SlideShare una empresa de Scribd logo
1 de 24
ยินดีต้อนรับเข้าสู่
โปรแกรม การถ่ายภาพด้วยกล้อง DSLR
เข้าสู่เนื้อหา
การถ่ายภาพด้วยกล้อง DSLR
ผู้จัดทา
บทเรียน
บทเรียน
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับกล้อง DSLR
เทคนิคการถ่ายภาพต่างๆ ....
อุปกรณ์การถ่ายภาพ
แสง และ เวลา
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับกล้อง DSLR
หลายคนคงเริ่มคุ้นกับคาว่ากล้องดิจิตอลกันบ้างแล้ว ใน
พ.ศ.นี้ไปที่ไหน ก็มีแต่คนยกเอากล้องดิจิตอลมาบันทึกภาพ เก็บเอา
ความประทับใจเอาไว้ โดยไม่เปลืองฟิล์ม ให้ต้องเอาไปล้าง เอาไปอัด ก็
สามารถเปิดดูภาพถ่ายได้อย่างรวดเร็ว จะบันทึกเอาไว้สักกี่ร้อนกี่พันรูป
ก็ได้ แล้วแต่ชอบ แต่ถ้าหากอยากบันทึกภาพที่มีความละเอียดสูง และมี
ลูกเล่นกันมากขึ้น แน่นอนว่าต้องพึ่งพากล้องดิจิตอลที่มีคุณภาพสูงไป
อีก จะชัดลึก ชัดตื้น หรือซูมได้ระยะไกล มันก็ต้องนี่ กล้องดิจิตอล
DSLR กล้องดิจิตอลขนาดใหญ่ ที่เพิ่มคุณภาพของภาพถ่ายของเราได้
อย่างมากขึ้น สวยงามขึ้นจากกล้องดิจิตอลทั่วไป ได้ภาพที่ชัดจริง มีมิติ
ไม่แบนเหมือนกับกล้องดิจิตอลทั่วไป
ถัดไป
กล้อง DSLR ก็คือ เป็นชนิดหนึ่งในกล้องดิจิตอลที่สารถถ่ายภาพต่างๆได้สวยงาม
มีเลนส์ต่างๆมากมาย เพื่อให้ได้ภาพที่ชัด บางรุ่นมีขนาดใหญ่โต เนื่องมาจากเลนส์ที่มี
ขนาดใหญ่ และหนัก แต่ก็ทาให้ภาพที่ออกมานั้นสวยมากกว่ากล้องดิจิตอลธรรมดาแต่ก็มี
ราคาสูงขึ้นไปตามลาดับ
กล้อง DSLR จะสามารถปรับรูปภาพได้ มีลูกเล่นตามแต่ต้องการมากขึ้นไปมากกว่ากล้อง
ดิจิตอลทั่วไป อาทิ ถ่ายภาพสัตว์ขนาดเล็ก ถ่ายภาพระยะไกล ปรับโฟกัสได้ตามที่เรา
ต้องการ สามารถตั้งค่าได้ในระบบอัตโนมัติและระบบแมนนวล ตามความต้องการ มี
เซ็นเซอร์ปรับระดับได้ นิยมใช้ในหมู่นักเล่นกล้องหรือว่า นักเริ่มเล่นกล้องก็สามารถทา
ได้ เพราะสาหรับกล้องดิจิตอล DSLR นั้น ไม่ได้มีเอาไว้สาหรับบันทึกภาพอย่างเดียว
เท่านั้น แต่ยังสามารถใช้ได้ในการถ่ายภาพเพื่อความสวยงามอย่างจริงจังได้ด้วย ได้ภาพที่
เสมือนจริงมากกว่า กล้องดิจิตอลโดยทั่วไป
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับกล้อง DSLR
กลับ
เทคนิคการถ่ายภาพต่างๆ.
