SlideShare una empresa de Scribd logo
1 de 12
Descargar para leer sin conexión
ความท้าทายและโอกาสของการศึกษาไทยในประชาคมอาเซียน
The Challenge and Opportunity of Thai Education In ASEAN Economic Community
อรุ ณี เลิศกรกิจจา มหาวิทยาลัยนานาชาติแสตมฟอร์ ด
บทคัดย่อ
ประชาคมอาเซี ยนก่อเกิดความร่ วมมือ 3 เสาหลักคือ ประชาคมการเมืองความมันคงอาเซี ยน
่
ประชาคมเศรษฐกิจอาเซี ยนและประชาคมสังคมและวัฒนธรรมอาเซี ยน ส่ วนความร่ วมมือด้านการศึกษา
ประชาคมอาเซี ยนนั้นมีความสาคัญเพิ่มมากขึ้นจากการลงนามในปฏิญญาว่าด้วยแผนงานสาหรับประชาคม
อาเซียน พ.ศ. 2552 – 2558 ด้วยการให้การศึกษาเป็ นเครื่ องมือพัฒนาทรัพยากรมนุษย์เพื่อการรวมตัวเป็ น
ประชาคมอาเซี ยนที่มีประชาชนเป็ นศูนย์กลางและมีความรับผิดชอบทางสังคม
สาหรับประเทศไทยนั้น
กระทรวงศึกษาธิการมีบทบาทสาคัญ ในการสร้างความร่ วมมือเพื่อเตรี ยมพร้อมเด็กไทยก้าวสู่ ประชาคม
อาเซียน เมื่อวิเคราะห์ความได้เปรี ยบในการแข่งขันของการศึกษาไทยด้วยตัวแบบเพชรของไมเคิล อี พอร์
่
เตอร์ พบว่า มีเพียงเงื่อนไขเดียวคือ เงื่อนไขด้านปั จจัยการผลิตของการศึกษาไทยอยูในเกณฑ์ดอย ในด้าน
้
ทรัพยากรความรู ้และทรัพยากรมนุษย์ โดยเฉพาะอย่างยิงด้านภาพรวมสมรรถนะด้านการศึกษา และ
่
่
ความสามารถในการใช้ภาษาอังกฤษที่ส่งผลด้านลบต่อการศึกษาไทย อาจสรุ ปได้วา การศึกษาของประเทศ
ไทยยังมีความสามารถในการแข่งขันในประชาคมอาเซี ยน หน้าที่หลักในการแก้ปัญหาดังกล่าวจึงเป็ นเรื่ อง
ของกระทรวงศึกษาธิ การต้องเร่ งวางแผนกลยุทธ์ และแผนปฏิบติงานที่เป็ นรู ปธรรมและปฏิบติได้จริ ง โดย
ั
ั
เริ่ มต้นทันที
Abstract
The ASEAN Community consists of three pillars, they are: - ASEAN Political and Security
Community, ASEAN Economic Community and ASEAN Socio - Cultural Community. In collaboration,
the ASEAN Education Community has a more significant impact by signing the Declaration with plans
for the ASEAN Community in 2009 – 2015. This will allow education, as a human resource development
tool, to join the ASEAN Community, where people are the center and social responsibility. For Thailand,
the Ministry of Education plays a key role in building collaborative efforts to prepare Thai students
towards an ASEAN Community. When analyzing the competitive advantage of Thai education by
Michael E. Porter, there is only one condition. The condition of production factors in Thai education in
knowledge resources and human resources are in low status. The status is low especially the overall
performance, education, and the ability to use English that adversely affect Thai studies. In conclusion,
Thai education may still be able to compete in ASEAN Community. Primarily, the Ministry of Education
must accelerate planning, strategy, and implantation of a solid and practical plan of action immediately.
คาสาคัญ: ประชาคมเศรษฐกิจอาเซี ยน, ตัวแบบเพชร, ความได้เปรี ยบในการแข่งขันของประเทศ
1
บทนา
เมื่อประชาคมเศรษฐกิจอาเซี ยนเกิดขึ้นในปี พ.ศ. 2558 จะเกิดเสรี อย่างไร้ขีดจากัดทั้งการไหลเวียน
ของเงินทุน การเคลื่อนย้ายของประชากรข้ามประเทศใน 10 ประเทศสมาชิก สังคมใหม่ขยายตัวใหญ่ข้ ึน
กลายเป็ นสังคมอาเซี ยนที่มีประชากรกว่า 600 ล้านคน และเมื่อการศึกษาถูกกาหนดให้เป็ นเครื่ องมือพัฒนา
ทรัพยากรมนุษย์เพื่อการรวมตัวเป็ นประชาคมอาเซียนที่มีประชาชนเป็ นศูนย์กลางและมีความรับผิดชอบทาง
สังคม การเตรี ยมความพร้อมของคนไทยรุ่ นใหม่จึงมีความจาเป็ น ปรัชญาการศึกษาต้องปรับเปลี่ยนเป็ นการ
เรี ยนรู้เพื่อออกไปประกอบอาชีพได้ในสังคมที่กว้างขวางขึ้น
ทว่าการศึกษาไทยมีความสามารถด้านการ
แข่งขันและพร้อมเปิ ดเสรี รองรับอาเซียนมากน้อยเพียงใด
เป้ าหมายการให้ประเทศไทยเป็ นศูนย์กลาง
การศึกษา (Education Hub) จะทาได้หรื อไม่ เพราะนอกจากต้องปรับเปลี่ยนปรัชญาการศึกษาแล้ว การเพิ่ม
ทักษะด้านภาษายังมีความจาเป็ น เนื่องจากการรับคนเข้าทางานจะเปลี่ยนไป คุณภาพการศึกษาไทยต้อง
พัฒนาให้สามารถเข้าสู่ ความเป็ นสากลนับจากวันนี้ บทความนี้จึงได้ทาการวิเคราะห์ความได้เปรี ยบในการ
แข่งขันทางการศึกษาของไทยในประชาคมอาเซี ยนโดยอาศัยตัวแบบเพชร (Diamond Model) ของไมเคิล อี
ั
พอร์เตอร์ เพื่อเป็ นข้อมูลประกอบ ให้กบหน่วยงานที่เกี่ยวข้องกับการผลักดันด้านการศึกษาในการเตรี ยม
ความพร้อมของประเทศต่อไปในอนาคต
ประชาคมอาเซียนและพันธกรณี
อาเซี ยนเริ่ มก่อตั้งในปี พ.ศ. 2510 จากการลงนามใน “ปฎิญญากรุ งเทพ” โดยมีสมาชิกเริ่ มต้น 5
ประเทศ ได้แก่ ไทย อินโดนีเซีย มาเลเซีย ฟิ ลิปปิ นส์ และสิ งคโปร์ หลังจากพ.ศ.2527 เป็ นต้นมา อาเซียนมี
สมาชิกเพิมขึ้นจนปัจจุบนมี 10 ประเทศ ประกอบด้วยประเทศไทย อินโดนีเซีย มาเลเชีย ฟิ ลิปปิ นส์
ั
่
สิ งคโปร์ ดารุ สซาลามบรู ไน กัมพูชา พม่า เวียดนาม และสาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาว ก่อเกิด
ความร่ วมมือ 3 เสาหลัก คือ ประชาคมการเมืองความมันคงอาเซี ยน (ASEAN Security Community – ASC)
่
ประชาคมเศรษฐกิจอาเซี ยน (ASEAN Economic Community – AEC) และประชาคมสังคมและวัฒนธรรม
อาเซียน (ASEAN Socio-Cultural Community - ASCC) เสาหลักแต่ละด้านมีวตถุประสงค์ ดังนี้
ั
การเมืองและความมั่นคงอาเซียน (ASEAN Security Community – ASC)
่
มีวตถุประสงค์ทาให้ประเทศในภูมิภาคอยูอย่างสันติสุข โดยการแก้ไขปั ญหาในภูมิภาคด้วยสันติวธี
ั
ิ
และยึดมันในหลักความมันคงรอบด้าน ประชาคมการเมืองและความมันคงอาเซี ยนจะ
่
่
่
่
(1) ใช้ขอตกลงและกลไกของอาเซี ยนที่มีอยูแล้วในการเพิ่มศักยภาพในการแก้ไขปั ญหาข้อพิพาท
้
ภายในภูมิภาค รวมทั้งการเผชิญหน้ากับภัยคุกคามรู ปแบบใหม่ เช่น การก่อการร้าย การลักลอบค้ายาเสพติด
การค้ามนุษย์ อาชญากรรมข้ามชาติอื่นๆ และการขจัดอาวุธที่มีอานุภาพทาลายล้างสู ง

