุ นสามัญเดิม ต่อ 0.2667 หุ นสามัญเพิมทุนใหม่ และบริ ษทฯ ยังเสนอขายหุ นสามัญเพิมทุน
   ้                  ้                        ้                         ั               ้
                              ้       ู้                                                     ่
จํานวนประมาณ 15.11 ล้านหุ นให้แก่ผจองซื อรายย่อยซึ งเป็ นบุคคลธรรมดาสัญชาติไทยและมีทีอยูในประเทศ
ไทย หรื อนิ ติบุคคลทีจดทะเบียนในประเทศไทย โดยบริ ษทฯ เปิ ดให้มีการจองซื อหุ นสามัญเพิมทุนในวันที 16
                                                        ั                       ้
และ 17 กันยายน 2553 และหุ นเพิมทุนได้เข้าซือขายในตลาดหลักทรัพย์เมือวันที 28 กันยายน 2553
                            ้




                                                   6
วิสัยทัศน์ ของบริษทฯ
                                                            ั
    เป็ นสายการบินทีลูกค้าเลือกเป็ นอันดับแรก ให้บริ การดีเลิศด้วยเสน่ห์ไทย

                                           ภารกิจของบริษทฯ
                                                        ั
•
         ให้บริ การขนส่ งทางอากาศอย่างครบวงจร ทังภายในประเทศและระหว่างประเทศ โดยใส่ ใจในเรื องความ
    ปลอดภัย ความสะดวกสบาย และ การบริ การทีมีคุณภาพ เพือสร้างความเชื อมันและความพึงพอใจต่อลูกค้า
•
         มีการบริ หารธุ รกิจอย่างมีประสิ ทธิ ภาพ และโปร่ งใสด้วยความซื อสัตย์สุจริ ตตามแนวทางปฏิบติทีเป็ น
                                                                                                 ั
    สากล และมีผลประกอบการทีน่าพอใจ เพือสร้างประโยชน์สูงสุ ดให้แก่ผถือหุ น ู้ ้
•
         สร้างสิ งแวดล้อมในการทํางานและให้ผลตอบแทนทีเหมาะสม เพือจูงใจให้พนักงานเรี ยนรู ้และทํางาน
    อย่างเต็มศักยภาพ และภูมิใจทีเป็ นส่ วนร่ วมในความสําเร็ จของบริ ษทฯ
                                                                     ั
•
         มีความรับผิดชอบต่อสังคม ในฐานะเป็ นสายการบินแห่งชาติ




                                                      7
นโยบายของบริษทฯ
                                                    ั
ดําเนินงานในฐานะทีเป็ นสายการบินแห่งชาติ เป็ นตัวแทนของประเทศไทย ในการดํารงรักษาและเพิมพูนสิ ทธิ
ด้านการบิน ร่ วมส่ งเสริ มและพัฒนาอุตสาหกรรมการท่องเทียว แสวงหาและเพิมพูนรายได้ ทังในรู ปเงินบาท และ
เงินตราต่างประเทศ นอกจากนัน ยังดําเนิ นการส่ งเสริ มพัฒนาทรัพยากรบุคคลของบริ ษทฯ ให้มีทกษะ และ
                                                                              ั        ั
วิชาชีพทีเป็ นมาตรฐานสากล รวมถึงส่ งเสริ มพัฒนาเทคโนโลยีทุกสาขาทีเกียวข้อง ในการบินพาณิ ชย์ของโลก
ทังนี บริ ษทฯ ยังมุ่งเผยแพร่ วฒนธรรม ขนบธรรมเนียมประเพณี และเอกลักษณ์ของประเทศไทย สู่ สายตาชาวโลก
           ั                  ั
อย่างต่อเนื อง

นโยบายด้ านสิ งแวดล้ อมของบริษทฯ
                              ั
บริ ษท การบินไทย จํากัด (มหาชน) ในฐานะเป็ นสายการบินแห่งชาติและเป็ นสายการบินชันนําตระหนักในความ
      ั
รับผิดชอบต่อประเทศและสังคมโลกในการรักษาสิ งแวดล้อม บริ ษทฯ จึงมีความมุ่งมันในการดําเนินธุ รกิจการบิน
                                                            ั
ทีเป็ นมิตรกับสิ งแวดล้อม โดยมีนโยบายในการบริ หารจัดการด้านสิ งแวดล้อมดังนี

1. บริ ษทฯ จะพัฒนาระบบการจัดการสิ งแวดล้อมตามมาตรฐานสากลเพือทําให้มนใจว่า กิจกรรมและการ
        ั                                                           ั
ดําเนินงานของบริ ษทฯ จะเป็ นไปตามมาตรฐานและกฎหมายด้านสิ งแวดล้อมทีเกียวข้อง
                  ั

2. พัฒนาและปรับปรุ งระบบการจัดการสิ งแวดล้อม ในทุกกิจกรรมของบริ ษทฯ เพือลดมลภาวะและผลกระทบต่อ
                                                                      ั
สิ งแวดล้อมอย่างต่อเนือง โดยมีวตถุประสงค์ เป้ าหมาย แผนงานปฏิบติ และการประเมินผล อย่างชัดเจน
                                ั                                 ั
3. การดําเนิ นงานของบริ ษทฯ จะคํานึงถึงผลกระทบต่อสิ งแวดล้อมในประเด็นทีสําคัญต่างๆ ทังในด้านมลภาวะ
                         ั
จากเครื องบิน มลภาวะทางเสี ยง การใช้นามันเชื อเพลิง การปรับปรุ งคุณภาพนําทิง การใช้สารเคมี การอนุรักษ์
                                       ํ
พลังงานไฟฟ้ า การจัดการขยะประเภทต่างๆ การนําสิ งของมาใช้ซาหรื อการนํากลับมาใช้ใหม่เพือเป็ นการอนุรักษ์
                                                             ํ
ทรัพยากรธรรมชาติ
4. รณรงค์สร้างจิตสํานึก และฝึ กอบรมพนักงานในด้านสิ งแวดล้อมอย่างต่อเนื อง เพือให้ระบบการจัดการ
สิ งแวดล้อมดําเนินไปอย่างมีประสิ ทธิ ภาพ
5. ให้การสนับสนุนการอนุ รักษ์สิงแวดล้อมแก่สังคมและองค์กรต่างๆ รวมทังดําเนินการเผยแพร่ ขอมูลข่าวสาร
                                                                                           ้
ด้านสิ งแวดล้อม เพือสร้างภาพลักษณ์และความเข้าใจอันดีต่อการจัดการสิ งแวดล้อมของบริ ษทฯ ั




                                                  8
ผลการดําเนินงาน
                                     ํ
ผลการดําเนิ นงานของการบินไทยมีกาไรต่อเนืองมาตังแต่ปีงบประมาณ2507/2508 จนถึงปั จจุบน แม้วาธุ รกิจการ
                                                                                              ั        ่
บินเป็ นธุ รกิจทีต้องมีการลงทุนและค่าใช้จ่ายทีสู งมาก แต่การบินไทย ก็คงสถานะเป็ นสายการบิน ทีทํากําไรและ
ผ่านวิกฤติการณ์ ทีกระทบกระเทือนธุ รกิจการบินโลกมาด้วยดี และส่ งรายได้สู่ รัฐ ทังในรู ปของเงินปั นผลภาษีและ
อืนๆ นอกจากผลการดําเนินการด้านกําไร การบินไทยยังได้ชือว่าเป็ นผูร่วมบุกเบิกจุดบินใหม่ๆ จนได้เป็ นทีรู ้จก
                                                                        ้                                     ั
กันทัวโลก เช่น กาฐมาณฑุ เดนปาซาร์ และโกตากีนาบาลู ริ เริ มการบินเส้นทางตรงสู่ ยโรป รวมทังเปิ ดเส้นทางบิน
                                                                                     ุ
ใหม่ๆ ในภูมิภาคนีเพือใช้กรุ งเทพฯ เป็ นศูนย์กลางการบิน และได้ร่วมกําหนดแผนพัฒนาเศรษฐกิจ และสังคม
แห่งชาติในด้าน กิจการบิน ดําเนินการพัฒนาการบินภายในประเทศ รวมถึงดําเนินการศูนย์ซ่อมเครื องบิน ลําตัว
กว้างจนได้รับความไว้วางใจจากทัวโลก
ปี 2552 บริ ษทฯ มีรายได้รวมทังสิ น 163,875 ล้านบาท ลดลงจากปี ก่อน 38,731 ล้านบาท หรื อร้อยละ 19.1 สาเหตุ
              ั
สําคัญ เนื องจากการแข่งขันด้านราคาทีรุ นแรง ปริ มาณการ ขนส่ งทีลดลง ประกอบกับอัตราค่าธรรมเนียมชดเชย
ค่านํามันลดลงตามราคาเฉลียนํามันทีลดลง ส่ วน ค่าใช้จ่ายรวมมีจานวนทังสิ น 155,768 ล้านบาท ลดลงจากปี ก่อน
                                                                  ํ
ร้อยละ 31.1 สาเหตุสาคัญเนื องจากราคานํามันโดยเฉลียตํากว่าปี ก่อน ปริ มาณการผลิตและการขนส่ งลดลง ผลจาก
                       ํ
การลดค่าใช้จ่ายดําเนิ นงานตามแผนฟื นฟูธุรกิจ และการควบคุมและบริ หารจัดการค่าใช้จ่ายทีดําเนินการอย่างต่อ
                                   ํ
เนืองมาจากปี ก่อน ประกอบกับมีกาไรจากอัตราแลกเปลียนเงินตราต่างประเทศ ในขณะทีปี ก่อนขาดทุนจากอัตรา
                                                          ั     ํ
แลกเปลียนเงินตราต่างประเทศ เป็ นผลให้ในปี 2552 บริ ษทฯ มีกาไรสุ ทธิ 7,344 ล้านบาท คิดเป็ นกําไรต่อหุ น     ้
4.32 บาท เปรี ยบเทียบกับปี ก่อน ซึ งขาดทุนสุ ทธิ 21,379 ล้านบาท คิดเป็ นขาดทุนต่อหุ ้น 12.58 บาท โดยมี
EBITDA เท่ากับ 30,297 ล้านบาท สู งกว่าปี ก่อน 16,678 ล้านบาท
ปี 2553 เดือนมกราคมถึงสิ นเดือนธันวาคม บริ ษทฯ ได้ดาเนินงานตามแผนยุทธศาสตร์ จนสามารถประสบ
                                                  ั         ํ
                                                     ั
ความสําเร็ จในการสร้างพืนฐานธุ รกิจทีแข็งแกร่ งให้กบองค์กร (Build Solid Foundation) ถึงแม้จะได้รับ
ผลกระทบจากเหตุการณ์ภูเขาไฟระเบิดในประเทศไอซ์แลนด์ ทําให้น่านฟ้ ายุโรปต้องปิ ดลงระยะหนึงในเดือน
เมษายน 2553 และเหตุการณ์ชุมนุมทางการเมืองภายในประเทศ ในช่วงเดือนเมษายน - พฤษภาคม 2553 แต่
อย่างไรก็ตามในไตรมาส 3 เหตุการณ์เริ มคลีคลายประกอบกับบริ ษทฯ ได้ดาเนินกลยุทธ์ธุรกิจอย่างเข้มข้น และมี
                                                                    ั       ํ
การปรับแผนการทํางานให้เหมาะสมทันกับสถานการณ์ทีเปลียนแปลงอย่างต่อเนื อง ส่ งผลให้การดําเนินงานของ
      ั                  ํ
บริ ษทฯ ในปี 2553 มีกาไรเพิมขึนจากปี 2552 ทังนี ในปี 2553 บริ ษทฯ มีรายได้รวมทังสิ น 184,270 ล้านบาท
                                                                      ั
เพิมขึนจากปี 2552 จํานวน 20,395 ล้านบาท หรื อร้อยละ 12.4 โดยมีรายได้จากการขายหรื อการให้บริ การเพิมขึน
18,985 ล้านบาท หรื อร้อยละ 11.7 ค่าใช้จ่ายไม่รวมกําไรจากอัตราแลกเปลียนแต่รวมส่ วนแบ่งกําไรจากเงินลงทุน
ตามวิธีส่วนได้เสี ยและต้นทุนทางการเงิน มีจานวนทังสิ น 175,853 ล้านบาท สู งกว่าปี ก่อน 16,918 ล้านบาท หรื อ
                                            ํ
ร้อยละ 10.6 เป็ นผลมาจากราคานํามันเครื องบินโดยเฉลีย สู งขึนร้อยละ 26.4 การเพิมปริ มาณการผลิตและการ
ขนส่ ง ประกอบกับค่าใช้จ่ายบุคลากรสู งขึน ซึ งส่ วนหนึงเป็ นผลมาจากบริ ษทฯ ได้ดาเนินยุทธศาสตร์ การบริ หาร
                                                                          ั       ํ
กําลังคน โดยการจัดให้มีโครงการ Golden Handshake และโครงการร่ วมใจจากองค์กร (Mutual Separate Plan)
เป็ นจํานวนเงิน 2,263 ล้านบาท ซึ งในระยะยาวจะส่ งผลให้ตนทุนบุคลากรโดยรวมลดลง และมีค่าใช้จ่ายเงิน
                                                              ้
รางวัลประจําปี 2553 (โบนัส) จํานวน 3 เดือน ซึ งค่าใช้จ่ายบุคลากรส่ วนนีเป็ นค่าใช้จ่ายทีไม่ใช่ค่าใช้จ่ายประจํา
                                                      9
ํ
นอกจากนัน ในปี 2553 บริ ษทฯ มีกาไรจากอัตราแลกเปลียนเงินตราต่างประเทศ 9,106 ล้านบาท เพิมขึน 5,939
                          ั
                                     ํ
ล้านบาท หรื อร้อยละ 187.5 บริ ษทฯ มีกาไรก่อนภาษีเงินได้ 17,523 ล้านบาท เพิมขึน 9,416 ล้านบาท หรื อร้อยละ
                               ั
116.1

จรรยาบรรณของบริษทฯ
                ั
ดําเนินงานหรื อประกอบธุ รกิจบนพืนฐานของความเป็ นธรรมและจริ ยธรรม ตลอดจนปกป้ องรักษาผลประโยชน์
อันชอบธรรมของบริ ษทฯ และตระหนักในคุณค่าของพนักงาน โดยยึดหลักว่าพนักงานทุกคนเป็ นทรัพยากรที
                       ั
สําคัญและเป็ นตัวแทนของบริ ษทฯ พนักงานทุกคนจึงมีส่วนร่ วม และสนับสนุนความสําเร็ จของบริ ษทฯ
                                 ั                                                                ั
เพือบรรลุจุดประสงค์ดงกล่าว บริ ษทฯ ได้กาหนดขัอพึงปฏิบติต่าง ๆ เพือเป็ นหลักในการปฏิบติงานของพนักงาน
                         ั          ั        ํ              ั                                ั
ทุกระดับ รวมทังกําหนดจริ ยธรรมในการดําเนิ นธุ รกิจโดยทัวไป ดังนี
1. ปฏิบติต่อลูกค้าและผูเ้ กียวข้องทางธุ รกิจด้วยความเป็ นธรรม ซื อสัตย์ สุ จริ ตและรักษาผลประโยชน์ของลูกค้าทุก
         ั
คน
2. ไม่ฝักใฝ่ ทางการเมือง โดยวางตัวเป็ นกลางเพือสร้างประโยชน์ให้สังคมและประเทศชาติ
3. ดําเนินธุ รกิจบนพืนฐานของการแข่งขันทีเป็ นธรรม
4. สนับสนุนการใช้ทรัพยากรภายในประเทศอย่างมีประสิ ทธิ ภาพ โดยคํานึงถึงการอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติ
และสิ งแวดล้อม