ปัจจุบันกล้องถ่ายภาพที่ใช้ฟิล์มเริ่มเป็นสิ่งล้าสมัยไปแล้ว เนื่องจากมี
กล้องถ่ายภาพดิจิตอลเข้ามาแทนที่ด้วยความสะดวก
รวดเร็วในการใช้งาน แถมประหยัดค่าใช้จ่ายอีกด้วย คุณสามารถดูภาพ
จากจอคอม- พิวเตอร์ หรือจาเป็นต้องพิมพ์ภาพราคาภาพละ
4-5 บาทโดยไม่ต้องเสียค่าฟิล์มและค่าล้างฟิล์ม หลายท่านอาจสงสัยว่า
ทาไมต้องเรียนรู้เทคนิคถ่ายภาพทั้งที่กล้องดิจิตอลก็ใช้งาน
ค่อนข้างง่าย กดปุ่ มแล้วก็ถ่ายภาพได้ แต่คุณรู้ไหมว่าการถ่ายภาพออกมา
ให้สวยนั้นเป็นเรื่องที่ยากต้องมีประสบการณ์ เทคนิควิธีการ
ซึ่งจะได้กล่าวถึงต่อไปนี้
ถัดไป
เทคนิคการถ่ายภาพต่างๆ.
การถ่ายภาพบุคคลจุดประสงค์หลักๆ ก็คือต้องการถ่ายทอดอารมณ์และ
กิริยาท่าทางของคนๆ นั้น ดังนั้นจึงต้องถ่ายให้
คนเด่นๆ เข้าไว้ก่อนการถ่ายภาพบุคคลนิยมใช้เทคนิคที่เรียกว่าชัดตื้นหมายถึง
ภาพมีฉากหลังเบลอและตัวแบบชัดซึ่งเทคนิคนี้
เวลาถ่ายภาพจะใช้รูรับแสงที่กว้างที่สุดเท่าที่เลนส์จะทาได้ประมาณ F 2.4 แล้ว
พยายามปรับทางยาวโฟกัสให้มากๆ โดยซูมเลนส์
ไปที่ 2-3 เท่าของเลนส์ ประมาณ 80-120 มม. (เทียบเท่าเลนส์กล้องฟิล์ม 35
มม.) จะทาให้ได้ภาพที่ตัวแบบดูเด่นออกมาจาก
ฉากหลังครับ ซึ่งโหมดการถ่ายภาพที่นิยมใช้กล้องดิจิตอลถ้าเป็นโหมด
อัตโนมัติก็จะเป็นโหมดภาพถ่ายบุคคล(Portrait) ถ้าเป็น
โหมดกึ่งอัตโนมัติที่มืออาชีพชอบใช้ก็จะเป็นโหมดควบคุมรูรับแสง (A Mode)
การถ่ายภาพบุคคล ( Portrait )
กลับ ถัดไป
เทคนิคการถ่ายภาพต่างๆ.
จะเน้นความคมชัดของวิวทิวทัศน์ทั่วทั้งภาพจึงนิยมการถ่ายภาพโดยใช้เทคนิคชัดลึก
เพื่อให้มีความชัดทั่วทั้งภาพไม่ว่าวัตถุใน
ภาพจะอยู่ใกล้หรือไกล โดยโหมดที่นิยมใช้ในการถ่ายภาพวิวทิว-ทัศน์ ได้แก่ โหมด
ควบคุมรูรับแสงหรือ A Modeเพื่อควบคุม
ภาพวิวทิวทัศน์ที่นิยมถ่ายเช่น ภาพพระอาทิตย์ตก ภาพทะเล ซึ่งอาจต้องใช้ร่วมกับขา
ตั้งกล้องหรือ ISO (ความเร็วใน
การรับแสงของกล้อง)ที่สูง เพราะสามารถชดเชยแสงตามต้องการส่วนใหญ่นิยมชดเชย
แสงให้ลดลง (-) เล็กน้อย เพื่อให้ได้ภาพ
ที่มีลีสันเข้มข้น นอกจากนี้ความพิเศษของกล้องดิจิตอลคือ คุณสามารถปรับแต่งสีที่
แปลกตาด้วยการใช้ระบบ White Balance