2
(2) ริ เริ่ มกลไกใหม่ๆ ในการเสริ มสร้างความมันคงและกาหนดรู ปแบบใหม่สาหรับความร่ วมมือ
่
ด้านนี้ ซึ่ งรวมถึงการกาหนดมาตรฐานการป้ องกันการเกิดข้อพิพาท การแก้ไขข้อพิพาท และการสร้างเสริ ม
สันติภาพภายหลังการยุติขอพิพาท
้
(3) ส่ งเสริ มความร่ วมมือทางทะเล ทั้งนี้ ความร่ วมมือข้างต้นจะไม่กระทบต่อความเป็ นอิสระของ
ประเทศสมาชิกในการดาเนินนโยบายการต่างประเทศและความร่ วมมือทางทหารกับประเทศนอกภูมิภาค
และไม่นาไปสู่ การสร้างพันธมิตรทางการทหาร
ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน (ASEAN Economic Community – AEC)
มีวตถุประสงค์เพื่อทาให้ภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉี ยงใต้มีความมันคง มังคังและสามารถแข่งขันกับ
ั
่
่ ่
ภูมิภาคอื่นๆ ได้ โดย
(1) มุ่งให้เกิดการไหลเวียนอย่างเสรี ของสิ นค้า บริ การ การลงทุน เงินทุน การพัฒนาทางเศรษฐกิจ
และการลดปั ญหาความยากจนและความเหลื่อมล้ าทางสังคมภายในปี 2558
(2) ทาให้อาเซียนเป็ นตลาดและฐานการผลิตเดียว (Single market and production base) โดยจะริ เริ่ ม
่
กลไกและมาตรการใหม่ๆ ในการปฏิบติตามข้อริ เริ่ มทางเศรษฐกิจที่มีอยูแล้ว
ั
(3) ให้ความช่วยเหลือแก่ประเทศสมาชิกใหม่ของอาเซี ยน เพื่อลดช่องว่างการพัฒนาและช่วยให้
ประเทศเหล่านี้ เข้าร่ วมกระบวนการรวมตัวทางเศรษฐกิจของอาเซี ยน
(4) ส่ งเสริ มความร่ วมมือในนโยบายการเงินและเศรษฐกิจมหภาค ตลาดการเงินและตลาดทุน การ
ประกันภัยและภาษีอากร การพัฒนาโครงสร้างพื้นฐานและการคมนาคม พัฒนาความร่ วมมือด้านกฎหมาย
การเกษตร พลังงาน การท่องเที่ยว การพัฒนาทรัพยากรมนุษย์โดยการยกระดับการศึกษาและการพัฒนาฝี มือ
แรงงาน
ประชาคมสั งคมและวัฒนธรรมอาเซียน (ASEAN Socio-Cultural Community - ASCC)
่
มีวตถุประสงค์ที่จะทาให้ภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉี ยงใต้อยูร่วมกันในสังคมที่เอื้ออาทร ประชากรมี
ั
่
สภาพความเป็ นอยูที่ดี ได้รับการพัฒนาในทุกด้าน และมีความมันคงทางสังคม (social security) โดยเน้นการ
่
ส่ งเสริ มความร่ วมมือในด้านต่างๆ อาทิ
่
(1) การพัฒนาสังคม โดยการยกระดับความเป็ นอยูของผูดอยโอกาส และผูที่อาศัยในถิ่นทุรกันดาร
้้
้
และส่ งเสริ มการมีส่วนร่ วมอย่างแข็งขันของกลุ่มต่างๆ ในสังคม
(2) การพัฒนาการฝึ กอบรม การศึกษาระดับพื้นฐานและสู งกว่า การพัฒนาทางวิทยาศาสตร์และ
เทคโนโลยี การสร้างงาน และการคุมครองทางสังคม
้
(3) การส่ งเสริ มความร่ วมมือในด้านสาธารณสุ ขโดยเฉพาะอย่างยิง การป้ องกันและควบคุมโรค่
ติดต่อ เช่นโรคเอดส์ และ โรคทางเดินหายใจเฉียบพลันรุ นแรง
(4) การจัดการปั ญหาด้านสิ่ งแวดล้อม
(5) การส่ งเสริ ม การปฏิสัมพันธ์ ระหว่างนักเขียน นักคิดและศิลปิ นในภูมิภาค
3
แผนปฏิบติการของประชาคมสังคม-วัฒนธรรมอาเซียน เน้นการดาเนินการใน 4 ประเด็นหลัก คือ
ั
(1) สร้างประชาคมแห่งสังคมที่เอื้ออาทร โดยเน้นการแก้ไขปั ญหาความยากจน เสริ มสร้างความ
เสมอภาค และการพัฒนามนุษย์ อาทิ การพัฒนาสตรี เด็กและเยาวชน การส่ งเสริ ม สวัสดิการสังคม การ
พัฒนาชนบทและขจัดความยากจน การพัฒนาการศึกษา และสาธารณสุ ข และการเสริ มสร้างความมันคงของ
่
มนุษย์ในด้านต่างๆ ซึ่ งรวมถึงการปราบปรามอาชญากรรม ข้ามชาติและการป้ องกันและจัดการภัยพิบติ
ั
(2) แก้ไขผลกระทบต่อสังคมอันเนื่องมาจากการรวมตัวทางเศรษฐกิจ
โดยสร้างฐานทรัพยากร
มนุษย์ที่สามารถแข่งขันได้ดีและมีระบบการป้ องกันทางสังคมที่เพียงพอ โดยให้ความสาคัญกับการพัฒนา
และส่ งเสริ มแรงงาน และเสริ มสร้างความร่ วมมือ ในด้านอื่นๆ ที่เกี่ยวข้อง เช่น สวัสดิการสังคม วิทยาศาสตร์
และเทคโนโลยี และสาธารณสุ ข (ปั ญหาที่มากับโลกาภิวฒน์ เช่น โรคระบาด โรคอุบติใหม่และอุบติซ้ า)
ั
ั
ั
(3) ส่ งเสริ มความยังยืนของสิ่ งแวดล้อมและการจัดการดูแลสิ่ งแวดล้อมอย่างถูกต้อง โดยมีกลไกที่
่
พัฒนาอย่างสมบูรณ์ สาหรับจัดการและดูแลสิ่ งแวดล้อมอย่างเหมาะสม ตลอดจนการป้ องกันและขจัดภัย
พิบติดานสิ่ งแวดล้อม
ั ้
(4) เสริ มสร้างรากฐานที่จะนาไปสู่ ประชาคมอาเซี ยนในปี พ.ศ.2558 ซึ่งจะเป็ นภูมิภาคที่ประชาชน
ตระหนักถึงอัตลักษณ์ร่วมกันของภูมิภาค ท่ามกลางความหลากหลายทางด้านประวัติศาสตร์ และวัฒนธรรม
ด้วยการส่ งเสริ มความเข้าใจระหว่างประชาชนในระดับและวงการต่างๆ การเรี ยนรู้ประวัติศาสตร์ วัฒนธรรม
ของกันและกัน รวมถึงการรับรู ้ขอมูลข่าวสารของกันและกัน (การส่ งเสริ มด้านวัฒนธรรมและสารสนเทศ)
้
ในส่ วนของความร่ วมมือด้านการศึกษาของประชาคมอาเซี ยนนั้น ได้มีการลงนามใน “ปฏิญญา
ชะอา-หัวหิน” วันที่ 24 ตุลาคม พ.ศ. 2552 โดยผูนาอาเซี ยนได้ลงนามในแผนงานจัดตั้งประชาคมทั้ง 3 เสา
้
หลัก พร้อมทั้งประกาศปฏิญญาว่าด้วยแผนงานสาหรับประชาคมอาเซียนพ.ศ. 2552 - 2558 โดยยึดแผนการ
จัดตั้งประชาคม 3 ด้านในการดาเนินงานเพื่อมุ่งสู่ การเป็ นประชาคมอาเซี ยน และประกาศปฏิญญาว่าด้วยการ
เสริ มสร้างความร่ วมมือด้านการศึกษาเพื่อบรรลุประชาคมอาเซี ยนที่เอื้ออาทรและแบ่งปั น ให้การศึกษาเป็ น
เครื่ องมือพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ เพื่อการรวมตัวเป็ นประชาคมอาเซียนที่มีประชาชนเป็ นศูนย์กลางและมี
ความรับผิดชอบทางสังคม ดังนี้
(1) ประชาคมการเมืองและความมันคงอาเซี ยน เน้น 3 เรื่ อง คือ การมีกฎเกณฑ์และค่านิยมร่ วมกัน
่
ั
สงบสุ ขและรับผิดชอบร่ วมกันในการรักษาความมันคงรอบด้าน และการมีพลวัตรและปฏิสัมพันธ์กบโลก
่
ภายนอก
(2) ประชาคมเศรษฐกิจอาเซี ยน เน้นการบรรลุวตถุประสงค์ 4 ด้าน คือ การเป็ นตลาดและฐานการ
ั
ผลิตเดียว (การเคลื่อนย้ายสิ นค้า บริ การ การลงทุน เงินทุน และแรงงานฝี มืออย่างเสรี ) สร้างขีดความสามารถ
การแข่งขันเศรษฐกิจอาเซี ยน การพัฒนาเศรษฐกิจอย่างเสมอภาค และการบูรณาการเข้ากับเศรษฐกิจโลก
(3) ประชาคมสังคมและวัฒนธรรมอาเซียนครอบคลุมเรื่ อง เยาวชน การศึกษา การพัฒนาทรัพยากร
มนุษย์ สิ ทธิมนุษยชน สาธารณสุ ข วิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี สิ่ งแวดล้อม สตรี แรงงาน ความยากจน
4
สวัสดิการสังคม วัฒนธรรมสารนิเทศ กิจการพลเรื อน การตรวจคนเข้าเมือง กรมศุลกากร ยาเสพติด ภัยพิบติ
ั
แนวคิดโดยสรุ ป คือ ทานุบารุ งมนุษย์ ทรัพยากรธรรมชาติ และวัฒนธรรมเพื่อการพัฒนาที่ยงยืนของอาเซี ยน
ั่
โดยยึดถือประชาชนเป็ นศูนย์กลาง มียทธศาสตร์สาคัญ 4 ด้าน
ุ
- การสร้างสังคมที่มีความเอื้ออาทร ยกระดับคุณภาพชีวต จัดการศึกษาทัวถึง ขจัดปั ญหา
ิ
่
ความยากจน ปัญหาเด็ก สตรี ผูสูงอายุและคนพิการ
้
- การจัดการผลกระทบทางสังคมที่เกิดจากการรวมตัวทางเศรษฐกิจ
- การส่ งเสริ มสิ่ งแวดล้อมให้มีความยังยืน
่
- การส่ งเสริ มอัตลักษณ์อาเซี ยน
จากการลงนามในปฏิญญาดังกล่าว ส่ งผลให้ทุกหน่วยงานและทุกภาคส่ วนต้องเร่ งสร้างความร่ วมมือเพื่อขับเคลื่อนเตรี ยมพร้อมเด็กไทยก้าวสู่ ประชาคมอาเซี ยนตามเป้ าหมาย โดยเฉพาะกลไกการศึกษาที่เป็ น
ตัวนาสาคัญในการขับเคลื่อนให้สามารถก้าวไปได้อย่างมีทิศทาง และผสานประโยชน์ร่วมกันองค์กรหลักใน
กระทรวงศึกษาธิการที่มีส่วนสาคัญในการขับเคลื่อนประชาคมอาเซี ยนให้บรรลุวสัยทัศน์ ประกอบไปด้วย 5
ิ
องค์กร ดังนี้ (Bureau of Community College Administration, 2554 : Online)
1. สานักงานปลัดกระทรวงศึกษาธิการ จัดทาแผนการศึกษา 5 ปี ขึ้น มารองรับ
2. สานักงานเลขาธิการสภาการศึกษา อบรมให้ความรู้เรื่ องอาเซี ยนแก่ขาราชการกระทรวงต่างๆ
้
3. สานักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา มีการจัดตั้งศูนย์ประสานงานสู่ การจัดการอาชีวศึกษา
่
นานาชาติ เพื่อพัฒนาคนเชื่ อมโยงประเทศเพื่อนบ้าน มีเครื อข่าย 7 ศูนย์ ตั้งอยูตามเขตพื้นที่ชายแดนไทย
4. สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน กาหนดหลักสู ตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน
ให้จดการเรี ยนรู ้เรื่ องอาเซี ยนในชั้น ป. 4 และบูรณาการในกลุ่มสาระการเรี ยนรู ้อื่น เพื่อสร้างความตระหนักรู้
ั
เรื่ องอาเซี ยนแก่แด็กไทย
5. สานักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา จัดทาวิจยเรื่ อง ยุทธศาสตร์อุดมศึกษาไทยในการเตรี ยม
ั
ความพร้อมสู่ การเป็ นประชาคมอาเซี ยนในปี พ.ศ. 2558 ผลที่ได้ คือ วิสัยทัศน์ พันธกิจ เป้ าหมาย ตัวชี้วด
ั
ยุทธศาสตร์ กลยุทธ์ มาตรการและโครงการรองรับ
6. หน่วยงานอื่น ๆ
(1) กรมอาเซียน กระทรวงการต่างประเทศ ดาเนินงานร่ วมกับหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง ในการจัด
วิทยากร กิจกรรม จัดโครงการอาเซี ยนสัญจร จัดพิมพ์หนังสื อ เอกสารเกี่ยวกับอาเซี ยนเผยแพร่
(2) คณะอนุกรรมาธิ การการศึกษาขั้นพื้นฐานในคณะกรรมาธิ การการศึกษา วุฒิสภา ได้ประชุม
พิจารณาและมีขอเสนอที่เป็ นรู ปธรรมนาไปสู่ การกาหนดนโยบายด้านการศึกษาสู่ ประชาคมอาเซี ยน ดังนี้
้
- พัฒนาระบบการศึกษาของประเทศไทยให้เป็ นศูนย์กลางทางการศึกษาเฉพาะด้าน เช่น
การศึกษานอกระบบ (กศน.) เด็กพิการ การศึกษาทางไกล
- จัดทา Road Map เพื่อเตรี ยมคนไทยสู่ ประชาคมอาเซี ยน มีแผนงาน งบประมาณ หลักสู ตร
ทักษะภาษาอังกฤษ เสริ มภาษาในประเทศอาเซียน
5
- จัดตั้งชุมชนอาเซี ยน ประกอบด้วยผูเ้ รี ยน ผูสอน ผูปกครองและประชาชน ดาเนินชีวตให้
้
้
ิ
หลอมรวมความคิดอาเซียนเดียว มีการจัดตั้งศูนย์การศึกษาเพื่ออาเซี ยนทุกเขตตรวจราชการ เขตพื้นที่ จังหวัด
อาเภอ
- พัฒนาเทคโนโลยีสื่อสารในองค์กรการศึกษา
- เปิ ดโอกาสให้ภาคเอกชนร่ วมจัดการศึกษาสู่ สังคมอาเซี ยน
- เตรี ยมพลเมืองไทยสู่ ประชาคมอาเซี ยน เพื่อให้สามารถแข่งขันในเวทีประชาคมอาเซี ยนได้
อย่างเข้มแข็ง ทั้งด้านภาษา ความรู้เศรษฐศาสตร์ การผลิต การลงทุน การค้า การกระจายสิ นค้า การบริ โภค
สิ นค้าและบริ การ
- แต่งตั้งผูช่วยฑูตด้านการศึกษา
้
(3) สานักงานเลขาธิ การรัฐมนตรี ศึกษาแห่งเอเชียตะวันออกเฉี ยงใต้ ดาเนินการประสานความ
ร่ วมมือระหว่างประเทศสมาชิกในด้านการศึกษา วัฒนธรรมและวิทยาศาสตร์ ระดับภูมิภาคและผลักดันให้
เกิดความร่ วมมือในอาเซี ยน จัดทาคู่มือให้ความรู ้เกี่ยวกับอาเซี ยน รวมทั้งศูนย์ภูมิภาคว่าด้วยการอุดมศึกษา
เพื่อให้สามารถโอนย้ายหน่วยกิต ให้ทุนไปอบรมศึกษาแลกเปลี่ยนตามข้อตกลงระหว่างประเทศสมาชิก
(4) สานักเลขาธิ การอาเซี ยน ร่ วมกับองค์การเพื่อการพัฒนาระหว่างประเทศของสหรัฐอเมริ กา
(USAID) ประชุมปฏิบติการเพื่อจัดทาแผนปฏิบติการด้านการศึกษา 5 ปี ของอาเซียน เมื่อวันที่ 4 - 5 ตุลาคม
ั
ั
พ.ศ. 2553 ที่กรุ งเทพ และคณะที่ปรึ กษา ASEAN-US Technical Assistance and Training Facility ได้ยกร่ าง
ยุทธศาสตร์และข้อเสนอแนะในการดาเนินงานตามแผนการศึกษา 5 ปี ของอาเซียน 9 ยุทธศาสตร์ ดังนี้
1) สร้างความตระหนักเกี่ยวกับอาเซี ยน เช่น การจัดทาคู่มืออาเซี ยนเพื่อสร้างความตระหนัก
และค่านิยมร่ วมกัน การพัฒนาหลักสู ตรอาเซี ยนศึกษา การพัฒนาครู และบุคลากร การจัดตั้งมุมอาซี ยนใน
โรงเรี ยน การเฉลิมฉลองวันอาเซียน โครงการแลกเปลี่ยน การแข่งขันกีฬา
2) การเข้าถึงการศึกษาขั้นพื้นฐานภายในปี พ.ศ. 2558 โดยการจัดทานโยบายและยุทธศาสตร์
ของภูมิภาค การสนับสนุนกิจกรรมและเป้ าหมายการศึกษาเพื่อปวงชนในอาเซี ยน เช่น การให้ประชาชนทุก
คนได้รับการศึกษาขั้นพื้นฐานภายในปี พ.ศ. 2558
3) คุณภาพของมาตรฐานการเรี ยนการสอนและการพัฒนาวิชาชีพครู เช่น การพัฒนาคุณภาพ
ของมาตรฐานการเรี ยนการสอนและการพัฒนาวิชาชีพครู
4) การเคลื่อนย้ายข้ามพรมแดนของนักเรี ยน ครู และบุคลากรทางการศึกษา
5) เครื อข่ายและหุ นส่ วนภาคประชาชน
้
6) การเรี ยนรู้ตลอดชีวิต โดยเฉพาะการอาชีวศึกษาและการพัฒนาฝี มือแรงงาน
7) ความเสมอภาคทางเพศ
8) การฝึ กอบรมภาษาอังกฤษและภาษาอื่นๆ ในภูมิภาค
9) การสนับสนุนการดาเนินงานอื่นๆ ของภาคส่ วนที่เกี่ยวข้องกับด้านการศึกษา