                                                     10
พัฒนาการการบินไทย
พัฒนาการการบินไทย ปี พ.ศ. 2552 - ปัจจุบัน
             การบินไทยเปิ ดจุดบินใหม่ เส้นทางกรุ งเทพฯ – ออสโล ประเทศนอร์ เวย์ ถือเป็ นจุดบินต่างประเทศจุด
ที ใน ประเทศทีการบินไทยทําการบิน เพือตอบสนองความต้องการของผูโดยสารในการเดินทางไปยัง
                                                                             ้
จุดหมายต่างๆ ได้ครอบคลุมทัวโลก ปี          เป็ นอีกหนึงปี ทีการบินไทยได้รับรางวัลจากสถาบันชันนําต่างๆ ทัว
โลก อาทิ รางวัลอันดับ ประเภทสายการบินยอดเยียมของเอเชีย (Best Asian Carrier) จากการประกาศรางวัล
โกลด์ อวอร์ ดส และรางวัลอันดับ ประเภทสายการบินระหว่างทวีปยอดเยียม (Best Intercontinental
Airlines) จากงาน Grand Travel Award Ceremony รางวัล แพลทตินมแบรนด์ ประเภทสายการบินทีน่าเชือถือมาก
                                                                   ั
ทีสุ ดจากผูบริ โภค ประจําปี
           ้                     (Reader’s Digest, Trusted Brands Platinum Award 2009) จาก
นิตยสาร Reader’s Digest นับเป็ นปี ที ติดต่อกัน ทีการบินไทยได้รับรางวัลนี นอกจากนี การบินไทยได้รับการ
จัดอันดับให้เป็ นสายการบินยอดเยียมอันดับหนึงด้านการให้บริ การลูกค้าภาคพืนแก่ผโดยสารชันหนึงและชัน
                                                                                  ู้
ธุ รกิจจากสกายแทรกซ์ (Skytrax) อีกด้วย
ในส่ วนงานด้านระบบเทคโนโลยีสารสนเทศ การบินไทยโดยพนักงานการบินไทย ได้ออกแบบและพัฒนา
ซอฟท์แวร์ Cabin Attendant Pre-Flight Study and Briefing System และได้รับรางวัลชนะเลิศ ผลิตภัณฑ์
ซอฟท์แวร์ ดีเด่นแห่งชาติ ประจําปี   (Thailand ICT AWARDS 2009) สาขาการท่องเทียวและการโรงแรม
จัดโดยกระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื อสาร
และจากนโยบายหลักด้านสิ งแวดล้อมของการบินไทย เพือลดมลพิษและผลกระทบต่างๆ อันเกิดจากการ
ดําเนินงานและการปฏิบติการบินให้นอยทีสุ ด การบินไทยจึงเป็ นสายการบินแรกในเอเชียแปซิ ฟิค ทีลงนามใน
                         ั          ้
บันทึกข้อตกลงกับสมาคมขนส่ งทางอากาศระหว่างประเทศ หรื อ IATA เพือศึกษาแนวทางการมีส่วนร่ วมชดเชย
การปลดปล่อยก๊าซคาร์ บอนไดออกไซด์ หรื อ Carbon Offset ของผูโดยสารทีเดินทางด้วยสายการบินไทย และ
                                                              ้
เป็ นตัวอย่างทีดีในการเป็ นสายการบินชันนําของโลก ทีเปิ ดโอกาสให้ผโดยสารมีส่วนร่ วมในการชดเชยก๊าซ
                                                                 ู้
คาร์ บอนไดออกไซด์ทีได้ปล่อยสู่ สภาวะแวดล้อมของโลก ควบคู่ไปกับการบริ หารจัดการการใช้นามันอากาศยาน
                                                                                        ํ
อย่างมีประสิ ทธิ ภาพ เพือลดการปลดปล่อยก๊าซคาร์ บอนไดออกไซด์สู่ สภาวะแวดล้อม
               ในปี 2553 นับเป็ นปี แห่งการเฉลิมฉลองความสําเร็ จในโอกาสครบรอบ 50 ปี ของการดําเนินธุ รกิจ
การบิน บริ ษทฯ ในฐานะสายการบินแห่งชาติ ได้มีส่วนในการเผยแพร่ เอกลักษณ์ความเป็ นไทย และนําชือเสี ยง
             ั
เกียรติภูมิมาสู่ ประเทศไทยในสายตาของประชาคมโลกมาอย่างยาวนาน บริ ษทฯ ได้รับยกย่องจากสถาบันสําคัญ
                                                                        ั
ชันนําในประเทศและต่างประเทศ รวมทังได้รับการยอมรับจากผูใช้บริ การเสมอมา และทีสําคัญ คือ ในปี 2553
                                                                ้
บริ ษทฯ ประสบความสําเร็ จในการดําเนินธุ รกิจตามแผนยุทธศาสตร์ 5 ปี "Mission TG100" และแผนกลยุทธ์ใน
      ั
ทุกๆ ด้าน จนมีผลประกอบการเป็ นทีน่าพอใจเป็ นอย่างยิง และด้วยสภาวะแวดล้อมทางธุ รกิจการบินทีมีปัจจัย
เสี ยงในหลายด้าน บริ ษทฯ จึงมุ่งมันทีจะพัฒนาคุณลักษณะ 3 ประการ คือ เพือเป็ นองค์กรทีมุ่งเน้นลูกค้า เพือเป็ น
                        ั
องค์กรทีสามารถแข่งขัน และเพือเป็ นองค์กรทีมีความคล่องตัวสู ง ทังนี เพือสร้างโอกาสการขยายทางธุ รกิจ เพิม
                                                    11
ความสามารถในการแข่งขันและรองรับการเปิ ดเสรี การบินของภูมิภาค สําหรับด้านการเสริ มสร้างความพึงพอใจ
และตอบสนองความต้องการของลูกค้า บริ ษทฯ ได้มีการปรับปรุ งการให้บริ การในทุกจุดสัมผัสอย่างเป็ นรู ปธรรม
                                           ั
และชัดเจน เพือตอบสนองไลฟ์ สไตล์ใหม่ๆ ของคนยุคปั จจุบน ตลอดจนเพิมความสะดวกสบายในการให้บริ การ
                                                           ั
ลูกค้า ผูโดยสารและผูทีเกียวข้องกับการเดินทาง ส่ งผลให้บริ ษทฯ ได้รับการจัดอันดับจากสกายแทร็ กซ์ ให้เป็ น
         ้            ้                                      ั
สายการบินอันดับ 1 ในด้านการบริ การลูกค้าภาคพืน ณ ท่าอากาศยานสุ วรรณภูมิ และอันดับ 1 ในด้านการบริ การ
ภายในห้องรับรองพิเศษสําหรับผูโดยสารชันหนึง
                                ้
 ด้านเส้นทางบิน บริ ษทฯ ได้มีการปรับเปลียนเส้นทางบินให้สอดคล้องกับความต้องการของลูกค้ามากยิงขึน โดย
                        ั
ได้เพิมเส้นทางการบินใหม่ ได้แก่ ฮาเนดะ ประเทศญีปุ่ น และโจฮันเนสเบิร์ก ประเทศสาธารณรัฐแอฟริ กาใต้
รวมทังร่ วมมือกับสายการบินนกแอร์ ในบางจุดบิน ด้านการพัฒนาฝูงบินทีมีประสิ ทธิ ภาพ บริ ษทฯ ได้ดาเนินการ
                                                                                         ั       ํ
จัดหาเครื องบินเพิมเติม รวมทังปรับปรุ งห้องโดยสารและผลิตภัณฑ์บนเครื องบิน ตลอดจนมีการจัดทําแผนพัฒนา
ฝูงบินในระยะยาว เพือจัดหาเครื องบินทีมีความทันสมัยและมีเทคโนโลยีในด้านประหยัดเชือเพลิง โดยบริ ษทฯ มีั
เป้ าหมายในการลดอายุเฉลียของฝูงบินจาก 11.9 ปี โดยเฉลียในปี 2553 เป็ น 8.5 ปี โดยเฉลียในปี 2560 ด้าน
ค่าใช้จ่าย บริ ษทฯ มีมาตรการควบคุมรายจ่ายทีไม่มีผลกระทบต่อด้านการบริ การและความปลอดภัย อาทิ การจัด
                ั
โครงการร่ วมใจจากองค์กร การปรับปรุ งวิธีการจัดซือจัดจ้าง การเพิมประสิ ทธิ ภาพและประสิ ทธิ ผลด้านการ
บริ หารจัดการด้านการใช้นามันเชือเพลิง ตลอดจนมีนโยบายให้ความสําคัญต่อการลดผลกระทบต่อ
                            ํ
สภาพแวดล้อม โดยบริ ษทฯ เป็ นสายการบินแรกในภูมิภาคเอเชียทีมีการลงนามในความร่ วมมือกับสมาคมขนส่ ง
                          ั
ทางอากาศระหว่างประเทศ (IATA) เพือจัดทําโครงการชดเชยการปล่อยก๊าซคาร์ บอนไดออกไซด์ และการจัดทํา
ฉลากคาร์ บอนฟุตพริ นท์จาก 2 เมนูอาหารทีบริ การบนเครื องบินทีแสดงปริ มาณก๊าซเรื อนกระจกทีถูกปลดปล่อย
ออกมา ตลอดทังวงจรชีวิตของอาหารนัน เพือเป็ นทางเลือกให้ผโดยสารได้มีส่วนร่ วมในการช่วยลดภาวะโลก
                                                               ู้
ร้อน
 ด้านการเพิมความคล่องตัวในการบริ หารงาน บริ ษทฯ มีการกระจายอํานาจและความรับผิดชอบในการ
                                                  ั
                  ั ้
บริ หารงานให้กบผูบริ หารระดับสู ง โดยใช้ระบบประเมินผลการปฏิบติงาน (KPI) เข้ามาใช้อย่างเป็ นรู ปธรรม มี
                                                                  ั
การปรับใช้มาตรการกํากับดูแลกิจการทีดี โดยการนําแนวนโยบาย Whistle Blower มาใช้ รวมถึงการพัฒนาให้
หน่วยธุ รกิจเป็ นหน่วยงานทีสร้างกําไรให้แก่บริ ษทฯ โดยมีการปรับปรุ งบัญชีของหน่วยธุ รกิจออกจากหน่วย
                                                ั
ธุ รกิจหลัก ตลอดจนการเพิมอํานาจในการตัดสิ นใจให้แก่หน่วยธุ รกิจ

พัฒนาการการบินไทย ปี พ.ศ. 2542 - 2551
2542 การบินไทยร่ วมกับปวงชนชาวไทยเฉลิมฉลอง เนื องในโอกาสปี มหามงคลเฉลิมพระชนมพรรษาครบ 6
                                ่ ั
รอบ ของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยูหว โดยประดับตราสัญลักษณ์ ของวโรกาสนี บนเครื องบินทุกลํา และลงลาย
ภาพเรื อพระทีนัง สุ พรรณหงส์ บนเครื องบินโบอิง 747-400 ทังนีเพือเป็ นการแสดงให้ทวโลก ได้ประจักษ์ถึงความ
                                                                                ั
ภาคภูมิใจ และความจงรักภักดีของคนไทย ทีมีต่อพระมหากษัตริ ยไทย ์



                                                  12
2543 การบินไทยครบรอบ 40 ปี ในการดําเนินกิจการ และประสบความสําเร็ จอย่างงดงาม การบิน
ไทยจะก้าวต่อไปสู่ สหัสวรรษใหม่ อย่างมันคงด้วยประสบการณ์ และจะทําการบุกเบิกพัฒนาสร้างสรรค์บริ การ
และเส้นทางบินใหม่ๆ ให้ครอบคลุมมากขึน ทังภายในประเทศ และต่างประเทศ รวมทังให้บริ การทีสะดวกสบาย
ด้วยเครื องบินทีทันสมัย มีมาตรฐานสู งสุ ดในด้านความปลอดภัย ทังนี เพือให้การบินไทยเป็ นสายการบินแห่งชาติ
ทีให้บริ การเป็ นทีประทับใจ และเป็ นทีนิยมชืนชอบของผูใช้บริ การตลอดไป
                                                     ้
             2544 การบินไทยเริ มดําเนินโครงการระบบจัดการลูกค้าสัมพันธ์ the Customer Relationship
                                                                                 ั
Management (CRM) เพือให้สามารถตอบสนองความต้องการและสานความสัมพันธ์ทีดีกบลูกค้าได้ตาม
คาดหมาย การบินไทยยังได้ขยายความร่ วมมือด้านการบินทังภายในประเทศและภูมิภาค ผ่านพันธมิตรการบินทัว
โลก2545 การบินไทยเปิ ดจุดบินใหม่ 4 เส้นทาง ประกอบด้วย มุมไบ เฉิ งตู พูซาน และคูเวต และปี นี การบินไทย
      ํ
ยังมีกาไรติดต่อกันเป็ นปี ที 38 และเป็ นปี ทีผลกําไรสู งทีสุ ด
               2546 การบินไทยแนะนําบริ การใหม่รอยัล อี เซอร์ วส นวัตกรรมทีช่วยอํานวยความสะดวกสบาย
                                                              ิ
รวดเร็ วแก่ผโดยสารอย่างครบวงจรในการเลือกเทียวบิน สํารองทีนัง ออกบัตรโดยสาร เช็คอิน และบริ การอืนๆ
            ู้
ด้วยตนเองผ่านระบบอิเล็กทรอนิกส์ การบินไทยเริ มใช้ระบบการประมูลผ่านทางอิเล็กทรอนิกส์ ในการจัดซือจัด
จ้างเพือลดค่าใช้จ่าย สร้าวความโปร่ งใส ถูกต้องและมีธรรมาภิบาล




             2547 การบินไทยเริ มดําเนินกลยุทธ์ การพัฒนาเอกลักษณ์และบริ การสู่ ความเป็ นหนึง โดยการลง
นามกับบริ ษทอินเตอร์ แบรนด์ เพือปรับปรุ งเอกลักษณ์ของบริ ษทฯ พร้อมกันนี ยังได้แนะนําบริ การใหม่
           ั                                                 ั
Premium Customer Service เพือเพิมความประทับใจสู งสุ ดแก่ผโดยสารชันหนึงและชันธุ รกิจ การบินไทยร่ วมทุน
                                                          ู้
เปิ ดสายการบินต้นทุนตําในนาม “นกแอร์ ” โดยถือหุ ้นร้อยละ 39
                   2548 การบินไทยเฉลิมฉลองครบรอบ 45 ปี ด้วยการเปิ ดตัวสัญลักษณ์รูปแบบใหม่ของบริ ษทฯ ที
                                                                                                 ั
สะท้อนเอกลักษณ์ความเป็ นไทยโดยพัฒนาจากตราสัญลักษณ์เดิม ตามแนวความคิดใหม่ของบริ ษทฯ ได้แก่ High
                                                                                        ั
Trust, World Class and Thai Touch พร้อมกันนียังได้ปรับเปลียนเครื องแบบใหม่ของบริ ษท ประกอบด้วย ชุด
                                                                                   ั
พนักงานต้อนรับภาคพืน ชุดพนักงานต้อนรับบนเครื องบินและชุดพนักงานประชาสัมพันธ์ นอกจากนี ยังได้ลง
นามในสัญญาทํารหัสร่ วมกับสายการบินนิวซี แลนด์ และ แอร์ มาดากัสการ์ และในปี เดียวกันนี การบินไทย ยัง
เปิ ดเส้นทางบินตรงจาก กรุ งเทพฯ สู่ มหานครนิ วยอร์ ก และนครลอสแองเจอริ ส ประเทศสหรัฐอเมริ กา และ
กรุ งเทพฯ สู่ กรุ งมอสโก ประเทศรัสเซี ย
                                                  13
่ ั
                  2549 เพือร่ วมฉลองในวโรกาสทีพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยูหวทรงครองสิ ริราชสมบัติครบ 60 ปี
การบินไทยเปิ ดตัวโครงการ THAI Grand Season Campaign 2006 ส่ งเสริ มให้นกท่องเทียวร่ วมเฉลิมฉลอง
                                                                            ั
วโรกาสอันเป็ นมงคลนี นอกจากนี การบินไทยได้จดโปรโมชัน “THAI Value Card” บัตรโดยสารราคาพิเศษเพือ
                                                 ั
เป็ นการส่ งเสริ มให้ประเทศไทยเป็ นแหล่งท่องเทียวตลอดทังปี และในเดือนกันยายน 2549 การบินไทยประสบ
ความสําเร็ จในการย้ายฐานจากท่าอากาศยานกรุ งเทพไปยังท่าอากาศยานสุ วรรณภูมิ นอกจากนี ยังได้เปิ ด
ให้บริ การเส้นทาง กรุ งเทพฯ-โจฮันเนสเบิร์ก นับเป็ นจุดบินแรกที การบินไทยเปิ ดให้บริ การไปยังทวีปแอฟริ กา
                     2550 เป็ นปี ทีบริ ษทฯ เริ มให้บริ การทีท่าอากาศยานสุ วรรณภูมิอย่างสมบูรณ์ โดย ห้องพัก
                                         ั
รับรองพิเศษชันเฟิ ร์ สต์คลาสของการบินไทยทีท่าอากาศยานสุ วรรณภูมิ ได้รับการโหวตให้เป็ นห้องพักรับรอง "ที
ดีทีสุ ดในโลก" จากผลการสํารวจของ Skytrax World Airline Survey รวมทังยังได้ตอบสนองนโยบายรัฐบาล ใน
การเปิ ดให้บริ การเทียวบินภายในประเทศ ณ ท่าอากาศยานดอนเมือง ซึ งต่อมาการบินไทย ได้เปิ ดให้บริ การ Thai
City Air Terminal เพือเพิมจุดบริ การเช็คอิน ให้แก่ผโดยสารในเทียวบินภายในประเทศ ณ สถานีรถไฟฟ้ าใต้ดิน
                                                     ู้
ลาดพร้าว โดยให้บริ การรับ-ส่ งผูโดยสารระหว่างท่าอากาศยานดอนเมือง และสถานีรถไฟฟ้ า ด้วยการเชือมกับ
                                   ้
เครื อข่ายระบบขนส่ งสาธารณะ สําหรับการให้บริ การในส่ วนอืนๆ การบินไทยได้เปิ ดเส้นทางบินใหม่ไป
ยัง พุทธคยา และ พาราณาสี เพือรองรับนักท่องเทียวทีต้องการไปแสวงบุญ
2551 การบินไทยได้เปิ ดเทียวบินใหม่บินตรงเกาะสมุย จังหวัดสุ ราษฎร์ ธานี นอกจากนี การบินไทยยังได้รับ
รางวัลหลากหลายสาขา ทังรางวัลสายการบินระหว่างประเทศทีดีทีสุ ด ( Best Intercontinental Airline ) ติดต่อกัน
เป็ นปี ที 4 จากการมอบรางวัล Norwegian Grand Travel Award 2008 ของอุตสาหกรรมการท่องเทียวประเทศ
นอร์ เวย์ เรางวัลสายการบินทีดีทีสุ ดอันดับ 2 ด้านการให้บริ การภาคพืนแก่ผโดยสารชันหนึงและชันธุ รกิจ อันดับ
                                                                            ู้
2 ด้านการให้บริ การภาคพืนแก่ผโดยสารชันประหยัด นอกจากนี ครัวการบินของบริ ษทฯ ได้รับการรับรอง
                                ู้                                                    ั
มาตรฐาน OHSAS 18001 เป็ นแห่งแรกของประเทศไทยจาก Bureau Viritas Quality International ( BVQI ) เป็ น
การรองรับครอบคลุมการผลิตอาหารเพือบริ การบนเครื องบิน ทังอาหารคาวและหวาน เครื องดืม เบเกอรี รวมทัง
ร้านเบเกอรี Puff & Pie ปี 2551 การบินไทยยังได้เริ มทําการปรับปรุ งเว็บไซต์ของบริ ษทฯ เพืออํานวยความ
                                                                                        ั
สะดวกให้แก่ผโดยสารในการสํารองทีนัง การเช็กเทียวบิน และ การเข้าถึงข้อมูลของบริ ษทฯ
                 ู้                                                                       ั