(เป็นระบบการปรับความสมดุลของสภาพแสง) ที่แปลกไปจากปกติโดยไม่ต้องใช้
ฟิลเตอร์สีเข้าช่วย เช่น เมื่อคุณถ่ายภาพพระอาทิตย์
ตก ภาพทะเล คุณลองปรับระบบ White Balance ไปที่ Tungsten สภาพแสงหลอดไฟ
ขนาดใหญ่ หรือ Fluorescent
ถ่ายภาพวิวทิวทัศน์ (Landscape)
ถัดไปกลับ
เทคนิคการถ่ายภาพต่างๆ.
ถ่ายภาพระยะใกล้ (Macro)
การออกไปถ่ายภาพตามสถานที่ต่างๆนั้นนอกจากจะสามารถเก็บภาพ
ความประทับใจกับความสวย- งามของวิวทิวทัศน์
แล้วถ้าหากคุณเป็นคนช่างสังเกตยังสามารถเก็บรายละเอียดเล็กๆน้อยๆ ของ
สิ่งที่มองเห็นเช่น ภาพแมลง ภาพดอกไม้ มาเป็นภาพ
ที่สวยงามได้เช่นกันการถ่ายภาพแบบนี้เรียกว่า การถ่ายภาพแบบ ระยะใกล้
Macro
กล้องถ่ายภาพดิจิตอลนั้นถือว่าสามารถถ่ายภาพ Macro ได้ดีเป็นพิเศษ
เพราะเป็นผลพลอยได้จากการออกแบบเลนส์และ
เซนเซอร์รับภาพขนาดเล็กของกล้อง ทาให้กล้องดิจิตอลสามารถถ่ายภาพ
ระยะใกล้ได้ดีมากกล้องดิจิตอลบางรุ่นสามารถถ่ายภาพได้
ใกล้ถึง 1 เซนติเมตร นอกจากนี้ยังช่วยให้คุณเป็นคนสังเกตด้วย
ถัดไปกลับ
เทคนิคการถ่ายภาพต่างๆ.
ถ่ายภาพแสงไฟกลางคืน (Night Light & Firework)
ในเวลากลางคืนเราก็สามารถถ่ายภาพได้เช่นกันซึ่งการถ่ายภาพแสงไฟในเวลากลางคืนก็ให้
ความรู้สึกที่แปลกใหม่
สนุกสนานได้อีกรูปแบบหนึ่ง การถ่ายภาพแสงไฟกลางคืนนั้นจาเป็นต้องมีขาตั้งกล้องขาดเสีย
ไม่ได้เลย เพราะในยามที่มีแสงน้อย
อย่างในเวลากลางคืนนั้นมีแสงสว่างน้อยมาก ทาให้ความเร็วซัดเตอร์ที่ได้นั้นต่ามากไม่สามารถใช้
มือถือกล้องถ่ายภาพได้ เพราะจะ
ทาให้กล้องสั่นไหว จึงต้องพึ่งพาขาตั้งกล้อง
การใช้โหมดการถ่ายภาพนั้นไม่มีกฎตายตัวว่าจะต้องใช้โหมดใดขึ้นอยู่กับความถนัดเพราะมีข้อดี
คนละแบบที่นิยมใช้กันก็คือ โหมดปรับตั้งเองทั้งหมด M Mode สาเหตุที่ใช้โหมดนี้เนื่องจากใน
เวลากลางคืน แสงไฟมีการเปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็ว ทาให้
สภาพแสงไม่อยู่นิ่ง คุณสามารถทดลองถ่ายภาพออกมาดูก่อนว่าแสงพอดีหรือยังเมื่อทดลองถ่าย
โดยตั้งค่ารูรับแสงและความเร็ว
ซัดเตอร์ที่พอเหมาะก็จาค่านั้นไว้ แล้วจึงใช้ค่าที่ได้อ้างอิงปรับเปลี่ยนตามความเหมาะสมซึ่งจะต้อง
หมั่นทดลองบ่อย ๆ ครับ
ถัดไปกลับ
เทคนิคการถ่ายภาพต่างๆ.