6
เมื่อการจัดการศึกษาในอาเซี ยนเป็ นรากฐานสาคัญในการสร้างความเข้มแข็ง และความเจริ ญทาง
เศรษฐกิจของอาเซี ยนและเศรษฐกิจโลก ส่ งผลให้การอุดมศึกษาในอาเซียนกลายเป็ นภาคธุ รกิจขนาดใหญ่
และไร้พรมแดนเพื่อตอบสนองการเปิ ดเสรี การศึกษาทั้งในกรอบอาเซี ยนและการค้าโลก
เป็ นผลให้เกิด
กระแสการแข่งขันในการให้บริ การด้านการศึกษา การเสริ มสร้างความร่ วมมือกับประเทศเพื่อนบ้านในการ
พัฒนามาตรฐานการศึกษาของสถาบันการอุดมศึกษาไปสู่ ความเป็ นนานาชาติและ World Class University
ตามระบบและรู ปแบบการจัดการศึกษาของยุโรปและอเมริ กา ทั้งในประเทศที่ใช้ภาษาอังกฤษเป็ นภาษาหลัก
ภาษาหนึ่งในการเรี ยนการสอน เช่น ฟิ ลิปปิ นส์ สิ งคโปร์ มาเลเซี ย และในประเทศที่ใช้ภาษาท้องถิ่นเป็ นหลัก
เช่น ไทย ลาว กัมพูชา เวียดนาม เพื่อตอบสนองการเปลี่ยนแปลงและความต้องการของตลาดแรงงานใน
ระดับชาติและภูมิภาค การปรับตัวต่อกระแสการเปิ ดเสรี ทางการศึกษากฏบัตรอาเซียน ฯลฯ แนวทางดังกล่าว
ก่อให้เกิดความร่ วมมือทางวิชาการระหว่างสถาบันอุดมศึกษาในอาเซี ยนและประชาคมยุโรป ในลักษณะข้อตกลงที่ทาร่ วมกันในระดับสถาบันต่อสถาบัน
ทั้งในส่ วนของมหาวิทยาลัยของรัฐและมหาวิทยาลัยของ
เอกชนในด้านการพัฒนาหลักสู ตรและการพัฒนาสถาบันการศึกษาร่ วมกัน ขณะเดียวกันการจัดตั้งเครื อข่าย
มหาวิทยาลัยอาเซียนก็ช่วยส่ งเสริ มความร่ วมมือในการพัฒนาคณาจารย์ นักวิชาการ และนักศึกษาในระดับ
อุดมศึกษา รวมทั้งการแลกเปลี่ยนข้อมูลข่าวสารระหว่างประเทศสมาชิกด้วยกันและความร่ วมมือกับประเทศ
คู่เจรจาในอาเซี ยนบางประเทศ โดยเฉพาะอย่างยิงญี่ปุ่น เกาหลี จีน อินเดีย รัสเซีย และสหภาพยุโรป อีกด้วย
่
วิเคราะห์ ความได้ เปรียบในการแข่ งขันด้ านการศึกษาไทยโดยอาศัย Dynamic Diamond Model
ไมเคิล อี พอร์ เตอร์ (2533) มหาวิทยาลัยฮาร์ วาร์ด ได้ทาการศึกษาความได้เปรี ยบในการแข่งขันของ
ประเทศ (The competitive advantage of nations) โดยเสนอตัวแบบเพชร (Diamond Model) ในการวิเคราะห์
ความได้เปรี ยบในการแข่งขันของประเทศต่างๆ 4 ปั จจัยด้วยกัน คือ (สมชนก ภาสกรจรัส. 2551: 33-37)
รู ปที่ 1-1 ตัวแบบเพชรของไมเคิล อี พอร์ เตอร์ ในการแสดงความได้ เปรี ยบในการแข่ งขันของประเทศ
(Developed from Michael E. Porter Diamond Model)

7
(1) เงื่อนไขด้านปัจจัยการผลิต (Factor Conditions) หมายถึงองค์ประกอบทางด้านทรัพยากรมนุษย์
ปัจจัยทุน สิ่ งอานวยความสะดวกทางกายภาพ โครงสร้างการบริ หาร สารสนเทศและเทคโนโลยี และ
ทรัพยากรธรรมชาติของประเทศ
1.1 ทรัพยากรความรู้และทรัพยากรมนุษย์ จากผลการจัดอันดับความสามารถในการแข่งขันด้าน
การศึกษาของไทย โดยสถาบันการจัดการนานาชาติ (International Institute for Management Development:
IMD) ปี 2553 จากจานวนทั้งหมด 58 ประเทศพบว่า (สุ นทรี วงษ์สมาน. 2554 : Online; สานักงาน
คณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ. 2554 : 22,33)
่
- ผลการจัดอันดับของ IMD ภาพรวมพบว่า ไทยได้อนดับที่ 26 อยูในเกณฑ์ปานกลาง
ั
่
่
- ภาพรวมสมรรถนะด้านการศึกษา พบว่าไทยถูกจัดอยูในอันดับ 47 จัดว่าอยูในเกฑ์ดอย
้
- ด้านคุณภาพการศึกษา โดยเพราะความสามารถในการใช้ภาษาอังกฤษของไทยด้อยมาก
่
โดยอยูในอันดับที่ 54
- การตอบสนองความสามามารถในการแข่งขันของระบบการศึกษา พบว่าไทยถูกจัดอันดับที่
่
32 หรื ออยูในระดับค่อนไปทางด้อย
่
- การจัดการศึกษาที่ตอบสนองความต้องการภาคธุ รกิจ ไทยอยูในอันดับที่ 30 หรื อกล่าวอีก
นัยหนึ่งคือผลิตคนไม่ตรงกับความต้องการทั้งในเชิงปริ มาณและคุณภาพ
นอกจากนี้ ยังมีปัจจัยชี้วดอีกหลายตัวที่ตองได้รับการปรับปรุ ง ได้แก่ จานวนค่าใช้จ่ายภาครัฐ
ั
้
ด้านการศึกษาต่อหัวยังต่า จานวนประชากรที่อ่านออกเขียนได้นอย จานวนประชากรที่มีอายุระหว่าง 25-34
้
และสาเร็ จการศึกษาในระดับอุดมศึกษาต่า จานวนประชากรที่จบการศึกษาสู งกว่าระดับประถมศึกษาเพิ่มขึ้น
ในปริ มาณน้อยกว่าความต้องการของภาคการผลิต
รวมทั้งกาลังคนระดับสู งด้านวิทยาศาสตร์มีนอยและ
้
คุณภาพการเรี ยนยังมีปัญหาต้องแก้ไข เนื่ องจากทักษะการอ่านและภาษาของคนไทยยังต่า
เมื่อประกอบกับผลคะแนน O-Net ของชั้นประถม 6 มัธยม 3 และมัธยม 6 ปี การศึกษา 2552
เทียบกับปี การศึกษา 2553 พบว่า วิชาที่คะแนนเฉลี่ยต่าสุ ดของทั้งสามระดับการศึกษา คือวิชาภาษาอังกฤษ
และพบว่าระดับคะแนนเฉลี่ยของปี การศึกษา 2553 มีแนวโน้มลดลงจากปี การศึกษา 2552 อย่างเห็นได้ชด
ั
่
นอกจากนี้ยงพบว่าวิชาที่คะแนนเฉลี่ยสู งสุ ดทุกรายวิชาทุกชั้นอยูในระดับต่าว่าร้อยละ 50 บ่งบอกให้เห็นถึง
ั
่
คุณภาพของระดับการศึกษาไทยที่อยูในเกณฑ์ดอย ดังตาราง 1-1 (สุ นทรี วงษ์สมาน. 2554 : Online)
้
ตาราง 1-1 เปรี ยบเที ยบผลคะแนน O-Net ของนักเรี ยนชั้นประถม 6 มัธยม 3 และ มัธยม 6 ระหว่ างปี การศึกษา 2552-2553