พัฒนาการการบินไทย ปี พ.ศ. 2532 - พ.ศ. 2541
                 2532 การบินไทยร่ วมสนับสนุนปี ศิลปะและหัตถกรรมไทย ด้วยการจัดรายการบัตรโดยสารราคา
พิเศษ ทีมีชือว่า Discover Thailand ทังนีเพือส่ งเสริ มการท่องเทียวสู่ ประเทศไทย อีกทังได้พฒนารายการท่องเทียว
                                                                                          ั
ทัวร์ เอืองหลวง ให้มีความหลากหลายมากขึน ในปี เดียวกันนีได้เปิ ดครัวการบินไทยแห่งใหม่ ซึ งเป็ นครัวที
                                             ํ
ทันสมัย และใหญ่ทีสุ ดแห่งหนึงในเอเชีย มีกาลังผลิตอาหารมากกว่า 20,000 ทีต่อวัน
                                                                                             ํ
                2533 ปี งบประมาณ 2532/33 นี เป็ นปี ทีบริ ษทฯ ดําเนินกิจการมาครบ 30 ปี และมีกาไรก่อนหัก
                                                           ั
ภาษี 6,753.6 ล้านบาท ซึ งนับว่าสู งเป็ นอันดับสองของผลกําไรแต่ละปี ทีผ่านมา รวมทังมียอดขนส่ งผูโดยสาร
                                                                                               ้


                                                    14
สู งสุ ดเป็ นประวัติการณ์จานวนถึง 8.3 ล้านคน นอกจากนัน ยังได้รับมอบเครื องบินโบอิง 747-400 ลําแรก ซึ งเป็ น
                          ํ
เครื องบินโดยสารขนาดใหญ่ทีสุ ดในปั จจุบน  ั




              2534-2535 - การบินไทยได้เข้าร่ วมเป็ นสมาชิกในระบบสํารองทีนังแบบเบ็ดเสร็ จอะมาดิอุส
(AMADEUS) ซึ งมีระบบเครื อข่ายคอมพิวเตอร์ ครอบคลุมทัวโลกเชือมโยงกับ 98 สายการบิน รวมทังตัวแทนการ
ท่องเทียวทัวโลกอีกกว่า 47,500 ราย
- การบินไทยได้เริ มดําเนินการแปรรู ป โดยนําหุ ้นเข้าจําหน่าย ในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย จํานวน 100
ล้านหุ น นับเป็ นการจําหน่ายหุ นทีมีจานวนมากทีสุ ด เท่าทีเคยมีมาในประเทศ สามารถระดมทุนได้ถึง 14,000 ล้าน
       ้                       ้     ํ
บาท จากนักลงทุนกว่า 256,000 ราย
               2536 ในปี นี การบินไทยให้บริ การผูโดยสารมากกว่า 10 ล้านคน และประสบความสําเร็ จในการ
                                                 ้
เปิ ดรับสมาชิกในรายการสะสมไมล์ รอยัล ออร์ คิด พลัส ซึงภายในปี แรก มีผสมัครเป็ น สมาชิกกว่า 200,000 คน
                                                                      ู้
จาก 115 ประเทศ
               2537 การบินไทยได้จดทะเบียนเป็ นบริ ษทมหาชน และได้เปิ ดจุดบินใหม่ 3 แห่ง สู่ เมืองเซี ยงไฮ้
                                                   ั
เมืองละฮอร์ และจังหวัดนครพนม




                                          ่
                  2538 การบินไทยได้วาจ้างบริ ษททีปรึ กษาด้านการบริ หารจากต่างประเทศ ร่ วมดําเนินการเพิม
                                                 ั
ประสิ ทธิ ภาพในการปฎิบติงานของบริ ษทฯ ใน 3 ด้าน คือ ด้านปฎิบติการ ด้านบริ การลูกค้า และด้านการจัดการ
                          ั             ั                        ั
และเทคโนโลยีสารสนเทศ พร้อมกันนันได้มีการประกาศวิสัยทัศน์ของบริ ษทฯ ขึนใหม่ คือ The First Choice
                                                                      ั
Carrier. Smooth as Silk. First Time. Every Time. เพือสร้างสรรค์แนวทางและเป้ าหมายร่ วมกัน
             2539 เครื องบินโบอิงแบบ 777-200 ลําแรกของการบินไทยและของโลก ทีติดตังด้วยเครื องยนต์
โรสรอยซ์ เทรน 800 เข้าประจําการ เครื องบินลํานีเป็ นเครื องบิน 2 เครื องยนต์ ความจุ 358 ทีนัง มีหองผูโดยสารที
                                                                                                 ้ ้
                                                     15
สู งและกว้างขวางทีสุ ด ในโอกาสนี สมเด็จพระนางเจ้าอลิซาเบธที 2 แห่งอังกฤษ ได้เสด็จเยียมชมฝ่ ายช่างการบิน
ไทยด้วย อีกทังในปี นีการบินไทยได้เปิ ดบริ การข้อมูล ทางอินเทอร์ เนตแก่สาธารณะชน ผ่าน
www.thaiairways.com
             2540 การบินไทยเข้าร่ วมเป็ นสมาชิกก่อตังกลุ่มพันธมิตรทางการบิน สตาร์ อัลไลแอนซ์ ซึ งเป็ น
เครื อข่ายสายการบินทีใหญ่ทีสุ ดในโลก การรวมกลุ่มในครังนีเป็ นการเพิมความแข็งแกร่ ง และศักยภาพในการ
ดําเนินธุ รกิจการบิน ทําให้การบินไทยสามารถให้บริ การผูโดยสาร และเสนอจุดบินได้มากขึน ในปี นีการบินไทย
                                                       ้
ยังได้เป็ นสายการบิน และผูสนับสนุนหลักอย่างเป็ นทางการของกีฬา เอเชียนเกมส์ ครังที 13 ซึ งจัดขึนที
                            ้
กรุ งเทพมหานคร
           2541 มาตรการลดค่าเงินบาท ทําให้มีการท่องเทียว มายังประเทศไทยเพิมมากขึนในปี ท่องเทียว อะ
เมซิ งไทยแลนด์ นี การบินไทยได้จดกิจกรรมต่างๆ มากมายอย่างทีเคยปฎิบติมา ขบวนรถบุปผชาติของการบิน
                                   ั                             ั
ไทยภายใต้แนวคิด อะเมซิงไทยแลนด์ ในงาน โรสพาเหรด ทีเมืองพาซาดีนา รัฐแคลิฟอร์ เนีย ได้เป็ นหนึงใน
รางวัลชนะเลิศ ซึ งสร้างชือเสี ยงให้ประเทศไทยไปทัวโลก

พัฒนาการการบินไทย ปี พ.ศ. 2522 - พ.ศ. 2531
                                                        ่
             2522 การบินไทยเปิ ดสํานักงานใหญ่ซึงตังอยูบน ถนนวิภาวดีรังสิ ต ในเนือที 26 ไร่ นับเป็ นการ
รวมหน่วยงานสําคัญๆ ทังหลายเป็ นครังแรก และในปี เดียวกันนีการบินไทยได้พฒนาเส้นทางบินสู่ ทวีปยุโรป ให้
                                                                         ั
สามารถบินตรงไปสู่ จุดบินต่างๆ โดยไม่หยุดพัก โดยใช้เครื องบินแบบ โบอิง 747-200 ความจุ 371 ทีนัง ซึ งจัดซือ
มาจํานวน 2 ลํา นอกจากนันยังได้ซือเครื องบินใหม่แบบแอร์ บส เอ 300 จํานวน 4 ลํา มาใช้บินในภูมิภาคเอเชีย
                                                          ั
               2523 ด้วยฝูงบินแบบโบอิง 747-200 หรื อ จัมโบ้ การบินไทยมีศกยภาพทีจะขยายเส้นทางบินสู่
                                                                           ั
ทวีปอเมริ กาเหนือ โดยการบินเข้ามหาสมุทรแปซิ ฟิกสู่ นครลอสแองเจลิส ซึ งเป็ นจุดบินแรกของการบินไทยสู่
ประเทศสหรัฐอเมริ กา นอกจากนัน การบินไทยยังได้เพิมจุดบินสู่ ตะวันออกกลาง




                            ่
                2524 นับได้วาการบินไทยเป็ นสายการบินแรก ทีได้บุกเบิกเส้นทางบินเชือม ทวีปอเมริ กาเหนือ
ในเส้นทาง กรุ งเทพฯ -นครซี แอตเทิล เป็ นครังแรก และยังขยายเส้นทางบินไปสู่ เมืองกวางเจา ในประเทศ
สาธารณรัฐประชาชนจีน ในปี นีการบินไทยยังได้เพิมทุนจดทะเบียนเป็ น 1,100 ล้านบาท
              2525 ธุ รกิจต่างๆ ในประเทศไทยต่างประสบภาวะวิกฤตจากการลดค่าเงินบาท แต่การบินไทย
สามารถผ่านพ้นภาวะวิกฤตดังกล่าวด้วยดี และยังมีผลกําไรก่อนหักภาษีในปี งบประมาณ 2524/2525 ถึง 26.3 ล้าน

                                                   16
บาท ทังนีเป็ นผลจากการบริ หารงาน อย่างมีประสิ ทธิ ภาพ ด้วยการปรับฝูงบินและแผนการดําเนิ นงาน รวมทังใช้
กลยุทธ์ร่วมมือกับสายการบินอืนๆ ในเส้นทางบินสําคัญๆ
                    2526 การบินไทยริ เริ มบริ การชันธุ รกิจ Royal Executive Class เพือเพิมความสะดวกสบาย
     ั
ให้กบนักธุ รกิจ ทีเดินทางกับการบินไทยมากขึน เช่น มีการแบ่งห้องโดยสารเป็ นสัดส่ วน ใช้เก้าอีทีใหญ่ขึน มีที
สําหรับวางแขนมากขึน และมีบริ การห้องรับรองพิเศษก่อนขึนเครื องบิน ซึ งเป็ นสิ ทธิ พิเศษทีการบินไทยมอบให้
นอกจากนันการบินไทย ยังได้ร่วมลงทุนในบริ ษทบริ การเชือเพลิงการบินกรุ งเทพ จํากัด (BAFS) โรงแรมรอยัล
                                                 ั
ออร์ คิด และโรงแรมแอร์ พอร์ ตด้วย
                    2527 การบินไทยร่ วมส่ งเสริ มธุ รกิจท่องเทียวในจังหวัดใหญ่ๆ ของประเทศ โดยก่อนหน้านีได้
ให้บริ การในเส้นทางบินสู่ ฮ่องกง โดยแวะผ่านเชียงใหม่ ในปี นี การบินไทยได้เพิมเส้นทางบินภายในประเทศอีก
2 เส้นทาง คือ กรุ งเทพฯ-หาดใหญ่-สิ งคโปร์ และกรุ งเทพฯ-ภูเก็ต-สิ งคโปร์




                  2528 การบินไทยเปิ ดศูนย์ซ่อมอากาศยานแห่งใหม่ บริ เวณท่าอากาศยานกรุ งเทพ เป็ นการเพิม
ศักยภาพในการซ่อมบํารุ ง เครื องบินลําตัวกว้างของการบินไทย ให้สามารถดําเนินการในประเทศไทย ศูนย์ซ่อม
แห่งนีภายหลังได้มีการขยายใหญ่ขึน สามารถทําการซ่ อมบํารุ งเครื องบินลําตัวกว้าง เช่น โบอิง 747 และเครื องบิน
ขนาดเล็กอีก 1 ลํา ได้พร้อมๆ กัน นอกจากนียังได้เปิ ดอาคารคลังสิ นค้าทีใหญ่ทีสุ ดแห่งหนึงในเอเชียอาคเนย์ มี
พืนทีถึง 43,000 ตารางเมตร ซึ งสามารถรองรับปริ มาณสิ นค้าทีเพิมขึนอย่างมากของการบินไทย และอีก 28 สาย
การบิน
                  2529 การบินไทยเปิ ดบินสู่ เมืองสตอกโฮล์ม และรุ กขยายเส้นทางบินไปยังภูมิภาคตะวันออก
กลางมากขึน และยังได้เปิ ดสาขาภัตตาคารการบินไทยแห่ งแรกขึน ทีอาคารผูโดยสารแห่งใหม่ของท่าอากาศยาน
                                                                         ้
เชียงใหม่ ทังนีเพือส่ งเสริ มศักยภาพของสนามบินแห่งนี ในฐานะท่าอากาศยานนานาชาติ
              2530 การบินไทยร่ วมรณรงค์ส่งเสริ มปี ท่องเทียวไทย ซึ งประสบผลสําเร็ จอย่างงดงาม ทังด้าน
การเผยแพร่ เอกลักษณ์ความเป็ นไทย สู่ สายตาชาวโลก และการนํานักท่องเทียว เดินทางเข้ามาในประเทศเป็ น
จํานวนมาก
นอกจากนี การบินไทยยังได้ให้บริ การผูโดยสาร ทีอาคารผูโดยสารภายในประเทศ และต่างประเทศหลังใหม่ เป็ น
                                     ้              ้
สัดส่ วนร้อยละ 80 ของการให้บริ การทังหมดทีอาคารสองแห่งนี นอกจากนียังได้เปิ ดบินใหม่สู่ เมืองโอกแลนด์
และ เมืองแมดริ ดด้วย
                                                    17
2531 รัฐบาลดําเนินการรวม บริ ษท การบินไทย จํากัด และ บริ ษท เดินอากาศไทย จํากัด (บดท.) ซึ ง
                                                ั                          ั
เป็ นบริ ษทแม่ ให้เป็ นบริ ษทเดียวกัน ทําให้การบินไทยเป็ นสายการบินทีเติบโตอย่างรวดเร็ ว เพียงชัวข้ามคืนมี
          ั                 ั
เครื องบินเพิมขึน โดยรับมอบจาก บดท. จํานวน 11 ลํา รับผิดชอบการบินทังภายในประเทศ และต่างประเทศ ซึ ง
ถือเป็ นการเสริ มศักยภาพ และความแข็งแกร่ งของบริ ษทฯ ในปี นี การบินไทยมีฝงบินรวม 41 ลํา ทําการบินไปยัง
                                                     ั                       ู
ต่างประเทศ 48 จุดบินใน 35 ประเทศทัวโลก และภายในประเทศอีก 23 จุดบินไทยไปทัวโลก