เป็นการถ่ายภาพในมุมที่ต้องการความกว้างมากๆ เช่น รูปหมู่ในการรับปริญญาจานวนคนมากกว่า
หนึ่งร้อย รูปหาดทราย
ชายทะเล จุดเด่นของกล้องดิจิตอลอีกอย่างหนึ่งนั่นคือ การถ่ายภาพแบบพาโนรามาได้อย่างไม่ยาก
เพียงแต่ขอให้มีโปรแกรมต่อภาพ
กล้องดิจิตอล เกือบทุกรุ่นก็สามารถถ่ายภาพพาโนรามาได้แล้วหลักการถ่ายภาพพาโนรามาของกล้อง
ดิจิตอลคือการถ่ายภาพหลายๆ
ภาพต่อกันเพื่อให้ได้ภาพที่มุมมองกว้าง กว่าปกติซึ่งสามารถเลือกถ่ายได้ทั้งแนวตั้งและแนวนอน
การถ่ายภาพพาโนรามาเพื่อให้ได้ผลดี และภาพต่อกันได้สนิทควรใช้ร่วมกับขาตั้งกล้องและ
ระบบล็อคค่าความจาแสง
ความเร็วชัดเตอร์ เพื่อให้ได้ภาพที่อยู่ในระนาบเดียวกันและมีแสงสว่างของภาพใกล้ เคียงกัน แต่กล้อง
ดิจิตอลบางรุ่นก็มีระบบช่วย
เหลือการถ่ายภาพพาโนรามา ซึ่งจะแสดงภาพถ่ายที่ถ่ายไปแล้วไปที่จอ LCD (เป็นช่องมองภาพของ
กล้อง) เพื่อช่วยให้การถ่ายภาพ
ต่อไปต่อเนื่องกับภาพแรกได้ดียิ่งขึ้น แต่ถึงแม้จะไม่มีระบบช่วยเหลือนี้กล้องดิจิตอลก็ยังสามารถ
ถ่ายภาพพาโนรามาได้อย่างดี
ถ่ายภาพแบบมุมกว้างมาก ๆ (Panorama)
กลับ ถัดไป
อุปกรณ์การถ่ายภาพ
ตัวกล้องดิจิตอลนั้นไม่ได้ใช้ฟิล์มในการบันทึกภาพ แต่ใช้อุปกรณ์
อิเล็กทรอนิกส์ที่เรียกว่า เซนเซอร์ ใช้ในการบันทึกภาพแทนโดย
แปลงข้อมูลจากแสงมาเป็นสัญญาณไฟฟ้ าเปลี่ยนเป็นข้อมูลดิจิตอลที่
คอมพิวเตอร์สามารถเข้าใจได้ แล้วบันทึกเก็บไว้ในอุปกรณ์
เก็บข้อมูลจากนั้นเราก็สามารถนาไปพิมพ์ออกมาเป็นภาพ หรือตกแต่ง
ตามต้องการได้อีกด้วย
ตัวกล้องดิจิตอล (Digital Camera)
ถัดไปกลับ
อุปกรณ์การถ่ายภาพ
ถือว่าเป็นส่วนสาคัญส่วนหนึ่งของกล้องถ่ายภาพ
เพราะเป็นส่วนที่เปรียบเสมือนดวงตาของกล้องเอาไว้รับภาพและแสงต่างๆ เข้าสู่
กล้องกล้องที่มีเลนส์คุณภาพดีก็เหมือนกับคนที่มีสายตาดี
สามารถมองเห็นภาพมีความคมชัด เลนส์กล้องจะประกอบด้วนชิ้นเลนส์
จานวนมาก เพื่อรับแสงและซูมขยายภาพ กล้องดิจิตอลรุ่นราคาแพง
มักจะมาพร้อมกับเลนส์คุณภาพดี ที่สามารถรับแสงได้มากและ
มีความคมชัดสูง
เลนส์ (Lens)
ถัดไป
กลับSli
de 12
อุปกรณ์การถ่ายภาพ
ช่องมองภาพ (Shutter Button)
ช่องนี้เอาไว้มองภาพที่คุณกาลังจะถ่ายเพียงแค่คุณเอาดวงตามองผ่านช่องมองภาพแล้วเล็งภาพที่