ระดับการศึกษา
ประถม 6
มัธยม 3
มัธยม 6

ปี การศึกษา 2552
ปี การศึกษา 2553
วิชาที่คะแนนเฉลี่ย วิชาที่คะแนนเฉลี่ย วิชาที่คะแนนเฉลี่ย วิชาที่คะแนนเฉลี่ย
สู งสุ ด
ต่าสุ ด
สู งสุ ด
ต่าสุ ด
วิทยาศาสตร์ 38.7 ภาษาอังกฤษ 31.75 สังคมศาสตร์ 47.1 ภาษาอังกฤษ 21.0
สังคมศาสตร์ 39.7 ภาษาอังกฤษ 22.54 ภาษาไทย 42.8 ภาษาอังกฤษ 16.2
ภาษาไทย 46.47 ภาษาอังกฤษ 23.98 สังคมศาสตร์ 46.5 ภาษาอังกฤษ 19.2
8
1.2 โครงสร้างพื้นฐานทางวิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยี
่
- ประเทศไทยมีจานวนผูใช้อินเตอร์ เน็ตต่อประชากร 1,000 คน จัดอยูในอันดับ 53 ยังต่ามาก
้
เมื่อเทียบกับต่างประเทศ
- เทคโนโลยีและนวัตกรรมของไทยยังอ่อนแอ โดยเฉพาะด้านวิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยี
จากผลการวิเคราะห์ของ IMD พบว่า การลงทุนวิจยและพัฒนายังน้อยมากเมื่อเทียบกับต่างั
ประเทศ มีการใช้ประโยชน์จากงานวิจยน้อย รวมถึงให้ความสาคัญกับการเรี ยนการสอนด้าน
ั
วิทยาศาสตร์ นอย อีกทั้งขาดการกาหนดมาตรฐานงานวิจยให้ได้มาตรฐานสากล
้
ั
(2) เงื่อนไขด้านอุปสงค์หรื อความต้องการ (Demand Conditions) มีผลต่อการพัฒนาผลิตภัณฑ์และ
บริ การซึ่ งเป็ นเงื่อนไขที่ก่อให้เกิดกระบวนการพัฒนา
2.1 อุปสงค์หรื อความต้องการภายในประเทศ (Local demand side) ตามยุทธศาสตร์อาเซี ยนว่า
ด้วยการเข้าถึงการศึกษาขั้นพื้นฐาน รวมไปถึงการเปิ ดการเคลื่ยนย้ายข้ามพรมแดนของนักเรี ยน ครู และ
บุคลากรทางการศึกษา ภายในปี พ.ศ. 2558 ส่ งผลให้อุปสงค์หรื อความต้องการด้านการศึกษาภายในประเทศ
มีเพิ่มขึ้น
2.2 ลักษณะของความต้องการภายในประเทศ (Demand characteristics) มีความต้องการที่สลับ
่
ซับซ้อนพิถีพิถน (Sophisticated demand) มากขึ้น ในประเด็นที่วาค่านิยมของคนรุ่ นใหม่ที่เป็ น Generation
ั
Y (ประชากรที่เกิดในช่วงปี พ.ศ. 2521 – 2537) Generation Z Generation M-Millennium & Mobile
(ประชากรที่เกิดตั้งแต่ปี พ.ศ. 2538 เป็ นต้นมา) ที่เปลี่ยนแปลงไปจากยุคก่อน คือ มีค่านิยมด้านอาชีพในแนว
“ศิลปิ น” มากขึ้น มีความต้องการอิสระในการทางานที่ไม่ใช่การเป็ นลูกจ้างทางานประจาวัน การมีความ
่
เข้าใจในระบบทรัพย์สินทางปั ญญาทาให้รู้วาความมังคังเกิดจากความคิด เช่นแต่งเพลง เขียนบทละคร ฯลฯ
่ ่
แล้วมีลิขสิ ทธิ์ หรื อจดทะเบียนเป็ นเจ้าของสิ่ งนั้น สามารถจะทารายได้ จากจานวนครั้งที่สินค้าหรื อบริ การนั้น
ถูกใช้ ค่านิยมดังกล่าวทาให้กลุ่มวัยเรี ยนในปั จจุบนต้องการสถาบัน การศึกษาที่ตอบโจทย์เป้ าหมายชีวตของ
ั
ิ
เขาได้ นอกจากนี้ เพื่อให้สามารถก้าวไปสู่ ความสาเร็ จของการเป็ นประชาคมอาเซี ยนเด็กไทยต้องเรี ยนรู ้
่
วัฒนธรรม สังคมและความเป็ นอยูของเพื่อนอีก 9 ประเทศ ตลอดจนต้องเตรี ยมความพร้อมให้มีความ
เข้มแข็งด้านภาษา อังกฤษ และ ICT (Information Communication Technology) (ศรัญยพงศ์ เที่ยงธรรม.
2553 : Online)
(3) อุตสาหกรรมเกี่ยวเนื่องและอุตสาหกรรมสนับสนุน (Related and Supporting Industries)
องค์ประกอบทั้งสองมีส่วนส่ งผลให้ภาคการศึกษาไทยมีความได้เปรี ยบทางการแข่งขันเพิ่มขึ้น
3.1 ความร่ วมมือภายในอุตสาหกรรม เกิดการก่อตั้งเครื อข่ายมหาวิทยาลัยอาเซี ยน (ASEAN
University Network, AUN) ขึ้นในเดือนพฤศจิกายน พ.ศ. 2538 ตามมติของที่ประชุมสุ ดยอดอาเซี ยนครั้งที่ 4
เพื่อเสริ มความเข้มแข็งของเครื อข่ายมหาวิทยาลัยและสถาบันอุดมศึกษา โดยมีขอตกลงเพื่อส่ งเสริ มความ
้
ร่ วมมือระหว่างนักปราชญ์ นักวิชาการและนักวิทยาศาสตร์ในภูมิภาค พัฒนาทรัพยากรมนุษย์ดานวิชาการ
้
และอาชีพในภูมิภาค รวมถึงส่ งเสริ มการเผยแพร่ ขอมูลสารสนเทศระหว่างชุมชนนักวิชาการอาเซี ยน เป็ นผล
้
9
ให้เกิดการเสริ มสร้างความร่ วมมือระหว่างประเทศเพื่อนบ้าน ในการพัฒนามาตรฐานการศึกษาของสถาบัน
การศึกษาโดยเฉพาะระดับอุมศึกษาเพื่อนาไปสู่ ความเป็ นนานาชาติ (ผูเ้ ชี่ยวชาญกระทรวงศึกษาธิการ, 2554 :
Online)
3.2 ความเข้มแข็งของอุตสาหกรรมสนับสนุน เพื่อให้การพัฒนาการศึกษาสามารถตอบสนอง
ความต้องการทางสังคมและเศรษฐกิจ สานักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษามีนโยบายส่ งเสริ มสนับสนุน
การจัดการศึกษาระบบสหกิจศึกษา ทั้งนี้เพื่อให้เกิดความเชื่อมโยงระหว่างสถาบันอุดมศึกษากับองค์กรผูใช้
้
บัณฑิต ก่อเกิดการบูรณาการความร่ วมมือในการพัฒนาหลักสู ตรการเรี ยนการสอน การวิจยและการสร้าง
ั
องค์ความรู ้ใหม่ (ผูเ้ ชี่ยวชาญสานักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา, 2554 : Online)
(4) บริ บทของกลยุทธ์และการแข่งขัน (Context for Firm Strategy and Rivalry) เป็ นองค์ประกอบที่
มีผลให้เกิดการลงทุนและการพัฒนาอย่างยังยืนของหน่วยธุ รกิจแต่ละหน่วย พบว่า ภาพรวมสภาพทางธุ รกิจ
่
่
่
และการแข่งขันในตลาดอุดมศึกษาว่าที่ผานมา การแข่งขันมักอยูในฝ่ ายมหาวิทยาลัยเอกชนเป็ นส่ วนใหญ่
่
แต่สาหรับช่วง 3-5 ปี ที่ผานมามหาวิยาลัยของรัฐก็ออกมาทาการตลาดมากขึ้น ทุกสถาบันการศึกษามีการจัด
ทาแผนกลยุทธ์ซ่ ึงเป็ นผลพวงจากการประกันคุณภาพ
(5) บทบาทของรัฐบาล (Role of Government) เนื่องจากความร่ วมมือด้านการศึกษาของประชาคม
อาเซียนนั้นเป็ นการลงนามโดยผูนาอาเซียนและมีกรอบเวลาที่แน่นอน ส่ งผลให้รัฐบาลทุกหน่วยงานและทุก
้
ภาคส่ วนต้องให้ความสาคัญในการเร่ งสร้างความร่ วมมือระหว่างกัน เพื่อเดินหน้าขับเคลื่อนเตรี ยมพร้อมของ
้
เด็กไทยให้กาวสู่ ประชาคมอาเซี ยนตามเป้ าหมาย โดยองค์กรหลักในกระทรวงศึกษาธิ การได้แก่ สานักงาน
ปลัดกระทรวงศึกษาธิการ สานักงานเลขาธิการสภาการศึกษา สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน
สานักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา สานักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษาและหน่วยงานอื่นๆ ต่างเร่ ง
จัดทายุทธศาสตร์ แผนงาน มาตรการและโครงการต่างๆ รองรับเพื่อเตรี ยมพร้อมสู่ การเป็ นประชาคมอาเซี ยน
ในปี พ.ศ. 2558 (Bureau of Community College Administration, 2554 : Online)
(6) โอกาส (Chance) เมื่อประชาคมเศรษฐกิจอาเซี ยนเกิดขึ้นในปี พ.ศ. 2558 จะเปิ ดโอกาสให้เกิด
การเคลื่อนย้ายข้ามพรมแดนของการให้บริ การด้านการศึกษาในอาเซียนอย่างเสรี เกิดการเสริ มสร้างความ
ร่ วมมือกับประเทศเพื่อนบ้านในการพัฒนามาตรฐานการศึกษาของสถาบันอุดมศึกษา
ส่ งผลให้เกิดการ
พัฒนาหลักสู ตรและการพัฒนาสถาบันการศึกษาร่ วมกัน ช่วยส่ งเสริ มความร่ วมมือในการพัฒนาคณาจารย์
นักวิชาการและนักศึกษาในระดับอุดมศึกษาในระหว่างประเทศสมาชิกด้วยกันเอง (เกษม ใคร้มา, 2554 :
Online) เป็ นโอกาสอย่างมากสาหรับภาคการศึกษาของประเทศไทย
บทสรุ ป
ความร่ วมมืออาเซี ยนด้านการศึกษาเป็ นส่ วนหนึ่งของการจัดตั้งประชาคมอาเซี ยน ซึ่งมีเป้ าหมายที่
จะยกระดับคุณภาพชีวตของประชาชนและการพัฒนาภูมิภาคอย่างยังยืนโดยมีประชาชนเป็ นศูนย์กลาง เมื่อ
ิ
่
วิเคราะห์ความสามารถในการแข่งขันของการศึกษาไทยภายใต้ตวแบบเพชรของไมเคิล อี พอร์ เตอร์ พบว่า มี
ั
10
เพียงเงื่อนไขเดียวที่ส่งผลด้านลบต่อความสามารถในการแข่งขันคือ
เงื่อนไขด้านปัจจัยการผลิตของการ
่
ศึกษาไทยอยูในเกณฑ์ดอย ในด้านทรัพยากรความรู ้และทรัพยากรมนุษย์ โดยเฉพาะอย่างยิงด้านภาพรวม
้
่
สมรรถนะด้านการศึกษา และด้านคุณภาพการศึกษาในด้านความ สามารถในการใช้ภาษาอังกฤษ การผลิต
คนระดับสู งด้านวิทยาศาสตร์ มีนอย ในด้านโครงสร้างพื้นฐานทางวิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยี พบว่าการ
้
ลงทุนวิจยและพัฒนาของประเทศไทยยังมีนอยมากเมื่อเทียบกับต่างประเทศ ขาดการนาประโยชน์จากผล
ั
้
วิจยไปใช้ ส่ วนเงื่อนไขอื่นเช่น เงื่อนไขด้านอุปสงค์ อุตสาหกรรมเกี่ยวเนื่องและอุตสาหกรรมสนับสนุ น
ั
บริ บทของกลยุทธ์และการแข่งขัน ตลอดจนโอกาสและบทบาทของรัฐบาลที่มีนโยบายต่างๆ เพื่อผลักดัน
่
ภาคการศึกษาในประเทศส่ งผลด้านบวกต่อการแข่งขันด้านการศึกษา ดังนั้น จึงอาจสรุ ปได้วา การศึกษาของ
ประเทศไทยยังมีความสามารถในการแข่งขันในประชาคมอาเซี ยน
แต่ท้ งนี้ตองเร่ งพัฒนาและปรับปรุ ง
ั ้
เงื่อนไขด้านปัจจัยการผลิต
จึงเป็ นหน้าที่หลักของกระทรวงศึกษาธิการต้องเร่ งปรับตัวเพื่อแก้ปัญญา
การศึกษา บุคลากรที่เกี่ยวข้องต้องร่ วมมือร่ วมใจกันทั้งระบบ ประสานเชื่อมโยงนโยบายและยุทธศาสตร์ ให้
ชัดเจน แผนปฏิบติการต้องเป็ นรู ปธรรม เร่ งพัฒนาและสร้างครู ที่มีความรู ้และที่สาคัญมีจิตวิญญาณในการ
ั
เป็ นครู ออกสู่ ระบบ และที่สาคัญในส่ วนของผูปกครอง สื่ อมวลชนและสถาบันทางศาสนาต้องแสดงบทบาท
้
และหน้าที่ในการมีส่วนร่ วมกับการพัฒนาการศึกษาด้วย เพื่อให้การศึกษาไทยพัฒนาได้ทดเทียมกับประเทศ
ั
สมาชิกอาเซียนอื่น
เอกสารอ้างอิง
1. Bureau of Community College Administration. (2554) การขับเคลือนประชาคมอาเซียนให้ บรรลุ
่
ทั้ง ๓ เสาหลัก [Online] Available :
http://202.29.93.22/asean/?name=aboutasean&file=readdatas&id=4 (20 ธันวาคม 2554)
2. เกษม ใคร้มา. (2554) ประชาคมอาเซียน กับ การศึกษา (พ.ศ.2558) [Online] Available :
http://www.survey.mju.ac.th/acticleDetail.aspx?qid=122& (9 ธันวาคม 2554)
3. ผูเ้ ชี่ยวชาญสานักงานปลัดกระทรวง กระทรวงศึกษาธิการ. (2554) เครือข่ ายมหาวิทยาลัยอาเซียน
[Online] Available :
http://www.asean.moe.go.th/index.php?option=com_content&view=article&id=19&Itemid=8 (7
มกราคม 2555)
4. ผูเ้ ชี่ยวชาญสานักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา. (2554) โครงการส่ งเสริมการพัฒนาสหกิจศึกษา
ในสถาบันอุดมศึกษา [Online] Available : http://www.mua.go.th/users/bphe/cooperative/ (7
มกราคม 2555)
5. สมชนก ภาสกรจรัส. (2551) หลักการจัดการธุรกิจระหว่ างประเทศ. กรุ งเทพมหานคร : สานักพิมพ์
แมคกรอ-ฮิล. หน้า 33-37
11
6. สุ นทรี วงษ์สมาน. (2554) ทิศทางการศึกษาไทยในประชาคมเศรษฐกิอาเซียน. [Online] Available :
http://ird.oop.swu.ac.th/Portals/46/ASEAN%202015/ASEAN%202015_ONEC.pdf (9 ธันวาคม
2554)
7. สานักงานคณะกรรมการพัฒนาการขีดความสามารถในการแข่งขันของประเทศ สานักงาน
คณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ. (2554) ผลการวิเคราะห์ ตัวชี้วดและแนว
ั
ทางการจัดการจุดอ่ อนของประเทศจากการจัดอันดับความสามารถในการแข่ งขันโดย WEF และ
IMD. กรุ งเทพมหานคร : สานักพิมพ์กระทรวงศึกษาธิการ. หน้า 22, 33
8. ศรัญยพงศ์ เที่ยงธรรม. (2553) Dynamic Diamond Mode กรณีศึกษามหาวิทยาลัยกรุ งเทพ
[Online] Available : http://202.183.190.2/FTPiWebAdmin/knw_pworld/image_content/86/4348.pdf (2 ธันวาคม 2554)