 พัฒนาการการบินไทย ปี พ.ศ. 2512 - พ.ศ. 2521




             2512 - การบินไทยประสบผลสําเร็ จตามเป้ าหมายทีวางไว้ สามารถให้บริ การ โดยใช้ฝงบิน
                                                                                         ู
 ไอพ่นทังหมด อีกทังยังได้ทาการเผยแพร่ วฒนธรรมไทย และการท่องเทียวสู่ สายตาชาวโลก และมีเส้นทาง
                          ํ            ั
 บินครอบคลุมเมืองสําคัญๆ ในเอเชียมากกว่าสายการบินอืนๆ
                 2513 - บริ ษท เดินอากาศไทย จํากัด และสายการบินสแกนดิเนเวียน ซึ งได้ร่วมทุนก่อตังการ
                              ั
 บินไทยมาครบ 10 ปี ได้ดาเนิ นการต่อสัญญาความร่ วมมือระหว่างกันออกไปอีก 7 ปี ในปี นีการบินไทยได้
                            ํ
 นําเครื องบิน ดีซี 9-41 และ ดีซี 8-33 ทีมีสมรรถนะดี และประหยัดยิงขึนมาให้บริ การ นอกจากนียังได้ริเริ ม
 รายการ "รอยัลออร์ คิด ฮอลิเดย์" ซึ งเป็ นรายการท่องเทียวพิเศษทีจัดขึน เพือให้นกท่องเทียวสามารถเลือก
                                                                               ั
 รายการท่องเทียว และวันเดินทางได้ตามความต้องการแต่ในราคาประหยัด เช่นเดียวกับการเดินทางเป็ นหมู่
 คณะ
                  2514 - การบินไทยเริ มทําการบินข้ามทวีปเป็ นครังแรก เชื อมโยง กรุ งเทพฯ - สิ งคโปร์ -
 ซิ ดนีย ์ และเปิ ดอาคารคลังสิ นค้าแห่งใหม่ ณ ท่าอากาศยานกรุ งเทพ ซึ งในปี แรกให้บริ การสิ นค้าเข้า-ออก ได้
 ถึง2,000 ตัน
              2515 - การบินไทยเปิ ดเส้นทางบินข้ามทวีปเส้นทางที 2 จากเอเชียสู่ ยโรป สู่ เมืองโคเปนเฮเกน
                                                                               ุ

                                                     18
บริษัท  การบินไทย จำกัด (มหาชน)
บริษัท  การบินไทย จำกัด (มหาชน)
บริษัท  การบินไทย จำกัด (มหาชน)
บริษัท  การบินไทย จำกัด (มหาชน)
บริษัท  การบินไทย จำกัด (มหาชน)
บริษัท  การบินไทย จำกัด (มหาชน)
บริษัท  การบินไทย จำกัด (มหาชน)
บริษัท  การบินไทย จำกัด (มหาชน)
บริษัท  การบินไทย จำกัด (มหาชน)
บริษัท  การบินไทย จำกัด (มหาชน)
บริษัท  การบินไทย จำกัด (มหาชน)
บริษัท  การบินไทย จำกัด (มหาชน)
บริษัท  การบินไทย จำกัด (มหาชน)
บริษัท  การบินไทย จำกัด (มหาชน)
บริษัท  การบินไทย จำกัด (มหาชน)
บริษัท  การบินไทย จำกัด (มหาชน)
บริษัท  การบินไทย จำกัด (มหาชน)
บริษัท  การบินไทย จำกัด (มหาชน)
บริษัท  การบินไทย จำกัด (มหาชน)
บริษัท  การบินไทย จำกัด (มหาชน)
บริษัท  การบินไทย จำกัด (มหาชน)
บริษัท  การบินไทย จำกัด (มหาชน)
บริษัท  การบินไทย จำกัด (มหาชน)
บริษัท  การบินไทย จำกัด (มหาชน)
บริษัท  การบินไทย จำกัด (มหาชน)
บริษัท  การบินไทย จำกัด (มหาชน)
บริษัท  การบินไทย จำกัด (มหาชน)
บริษัท  การบินไทย จำกัด (มหาชน)
บริษัท  การบินไทย จำกัด (มหาชน)
บริษัท  การบินไทย จำกัด (มหาชน)

Más contenido relacionado

La actualidad más candente

การวิเคราะห์ปัญหาด้วยแผนภูมิก้างปลา Fish Bone
การวิเคราะห์ปัญหาด้วยแผนภูมิก้างปลา Fish Boneการวิเคราะห์ปัญหาด้วยแผนภูมิก้างปลา Fish Bone
การวิเคราะห์ปัญหาด้วยแผนภูมิก้างปลา Fish BoneJakkrit Boonlee
 
รูปแบบการเขียนรายงานโครงงาน 5 บท
รูปแบบการเขียนรายงานโครงงาน 5 บทรูปแบบการเขียนรายงานโครงงาน 5 บท
รูปแบบการเขียนรายงานโครงงาน 5 บทAekapoj Poosathan
 
ข้อสอบความคิดสร้างสรรค์
ข้อสอบความคิดสร้างสรรค์ข้อสอบความคิดสร้างสรรค์
ข้อสอบความคิดสร้างสรรค์Jirathorn Buenglee
 
โครงงานภาษาไทยเรื่องนิทาน
โครงงานภาษาไทยเรื่องนิทานโครงงานภาษาไทยเรื่องนิทาน
โครงงานภาษาไทยเรื่องนิทานRawinnipha Joy
 
กรณีศึกษา1 การบินไทย
กรณีศึกษา1 การบินไทยกรณีศึกษา1 การบินไทย
กรณีศึกษา1 การบินไทยChatchamon Uthaikao
 
ตาราง 6 โครงสร้างรายวิชา
ตาราง 6 โครงสร้างรายวิชาตาราง 6 โครงสร้างรายวิชา
ตาราง 6 โครงสร้างรายวิชาYonza Za
 
การบินไทย
การบินไทยการบินไทย
การบินไทยLumi Doll
 
โวหารในการเขียน
โวหารในการเขียนโวหารในการเขียน
โวหารในการเขียนkrubuatoom
 
โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์Sarocha Makranit
 
รายงานการศึกษาค้นคว้า
รายงานการศึกษาค้นคว้ารายงานการศึกษาค้นคว้า
รายงานการศึกษาค้นคว้าtanakit pintong
 
ทักษะการอ่าน
ทักษะการอ่านทักษะการอ่าน
ทักษะการอ่าน0872191189
 
4สารบัญตารางวิจัย
4สารบัญตารางวิจัย4สารบัญตารางวิจัย
4สารบัญตารางวิจัยkrupornpana55
 
ตัวอย่าง ปกรายงาน
ตัวอย่าง ปกรายงานตัวอย่าง ปกรายงาน
ตัวอย่าง ปกรายงานSamorn Tara
 
หน่วยที่ 4-เครื่องมือช่างพื้นฐาน
หน่วยที่ 4-เครื่องมือช่างพื้นฐานหน่วยที่ 4-เครื่องมือช่างพื้นฐาน
หน่วยที่ 4-เครื่องมือช่างพื้นฐานJanchai Pokmoonphon
 
หน่วยที่-4 สหกรณ์และการรวมกลุ่มเพื่อพัฒนาชุมชนของไทย
หน่วยที่-4 สหกรณ์และการรวมกลุ่มเพื่อพัฒนาชุมชนของไทยหน่วยที่-4 สหกรณ์และการรวมกลุ่มเพื่อพัฒนาชุมชนของไทย
หน่วยที่-4 สหกรณ์และการรวมกลุ่มเพื่อพัฒนาชุมชนของไทยPaew Tongpanya
 

La actualidad más candente (20)

การวิเคราะห์ปัญหาด้วยแผนภูมิก้างปลา Fish Bone
การวิเคราะห์ปัญหาด้วยแผนภูมิก้างปลา Fish Boneการวิเคราะห์ปัญหาด้วยแผนภูมิก้างปลา Fish Bone
การวิเคราะห์ปัญหาด้วยแผนภูมิก้างปลา Fish Bone
 
รูปแบบการเขียนรายงานโครงงาน 5 บท
รูปแบบการเขียนรายงานโครงงาน 5 บทรูปแบบการเขียนรายงานโครงงาน 5 บท
รูปแบบการเขียนรายงานโครงงาน 5 บท
 
ข้อสอบความคิดสร้างสรรค์
ข้อสอบความคิดสร้างสรรค์ข้อสอบความคิดสร้างสรรค์
ข้อสอบความคิดสร้างสรรค์
 
บทที่ 5
บทที่ 5บทที่ 5
บทที่ 5
 
คำนำ
คำนำคำนำ
คำนำ
 
โครงงานภาษาไทยเรื่องนิทาน
โครงงานภาษาไทยเรื่องนิทานโครงงานภาษาไทยเรื่องนิทาน
โครงงานภาษาไทยเรื่องนิทาน
 
กรณีศึกษา1 การบินไทย
กรณีศึกษา1 การบินไทยกรณีศึกษา1 การบินไทย
กรณีศึกษา1 การบินไทย
 
ตาราง 6 โครงสร้างรายวิชา
ตาราง 6 โครงสร้างรายวิชาตาราง 6 โครงสร้างรายวิชา
ตาราง 6 โครงสร้างรายวิชา
 
การบินไทย
การบินไทยการบินไทย
การบินไทย
 
โวหารในการเขียน
โวหารในการเขียนโวหารในการเขียน
โวหารในการเขียน
 
โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์
 
คำนำ
คำนำคำนำ
คำนำ
 
รายงานการศึกษาค้นคว้า
รายงานการศึกษาค้นคว้ารายงานการศึกษาค้นคว้า
รายงานการศึกษาค้นคว้า
 
ทักษะการอ่าน
ทักษะการอ่านทักษะการอ่าน
ทักษะการอ่าน
 
ปก
ปกปก
ปก
 
8 การเขียนเชิงวิชาการ(238 262)
8 การเขียนเชิงวิชาการ(238 262)8 การเขียนเชิงวิชาการ(238 262)
8 การเขียนเชิงวิชาการ(238 262)
 
4สารบัญตารางวิจัย
4สารบัญตารางวิจัย4สารบัญตารางวิจัย
4สารบัญตารางวิจัย
 
ตัวอย่าง ปกรายงาน
ตัวอย่าง ปกรายงานตัวอย่าง ปกรายงาน
ตัวอย่าง ปกรายงาน
 
หน่วยที่ 4-เครื่องมือช่างพื้นฐาน
หน่วยที่ 4-เครื่องมือช่างพื้นฐานหน่วยที่ 4-เครื่องมือช่างพื้นฐาน
หน่วยที่ 4-เครื่องมือช่างพื้นฐาน
 
หน่วยที่-4 สหกรณ์และการรวมกลุ่มเพื่อพัฒนาชุมชนของไทย
หน่วยที่-4 สหกรณ์และการรวมกลุ่มเพื่อพัฒนาชุมชนของไทยหน่วยที่-4 สหกรณ์และการรวมกลุ่มเพื่อพัฒนาชุมชนของไทย
หน่วยที่-4 สหกรณ์และการรวมกลุ่มเพื่อพัฒนาชุมชนของไทย
 

Similar a บริษัท การบินไทย จำกัด (มหาชน)

ประวัติ True
ประวัติ Trueประวัติ True
ประวัติ TrueTn' Nam
 
20120245 t05 business
20120245 t05 business20120245 t05 business
20120245 t05 businessLumi Doll
 
AEC Project: ฟาร์มโชคชัย
AEC Project: ฟาร์มโชคชัยAEC Project: ฟาร์มโชคชัย
AEC Project: ฟาร์มโชคชัยSMEfriend
 
ประวัติ True อีก1
ประวัติ True อีก1ประวัติ True อีก1
ประวัติ True อีก1Tn' Nam
 
บริษัท ทรู คอ์ปอเรชั่น จำกัด
บริษัท ทรู คอ์ปอเรชั่น จำกัดบริษัท ทรู คอ์ปอเรชั่น จำกัด
บริษัท ทรู คอ์ปอเรชั่น จำกัดDrDanai Thienphut
 
1. กองทุนเปิดกรุงศรีทุนทวี 3 (kftw3)
1. กองทุนเปิดกรุงศรีทุนทวี 3 (kftw3)1. กองทุนเปิดกรุงศรีทุนทวี 3 (kftw3)
1. กองทุนเปิดกรุงศรีทุนทวี 3 (kftw3)Puff Pie
 
โครงการ 2 ล้านๆ กับ อนาคตประเทศไทย
โครงการ 2 ล้านๆ กับ อนาคตประเทศไทยโครงการ 2 ล้านๆ กับ อนาคตประเทศไทย
โครงการ 2 ล้านๆ กับ อนาคตประเทศไทยRHB Banking Group
 
TOT Contact Center Marketing Plan
TOT Contact Center Marketing PlanTOT Contact Center Marketing Plan
TOT Contact Center Marketing Plansiriporn pongvinyoo
 
Afta and labour article 14 tisa pro talk 4-2554
Afta and labour article 14 tisa pro talk 4-2554Afta and labour article 14 tisa pro talk 4-2554
Afta and labour article 14 tisa pro talk 4-2554TISA
 
3. กองทุนเปิดกรุงศรีหุ้นปันผล (kfsdiv)
3. กองทุนเปิดกรุงศรีหุ้นปันผล (kfsdiv)3. กองทุนเปิดกรุงศรีหุ้นปันผล (kfsdiv)
3. กองทุนเปิดกรุงศรีหุ้นปันผล (kfsdiv)Puff Pie
 
การจัดซื้อจัดจ้างและระเบียบที่เกี่ยวข้องมาตรการไทยเข็มแข็ง ๒๕๕๕
การจัดซื้อจัดจ้างและระเบียบที่เกี่ยวข้องมาตรการไทยเข็มแข็ง ๒๕๕๕การจัดซื้อจัดจ้างและระเบียบที่เกี่ยวข้องมาตรการไทยเข็มแข็ง ๒๕๕๕
การจัดซื้อจัดจ้างและระเบียบที่เกี่ยวข้องมาตรการไทยเข็มแข็ง ๒๕๕๕Prachoom Rangkasikorn
 
Opportunity Thailand - เศรษฐกิจขับเคลื่อนด้วยนวัตกรรม
Opportunity Thailand - เศรษฐกิจขับเคลื่อนด้วยนวัตกรรมOpportunity Thailand - เศรษฐกิจขับเคลื่อนด้วยนวัตกรรม
Opportunity Thailand - เศรษฐกิจขับเคลื่อนด้วยนวัตกรรมThailand Board of Investment North America
 
รายงาน บริษัท ปตท. จำกัด (มหาชน)
รายงาน บริษัท ปตท. จำกัด (มหาชน)รายงาน บริษัท ปตท. จำกัด (มหาชน)
รายงาน บริษัท ปตท. จำกัด (มหาชน)Love Plukkie Zaa
 
6. กองทุนเปิดกรุงศรีหุ้นระยะยาวอิควิตี้ 70 ปันผล (kfltfeq70 d)
6. กองทุนเปิดกรุงศรีหุ้นระยะยาวอิควิตี้ 70 ปันผล (kfltfeq70 d)6. กองทุนเปิดกรุงศรีหุ้นระยะยาวอิควิตี้ 70 ปันผล (kfltfeq70 d)
6. กองทุนเปิดกรุงศรีหุ้นระยะยาวอิควิตี้ 70 ปันผล (kfltfeq70 d)Puff Pie
 

Similar a บริษัท การบินไทย จำกัด (มหาชน) (20)

รายงานว ชาการ ทอท. 1_ _1_
รายงานว ชาการ ทอท.  1_ _1_รายงานว ชาการ ทอท.  1_ _1_
รายงานว ชาการ ทอท. 1_ _1_
 
ประวัติ True
ประวัติ Trueประวัติ True
ประวัติ True
 
20120245 t05 business
20120245 t05 business20120245 t05 business
20120245 t05 business
 
Bank of Thailand Payment Report 09
Bank of Thailand Payment Report 09Bank of Thailand Payment Report 09
Bank of Thailand Payment Report 09
 
AEC Project: ฟาร์มโชคชัย
AEC Project: ฟาร์มโชคชัยAEC Project: ฟาร์มโชคชัย
AEC Project: ฟาร์มโชคชัย
 
Bm 739 asian chokchai farm
Bm 739 asian chokchai farmBm 739 asian chokchai farm
Bm 739 asian chokchai farm
 