ต้องการ จากนั้นกดปุ่ มชัตเตอร์
เพื่อบันทึกภาพ ช่องมองภาพของกล้องดิจิตอลมีหลายแบบแต่ละแบบมีข้อดีข้อเสียแตกต่างกันไป
ปุ่มชัตเตอร์ (Shutter Button)
ปุ่ มชัตเตอร์เป็นเหมือนปุ่ มคาสั่งให้กล้องทาการบันทึกภาพนั้นๆโดยทั่วไปการทางานของ
ปุ่ มชัตเตอร์จะมี 2 จังหวะ คือ จังหวะแรก
กดลงไปครึ่งหนึ่งกล้องจะเริ่มทางานปรับระยะความคมชัดของภาพ วัดแสงระยะที่สองเมื่อคุณ
กดลงไปจนสุดกล้องจะบันทึกภาพที่
ได้ทันที
ถัดไปกลับ
อุปกรณ์การถ่ายภาพ
แฟลช (Flash)
แฟลชมีประโยชน์อย่างมากเมื่อคุณต้องการถ่ายภาพในที่มืด
หรือในที่ที่มีแสงน้อย แฟลชที่ติดมากับกล้องมักจะมีขนาดเล็กทาให้
ฉายแสงไปได้ไม่ไกลนักส่วนใหญ่จะประมาณ 3 - 5 เมตร (อย่าเผลอเอานิ้วไปบังแฟลช)
จอภาพแอลซีดี (LCD)
ส่วนนี้ถือเป็นส่วนที่แตกต่างที่สุดระหว่างกล้องถ่ายภาพใช้ฟิล์มกับกล้องดิจิตอลเพราะ
คุณสามารถสังเกตได้ทันทีจากภายนอกว่ากล้องตัวนี้เป็นกล้องดิจิตอลหรือไม่ เพราะกล้อง
ดิจิตอลส่วนใหญ่จะมีจอ LCDอยู่ ประโยชน์ของจอ LCD มีไว้เพื่อดูภาพที่กาลังจะ
ถ่ายนั้นเองแต่ละรุ่นก็มีขนาดแตกต่างกันไป
ถัดไปกลับ
อุปกรณ์การถ่ายภาพ
ช่องเก็บการ์ดหน่วยความจา (Memory Slot)
ช่องเก็บหน่วยความจาเปรียบเสมือนช่องใส่ฟิล์มในกล้องฟิล์ม เพราะ
การ์ดหน่วยความจาของกล้องดิจิตอลมีไว้เพื่อบันทึกไฟล์
รูปภาพที่ถ่ายไปแล้ว ซึ่งกล้องดิจิตอลแต่ละรุ่นจะใช้หน่วยความจาไม่
เหมือนกัน
ช่องเก็บแบตเตอรี่ (Battery)
ก็เหมือนกับช่องใส่แบตเตอรี่โดยทั่วๆ ไปเพราะถ้ากล้องไม่มีแบตเตอรี่
ก็ไม่มีพลังงานในการทางาน ช่องใส่แบตเตอรี่ในกล้อง
ดิจิตอลมักมีขนาดแตกต่างกันไป
ถัดไปกลับ
แสง และ เวลา
กลไกการทางานและผลที่เกิดจากรูรับแสง
ควบคุมปริมาณแสงที่เข้าสู่กล้องและควบคุมความเบลอของแบ็คกราวด์
รูรับแสงซึ่งอยู่ภายในเลนส์นี้ เป็นส่วนประกอบสาคัญที่ทาหน้าที่ควบคุมปริมาณแสงที่กระทบ
เซนเซอร์ภาพตามความกว้างแคบของช่องรูรับแสง เมื่อรูรับแสงเปิดกว้าง ปริมาณแสงจะเข้าไป
ได้มาก และเมื่อรูรับแสงถูกปรับแคบลง ความปริมาณแสงก็ลดลงตาม ระดับการเปิดปิดของรูรับแสง
เรียกว่า “ค่ารูรับแสง” และความสัมพันธ์ระหว่างค่ารูรับแสงกับการเคลื่อนตัวของม่านรูรับแสง