12

Más contenido relacionado

La actualidad más candente

ประชาคมอาเซียน2013ศ.ดร.เกรียงศักดิ์
ประชาคมอาเซียน2013ศ.ดร.เกรียงศักดิ์ประชาคมอาเซียน2013ศ.ดร.เกรียงศักดิ์
ประชาคมอาเซียน2013ศ.ดร.เกรียงศักดิ์Kruthai Kidsdee
 
โครงงานคอม สื่อการเรียนรู้เรื่อง สมาคมประชาชาติแห่งเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ (AE...
โครงงานคอม สื่อการเรียนรู้เรื่อง สมาคมประชาชาติแห่งเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ (AE...โครงงานคอม สื่อการเรียนรู้เรื่อง สมาคมประชาชาติแห่งเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ (AE...
โครงงานคอม สื่อการเรียนรู้เรื่อง สมาคมประชาชาติแห่งเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ (AE...Dp' Warissara
 
แนวทางการจัดการเรียนรู้สู่ประชาคมอาเซียน
แนวทางการจัดการเรียนรู้สู่ประชาคมอาเซียนแนวทางการจัดการเรียนรู้สู่ประชาคมอาเซียน
แนวทางการจัดการเรียนรู้สู่ประชาคมอาเซียนsompriaw aums
 
หลักสูตรเสริมความรู้อาเซียนศึกษาสำหรับเด็กปฐมวัย
หลักสูตรเสริมความรู้อาเซียนศึกษาสำหรับเด็กปฐมวัยหลักสูตรเสริมความรู้อาเซียนศึกษาสำหรับเด็กปฐมวัย
หลักสูตรเสริมความรู้อาเซียนศึกษาสำหรับเด็กปฐมวัยTeresa Di Gesu
 
แนวทางจัดการเรียนรู้สู่อาเซี่ยน
แนวทางจัดการเรียนรู้สู่อาเซี่ยนแนวทางจัดการเรียนรู้สู่อาเซี่ยน
แนวทางจัดการเรียนรู้สู่อาเซี่ยนNatda Wanatda
 
1321861251 เปิดประตูสู่อาเซียน
1321861251 เปิดประตูสู่อาเซียน1321861251 เปิดประตูสู่อาเซียน
1321861251 เปิดประตูสู่อาเซียนtomodachi7016
 
โครงงาน การแต งกายในอาเซ ยน
โครงงาน การแต งกายในอาเซ ยนโครงงาน การแต งกายในอาเซ ยน
โครงงาน การแต งกายในอาเซ ยนUnity' N Bc
 
โครงงานวิชา Is2
โครงงานวิชา Is2โครงงานวิชา Is2
โครงงานวิชา Is2LeoBlack1017
 
9 1-3-เค้าโครงเว็บไซต์อาเซียน
9 1-3-เค้าโครงเว็บไซต์อาเซียน9 1-3-เค้าโครงเว็บไซต์อาเซียน
9 1-3-เค้าโครงเว็บไซต์อาเซียนpatmalya
 
Asean thai readiness
Asean thai readinessAsean thai readiness
Asean thai readinessi_cavalry
 
งานนำเสนออาเซี่ยน
งานนำเสนออาเซี่ยนงานนำเสนออาเซี่ยน
งานนำเสนออาเซี่ยนjulee2506
 
ตัวอย่าง โครงงานคอมพิวเตอร์
ตัวอย่าง  โครงงานคอมพิวเตอร์ตัวอย่าง  โครงงานคอมพิวเตอร์
ตัวอย่าง โครงงานคอมพิวเตอร์Fearn_clash
 
ตัวอย่างโครงงานคอมพิวเตอร์
ตัวอย่างโครงงานคอมพิวเตอร์ตัวอย่างโครงงานคอมพิวเตอร์
ตัวอย่างโครงงานคอมพิวเตอร์Thanamon Bannarat
 
รายวิชาสังคมพื้นฐาน อาเซียนศึกษา
รายวิชาสังคมพื้นฐาน อาเซียนศึกษารายวิชาสังคมพื้นฐาน อาเซียนศึกษา
รายวิชาสังคมพื้นฐาน อาเซียนศึกษาArt Nan
 

La actualidad más candente (18)

ประชาคมอาเซียน2013ศ.ดร.เกรียงศักดิ์
ประชาคมอาเซียน2013ศ.ดร.เกรียงศักดิ์ประชาคมอาเซียน2013ศ.ดร.เกรียงศักดิ์
ประชาคมอาเซียน2013ศ.ดร.เกรียงศักดิ์
 
โครงงานคอม สื่อการเรียนรู้เรื่อง สมาคมประชาชาติแห่งเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ (AE...
โครงงานคอม สื่อการเรียนรู้เรื่อง สมาคมประชาชาติแห่งเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ (AE...โครงงานคอม สื่อการเรียนรู้เรื่อง สมาคมประชาชาติแห่งเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ (AE...
โครงงานคอม สื่อการเรียนรู้เรื่อง สมาคมประชาชาติแห่งเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ (AE...
 