ประวัติ True อีก1
ประวัติ True อีก1ประวัติ True อีก1
ประวัติ True อีก1
 
บริษัท ทรู คอ์ปอเรชั่น จำกัด
บริษัท ทรู คอ์ปอเรชั่น จำกัดบริษัท ทรู คอ์ปอเรชั่น จำกัด
บริษัท ทรู คอ์ปอเรชั่น จำกัด
 
1. กองทุนเปิดกรุงศรีทุนทวี 3 (kftw3)
1. กองทุนเปิดกรุงศรีทุนทวี 3 (kftw3)1. กองทุนเปิดกรุงศรีทุนทวี 3 (kftw3)
1. กองทุนเปิดกรุงศรีทุนทวี 3 (kftw3)
 
โครงการ 2 ล้านๆ กับ อนาคตประเทศไทย
โครงการ 2 ล้านๆ กับ อนาคตประเทศไทยโครงการ 2 ล้านๆ กับ อนาคตประเทศไทย
โครงการ 2 ล้านๆ กับ อนาคตประเทศไทย
 
SCG Financial Presentation
SCG Financial PresentationSCG Financial Presentation
SCG Financial Presentation
 
TOT Contact Center Marketing Plan
TOT Contact Center Marketing PlanTOT Contact Center Marketing Plan
TOT Contact Center Marketing Plan
 
แบบฟอร์ม+Storytellingครั้งที่ 1รอบ2 56
แบบฟอร์ม+Storytellingครั้งที่ 1รอบ2 56แบบฟอร์ม+Storytellingครั้งที่ 1รอบ2 56
แบบฟอร์ม+Storytellingครั้งที่ 1รอบ2 56
 
Afta and labour article 14 tisa pro talk 4-2554
Afta and labour article 14 tisa pro talk 4-2554Afta and labour article 14 tisa pro talk 4-2554
Afta and labour article 14 tisa pro talk 4-2554
 
3. กองทุนเปิดกรุงศรีหุ้นปันผล (kfsdiv)
3. กองทุนเปิดกรุงศรีหุ้นปันผล (kfsdiv)3. กองทุนเปิดกรุงศรีหุ้นปันผล (kfsdiv)
3. กองทุนเปิดกรุงศรีหุ้นปันผล (kfsdiv)
 
การจัดซื้อจัดจ้างและระเบียบที่เกี่ยวข้องมาตรการไทยเข็มแข็ง ๒๕๕๕
การจัดซื้อจัดจ้างและระเบียบที่เกี่ยวข้องมาตรการไทยเข็มแข็ง ๒๕๕๕การจัดซื้อจัดจ้างและระเบียบที่เกี่ยวข้องมาตรการไทยเข็มแข็ง ๒๕๕๕
การจัดซื้อจัดจ้างและระเบียบที่เกี่ยวข้องมาตรการไทยเข็มแข็ง ๒๕๕๕
 
Opportunity Thailand - เศรษฐกิจขับเคลื่อนด้วยนวัตกรรม
Opportunity Thailand - เศรษฐกิจขับเคลื่อนด้วยนวัตกรรมOpportunity Thailand - เศรษฐกิจขับเคลื่อนด้วยนวัตกรรม
Opportunity Thailand - เศรษฐกิจขับเคลื่อนด้วยนวัตกรรม
 
รายงาน บริษัท ปตท. จำกัด (มหาชน)
รายงาน บริษัท ปตท. จำกัด (มหาชน)รายงาน บริษัท ปตท. จำกัด (มหาชน)
รายงาน บริษัท ปตท. จำกัด (มหาชน)
 
TRUEMOVE
TRUEMOVETRUEMOVE
TRUEMOVE
 
6. กองทุนเปิดกรุงศรีหุ้นระยะยาวอิควิตี้ 70 ปันผล (kfltfeq70 d)
6. กองทุนเปิดกรุงศรีหุ้นระยะยาวอิควิตี้ 70 ปันผล (kfltfeq70 d)6. กองทุนเปิดกรุงศรีหุ้นระยะยาวอิควิตี้ 70 ปันผล (kfltfeq70 d)
6. กองทุนเปิดกรุงศรีหุ้นระยะยาวอิควิตี้ 70 ปันผล (kfltfeq70 d)
 

บริษัท การบินไทย จำกัด (มหาชน)