เป็นไปตามภาพประกอบด้านล่าง
นอกจากจะทาหน้าที่เหมือนวาล์วควบคุมแสงแล้ว รูรับแสงยังสามารถใช้เพื่อปรับขนาดพื้นที่ของ
ระยะโฟกัสด้วย เวลาที่รูรับแสงเปิดกว้าง โฟร์กราวด์และแบ็คกราวด์จะแยกส่วนกัน ทาให้สิ่งที่อยู่
ในระยะโฟร์กราวด์คมชัดและสิ่งที่อยู่ในระยะแบ็คกราวด์เบลอ กลับกัน เมื่อรูรับแสงแคบ สิ่งที่อยู่
ในระยะโฟร์กราวด์และแบ็คกราวด์จะอยู่ในช่วงโฟกัสทั้งหมด พื้นที่ที่อยู่ในโฟกัสนี้ เรียกว่า “ระยะ
ชัดของภาพ”
กลับ ถัดไป
รูรับแสงกว้าง
เมื่อถ่ายภาพด้วยรูรับแสงที่เปิด
กว้างเต็มที่ พื่นที่ที่จะเข้ามาใน
โฟกัสจะแคบลง และแบ็คกราวด์จะ
เบลอมาก
Aperture-priority AE (f/1.8,
1/1000 วินาที)
กลับ ถัดไป
แสง และ เวลา
ความสัมพันธ์ระหว่างการเปิดรูรับแสงและค่ารูรับแสง
ค่า f เป็นค่าระบุขนาดการเปิดปิดของม่านรูรับแสง ยิ่งรูรับแสง
แคบลง ตัวเลขค่า f จะสูงขึ้น การปรับช่องรูรับแสงนี้จะเรียกว่า
“เปิดรูรับแสงกว้างขึ้น” หรือ “ลดขนาดรูรับแสงแคบลง”
กลับ ถัดไป
แสง และ เวลา
รูรับแสงแคบ
เมื่อถ่ายภาพด้วยรูรับแสงแคบ ผลภาพจะ
คมชัดโดยที่ระยะโฟร์กราวด์และแบ็ค
กราวด์อยู่ในโฟกัสทั้งหมด
Aperture-priority AE (f/11, 1/320
วินาที)
กลับ ถัดไป
แสง และ เวลา
ความหมายรูรับแสงกว้างสุดของเลนส์
รูรับแสงกว้างสุดของเลนส์สักตัวหนึ่งเป็นค่าฟังก์ชั่นผกผัน
ของเส้นผ่าศูนย์กลางที่ใช้งานจริงของเลนส์นั้นๆ ซึ่งแบ่ง
ตามทางยาวโฟกัส โดยทั่วไป ค่านี้ใช้เพื่อบอกระดับความ
สว่างเมื่อรูรับแสงเปิดกว้างสุด ยิ่งจานวนค่าน้อยลง
ประสิทธิภาพการถ่ายในที่แสงน้อยก็มากขึ้น นอกจากนี้ ค่า
รูรับแสงกว้างสุดอาจเปลี่ยนไปตามทางยาวโฟกัสของ
เลนส์ซูมบางรุ่น
กลับ ถัดไป
แสง และ เวลา
หากรูรับแสงกว้างสุดของเลนส์มีค่า f/3.5 บนตัว
เลนส์ก็จะระบุไว้ว่า “1:3.5″ หากบนเลนส์ซูม
ระบุไว้ว่า “1:3.5-5.6″ หมายความว่า รูรับแสง
กว้างสุดของเลนส์มีค่า f/3.5 ที่สุดระยะมุมกว้าง
และ f/5.6 ที่สุดระยะเทเลโฟโต้
กลับ ถัดไป
แสง และ เวลา
รูปต่างๆ ...
องค์ประกอบต่างๆ ที่ควรรู้เพื่อการใช้กล้อง
กลับ ถัดไป
ผู้จัดทา
นางสาว จันทิมา ภักดี 55540089 กลุ่ม 403 เทคโนการศึกษา
(พิเศษ) มหาวิทยาลัยบูรพา คณะศึกษาศาสตร์
กลับ