แนวทางการจัดการเรียนรู้สู่ประชาคมอาเซียน
แนวทางการจัดการเรียนรู้สู่ประชาคมอาเซียนแนวทางการจัดการเรียนรู้สู่ประชาคมอาเซียน
แนวทางการจัดการเรียนรู้สู่ประชาคมอาเซียน
 
หลักสูตรเสริมความรู้อาเซียนศึกษาสำหรับเด็กปฐมวัย
หลักสูตรเสริมความรู้อาเซียนศึกษาสำหรับเด็กปฐมวัยหลักสูตรเสริมความรู้อาเซียนศึกษาสำหรับเด็กปฐมวัย
หลักสูตรเสริมความรู้อาเซียนศึกษาสำหรับเด็กปฐมวัย
 
แนวทางจัดการเรียนรู้สู่อาเซี่ยน
แนวทางจัดการเรียนรู้สู่อาเซี่ยนแนวทางจัดการเรียนรู้สู่อาเซี่ยน
แนวทางจัดการเรียนรู้สู่อาเซี่ยน
 
1321861251 เปิดประตูสู่อาเซียน
1321861251 เปิดประตูสู่อาเซียน1321861251 เปิดประตูสู่อาเซียน
1321861251 เปิดประตูสู่อาเซียน
 
โครงงาน การแต งกายในอาเซ ยน
โครงงาน การแต งกายในอาเซ ยนโครงงาน การแต งกายในอาเซ ยน
โครงงาน การแต งกายในอาเซ ยน
 
Asean complete
Asean completeAsean complete
Asean complete
 
ฉันและเธอ เราคืออาเซียน
ฉันและเธอ เราคืออาเซียนฉันและเธอ เราคืออาเซียน
ฉันและเธอ เราคืออาเซียน
 
โครงงานคอม
โครงงานคอมโครงงานคอม
โครงงานคอม
 
โครงงานวิชา Is2
โครงงานวิชา Is2โครงงานวิชา Is2
โครงงานวิชา Is2
 
9 1-3-เค้าโครงเว็บไซต์อาเซียน
9 1-3-เค้าโครงเว็บไซต์อาเซียน9 1-3-เค้าโครงเว็บไซต์อาเซียน
9 1-3-เค้าโครงเว็บไซต์อาเซียน
 
Asean thai readiness
Asean thai readinessAsean thai readiness
Asean thai readiness
 
งานนำเสนออาเซี่ยน
งานนำเสนออาเซี่ยนงานนำเสนออาเซี่ยน
งานนำเสนออาเซี่ยน
 
ตัวอย่าง โครงงานคอมพิวเตอร์
ตัวอย่าง  โครงงานคอมพิวเตอร์ตัวอย่าง  โครงงานคอมพิวเตอร์
ตัวอย่าง โครงงานคอมพิวเตอร์
 
ตัวอย่างโครงงานคอมพิวเตอร์
ตัวอย่างโครงงานคอมพิวเตอร์ตัวอย่างโครงงานคอมพิวเตอร์
ตัวอย่างโครงงานคอมพิวเตอร์
 
รายวิชาสังคมพื้นฐาน อาเซียนศึกษา
รายวิชาสังคมพื้นฐาน อาเซียนศึกษารายวิชาสังคมพื้นฐาน อาเซียนศึกษา
รายวิชาสังคมพื้นฐาน อาเซียนศึกษา
 
Asean curriculum source_book
Asean curriculum source_bookAsean curriculum source_book
Asean curriculum source_book
 

Similar a ความท้าทายและโอกาสของการศึกษาไทยใน Aec v3

Dr.benjalug asean
Dr.benjalug aseanDr.benjalug asean
Dr.benjalug aseanvorravan
 
ประชาคมอาเซียน
ประชาคมอาเซียนประชาคมอาเซียน
ประชาคมอาเซียนSaran Yuwanna
 
การรู้สารสนเทศเพื่อการก้าวสู่ประชาคม
การรู้สารสนเทศเพื่อการก้าวสู่ประชาคมการรู้สารสนเทศเพื่อการก้าวสู่ประชาคม
การรู้สารสนเทศเพื่อการก้าวสู่ประชาคมjeabjeabloei
 
สิ่งแวดล้อม
สิ่งแวดล้อมสิ่งแวดล้อม
สิ่งแวดล้อมjirapom
 
ประชาคมอาเซียน 2558
ประชาคมอาเซียน 2558ประชาคมอาเซียน 2558
ประชาคมอาเซียน 2558Samran Narinya
 
บทบาทของ “ศมส.” กับการจัดการและดูแลสารสนเทศมรดกวัฒนธรรม
บทบาทของ “ศมส.” กับการจัดการและดูแลสารสนเทศมรดกวัฒนธรรมบทบาทของ “ศมส.” กับการจัดการและดูแลสารสนเทศมรดกวัฒนธรรม
บทบาทของ “ศมส.” กับการจัดการและดูแลสารสนเทศมรดกวัฒนธรรมSittisak Rungcharoensuksri
 
ทิศทางของศธ.ที่ผู้บริหารโรงเรียนควรทราบ
ทิศทางของศธ.ที่ผู้บริหารโรงเรียนควรทราบทิศทางของศธ.ที่ผู้บริหารโรงเรียนควรทราบ
ทิศทางของศธ.ที่ผู้บริหารโรงเรียนควรทราบChalermpon Dondee
 

Similar a ความท้าทายและโอกาสของการศึกษาไทยใน Aec v3 (20)

Dr.benjalug asean
Dr.benjalug aseanDr.benjalug asean
Dr.benjalug asean
 
คู่มือครู
คู่มือครูคู่มือครู
คู่มือครู
 
อาเซียน1
อาเซียน1อาเซียน1
อาเซียน1
 
อาเซียน1
อาเซียน1อาเซียน1
อาเซียน1
 
ชื่อโครงการ 57
ชื่อโครงการ 57ชื่อโครงการ 57
ชื่อโครงการ 57
 
ประชาคมอาเซียน
ประชาคมอาเซียนประชาคมอาเซียน
ประชาคมอาเซียน
 
ประชาคมอาเซียน
ประชาคมอาเซียนประชาคมอาเซียน
ประชาคมอาเซียน
 
การรู้สารสนเทศเพื่อการก้าวสู่ประชาคม
การรู้สารสนเทศเพื่อการก้าวสู่ประชาคมการรู้สารสนเทศเพื่อการก้าวสู่ประชาคม
การรู้สารสนเทศเพื่อการก้าวสู่ประชาคม
 
สิ่งแวดล้อม
สิ่งแวดล้อมสิ่งแวดล้อม
สิ่งแวดล้อม
 
Pp suthad
Pp suthadPp suthad
Pp suthad
 
ประชาคมอาเซียน 2558
ประชาคมอาเซียน 2558ประชาคมอาเซียน 2558
ประชาคมอาเซียน 2558
 
ประชาคมอาเซียน
ประชาคมอาเซียนประชาคมอาเซียน
ประชาคมอาเซียน
 
อาเซียน
อาเซียนอาเซียน
อาเซียน
 
ยุทธศาสตร์ กศน ปี 2560
ยุทธศาสตร์ กศน ปี 2560ยุทธศาสตร์ กศน ปี 2560
ยุทธศาสตร์ กศน ปี 2560
 
แบบฟอร์ม+Storytellingครั้งที่ 1รอบ2 56
แบบฟอร์ม+Storytellingครั้งที่ 1รอบ2 56แบบฟอร์ม+Storytellingครั้งที่ 1รอบ2 56
แบบฟอร์ม+Storytellingครั้งที่ 1รอบ2 56
 
บทบาทของ “ศมส.” กับการจัดการและดูแลสารสนเทศมรดกวัฒนธรรม
บทบาทของ “ศมส.” กับการจัดการและดูแลสารสนเทศมรดกวัฒนธรรมบทบาทของ “ศมส.” กับการจัดการและดูแลสารสนเทศมรดกวัฒนธรรม
บทบาทของ “ศมส.” กับการจัดการและดูแลสารสนเทศมรดกวัฒนธรรม
 
กำเนิดอาเซียน1
กำเนิดอาเซียน1กำเนิดอาเซียน1
กำเนิดอาเซียน1
 
กำเนิดอาเซียน1
กำเนิดอาเซียน1กำเนิดอาเซียน1
กำเนิดอาเซียน1
 
กำเนิดอาเซียน1
กำเนิดอาเซียน1กำเนิดอาเซียน1
กำเนิดอาเซียน1
 
ทิศทางของศธ.ที่ผู้บริหารโรงเรียนควรทราบ
ทิศทางของศธ.ที่ผู้บริหารโรงเรียนควรทราบทิศทางของศธ.ที่ผู้บริหารโรงเรียนควรทราบ
ทิศทางของศธ.ที่ผู้บริหารโรงเรียนควรทราบ
 

Más de Mudhita Ubasika

A study of the 2012 tfqa certified thai food & beverage franchisor’s readines...
A study of the 2012 tfqa certified thai food & beverage franchisor’s readines...A study of the 2012 tfqa certified thai food & beverage franchisor’s readines...
A study of the 2012 tfqa certified thai food & beverage franchisor’s readines...Mudhita Ubasika
 
The study of factors affecting thai franchise expanding internationally
The study of factors affecting thai franchise expanding internationallyThe study of factors affecting thai franchise expanding internationally
The study of factors affecting thai franchise expanding internationallyMudhita Ubasika
 
The study of assessment for the 2012 tfqa certified franchisor’s readiness to...
The study of assessment for the 2012 tfqa certified franchisor’s readiness to...The study of assessment for the 2012 tfqa certified franchisor’s readiness to...
The study of assessment for the 2012 tfqa certified franchisor’s readiness to...Mudhita Ubasika
 
The result from using project based learning upon partnership for 21th centur...
The result from using project based learning upon partnership for 21th centur...The result from using project based learning upon partnership for 21th centur...
The result from using project based learning upon partnership for 21th centur...Mudhita Ubasika
 
ปรับกลยุทธ์การตลาดเข้าสู่ Aec
ปรับกลยุทธ์การตลาดเข้าสู่ Aecปรับกลยุทธ์การตลาดเข้าสู่ Aec
ปรับกลยุทธ์การตลาดเข้าสู่ AecMudhita Ubasika
 
ความท้าทายและโอกาสของการศึกษาไทยใน AEC
ความท้าทายและโอกาสของการศึกษาไทยใน AECความท้าทายและโอกาสของการศึกษาไทยใน AEC
ความท้าทายและโอกาสของการศึกษาไทยใน AECMudhita Ubasika
 

Más de Mudhita Ubasika (6)

A study of the 2012 tfqa certified thai food & beverage franchisor’s readines...
A study of the 2012 tfqa certified thai food & beverage franchisor’s readines...A study of the 2012 tfqa certified thai food & beverage franchisor’s readines...
A study of the 2012 tfqa certified thai food & beverage franchisor’s readines...
 