  • 1. รานงาน เรือง บริษทการบินไทย ั วิชา องค์ การและการจัดการ Organization and Management0903101 นําเสนอ อาจารย์ วจนะ ภูผานี จัดทําโดย BE541 นางสาว วิจิตรา อุทยรัตน์ 54010915110 ั นางสาว สุ นิสา จันทะไทย 54010915135 นายอิทธิพล วรรณชิโนรส 54010915156 นางสาว สุ ภิญญา ปานนะลา 54010915224 นางสาว ศิรินภา โครตธาดา 54010915215 มหาวิทยาลัยมหาสารคาม ปี การศึกษา 2554 1
  • 2. คํานํา รายงานเล่มนีเป็ นส่ วนหนึงของวิชาองค์การและการจัดการ0903101โดยมีจุดประสงค์เพือ การศึกษาหาความรู ้หรื อเพือหาข้อมูลเพิมเติมจากข้อมูลของบริ ษทการบินไทย จํากัดซึงรายงานเล่มนี ั มีเนือหาเกียวกับ ประวัติของบริ ษทการบินไทย การพัฒนาการบิน และสภาพแวดล้อมของบริ ษท ั ั ผูจดทําหวังว่ารายงานฉบับนีจะให้ความรู ้และเป็ นประโยชน์แก่ผอ่านทุกๆท่านต่อไป ้ั ู้ 2
  • 3. สารบัญ เนือหา หน้า ประวัติบริ ษทฯ ั 1 วิสัยทัศน์ 4 ผลการดําเนินงาน 6 พัฒนาการบิน 8 สภาพแวดล้อมของบริ ษท ั 19 หลักบริ ษทภิบาล ั 21 ข้อมูลทางการตลาด 25 ข้อมูลทางการเงิน 28 คณะกรรมการบริ ษท ั 36 บทสรุ ป 42 3
  • 4. การบินไทย ประวัตบริษทฯ ิ ั การบินไทย สายการบินแห่ งชาติ บริ ษท การบินไทย จํากัด ( มหาชน ) เป็ นรัฐวิสาหกิจ ในสังกัดกระทรวงคมนาคม ดําเนิ นกิจการในด้านการบิน ั พาณิ ชย์ในประเทศ และระหว่างประเทศ ในฐานะสายการบินแห่งชาติ โดยเฉพาะอย่างยิง เป็ นรัฐวิสาหกิจของชาติ ทีดําเนินกิจการแข่งขันกับต่างประเทศ ในธุ รกิจการบินโลก และเป็ นรัฐวิสาหกิจทีสามารถทํากําไรต่อเนื อง ่ เรื อยมา ทังยังได้รับการยกย่องในด้านต่างๆ ให้อยูในระดับสายการบินชันนําของโลกเสมอมา การบินไทยเริ มก่อตังขึนโดยการทําสัญญาร่ วมทุนระหว่าง บริ ษท เดินอากาศไทย จํากัด กับสายการบิน ั สแกนดิเนเวียน แอร์ ไลน์ ซิ สเต็ม หรื อใช้ชือย่อว่า เอส เอ เอส เมือวันที 24 สิ งหาคม 2502 โดยมีวตถุประสงค์เพือ ั ดําเนินธุ รกิจการบิน ระหว่าง ประเทศ และได้จดทะเบียนเป็ นบริ ษทจํากัด เมือวันที 29 มีนาคม 2503 ด้วยทุน จด ั ทะเบียน 2 ล้านบาท โดยบริ ษท เดินอากาศไทย จํากัด ถือหุ นร้อยละ 70 และ เอส. เอ. เอส. ถือหุ นร้อยละ 30 ของ ั ้ ้ ทุนจดทะเบียน ่ ั ต่อมา เมือวันที 30 มีนาคม 2520 เอส. เอ. เอส. ได้โอนหุ ้นทีมีอยูทงหมดให้แก่ บริ ษท เดินอากาศไทย จํากัด และ ั ถือเป็ น การยกเลิกสัญญาร่ วมทุน ก่อตังขึนในปี พุทธศักราช 2503 โดย บริ ษท เดินอากาศไทย จํากัด กับบริ ษทสาย ั ั การบินสแกนดิเนเวียนแอร์ ไลน์ ซิ สเต็มหรื อใช้ชือย่อว่า เอส เอ เอส ได้ร่วมลงทุนกิจการด้วยทุนเพียง 2 ล้านบาท โดยเดินอากาศไทยถือหุ นร้อยละ 70 และ เอส เอ เอส ถือหุ นร้อยละ 30 ซึ งในเวลาต่อมาได้มีการเพิมทุนอย่างเป็ น ้ ้ ขันตอนตลอดมาจนถึงปี พุทธศักราช 2520 บริ ษท เดินอากาศไทย ได้ซือหุ นทังหมดคืนจาก เอส เอ เอส ตามมติ ั ้ คณะรัฐมนตรี และมอบโอนหุ นทีซือมาให้กระทรวงการคลัง ดังนัน การบินไทย จึงเป็ นสายการบินของคนไทย ้ อย่างแท้จริ ง และมี บริ ษท เดินอากาศไทยกับกระทรวงการคลัง เป็ นผูร่วมถือหุ น ั ้ ้ ต่อมาเมือวันที1 เมษายน 2531 คณะรัฐมนตรี ได้มีมติให้ดาเนินการรวมกิจการการบินภายในประเทศทีดําเนินการ ํ โดยบริ ษท เดินอากาศไทย จํากัด เข้ากับกิจการของบริ ษทฯ เป็ นผลให้เงินทุนจดทะเบียนของบริ ษทฯ เพิมขึนเป็ น ั ั ั 4
  • 5. 2,230 ล้านบาท โดยมีกระทรวงการคลังเป็ นผูถือหุ นรายใหญ่ ดังนันบริ ษทฯ จึงเป็ นสายการบินแห่งชาติที ้ ้ ั รับผิดชอบกิจการ การบินพาณิ ชย์ ทังเส้นทางบินระหว่างประเทศ และเส้นทางบินภายในประเทศทังหมด และเมือ วันที 25 มิถุนายน 2534 มีการเปลียนแปลงนโยบายการดําเนินธุ รกิจทีสําคัญเกิดขึน โดยคณะรัฐมนตรี มีมติให้ ดําเนินการดังนี 1. นําบริ ษท ฯ เข้าจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย ั 2. เพิมทุนจดทะเบียนอีกจํานวน 3,000 ล้านบาท โดยนําหุ ้นเพิมทุนส่ วนแรกจํานวน 100 ล้านหุ น ในราคาตาม ้ มูลค่าหุ นทีตราไว้หุนละ 10 บาท ออกจัดสรรก่อน ้ ้ 3. ให้จดหุ นสามัญเพิมทุนจํานวน 5 ล้านหุ น ขายให้พนักงานเจ้าหน้าทีของบริ ษทฯ ในราคาตามมูลค่าหุ นทีตราไว้ ั ้ ้ ั ้ หุ นละ 10 บาท ้ 4. จัดสรรหุ นสามัญเพิมทุนส่ วนทีเหลืออีกจํานวน 95 ล้านหุ น เสนอขายประชาชนทัวไป ้ ้ ทังนี มีวตถุประสงค์หลัก เพือเป็ นการระดมทุนจากภาคเอกชน อันจะทําให้การบินไทย มีศกยภาพในการแข่งขัน ั ั ด้านการพาณิ ชย์ รวมทังเป็ นการให้ประชาชนและพนักงาน ได้มีส่วนร่ วมเป็ นเจ้าของสายการบินแห่งชาติดวย ้ บริ ษทฯ เข้าจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทยเมือวันที 19 กรกฎาคม 2534 โดยได้ทาการแปลง ั ํ กําไรสะสมให้เป็ นหุ นเพิมทุนทําให้บริ ษทฯ มีทุนจดทะเบียนเป็ น13,000 ล้านบาท และทําการเพิมทุน จดทะเบียน ้ ั ใหม่อีกจํานวน 3,000 ล้านบาท รวมเป็ นทุนจดทะเบียน 16,000 ล้านบาท เป็ นทุนชําระแล้ว 14,000 ล้านบาท โดย กระทรวงการคลัง ถือหุ นร้อยละ 79.5 และธนาคารออมสิ นถือหุ นร้อยละ 13.4 ส่ วนทีเหลืออีกร้อยละ 7.1 กระจาย ้ ้ สู่ นกลงทุนทัวไป ทังในและต่างประเทศ รวมทังพนักงานของบริ ษทฯ และในวันที20-21 พฤศจิกายน 2546 บริ ษท ั ั ั ฯ ได้เสนอขายหุ นสามัญแก่ประชาชนทัวไปจํานวน 442.75 ล้านหุ น ตามมติคณะรัฐมนตรี เมือวันที 14 มีนาคม ้ ้ 2543 วันที 20 สิ งหาคม 2545 และวันที 16 กันยายน 2546 โดยหุ นทีเสนอดังกล่าว เป็ นหุ นเพิมทุน 285,000,000 ้ ้ หุ น และหุ นเดิมของกระทรวงการคลัง 157,750,000 หุ น โดยเงินทีได้จากการเสนอขายหุ นครังนี บริ ษทฯ จะ ้ ้ ้ ้ ั นําไปใช้ในการลงทุนในโครงการท่าอากาศยานสุ วรรณภูมิ การปรับปรุ งผลิตภัณฑ์บนเครื องบิน และเป็ นเงินทุน หมุนเวียนของบริ ษทฯ ั ํ ้ ั ตังแต่เดือน กันยายน 2547 บริ ษทฯได้จาหน่ายหุ นให้กบพนักงานจํานวน 13,896,150 หุ น ในราคาหุ ้นละ 15 บาท ั ้ ภายใต้โครงการจัดสรรหลักทรัพย์ให้พนักงาน (Employee Securities Option Plan) โดยบริ ษทฯ จะยังคงจําหน่าย ั ั หุ นให้กบพนักงานทีถือใบสําคัญแสดงสิ ทธิ ในการซือหุ ้นภายใต้โครงการดังกล่าวจนกระทังสิ นสุ ดโครงการใน ้ เดือนเมษายน 2549 และเดือนกันยายน ปี 2553 บริ ษทฯ ได้มีการเพิมทุนหุ นสามัญ ซึ งได้รับความสนใจอย่างมาก ั ้ จากทังผูถือหุ นเดิมของบริ ษทฯและนักลงทุนรายย่อย เนื องจากนักลงทุนมีความเชื อมันต่อการบินไทย และจากผล ้ ้ ั ประกอบการทีดีขึนกว่าปี ทีผ่านมา ทําให้การบินไทยประสบความสําเร็ จในการระดมทุนครังนี เพือสนับสนุน แผนการเสริ มความแข็งแกร่ งและความคล่องตัวทางการเงิน การขยายฝูงบิน และการเพิมขีดความสามารถในการ แข่งขันในอุตสาหกรรมการบินพาณิ ชย์ และเพือนําการบินไทยก้าวสู่ การเป็ นสายการบินชันนํา 1 ใน 3 ของเอเชีย และ 1 ใน 5 ของโลก โดยบริ ษทฯ ได้เสนอขายหุ ้นสามัญเพิมทุนจํานวนทังสิ น 483.87 ล้านหุ น ตามแผนระดมทุน ั ้ ของการบินไทย จํานวนประมาณ 15,000 ล้านบาท และเสนอขายทีราคา 31 บาทต่อหุ น ทังนีบริ ษทฯ เสนอขายหุ น ้ ั ้ 5
  • 6. สามัญเพิมทุนจํานวนประมาณ 246.93ล้านหุ น ให้กระทรวงการคลัง ซึ งเป็ นผูถือหุ ้นใหญ่ของบริ ษทฯ เพือรักษา ้ ้ ั สัดส่ วนการถือหุ นในบริ ษทฯ ในสัดส่ วนประมาณร้อยละ 51.03 ภายหลังการเสนอขายในครังนี นอกจากนัน ้ ั บริ ษทฯ ได้เสนอขายหุ นสามัญเพิมทุนจํานวนประมาณ 221.83 ล้านหุ น ให้แก่ผถือหุ ้นเดิมของบริ ษทฯ (ยกเว้น ั ้ ้ ู้ ั ่ กระทรวงการคลัง) ทีมีชือปรากฏอยูในสมุดทะเบียนผูถือหุ น ณ วันที 30 สิ งหาคม 2553 ซึ งได้สิทธิ ในการจองซือ ้ ้ หุ นในอัตราส่ วน 1 หุ นสามัญเดิม ต่อ 0.2667 หุ นสามัญเพิมทุนใหม่ และบริ ษทฯ ยังเสนอขายหุ นสามัญเพิมทุน ้ ้ ้ ั ้ ้ ู้ ่ จํานวนประมาณ 15.11 ล้านหุ นให้แก่ผจองซื อรายย่อยซึ งเป็ นบุคคลธรรมดาสัญชาติไทยและมีทีอยูในประเทศ ไทย หรื อนิ ติบุคคลทีจดทะเบียนในประเทศไทย โดยบริ ษทฯ เปิ ดให้มีการจองซื อหุ นสามัญเพิมทุนในวันที 16 ั ้ และ 17 กันยายน 2553 และหุ นเพิมทุนได้เข้าซือขายในตลาดหลักทรัพย์เมือวันที 28 กันยายน 2553 ้ 6
  • 7. วิสัยทัศน์ ของบริษทฯ ั เป็ นสายการบินทีลูกค้าเลือกเป็ นอันดับแรก ให้บริ การดีเลิศด้วยเสน่ห์ไทย ภารกิจของบริษทฯ ั • ให้บริ การขนส่ งทางอากาศอย่างครบวงจร ทังภายในประเทศและระหว่างประเทศ โดยใส่ ใจในเรื องความ ปลอดภัย ความสะดวกสบาย และ การบริ การทีมีคุณภาพ เพือสร้างความเชื อมันและความพึงพอใจต่อลูกค้า • มีการบริ หารธุ รกิจอย่างมีประสิ ทธิ ภาพ และโปร่ งใสด้วยความซื อสัตย์สุจริ ตตามแนวทางปฏิบติทีเป็ น ั สากล และมีผลประกอบการทีน่าพอใจ เพือสร้างประโยชน์สูงสุ ดให้แก่ผถือหุ น ู้ ้ • สร้างสิ งแวดล้อมในการทํางานและให้ผลตอบแทนทีเหมาะสม เพือจูงใจให้พนักงานเรี ยนรู ้และทํางาน อย่างเต็มศักยภาพ และภูมิใจทีเป็ นส่ วนร่ วมในความสําเร็ จของบริ ษทฯ ั • มีความรับผิดชอบต่อสังคม ในฐานะเป็ นสายการบินแห่งชาติ 7
  • 8. นโยบายของบริษทฯ ั ดําเนินงานในฐานะทีเป็ นสายการบินแห่งชาติ เป็ นตัวแทนของประเทศไทย ในการดํารงรักษาและเพิมพูนสิ ทธิ ด้านการบิน ร่ วมส่ งเสริ มและพัฒนาอุตสาหกรรมการท่องเทียว แสวงหาและเพิมพูนรายได้ ทังในรู ปเงินบาท และ เงินตราต่างประเทศ นอกจากนัน ยังดําเนิ นการส่ งเสริ มพัฒนาทรัพยากรบุคคลของบริ ษทฯ ให้มีทกษะ และ ั ั วิชาชีพทีเป็ นมาตรฐานสากล รวมถึงส่ งเสริ มพัฒนาเทคโนโลยีทุกสาขาทีเกียวข้อง ในการบินพาณิ ชย์ของโลก ทังนี บริ ษทฯ ยังมุ่งเผยแพร่ วฒนธรรม ขนบธรรมเนียมประเพณี และเอกลักษณ์ของประเทศไทย สู่ สายตาชาวโลก ั ั อย่างต่อเนื อง นโยบายด้ านสิ งแวดล้ อมของบริษทฯ ั บริ ษท การบินไทย จํากัด (มหาชน) ในฐานะเป็ นสายการบินแห่งชาติและเป็ นสายการบินชันนําตระหนักในความ ั รับผิดชอบต่อประเทศและสังคมโลกในการรักษาสิ งแวดล้อม บริ ษทฯ จึงมีความมุ่งมันในการดําเนินธุ รกิจการบิน ั ทีเป็ นมิตรกับสิ งแวดล้อม โดยมีนโยบายในการบริ หารจัดการด้านสิ งแวดล้อมดังนี 1. บริ ษทฯ จะพัฒนาระบบการจัดการสิ งแวดล้อมตามมาตรฐานสากลเพือทําให้มนใจว่า กิจกรรมและการ ั ั ดําเนินงานของบริ ษทฯ จะเป็ นไปตามมาตรฐานและกฎหมายด้านสิ งแวดล้อมทีเกียวข้อง ั 2. พัฒนาและปรับปรุ งระบบการจัดการสิ งแวดล้อม ในทุกกิจกรรมของบริ ษทฯ เพือลดมลภาวะและผลกระทบต่อ ั สิ งแวดล้อมอย่างต่อเนือง โดยมีวตถุประสงค์ เป้ าหมาย แผนงานปฏิบติ และการประเมินผล อย่างชัดเจน ั ั 3. การดําเนิ นงานของบริ ษทฯ จะคํานึงถึงผลกระทบต่อสิ งแวดล้อมในประเด็นทีสําคัญต่างๆ ทังในด้านมลภาวะ ั จากเครื องบิน มลภาวะทางเสี ยง การใช้นามันเชื อเพลิง การปรับปรุ งคุณภาพนําทิง การใช้สารเคมี การอนุรักษ์ ํ พลังงานไฟฟ้ า การจัดการขยะประเภทต่างๆ การนําสิ งของมาใช้ซาหรื อการนํากลับมาใช้ใหม่เพือเป็ นการอนุรักษ์ ํ ทรัพยากรธรรมชาติ 4. รณรงค์สร้างจิตสํานึก และฝึ กอบรมพนักงานในด้านสิ งแวดล้อมอย่างต่อเนื อง เพือให้ระบบการจัดการ สิ งแวดล้อมดําเนินไปอย่างมีประสิ ทธิ ภาพ 5. ให้การสนับสนุนการอนุ รักษ์สิงแวดล้อมแก่สังคมและองค์กรต่างๆ รวมทังดําเนินการเผยแพร่ ขอมูลข่าวสาร ้ ด้านสิ งแวดล้อม เพือสร้างภาพลักษณ์และความเข้าใจอันดีต่อการจัดการสิ งแวดล้อมของบริ ษทฯ ั 8