Más contenido relacionado

La actualidad más candente

ภ่ายภาพสุดยอด
ภ่ายภาพสุดยอดภ่ายภาพสุดยอด
ภ่ายภาพสุดยอดsuriya phosri
 
เทคนิคการถ่ายภาพ
เทคนิคการถ่ายภาพเทคนิคการถ่ายภาพ
เทคนิคการถ่ายภาพAraya THerz
 
7เทคนิคการถ่ายภาพ
7เทคนิคการถ่ายภาพ7เทคนิคการถ่ายภาพ
7เทคนิคการถ่ายภาพsompriaw aums
 
คู่มือถ่ายภาพ
คู่มือถ่ายภาพคู่มือถ่ายภาพ
คู่มือถ่ายภาพtelecentreacademy
 
คู่มือ Canon EOS 500D ภาษาไทย
คู่มือ Canon EOS 500D ภาษาไทยคู่มือ Canon EOS 500D ภาษาไทย
คู่มือ Canon EOS 500D ภาษาไทยNara Tuntratisthan
 

La actualidad más candente (8)

ภ่ายภาพสุดยอด
ภ่ายภาพสุดยอดภ่ายภาพสุดยอด
ภ่ายภาพสุดยอด
 
เทคนิคการถ่ายภาพ
เทคนิคการถ่ายภาพเทคนิคการถ่ายภาพ
เทคนิคการถ่ายภาพ
 
Basic HDR Panoramic Photography
Basic HDR Panoramic PhotographyBasic HDR Panoramic Photography
Basic HDR Panoramic Photography
 
การถ่ายภาพเบื้องต้น
การถ่ายภาพเบื้องต้นการถ่ายภาพเบื้องต้น
การถ่ายภาพเบื้องต้น
 
7เทคนิคการถ่ายภาพ
7เทคนิคการถ่ายภาพ7เทคนิคการถ่ายภาพ
7เทคนิคการถ่ายภาพ
 
คู่มือถ่ายภาพ
คู่มือถ่ายภาพคู่มือถ่ายภาพ
คู่มือถ่ายภาพ
 
Introduction to Virtual Tour
Introduction to Virtual TourIntroduction to Virtual Tour
Introduction to Virtual Tour
 
คู่มือ Canon EOS 500D ภาษาไทย
คู่มือ Canon EOS 500D ภาษาไทยคู่มือ Canon EOS 500D ภาษาไทย
คู่มือ Canon EOS 500D ภาษาไทย
 

Similar a 55540089

Similar a 55540089 (13)

เทคนิคการถ่ายภาพ
เทคนิคการถ่ายภาพเทคนิคการถ่ายภาพ
เทคนิคการถ่ายภาพ
 
การถ่ายภาพเบื้องต้น
การถ่ายภาพเบื้องต้นการถ่ายภาพเบื้องต้น
การถ่ายภาพเบื้องต้น
 
Eep time issue_8
Eep time issue_8Eep time issue_8
Eep time issue_8
 
Eep time issue_2
Eep time issue_2Eep time issue_2
Eep time issue_2
 
Enjoy DSLR_version2.compressed.pdf
Enjoy DSLR_version2.compressed.pdfEnjoy DSLR_version2.compressed.pdf
Enjoy DSLR_version2.compressed.pdf
 
14flim5 7
14flim5 714flim5 7
14flim5 7
 
ระบบภาพดิจิตอล
ระบบภาพดิจิตอลระบบภาพดิจิตอล
ระบบภาพดิจิตอล
 
Eep time issue_5
Eep time issue_5Eep time issue_5
Eep time issue_5
 
Photo nextor v14
Photo nextor v14Photo nextor v14
Photo nextor v14
 
5Technical photographs
5Technical photographs5Technical photographs
5Technical photographs
 
Eep time issue_7
Eep time issue_7Eep time issue_7
Eep time issue_7
 
ระบบภาพดิ...
ระบบภาพดิ...ระบบภาพดิ...
ระบบภาพดิ...
 
Eep time issue_3
Eep time issue_3Eep time issue_3
Eep time issue_3
 

55540089