The study of factors affecting thai franchise expanding internationally
The study of factors affecting thai franchise expanding internationallyThe study of factors affecting thai franchise expanding internationally
The study of factors affecting thai franchise expanding internationally
 
The study of assessment for the 2012 tfqa certified franchisor’s readiness to...
The study of assessment for the 2012 tfqa certified franchisor’s readiness to...The study of assessment for the 2012 tfqa certified franchisor’s readiness to...
The study of assessment for the 2012 tfqa certified franchisor’s readiness to...
 
The result from using project based learning upon partnership for 21th centur...
The result from using project based learning upon partnership for 21th centur...The result from using project based learning upon partnership for 21th centur...
The result from using project based learning upon partnership for 21th centur...
 
ปรับกลยุทธ์การตลาดเข้าสู่ Aec
ปรับกลยุทธ์การตลาดเข้าสู่ Aecปรับกลยุทธ์การตลาดเข้าสู่ Aec
ปรับกลยุทธ์การตลาดเข้าสู่ Aec
 
ความท้าทายและโอกาสของการศึกษาไทยใน AEC
ความท้าทายและโอกาสของการศึกษาไทยใน AECความท้าทายและโอกาสของการศึกษาไทยใน AEC
ความท้าทายและโอกาสของการศึกษาไทยใน AEC
 