  • 9. ผลการดําเนินงาน ํ ผลการดําเนิ นงานของการบินไทยมีกาไรต่อเนืองมาตังแต่ปีงบประมาณ2507/2508 จนถึงปั จจุบน แม้วาธุ รกิจการ ั ่ บินเป็ นธุ รกิจทีต้องมีการลงทุนและค่าใช้จ่ายทีสู งมาก แต่การบินไทย ก็คงสถานะเป็ นสายการบิน ทีทํากําไรและ ผ่านวิกฤติการณ์ ทีกระทบกระเทือนธุ รกิจการบินโลกมาด้วยดี และส่ งรายได้สู่ รัฐ ทังในรู ปของเงินปั นผลภาษีและ อืนๆ นอกจากผลการดําเนินการด้านกําไร การบินไทยยังได้ชือว่าเป็ นผูร่วมบุกเบิกจุดบินใหม่ๆ จนได้เป็ นทีรู ้จก ้ ั กันทัวโลก เช่น กาฐมาณฑุ เดนปาซาร์ และโกตากีนาบาลู ริ เริ มการบินเส้นทางตรงสู่ ยโรป รวมทังเปิ ดเส้นทางบิน ุ ใหม่ๆ ในภูมิภาคนีเพือใช้กรุ งเทพฯ เป็ นศูนย์กลางการบิน และได้ร่วมกําหนดแผนพัฒนาเศรษฐกิจ และสังคม แห่งชาติในด้าน กิจการบิน ดําเนินการพัฒนาการบินภายในประเทศ รวมถึงดําเนินการศูนย์ซ่อมเครื องบิน ลําตัว กว้างจนได้รับความไว้วางใจจากทัวโลก ปี 2552 บริ ษทฯ มีรายได้รวมทังสิ น 163,875 ล้านบาท ลดลงจากปี ก่อน 38,731 ล้านบาท หรื อร้อยละ 19.1 สาเหตุ ั สําคัญ เนื องจากการแข่งขันด้านราคาทีรุ นแรง ปริ มาณการ ขนส่ งทีลดลง ประกอบกับอัตราค่าธรรมเนียมชดเชย ค่านํามันลดลงตามราคาเฉลียนํามันทีลดลง ส่ วน ค่าใช้จ่ายรวมมีจานวนทังสิ น 155,768 ล้านบาท ลดลงจากปี ก่อน ํ ร้อยละ 31.1 สาเหตุสาคัญเนื องจากราคานํามันโดยเฉลียตํากว่าปี ก่อน ปริ มาณการผลิตและการขนส่ งลดลง ผลจาก ํ การลดค่าใช้จ่ายดําเนิ นงานตามแผนฟื นฟูธุรกิจ และการควบคุมและบริ หารจัดการค่าใช้จ่ายทีดําเนินการอย่างต่อ ํ เนืองมาจากปี ก่อน ประกอบกับมีกาไรจากอัตราแลกเปลียนเงินตราต่างประเทศ ในขณะทีปี ก่อนขาดทุนจากอัตรา ั ํ แลกเปลียนเงินตราต่างประเทศ เป็ นผลให้ในปี 2552 บริ ษทฯ มีกาไรสุ ทธิ 7,344 ล้านบาท คิดเป็ นกําไรต่อหุ น ้ 4.32 บาท เปรี ยบเทียบกับปี ก่อน ซึ งขาดทุนสุ ทธิ 21,379 ล้านบาท คิดเป็ นขาดทุนต่อหุ ้น 12.58 บาท โดยมี EBITDA เท่ากับ 30,297 ล้านบาท สู งกว่าปี ก่อน 16,678 ล้านบาท ปี 2553 เดือนมกราคมถึงสิ นเดือนธันวาคม บริ ษทฯ ได้ดาเนินงานตามแผนยุทธศาสตร์ จนสามารถประสบ ั ํ ั ความสําเร็ จในการสร้างพืนฐานธุ รกิจทีแข็งแกร่ งให้กบองค์กร (Build Solid Foundation) ถึงแม้จะได้รับ ผลกระทบจากเหตุการณ์ภูเขาไฟระเบิดในประเทศไอซ์แลนด์ ทําให้น่านฟ้ ายุโรปต้องปิ ดลงระยะหนึงในเดือน เมษายน 2553 และเหตุการณ์ชุมนุมทางการเมืองภายในประเทศ ในช่วงเดือนเมษายน - พฤษภาคม 2553 แต่ อย่างไรก็ตามในไตรมาส 3 เหตุการณ์เริ มคลีคลายประกอบกับบริ ษทฯ ได้ดาเนินกลยุทธ์ธุรกิจอย่างเข้มข้น และมี ั ํ การปรับแผนการทํางานให้เหมาะสมทันกับสถานการณ์ทีเปลียนแปลงอย่างต่อเนื อง ส่ งผลให้การดําเนินงานของ ั ํ บริ ษทฯ ในปี 2553 มีกาไรเพิมขึนจากปี 2552 ทังนี ในปี 2553 บริ ษทฯ มีรายได้รวมทังสิ น 184,270 ล้านบาท ั เพิมขึนจากปี 2552 จํานวน 20,395 ล้านบาท หรื อร้อยละ 12.4 โดยมีรายได้จากการขายหรื อการให้บริ การเพิมขึน 18,985 ล้านบาท หรื อร้อยละ 11.7 ค่าใช้จ่ายไม่รวมกําไรจากอัตราแลกเปลียนแต่รวมส่ วนแบ่งกําไรจากเงินลงทุน ตามวิธีส่วนได้เสี ยและต้นทุนทางการเงิน มีจานวนทังสิ น 175,853 ล้านบาท สู งกว่าปี ก่อน 16,918 ล้านบาท หรื อ ํ ร้อยละ 10.6 เป็ นผลมาจากราคานํามันเครื องบินโดยเฉลีย สู งขึนร้อยละ 26.4 การเพิมปริ มาณการผลิตและการ ขนส่ ง ประกอบกับค่าใช้จ่ายบุคลากรสู งขึน ซึ งส่ วนหนึงเป็ นผลมาจากบริ ษทฯ ได้ดาเนินยุทธศาสตร์ การบริ หาร ั ํ กําลังคน โดยการจัดให้มีโครงการ Golden Handshake และโครงการร่ วมใจจากองค์กร (Mutual Separate Plan) เป็ นจํานวนเงิน 2,263 ล้านบาท ซึ งในระยะยาวจะส่ งผลให้ตนทุนบุคลากรโดยรวมลดลง และมีค่าใช้จ่ายเงิน ้ รางวัลประจําปี 2553 (โบนัส) จํานวน 3 เดือน ซึ งค่าใช้จ่ายบุคลากรส่ วนนีเป็ นค่าใช้จ่ายทีไม่ใช่ค่าใช้จ่ายประจํา 9
  • 10. ํ นอกจากนัน ในปี 2553 บริ ษทฯ มีกาไรจากอัตราแลกเปลียนเงินตราต่างประเทศ 9,106 ล้านบาท เพิมขึน 5,939 ั ํ ล้านบาท หรื อร้อยละ 187.5 บริ ษทฯ มีกาไรก่อนภาษีเงินได้ 17,523 ล้านบาท เพิมขึน 9,416 ล้านบาท หรื อร้อยละ ั 116.1 จรรยาบรรณของบริษทฯ ั ดําเนินงานหรื อประกอบธุ รกิจบนพืนฐานของความเป็ นธรรมและจริ ยธรรม ตลอดจนปกป้ องรักษาผลประโยชน์ อันชอบธรรมของบริ ษทฯ และตระหนักในคุณค่าของพนักงาน โดยยึดหลักว่าพนักงานทุกคนเป็ นทรัพยากรที ั สําคัญและเป็ นตัวแทนของบริ ษทฯ พนักงานทุกคนจึงมีส่วนร่ วม และสนับสนุนความสําเร็ จของบริ ษทฯ ั ั เพือบรรลุจุดประสงค์ดงกล่าว บริ ษทฯ ได้กาหนดขัอพึงปฏิบติต่าง ๆ เพือเป็ นหลักในการปฏิบติงานของพนักงาน ั ั ํ ั ั ทุกระดับ รวมทังกําหนดจริ ยธรรมในการดําเนิ นธุ รกิจโดยทัวไป ดังนี 1. ปฏิบติต่อลูกค้าและผูเ้ กียวข้องทางธุ รกิจด้วยความเป็ นธรรม ซื อสัตย์ สุ จริ ตและรักษาผลประโยชน์ของลูกค้าทุก ั คน 2. ไม่ฝักใฝ่ ทางการเมือง โดยวางตัวเป็ นกลางเพือสร้างประโยชน์ให้สังคมและประเทศชาติ 3. ดําเนินธุ รกิจบนพืนฐานของการแข่งขันทีเป็ นธรรม 4. สนับสนุนการใช้ทรัพยากรภายในประเทศอย่างมีประสิ ทธิ ภาพ โดยคํานึงถึงการอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติ และสิ งแวดล้อม 10
  • 11. พัฒนาการการบินไทย พัฒนาการการบินไทย ปี พ.ศ. 2552 - ปัจจุบัน การบินไทยเปิ ดจุดบินใหม่ เส้นทางกรุ งเทพฯ – ออสโล ประเทศนอร์ เวย์ ถือเป็ นจุดบินต่างประเทศจุด ที ใน ประเทศทีการบินไทยทําการบิน เพือตอบสนองความต้องการของผูโดยสารในการเดินทางไปยัง ้ จุดหมายต่างๆ ได้ครอบคลุมทัวโลก ปี เป็ นอีกหนึงปี ทีการบินไทยได้รับรางวัลจากสถาบันชันนําต่างๆ ทัว โลก อาทิ รางวัลอันดับ ประเภทสายการบินยอดเยียมของเอเชีย (Best Asian Carrier) จากการประกาศรางวัล โกลด์ อวอร์ ดส และรางวัลอันดับ ประเภทสายการบินระหว่างทวีปยอดเยียม (Best Intercontinental Airlines) จากงาน Grand Travel Award Ceremony รางวัล แพลทตินมแบรนด์ ประเภทสายการบินทีน่าเชือถือมาก ั ทีสุ ดจากผูบริ โภค ประจําปี ้ (Reader’s Digest, Trusted Brands Platinum Award 2009) จาก นิตยสาร Reader’s Digest นับเป็ นปี ที ติดต่อกัน ทีการบินไทยได้รับรางวัลนี นอกจากนี การบินไทยได้รับการ จัดอันดับให้เป็ นสายการบินยอดเยียมอันดับหนึงด้านการให้บริ การลูกค้าภาคพืนแก่ผโดยสารชันหนึงและชัน ู้ ธุ รกิจจากสกายแทรกซ์ (Skytrax) อีกด้วย ในส่ วนงานด้านระบบเทคโนโลยีสารสนเทศ การบินไทยโดยพนักงานการบินไทย ได้ออกแบบและพัฒนา ซอฟท์แวร์ Cabin Attendant Pre-Flight Study and Briefing System และได้รับรางวัลชนะเลิศ ผลิตภัณฑ์ ซอฟท์แวร์ ดีเด่นแห่งชาติ ประจําปี (Thailand ICT AWARDS 2009) สาขาการท่องเทียวและการโรงแรม จัดโดยกระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื อสาร และจากนโยบายหลักด้านสิ งแวดล้อมของการบินไทย เพือลดมลพิษและผลกระทบต่างๆ อันเกิดจากการ ดําเนินงานและการปฏิบติการบินให้นอยทีสุ ด การบินไทยจึงเป็ นสายการบินแรกในเอเชียแปซิ ฟิค ทีลงนามใน ั ้ บันทึกข้อตกลงกับสมาคมขนส่ งทางอากาศระหว่างประเทศ หรื อ IATA เพือศึกษาแนวทางการมีส่วนร่ วมชดเชย การปลดปล่อยก๊าซคาร์ บอนไดออกไซด์ หรื อ Carbon Offset ของผูโดยสารทีเดินทางด้วยสายการบินไทย และ ้ เป็ นตัวอย่างทีดีในการเป็ นสายการบินชันนําของโลก ทีเปิ ดโอกาสให้ผโดยสารมีส่วนร่ วมในการชดเชยก๊าซ ู้ คาร์ บอนไดออกไซด์ทีได้ปล่อยสู่ สภาวะแวดล้อมของโลก ควบคู่ไปกับการบริ หารจัดการการใช้นามันอากาศยาน ํ อย่างมีประสิ ทธิ ภาพ เพือลดการปลดปล่อยก๊าซคาร์ บอนไดออกไซด์สู่ สภาวะแวดล้อม ในปี 2553 นับเป็ นปี แห่งการเฉลิมฉลองความสําเร็ จในโอกาสครบรอบ 50 ปี ของการดําเนินธุ รกิจ การบิน บริ ษทฯ ในฐานะสายการบินแห่งชาติ ได้มีส่วนในการเผยแพร่ เอกลักษณ์ความเป็ นไทย และนําชือเสี ยง ั เกียรติภูมิมาสู่ ประเทศไทยในสายตาของประชาคมโลกมาอย่างยาวนาน บริ ษทฯ ได้รับยกย่องจากสถาบันสําคัญ ั ชันนําในประเทศและต่างประเทศ รวมทังได้รับการยอมรับจากผูใช้บริ การเสมอมา และทีสําคัญ คือ ในปี 2553 ้ บริ ษทฯ ประสบความสําเร็ จในการดําเนินธุ รกิจตามแผนยุทธศาสตร์ 5 ปี "Mission TG100" และแผนกลยุทธ์ใน ั ทุกๆ ด้าน จนมีผลประกอบการเป็ นทีน่าพอใจเป็ นอย่างยิง และด้วยสภาวะแวดล้อมทางธุ รกิจการบินทีมีปัจจัย เสี ยงในหลายด้าน บริ ษทฯ จึงมุ่งมันทีจะพัฒนาคุณลักษณะ 3 ประการ คือ เพือเป็ นองค์กรทีมุ่งเน้นลูกค้า เพือเป็ น ั องค์กรทีสามารถแข่งขัน และเพือเป็ นองค์กรทีมีความคล่องตัวสู ง ทังนี เพือสร้างโอกาสการขยายทางธุ รกิจ เพิม 11
  • 12. ความสามารถในการแข่งขันและรองรับการเปิ ดเสรี การบินของภูมิภาค สําหรับด้านการเสริ มสร้างความพึงพอใจ และตอบสนองความต้องการของลูกค้า บริ ษทฯ ได้มีการปรับปรุ งการให้บริ การในทุกจุดสัมผัสอย่างเป็ นรู ปธรรม ั และชัดเจน เพือตอบสนองไลฟ์ สไตล์ใหม่ๆ ของคนยุคปั จจุบน ตลอดจนเพิมความสะดวกสบายในการให้บริ การ ั ลูกค้า ผูโดยสารและผูทีเกียวข้องกับการเดินทาง ส่ งผลให้บริ ษทฯ ได้รับการจัดอันดับจากสกายแทร็ กซ์ ให้เป็ น ้ ้ ั สายการบินอันดับ 1 ในด้านการบริ การลูกค้าภาคพืน ณ ท่าอากาศยานสุ วรรณภูมิ และอันดับ 1 ในด้านการบริ การ ภายในห้องรับรองพิเศษสําหรับผูโดยสารชันหนึง ้ ด้านเส้นทางบิน บริ ษทฯ ได้มีการปรับเปลียนเส้นทางบินให้สอดคล้องกับความต้องการของลูกค้ามากยิงขึน โดย ั ได้เพิมเส้นทางการบินใหม่ ได้แก่ ฮาเนดะ ประเทศญีปุ่ น และโจฮันเนสเบิร์ก ประเทศสาธารณรัฐแอฟริ กาใต้ รวมทังร่ วมมือกับสายการบินนกแอร์ ในบางจุดบิน ด้านการพัฒนาฝูงบินทีมีประสิ ทธิ ภาพ บริ ษทฯ ได้ดาเนินการ ั ํ จัดหาเครื องบินเพิมเติม รวมทังปรับปรุ งห้องโดยสารและผลิตภัณฑ์บนเครื องบิน ตลอดจนมีการจัดทําแผนพัฒนา ฝูงบินในระยะยาว เพือจัดหาเครื องบินทีมีความทันสมัยและมีเทคโนโลยีในด้านประหยัดเชือเพลิง โดยบริ ษทฯ มีั เป้ าหมายในการลดอายุเฉลียของฝูงบินจาก 11.9 ปี โดยเฉลียในปี 2553 เป็ น 8.5 ปี โดยเฉลียในปี 2560 ด้าน ค่าใช้จ่าย บริ ษทฯ มีมาตรการควบคุมรายจ่ายทีไม่มีผลกระทบต่อด้านการบริ การและความปลอดภัย อาทิ การจัด ั โครงการร่ วมใจจากองค์กร การปรับปรุ งวิธีการจัดซือจัดจ้าง การเพิมประสิ ทธิ ภาพและประสิ ทธิ ผลด้านการ บริ หารจัดการด้านการใช้นามันเชือเพลิง ตลอดจนมีนโยบายให้ความสําคัญต่อการลดผลกระทบต่อ ํ สภาพแวดล้อม โดยบริ ษทฯ เป็ นสายการบินแรกในภูมิภาคเอเชียทีมีการลงนามในความร่ วมมือกับสมาคมขนส่ ง ั ทางอากาศระหว่างประเทศ (IATA) เพือจัดทําโครงการชดเชยการปล่อยก๊าซคาร์ บอนไดออกไซด์ และการจัดทํา ฉลากคาร์ บอนฟุตพริ นท์จาก 2 เมนูอาหารทีบริ การบนเครื องบินทีแสดงปริ มาณก๊าซเรื อนกระจกทีถูกปลดปล่อย ออกมา ตลอดทังวงจรชีวิตของอาหารนัน เพือเป็ นทางเลือกให้ผโดยสารได้มีส่วนร่ วมในการช่วยลดภาวะโลก ู้ ร้อน ด้านการเพิมความคล่องตัวในการบริ หารงาน บริ ษทฯ มีการกระจายอํานาจและความรับผิดชอบในการ ั ั ้ บริ หารงานให้กบผูบริ หารระดับสู ง โดยใช้ระบบประเมินผลการปฏิบติงาน (KPI) เข้ามาใช้อย่างเป็ นรู ปธรรม มี ั การปรับใช้มาตรการกํากับดูแลกิจการทีดี โดยการนําแนวนโยบาย Whistle Blower มาใช้ รวมถึงการพัฒนาให้ หน่วยธุ รกิจเป็ นหน่วยงานทีสร้างกําไรให้แก่บริ ษทฯ โดยมีการปรับปรุ งบัญชีของหน่วยธุ รกิจออกจากหน่วย ั ธุ รกิจหลัก ตลอดจนการเพิมอํานาจในการตัดสิ นใจให้แก่หน่วยธุ รกิจ พัฒนาการการบินไทย ปี พ.ศ. 2542 - 2551 2542 การบินไทยร่ วมกับปวงชนชาวไทยเฉลิมฉลอง เนื องในโอกาสปี มหามงคลเฉลิมพระชนมพรรษาครบ 6 ่ ั รอบ ของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยูหว โดยประดับตราสัญลักษณ์ ของวโรกาสนี บนเครื องบินทุกลํา และลงลาย ภาพเรื อพระทีนัง สุ พรรณหงส์ บนเครื องบินโบอิง 747-400 ทังนีเพือเป็ นการแสดงให้ทวโลก ได้ประจักษ์ถึงความ ั ภาคภูมิใจ และความจงรักภักดีของคนไทย ทีมีต่อพระมหากษัตริ ยไทย ์ 12
  • 13. 2543 การบินไทยครบรอบ 40 ปี ในการดําเนินกิจการ และประสบความสําเร็ จอย่างงดงาม การบิน ไทยจะก้าวต่อไปสู่ สหัสวรรษใหม่ อย่างมันคงด้วยประสบการณ์ และจะทําการบุกเบิกพัฒนาสร้างสรรค์บริ การ และเส้นทางบินใหม่ๆ ให้ครอบคลุมมากขึน ทังภายในประเทศ และต่างประเทศ รวมทังให้บริ การทีสะดวกสบาย ด้วยเครื องบินทีทันสมัย มีมาตรฐานสู งสุ ดในด้านความปลอดภัย ทังนี เพือให้การบินไทยเป็ นสายการบินแห่งชาติ ทีให้บริ การเป็ นทีประทับใจ และเป็ นทีนิยมชืนชอบของผูใช้บริ การตลอดไป ้ 2544 การบินไทยเริ มดําเนินโครงการระบบจัดการลูกค้าสัมพันธ์ the Customer Relationship ั Management (CRM) เพือให้สามารถตอบสนองความต้องการและสานความสัมพันธ์ทีดีกบลูกค้าได้ตาม คาดหมาย การบินไทยยังได้ขยายความร่ วมมือด้านการบินทังภายในประเทศและภูมิภาค ผ่านพันธมิตรการบินทัว โลก2545 การบินไทยเปิ ดจุดบินใหม่ 4 เส้นทาง ประกอบด้วย มุมไบ เฉิ งตู พูซาน และคูเวต และปี นี การบินไทย ํ ยังมีกาไรติดต่อกันเป็ นปี ที 38 และเป็ นปี ทีผลกําไรสู งทีสุ ด 2546 การบินไทยแนะนําบริ การใหม่รอยัล อี เซอร์ วส นวัตกรรมทีช่วยอํานวยความสะดวกสบาย ิ รวดเร็ วแก่ผโดยสารอย่างครบวงจรในการเลือกเทียวบิน สํารองทีนัง ออกบัตรโดยสาร เช็คอิน และบริ การอืนๆ ู้ ด้วยตนเองผ่านระบบอิเล็กทรอนิกส์ การบินไทยเริ มใช้ระบบการประมูลผ่านทางอิเล็กทรอนิกส์ ในการจัดซือจัด จ้างเพือลดค่าใช้จ่าย สร้าวความโปร่ งใส ถูกต้องและมีธรรมาภิบาล 2547 การบินไทยเริ มดําเนินกลยุทธ์ การพัฒนาเอกลักษณ์และบริ การสู่ ความเป็ นหนึง โดยการลง นามกับบริ ษทอินเตอร์ แบรนด์ เพือปรับปรุ งเอกลักษณ์ของบริ ษทฯ พร้อมกันนี ยังได้แนะนําบริ การใหม่ ั ั Premium Customer Service เพือเพิมความประทับใจสู งสุ ดแก่ผโดยสารชันหนึงและชันธุ รกิจ การบินไทยร่ วมทุน ู้ เปิ ดสายการบินต้นทุนตําในนาม “นกแอร์ ” โดยถือหุ ้นร้อยละ 39 2548 การบินไทยเฉลิมฉลองครบรอบ 45 ปี ด้วยการเปิ ดตัวสัญลักษณ์รูปแบบใหม่ของบริ ษทฯ ที ั สะท้อนเอกลักษณ์ความเป็ นไทยโดยพัฒนาจากตราสัญลักษณ์เดิม ตามแนวความคิดใหม่ของบริ ษทฯ ได้แก่ High ั Trust, World Class and Thai Touch พร้อมกันนียังได้ปรับเปลียนเครื องแบบใหม่ของบริ ษท ประกอบด้วย ชุด ั พนักงานต้อนรับภาคพืน ชุดพนักงานต้อนรับบนเครื องบินและชุดพนักงานประชาสัมพันธ์ นอกจากนี ยังได้ลง นามในสัญญาทํารหัสร่ วมกับสายการบินนิวซี แลนด์ และ แอร์ มาดากัสการ์ และในปี เดียวกันนี การบินไทย ยัง เปิ ดเส้นทางบินตรงจาก กรุ งเทพฯ สู่ มหานครนิ วยอร์ ก และนครลอสแองเจอริ ส ประเทศสหรัฐอเมริ กา และ กรุ งเทพฯ สู่ กรุ งมอสโก ประเทศรัสเซี ย 13
  • 14. ่ ั 2549 เพือร่ วมฉลองในวโรกาสทีพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยูหวทรงครองสิ ริราชสมบัติครบ 60 ปี การบินไทยเปิ ดตัวโครงการ THAI Grand Season Campaign 2006 ส่ งเสริ มให้นกท่องเทียวร่ วมเฉลิมฉลอง ั วโรกาสอันเป็ นมงคลนี นอกจากนี การบินไทยได้จดโปรโมชัน “THAI Value Card” บัตรโดยสารราคาพิเศษเพือ ั เป็ นการส่ งเสริ มให้ประเทศไทยเป็ นแหล่งท่องเทียวตลอดทังปี และในเดือนกันยายน 2549 การบินไทยประสบ ความสําเร็ จในการย้ายฐานจากท่าอากาศยานกรุ งเทพไปยังท่าอากาศยานสุ วรรณภูมิ นอกจากนี ยังได้เปิ ด ให้บริ การเส้นทาง กรุ งเทพฯ-โจฮันเนสเบิร์ก นับเป็ นจุดบินแรกที การบินไทยเปิ ดให้บริ การไปยังทวีปแอฟริ กา 2550 เป็ นปี ทีบริ ษทฯ เริ มให้บริ การทีท่าอากาศยานสุ วรรณภูมิอย่างสมบูรณ์ โดย ห้องพัก ั รับรองพิเศษชันเฟิ ร์ สต์คลาสของการบินไทยทีท่าอากาศยานสุ วรรณภูมิ ได้รับการโหวตให้เป็ นห้องพักรับรอง "ที ดีทีสุ ดในโลก" จากผลการสํารวจของ Skytrax World Airline Survey รวมทังยังได้ตอบสนองนโยบายรัฐบาล ใน การเปิ ดให้บริ การเทียวบินภายในประเทศ ณ ท่าอากาศยานดอนเมือง ซึ งต่อมาการบินไทย ได้เปิ ดให้บริ การ Thai City Air Terminal เพือเพิมจุดบริ การเช็คอิน ให้แก่ผโดยสารในเทียวบินภายในประเทศ ณ สถานีรถไฟฟ้ าใต้ดิน ู้ ลาดพร้าว โดยให้บริ การรับ-ส่ งผูโดยสารระหว่างท่าอากาศยานดอนเมือง และสถานีรถไฟฟ้ า ด้วยการเชือมกับ ้ เครื อข่ายระบบขนส่ งสาธารณะ สําหรับการให้บริ การในส่ วนอืนๆ การบินไทยได้เปิ ดเส้นทางบินใหม่ไป ยัง พุทธคยา และ พาราณาสี เพือรองรับนักท่องเทียวทีต้องการไปแสวงบุญ 2551 การบินไทยได้เปิ ดเทียวบินใหม่บินตรงเกาะสมุย จังหวัดสุ ราษฎร์ ธานี นอกจากนี การบินไทยยังได้รับ รางวัลหลากหลายสาขา ทังรางวัลสายการบินระหว่างประเทศทีดีทีสุ ด ( Best Intercontinental Airline ) ติดต่อกัน เป็ นปี ที 4 จากการมอบรางวัล Norwegian Grand Travel Award 2008 ของอุตสาหกรรมการท่องเทียวประเทศ นอร์ เวย์ เรางวัลสายการบินทีดีทีสุ ดอันดับ 2 ด้านการให้บริ การภาคพืนแก่ผโดยสารชันหนึงและชันธุ รกิจ อันดับ ู้ 2 ด้านการให้บริ การภาคพืนแก่ผโดยสารชันประหยัด นอกจากนี ครัวการบินของบริ ษทฯ ได้รับการรับรอง ู้ ั มาตรฐาน OHSAS 18001 เป็ นแห่งแรกของประเทศไทยจาก Bureau Viritas Quality International ( BVQI ) เป็ น การรองรับครอบคลุมการผลิตอาหารเพือบริ การบนเครื องบิน ทังอาหารคาวและหวาน เครื องดืม เบเกอรี รวมทัง ร้านเบเกอรี Puff & Pie ปี 2551 การบินไทยยังได้เริ มทําการปรับปรุ งเว็บไซต์ของบริ ษทฯ เพืออํานวยความ ั สะดวกให้แก่ผโดยสารในการสํารองทีนัง การเช็กเทียวบิน และ การเข้าถึงข้อมูลของบริ ษทฯ ู้ ั พัฒนาการการบินไทย ปี พ.ศ. 2532 - พ.ศ. 2541 2532 การบินไทยร่ วมสนับสนุนปี ศิลปะและหัตถกรรมไทย ด้วยการจัดรายการบัตรโดยสารราคา พิเศษ ทีมีชือว่า Discover Thailand ทังนีเพือส่ งเสริ มการท่องเทียวสู่ ประเทศไทย อีกทังได้พฒนารายการท่องเทียว ั ทัวร์ เอืองหลวง ให้มีความหลากหลายมากขึน ในปี เดียวกันนีได้เปิ ดครัวการบินไทยแห่งใหม่ ซึ งเป็ นครัวที ํ ทันสมัย และใหญ่ทีสุ ดแห่งหนึงในเอเชีย มีกาลังผลิตอาหารมากกว่า 20,000 ทีต่อวัน ํ 2533 ปี งบประมาณ 2532/33 นี เป็ นปี ทีบริ ษทฯ ดําเนินกิจการมาครบ 30 ปี และมีกาไรก่อนหัก ั ภาษี 6,753.6 ล้านบาท ซึ งนับว่าสู งเป็ นอันดับสองของผลกําไรแต่ละปี ทีผ่านมา รวมทังมียอดขนส่ งผูโดยสาร ้ 14
  • 15. สู งสุ ดเป็ นประวัติการณ์จานวนถึง 8.3 ล้านคน นอกจากนัน ยังได้รับมอบเครื องบินโบอิง 747-400 ลําแรก ซึ งเป็ น ํ เครื องบินโดยสารขนาดใหญ่ทีสุ ดในปั จจุบน ั 2534-2535 - การบินไทยได้เข้าร่ วมเป็ นสมาชิกในระบบสํารองทีนังแบบเบ็ดเสร็ จอะมาดิอุส (AMADEUS) ซึ งมีระบบเครื อข่ายคอมพิวเตอร์ ครอบคลุมทัวโลกเชือมโยงกับ 98 สายการบิน รวมทังตัวแทนการ ท่องเทียวทัวโลกอีกกว่า 47,500 ราย - การบินไทยได้เริ มดําเนินการแปรรู ป โดยนําหุ ้นเข้าจําหน่าย ในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย จํานวน 100 ล้านหุ น นับเป็ นการจําหน่ายหุ นทีมีจานวนมากทีสุ ด เท่าทีเคยมีมาในประเทศ สามารถระดมทุนได้ถึง 14,000 ล้าน ้ ้ ํ บาท จากนักลงทุนกว่า 256,000 ราย 2536 ในปี นี การบินไทยให้บริ การผูโดยสารมากกว่า 10 ล้านคน และประสบความสําเร็ จในการ ้ เปิ ดรับสมาชิกในรายการสะสมไมล์ รอยัล ออร์ คิด พลัส ซึงภายในปี แรก มีผสมัครเป็ น สมาชิกกว่า 200,000 คน ู้ จาก 115 ประเทศ 2537 การบินไทยได้จดทะเบียนเป็ นบริ ษทมหาชน และได้เปิ ดจุดบินใหม่ 3 แห่ง สู่ เมืองเซี ยงไฮ้ ั เมืองละฮอร์ และจังหวัดนครพนม ่ 2538 การบินไทยได้วาจ้างบริ ษททีปรึ กษาด้านการบริ หารจากต่างประเทศ ร่ วมดําเนินการเพิม ั ประสิ ทธิ ภาพในการปฎิบติงานของบริ ษทฯ ใน 3 ด้าน คือ ด้านปฎิบติการ ด้านบริ การลูกค้า และด้านการจัดการ ั ั ั และเทคโนโลยีสารสนเทศ พร้อมกันนันได้มีการประกาศวิสัยทัศน์ของบริ ษทฯ ขึนใหม่ คือ The First Choice ั Carrier. Smooth as Silk. First Time. Every Time. เพือสร้างสรรค์แนวทางและเป้ าหมายร่ วมกัน 2539 เครื องบินโบอิงแบบ 777-200 ลําแรกของการบินไทยและของโลก ทีติดตังด้วยเครื องยนต์ โรสรอยซ์ เทรน 800 เข้าประจําการ เครื องบินลํานีเป็ นเครื องบิน 2 เครื องยนต์ ความจุ 358 ทีนัง มีหองผูโดยสารที ้ ้ 15
  • 16. สู งและกว้างขวางทีสุ ด ในโอกาสนี สมเด็จพระนางเจ้าอลิซาเบธที 2 แห่งอังกฤษ ได้เสด็จเยียมชมฝ่ ายช่างการบิน ไทยด้วย อีกทังในปี นีการบินไทยได้เปิ ดบริ การข้อมูล ทางอินเทอร์ เนตแก่สาธารณะชน ผ่าน www.thaiairways.com 2540 การบินไทยเข้าร่ วมเป็ นสมาชิกก่อตังกลุ่มพันธมิตรทางการบิน สตาร์ อัลไลแอนซ์ ซึ งเป็ น เครื อข่ายสายการบินทีใหญ่ทีสุ ดในโลก การรวมกลุ่มในครังนีเป็ นการเพิมความแข็งแกร่ ง และศักยภาพในการ ดําเนินธุ รกิจการบิน ทําให้การบินไทยสามารถให้บริ การผูโดยสาร และเสนอจุดบินได้มากขึน ในปี นีการบินไทย ้ ยังได้เป็ นสายการบิน และผูสนับสนุนหลักอย่างเป็ นทางการของกีฬา เอเชียนเกมส์ ครังที 13 ซึ งจัดขึนที ้ กรุ งเทพมหานคร 2541 มาตรการลดค่าเงินบาท ทําให้มีการท่องเทียว มายังประเทศไทยเพิมมากขึนในปี ท่องเทียว อะ เมซิ งไทยแลนด์ นี การบินไทยได้จดกิจกรรมต่างๆ มากมายอย่างทีเคยปฎิบติมา ขบวนรถบุปผชาติของการบิน ั ั ไทยภายใต้แนวคิด อะเมซิงไทยแลนด์ ในงาน โรสพาเหรด ทีเมืองพาซาดีนา รัฐแคลิฟอร์ เนีย ได้เป็ นหนึงใน รางวัลชนะเลิศ ซึ งสร้างชือเสี ยงให้ประเทศไทยไปทัวโลก พัฒนาการการบินไทย ปี พ.ศ. 2522 - พ.ศ. 2531 ่ 2522 การบินไทยเปิ ดสํานักงานใหญ่ซึงตังอยูบน ถนนวิภาวดีรังสิ ต ในเนือที 26 ไร่ นับเป็ นการ รวมหน่วยงานสําคัญๆ ทังหลายเป็ นครังแรก และในปี เดียวกันนีการบินไทยได้พฒนาเส้นทางบินสู่ ทวีปยุโรป ให้ ั สามารถบินตรงไปสู่ จุดบินต่างๆ โดยไม่หยุดพัก โดยใช้เครื องบินแบบ โบอิง 747-200 ความจุ 371 ทีนัง ซึ งจัดซือ มาจํานวน 2 ลํา นอกจากนันยังได้ซือเครื องบินใหม่แบบแอร์ บส เอ 300 จํานวน 4 ลํา มาใช้บินในภูมิภาคเอเชีย ั 2523 ด้วยฝูงบินแบบโบอิง 747-200 หรื อ จัมโบ้ การบินไทยมีศกยภาพทีจะขยายเส้นทางบินสู่ ั ทวีปอเมริ กาเหนือ โดยการบินเข้ามหาสมุทรแปซิ ฟิกสู่ นครลอสแองเจลิส ซึ งเป็ นจุดบินแรกของการบินไทยสู่ ประเทศสหรัฐอเมริ กา นอกจากนัน การบินไทยยังได้เพิมจุดบินสู่ ตะวันออกกลาง ่ 2524 นับได้วาการบินไทยเป็ นสายการบินแรก ทีได้บุกเบิกเส้นทางบินเชือม ทวีปอเมริ กาเหนือ ในเส้นทาง กรุ งเทพฯ -นครซี แอตเทิล เป็ นครังแรก และยังขยายเส้นทางบินไปสู่ เมืองกวางเจา ในประเทศ สาธารณรัฐประชาชนจีน ในปี นีการบินไทยยังได้เพิมทุนจดทะเบียนเป็ น 1,100 ล้านบาท 2525 ธุ รกิจต่างๆ ในประเทศไทยต่างประสบภาวะวิกฤตจากการลดค่าเงินบาท แต่การบินไทย สามารถผ่านพ้นภาวะวิกฤตดังกล่าวด้วยดี และยังมีผลกําไรก่อนหักภาษีในปี งบประมาณ 2524/2525 ถึง 26.3 ล้าน 16
  • 17. บาท ทังนีเป็ นผลจากการบริ หารงาน อย่างมีประสิ ทธิ ภาพ ด้วยการปรับฝูงบินและแผนการดําเนิ นงาน รวมทังใช้ กลยุทธ์ร่วมมือกับสายการบินอืนๆ ในเส้นทางบินสําคัญๆ 2526 การบินไทยริ เริ มบริ การชันธุ รกิจ Royal Executive Class เพือเพิมความสะดวกสบาย ั ให้กบนักธุ รกิจ ทีเดินทางกับการบินไทยมากขึน เช่น มีการแบ่งห้องโดยสารเป็ นสัดส่ วน ใช้เก้าอีทีใหญ่ขึน มีที สําหรับวางแขนมากขึน และมีบริ การห้องรับรองพิเศษก่อนขึนเครื องบิน ซึ งเป็ นสิ ทธิ พิเศษทีการบินไทยมอบให้ นอกจากนันการบินไทย ยังได้ร่วมลงทุนในบริ ษทบริ การเชือเพลิงการบินกรุ งเทพ จํากัด (BAFS) โรงแรมรอยัล ั ออร์ คิด และโรงแรมแอร์ พอร์ ตด้วย 2527 การบินไทยร่ วมส่ งเสริ มธุ รกิจท่องเทียวในจังหวัดใหญ่ๆ ของประเทศ โดยก่อนหน้านีได้ ให้บริ การในเส้นทางบินสู่ ฮ่องกง โดยแวะผ่านเชียงใหม่ ในปี นี การบินไทยได้เพิมเส้นทางบินภายในประเทศอีก 2 เส้นทาง คือ กรุ งเทพฯ-หาดใหญ่-สิ งคโปร์ และกรุ งเทพฯ-ภูเก็ต-สิ งคโปร์ 2528 การบินไทยเปิ ดศูนย์ซ่อมอากาศยานแห่งใหม่ บริ เวณท่าอากาศยานกรุ งเทพ เป็ นการเพิม ศักยภาพในการซ่อมบํารุ ง เครื องบินลําตัวกว้างของการบินไทย ให้สามารถดําเนินการในประเทศไทย ศูนย์ซ่อม แห่งนีภายหลังได้มีการขยายใหญ่ขึน สามารถทําการซ่ อมบํารุ งเครื องบินลําตัวกว้าง เช่น โบอิง 747 และเครื องบิน ขนาดเล็กอีก 1 ลํา ได้พร้อมๆ กัน นอกจากนียังได้เปิ ดอาคารคลังสิ นค้าทีใหญ่ทีสุ ดแห่งหนึงในเอเชียอาคเนย์ มี พืนทีถึง 43,000 ตารางเมตร ซึ งสามารถรองรับปริ มาณสิ นค้าทีเพิมขึนอย่างมากของการบินไทย และอีก 28 สาย การบิน 2529 การบินไทยเปิ ดบินสู่ เมืองสตอกโฮล์ม และรุ กขยายเส้นทางบินไปยังภูมิภาคตะวันออก กลางมากขึน และยังได้เปิ ดสาขาภัตตาคารการบินไทยแห่ งแรกขึน ทีอาคารผูโดยสารแห่งใหม่ของท่าอากาศยาน ้ เชียงใหม่ ทังนีเพือส่ งเสริ มศักยภาพของสนามบินแห่งนี ในฐานะท่าอากาศยานนานาชาติ 2530 การบินไทยร่ วมรณรงค์ส่งเสริ มปี ท่องเทียวไทย ซึ งประสบผลสําเร็ จอย่างงดงาม ทังด้าน การเผยแพร่ เอกลักษณ์ความเป็ นไทย สู่ สายตาชาวโลก และการนํานักท่องเทียว เดินทางเข้ามาในประเทศเป็ น จํานวนมาก นอกจากนี การบินไทยยังได้ให้บริ การผูโดยสาร ทีอาคารผูโดยสารภายในประเทศ และต่างประเทศหลังใหม่ เป็ น ้ ้ สัดส่ วนร้อยละ 80 ของการให้บริ การทังหมดทีอาคารสองแห่งนี นอกจากนียังได้เปิ ดบินใหม่สู่ เมืองโอกแลนด์ และ เมืองแมดริ ดด้วย 17
  • 18. 2531 รัฐบาลดําเนินการรวม บริ ษท การบินไทย จํากัด และ บริ ษท เดินอากาศไทย จํากัด (บดท.) ซึ ง ั ั เป็ นบริ ษทแม่ ให้เป็ นบริ ษทเดียวกัน ทําให้การบินไทยเป็ นสายการบินทีเติบโตอย่างรวดเร็ ว เพียงชัวข้ามคืนมี ั ั เครื องบินเพิมขึน โดยรับมอบจาก บดท. จํานวน 11 ลํา รับผิดชอบการบินทังภายในประเทศ และต่างประเทศ ซึ ง ถือเป็ นการเสริ มศักยภาพ และความแข็งแกร่ งของบริ ษทฯ ในปี นี การบินไทยมีฝงบินรวม 41 ลํา ทําการบินไปยัง ั ู ต่างประเทศ 48 จุดบินใน 35 ประเทศทัวโลก และภายในประเทศอีก 23 จุดบินไทยไปทัวโลก พัฒนาการการบินไทย ปี พ.ศ. 2512 - พ.ศ. 2521 2512 - การบินไทยประสบผลสําเร็ จตามเป้ าหมายทีวางไว้ สามารถให้บริ การ โดยใช้ฝงบิน ู ไอพ่นทังหมด อีกทังยังได้ทาการเผยแพร่ วฒนธรรมไทย และการท่องเทียวสู่ สายตาชาวโลก และมีเส้นทาง ํ ั บินครอบคลุมเมืองสําคัญๆ ในเอเชียมากกว่าสายการบินอืนๆ 2513 - บริ ษท เดินอากาศไทย จํากัด และสายการบินสแกนดิเนเวียน ซึ งได้ร่วมทุนก่อตังการ ั บินไทยมาครบ 10 ปี ได้ดาเนิ นการต่อสัญญาความร่ วมมือระหว่างกันออกไปอีก 7 ปี ในปี นีการบินไทยได้ ํ นําเครื องบิน ดีซี 9-41 และ ดีซี 8-33 ทีมีสมรรถนะดี และประหยัดยิงขึนมาให้บริ การ นอกจากนียังได้ริเริ ม รายการ "รอยัลออร์ คิด ฮอลิเดย์" ซึ งเป็ นรายการท่องเทียวพิเศษทีจัดขึน เพือให้นกท่องเทียวสามารถเลือก ั รายการท่องเทียว และวันเดินทางได้ตามความต้องการแต่ในราคาประหยัด เช่นเดียวกับการเดินทางเป็ นหมู่ คณะ 2514 - การบินไทยเริ มทําการบินข้ามทวีปเป็ นครังแรก เชื อมโยง กรุ งเทพฯ - สิ งคโปร์ - ซิ ดนีย ์ และเปิ ดอาคารคลังสิ นค้าแห่งใหม่ ณ ท่าอากาศยานกรุ งเทพ ซึ งในปี แรกให้บริ การสิ นค้าเข้า-ออก ได้ ถึง2,000 ตัน 2515 - การบินไทยเปิ ดเส้นทางบินข้ามทวีปเส้นทางที 2 จากเอเชียสู่ ยโรป สู่ เมืองโคเปนเฮเกน ุ 18