ความท้าทายและโอกาสของการศึกษาไทยใน Aec v3

  • 1. ความท้าทายและโอกาสของการศึกษาไทยในประชาคมอาเซียน The Challenge and Opportunity of Thai Education In ASEAN Economic Community อรุ ณี เลิศกรกิจจา มหาวิทยาลัยนานาชาติแสตมฟอร์ ด บทคัดย่อ ประชาคมอาเซี ยนก่อเกิดความร่ วมมือ 3 เสาหลักคือ ประชาคมการเมืองความมันคงอาเซี ยน ่ ประชาคมเศรษฐกิจอาเซี ยนและประชาคมสังคมและวัฒนธรรมอาเซี ยน ส่ วนความร่ วมมือด้านการศึกษา ประชาคมอาเซี ยนนั้นมีความสาคัญเพิ่มมากขึ้นจากการลงนามในปฏิญญาว่าด้วยแผนงานสาหรับประชาคม อาเซียน พ.ศ. 2552 – 2558 ด้วยการให้การศึกษาเป็ นเครื่ องมือพัฒนาทรัพยากรมนุษย์เพื่อการรวมตัวเป็ น ประชาคมอาเซี ยนที่มีประชาชนเป็ นศูนย์กลางและมีความรับผิดชอบทางสังคม สาหรับประเทศไทยนั้น กระทรวงศึกษาธิการมีบทบาทสาคัญ ในการสร้างความร่ วมมือเพื่อเตรี ยมพร้อมเด็กไทยก้าวสู่ ประชาคม อาเซียน เมื่อวิเคราะห์ความได้เปรี ยบในการแข่งขันของการศึกษาไทยด้วยตัวแบบเพชรของไมเคิล อี พอร์ ่ เตอร์ พบว่า มีเพียงเงื่อนไขเดียวคือ เงื่อนไขด้านปั จจัยการผลิตของการศึกษาไทยอยูในเกณฑ์ดอย ในด้าน ้ ทรัพยากรความรู ้และทรัพยากรมนุษย์ โดยเฉพาะอย่างยิงด้านภาพรวมสมรรถนะด้านการศึกษา และ ่ ่ ความสามารถในการใช้ภาษาอังกฤษที่ส่งผลด้านลบต่อการศึกษาไทย อาจสรุ ปได้วา การศึกษาของประเทศ ไทยยังมีความสามารถในการแข่งขันในประชาคมอาเซี ยน หน้าที่หลักในการแก้ปัญหาดังกล่าวจึงเป็ นเรื่ อง ของกระทรวงศึกษาธิ การต้องเร่ งวางแผนกลยุทธ์ และแผนปฏิบติงานที่เป็ นรู ปธรรมและปฏิบติได้จริ ง โดย ั ั เริ่ มต้นทันที Abstract The ASEAN Community consists of three pillars, they are: - ASEAN Political and Security Community, ASEAN Economic Community and ASEAN Socio - Cultural Community. In collaboration, the ASEAN Education Community has a more significant impact by signing the Declaration with plans for the ASEAN Community in 2009 – 2015. This will allow education, as a human resource development tool, to join the ASEAN Community, where people are the center and social responsibility. For Thailand, the Ministry of Education plays a key role in building collaborative efforts to prepare Thai students towards an ASEAN Community. When analyzing the competitive advantage of Thai education by Michael E. Porter, there is only one condition. The condition of production factors in Thai education in knowledge resources and human resources are in low status. The status is low especially the overall performance, education, and the ability to use English that adversely affect Thai studies. In conclusion, Thai education may still be able to compete in ASEAN Community. Primarily, the Ministry of Education must accelerate planning, strategy, and implantation of a solid and practical plan of action immediately. คาสาคัญ: ประชาคมเศรษฐกิจอาเซี ยน, ตัวแบบเพชร, ความได้เปรี ยบในการแข่งขันของประเทศ 1
  • 2. บทนา เมื่อประชาคมเศรษฐกิจอาเซี ยนเกิดขึ้นในปี พ.ศ. 2558 จะเกิดเสรี อย่างไร้ขีดจากัดทั้งการไหลเวียน ของเงินทุน การเคลื่อนย้ายของประชากรข้ามประเทศใน 10 ประเทศสมาชิก สังคมใหม่ขยายตัวใหญ่ข้ ึน กลายเป็ นสังคมอาเซี ยนที่มีประชากรกว่า 600 ล้านคน และเมื่อการศึกษาถูกกาหนดให้เป็ นเครื่ องมือพัฒนา ทรัพยากรมนุษย์เพื่อการรวมตัวเป็ นประชาคมอาเซียนที่มีประชาชนเป็ นศูนย์กลางและมีความรับผิดชอบทาง สังคม การเตรี ยมความพร้อมของคนไทยรุ่ นใหม่จึงมีความจาเป็ น ปรัชญาการศึกษาต้องปรับเปลี่ยนเป็ นการ เรี ยนรู้เพื่อออกไปประกอบอาชีพได้ในสังคมที่กว้างขวางขึ้น ทว่าการศึกษาไทยมีความสามารถด้านการ แข่งขันและพร้อมเปิ ดเสรี รองรับอาเซียนมากน้อยเพียงใด เป้ าหมายการให้ประเทศไทยเป็ นศูนย์กลาง การศึกษา (Education Hub) จะทาได้หรื อไม่ เพราะนอกจากต้องปรับเปลี่ยนปรัชญาการศึกษาแล้ว การเพิ่ม ทักษะด้านภาษายังมีความจาเป็ น เนื่องจากการรับคนเข้าทางานจะเปลี่ยนไป คุณภาพการศึกษาไทยต้อง พัฒนาให้สามารถเข้าสู่ ความเป็ นสากลนับจากวันนี้ บทความนี้จึงได้ทาการวิเคราะห์ความได้เปรี ยบในการ แข่งขันทางการศึกษาของไทยในประชาคมอาเซี ยนโดยอาศัยตัวแบบเพชร (Diamond Model) ของไมเคิล อี ั พอร์เตอร์ เพื่อเป็ นข้อมูลประกอบ ให้กบหน่วยงานที่เกี่ยวข้องกับการผลักดันด้านการศึกษาในการเตรี ยม ความพร้อมของประเทศต่อไปในอนาคต ประชาคมอาเซียนและพันธกรณี อาเซี ยนเริ่ มก่อตั้งในปี พ.ศ. 2510 จากการลงนามใน “ปฎิญญากรุ งเทพ” โดยมีสมาชิกเริ่ มต้น 5 ประเทศ ได้แก่ ไทย อินโดนีเซีย มาเลเซีย ฟิ ลิปปิ นส์ และสิ งคโปร์ หลังจากพ.ศ.2527 เป็ นต้นมา อาเซียนมี สมาชิกเพิมขึ้นจนปัจจุบนมี 10 ประเทศ ประกอบด้วยประเทศไทย อินโดนีเซีย มาเลเชีย ฟิ ลิปปิ นส์ ั ่ สิ งคโปร์ ดารุ สซาลามบรู ไน กัมพูชา พม่า เวียดนาม และสาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาว ก่อเกิด ความร่ วมมือ 3 เสาหลัก คือ ประชาคมการเมืองความมันคงอาเซี ยน (ASEAN Security Community – ASC) ่ ประชาคมเศรษฐกิจอาเซี ยน (ASEAN Economic Community – AEC) และประชาคมสังคมและวัฒนธรรม อาเซียน (ASEAN Socio-Cultural Community - ASCC) เสาหลักแต่ละด้านมีวตถุประสงค์ ดังนี้ ั การเมืองและความมั่นคงอาเซียน (ASEAN Security Community – ASC) ่ มีวตถุประสงค์ทาให้ประเทศในภูมิภาคอยูอย่างสันติสุข โดยการแก้ไขปั ญหาในภูมิภาคด้วยสันติวธี ั ิ และยึดมันในหลักความมันคงรอบด้าน ประชาคมการเมืองและความมันคงอาเซี ยนจะ ่ ่ ่ ่ (1) ใช้ขอตกลงและกลไกของอาเซี ยนที่มีอยูแล้วในการเพิ่มศักยภาพในการแก้ไขปั ญหาข้อพิพาท ้ ภายในภูมิภาค รวมทั้งการเผชิญหน้ากับภัยคุกคามรู ปแบบใหม่ เช่น การก่อการร้าย การลักลอบค้ายาเสพติด การค้ามนุษย์ อาชญากรรมข้ามชาติอื่นๆ และการขจัดอาวุธที่มีอานุภาพทาลายล้างสู ง 2
  • 3. (2) ริ เริ่ มกลไกใหม่ๆ ในการเสริ มสร้างความมันคงและกาหนดรู ปแบบใหม่สาหรับความร่ วมมือ ่ ด้านนี้ ซึ่ งรวมถึงการกาหนดมาตรฐานการป้ องกันการเกิดข้อพิพาท การแก้ไขข้อพิพาท และการสร้างเสริ ม สันติภาพภายหลังการยุติขอพิพาท ้ (3) ส่ งเสริ มความร่ วมมือทางทะเล ทั้งนี้ ความร่ วมมือข้างต้นจะไม่กระทบต่อความเป็ นอิสระของ ประเทศสมาชิกในการดาเนินนโยบายการต่างประเทศและความร่ วมมือทางทหารกับประเทศนอกภูมิภาค และไม่นาไปสู่ การสร้างพันธมิตรทางการทหาร ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน (ASEAN Economic Community – AEC) มีวตถุประสงค์เพื่อทาให้ภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉี ยงใต้มีความมันคง มังคังและสามารถแข่งขันกับ ั ่ ่ ่ ภูมิภาคอื่นๆ ได้ โดย (1) มุ่งให้เกิดการไหลเวียนอย่างเสรี ของสิ นค้า บริ การ การลงทุน เงินทุน การพัฒนาทางเศรษฐกิจ และการลดปั ญหาความยากจนและความเหลื่อมล้ าทางสังคมภายในปี 2558 (2) ทาให้อาเซียนเป็ นตลาดและฐานการผลิตเดียว (Single market and production base) โดยจะริ เริ่ ม ่ กลไกและมาตรการใหม่ๆ ในการปฏิบติตามข้อริ เริ่ มทางเศรษฐกิจที่มีอยูแล้ว ั (3) ให้ความช่วยเหลือแก่ประเทศสมาชิกใหม่ของอาเซี ยน เพื่อลดช่องว่างการพัฒนาและช่วยให้ ประเทศเหล่านี้ เข้าร่ วมกระบวนการรวมตัวทางเศรษฐกิจของอาเซี ยน (4) ส่ งเสริ มความร่ วมมือในนโยบายการเงินและเศรษฐกิจมหภาค ตลาดการเงินและตลาดทุน การ ประกันภัยและภาษีอากร การพัฒนาโครงสร้างพื้นฐานและการคมนาคม พัฒนาความร่ วมมือด้านกฎหมาย การเกษตร พลังงาน การท่องเที่ยว การพัฒนาทรัพยากรมนุษย์โดยการยกระดับการศึกษาและการพัฒนาฝี มือ แรงงาน ประชาคมสั งคมและวัฒนธรรมอาเซียน (ASEAN Socio-Cultural Community - ASCC) ่ มีวตถุประสงค์ที่จะทาให้ภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉี ยงใต้อยูร่วมกันในสังคมที่เอื้ออาทร ประชากรมี ั ่ สภาพความเป็ นอยูที่ดี ได้รับการพัฒนาในทุกด้าน และมีความมันคงทางสังคม (social security) โดยเน้นการ ่ ส่ งเสริ มความร่ วมมือในด้านต่างๆ อาทิ ่ (1) การพัฒนาสังคม โดยการยกระดับความเป็ นอยูของผูดอยโอกาส และผูที่อาศัยในถิ่นทุรกันดาร ้้ ้ และส่ งเสริ มการมีส่วนร่ วมอย่างแข็งขันของกลุ่มต่างๆ ในสังคม (2) การพัฒนาการฝึ กอบรม การศึกษาระดับพื้นฐานและสู งกว่า การพัฒนาทางวิทยาศาสตร์และ เทคโนโลยี การสร้างงาน และการคุมครองทางสังคม ้ (3) การส่ งเสริ มความร่ วมมือในด้านสาธารณสุ ขโดยเฉพาะอย่างยิง การป้ องกันและควบคุมโรค่ ติดต่อ เช่นโรคเอดส์ และ โรคทางเดินหายใจเฉียบพลันรุ นแรง (4) การจัดการปั ญหาด้านสิ่ งแวดล้อม (5) การส่ งเสริ ม การปฏิสัมพันธ์ ระหว่างนักเขียน นักคิดและศิลปิ นในภูมิภาค 3
  • 4. แผนปฏิบติการของประชาคมสังคม-วัฒนธรรมอาเซียน เน้นการดาเนินการใน 4 ประเด็นหลัก คือ ั (1) สร้างประชาคมแห่งสังคมที่เอื้ออาทร โดยเน้นการแก้ไขปั ญหาความยากจน เสริ มสร้างความ เสมอภาค และการพัฒนามนุษย์ อาทิ การพัฒนาสตรี เด็กและเยาวชน การส่ งเสริ ม สวัสดิการสังคม การ พัฒนาชนบทและขจัดความยากจน การพัฒนาการศึกษา และสาธารณสุ ข และการเสริ มสร้างความมันคงของ ่ มนุษย์ในด้านต่างๆ ซึ่ งรวมถึงการปราบปรามอาชญากรรม ข้ามชาติและการป้ องกันและจัดการภัยพิบติ ั (2) แก้ไขผลกระทบต่อสังคมอันเนื่องมาจากการรวมตัวทางเศรษฐกิจ โดยสร้างฐานทรัพยากร มนุษย์ที่สามารถแข่งขันได้ดีและมีระบบการป้ องกันทางสังคมที่เพียงพอ โดยให้ความสาคัญกับการพัฒนา และส่ งเสริ มแรงงาน และเสริ มสร้างความร่ วมมือ ในด้านอื่นๆ ที่เกี่ยวข้อง เช่น สวัสดิการสังคม วิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยี และสาธารณสุ ข (ปั ญหาที่มากับโลกาภิวฒน์ เช่น โรคระบาด โรคอุบติใหม่และอุบติซ้ า) ั ั ั (3) ส่ งเสริ มความยังยืนของสิ่ งแวดล้อมและการจัดการดูแลสิ่ งแวดล้อมอย่างถูกต้อง โดยมีกลไกที่ ่ พัฒนาอย่างสมบูรณ์ สาหรับจัดการและดูแลสิ่ งแวดล้อมอย่างเหมาะสม ตลอดจนการป้ องกันและขจัดภัย พิบติดานสิ่ งแวดล้อม ั ้ (4) เสริ มสร้างรากฐานที่จะนาไปสู่ ประชาคมอาเซี ยนในปี พ.ศ.2558 ซึ่งจะเป็ นภูมิภาคที่ประชาชน ตระหนักถึงอัตลักษณ์ร่วมกันของภูมิภาค ท่ามกลางความหลากหลายทางด้านประวัติศาสตร์ และวัฒนธรรม ด้วยการส่ งเสริ มความเข้าใจระหว่างประชาชนในระดับและวงการต่างๆ การเรี ยนรู้ประวัติศาสตร์ วัฒนธรรม ของกันและกัน รวมถึงการรับรู ้ขอมูลข่าวสารของกันและกัน (การส่ งเสริ มด้านวัฒนธรรมและสารสนเทศ) ้ ในส่ วนของความร่ วมมือด้านการศึกษาของประชาคมอาเซี ยนนั้น ได้มีการลงนามใน “ปฏิญญา ชะอา-หัวหิน” วันที่ 24 ตุลาคม พ.ศ. 2552 โดยผูนาอาเซี ยนได้ลงนามในแผนงานจัดตั้งประชาคมทั้ง 3 เสา ้ หลัก พร้อมทั้งประกาศปฏิญญาว่าด้วยแผนงานสาหรับประชาคมอาเซียนพ.ศ. 2552 - 2558 โดยยึดแผนการ จัดตั้งประชาคม 3 ด้านในการดาเนินงานเพื่อมุ่งสู่ การเป็ นประชาคมอาเซี ยน และประกาศปฏิญญาว่าด้วยการ เสริ มสร้างความร่ วมมือด้านการศึกษาเพื่อบรรลุประชาคมอาเซี ยนที่เอื้ออาทรและแบ่งปั น ให้การศึกษาเป็ น เครื่ องมือพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ เพื่อการรวมตัวเป็ นประชาคมอาเซียนที่มีประชาชนเป็ นศูนย์กลางและมี ความรับผิดชอบทางสังคม ดังนี้ (1) ประชาคมการเมืองและความมันคงอาเซี ยน เน้น 3 เรื่ อง คือ การมีกฎเกณฑ์และค่านิยมร่ วมกัน ่ ั สงบสุ ขและรับผิดชอบร่ วมกันในการรักษาความมันคงรอบด้าน และการมีพลวัตรและปฏิสัมพันธ์กบโลก ่ ภายนอก (2) ประชาคมเศรษฐกิจอาเซี ยน เน้นการบรรลุวตถุประสงค์ 4 ด้าน คือ การเป็ นตลาดและฐานการ ั ผลิตเดียว (การเคลื่อนย้ายสิ นค้า บริ การ การลงทุน เงินทุน และแรงงานฝี มืออย่างเสรี ) สร้างขีดความสามารถ การแข่งขันเศรษฐกิจอาเซี ยน การพัฒนาเศรษฐกิจอย่างเสมอภาค และการบูรณาการเข้ากับเศรษฐกิจโลก (3) ประชาคมสังคมและวัฒนธรรมอาเซียนครอบคลุมเรื่ อง เยาวชน การศึกษา การพัฒนาทรัพยากร มนุษย์ สิ ทธิมนุษยชน สาธารณสุ ข วิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี สิ่ งแวดล้อม สตรี แรงงาน ความยากจน 4
  • 5. สวัสดิการสังคม วัฒนธรรมสารนิเทศ กิจการพลเรื อน การตรวจคนเข้าเมือง กรมศุลกากร ยาเสพติด ภัยพิบติ ั แนวคิดโดยสรุ ป คือ ทานุบารุ งมนุษย์ ทรัพยากรธรรมชาติ และวัฒนธรรมเพื่อการพัฒนาที่ยงยืนของอาเซี ยน ั่ โดยยึดถือประชาชนเป็ นศูนย์กลาง มียทธศาสตร์สาคัญ 4 ด้าน ุ - การสร้างสังคมที่มีความเอื้ออาทร ยกระดับคุณภาพชีวต จัดการศึกษาทัวถึง ขจัดปั ญหา ิ ่ ความยากจน ปัญหาเด็ก สตรี ผูสูงอายุและคนพิการ ้ - การจัดการผลกระทบทางสังคมที่เกิดจากการรวมตัวทางเศรษฐกิจ - การส่ งเสริ มสิ่ งแวดล้อมให้มีความยังยืน ่ - การส่ งเสริ มอัตลักษณ์อาเซี ยน จากการลงนามในปฏิญญาดังกล่าว ส่ งผลให้ทุกหน่วยงานและทุกภาคส่ วนต้องเร่ งสร้างความร่ วมมือเพื่อขับเคลื่อนเตรี ยมพร้อมเด็กไทยก้าวสู่ ประชาคมอาเซี ยนตามเป้ าหมาย โดยเฉพาะกลไกการศึกษาที่เป็ น ตัวนาสาคัญในการขับเคลื่อนให้สามารถก้าวไปได้อย่างมีทิศทาง และผสานประโยชน์ร่วมกันองค์กรหลักใน กระทรวงศึกษาธิการที่มีส่วนสาคัญในการขับเคลื่อนประชาคมอาเซี ยนให้บรรลุวสัยทัศน์ ประกอบไปด้วย 5 ิ องค์กร ดังนี้ (Bureau of Community College Administration, 2554 : Online) 1. สานักงานปลัดกระทรวงศึกษาธิการ จัดทาแผนการศึกษา 5 ปี ขึ้น มารองรับ 2. สานักงานเลขาธิการสภาการศึกษา อบรมให้ความรู้เรื่ องอาเซี ยนแก่ขาราชการกระทรวงต่างๆ ้ 3. สานักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา มีการจัดตั้งศูนย์ประสานงานสู่ การจัดการอาชีวศึกษา ่ นานาชาติ เพื่อพัฒนาคนเชื่ อมโยงประเทศเพื่อนบ้าน มีเครื อข่าย 7 ศูนย์ ตั้งอยูตามเขตพื้นที่ชายแดนไทย 4. สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน กาหนดหลักสู ตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน ให้จดการเรี ยนรู ้เรื่ องอาเซี ยนในชั้น ป. 4 และบูรณาการในกลุ่มสาระการเรี ยนรู ้อื่น เพื่อสร้างความตระหนักรู้ ั เรื่ องอาเซี ยนแก่แด็กไทย 5. สานักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา จัดทาวิจยเรื่ อง ยุทธศาสตร์อุดมศึกษาไทยในการเตรี ยม ั ความพร้อมสู่ การเป็ นประชาคมอาเซี ยนในปี พ.ศ. 2558 ผลที่ได้ คือ วิสัยทัศน์ พันธกิจ เป้ าหมาย ตัวชี้วด ั ยุทธศาสตร์ กลยุทธ์ มาตรการและโครงการรองรับ 6. หน่วยงานอื่น ๆ (1) กรมอาเซียน กระทรวงการต่างประเทศ ดาเนินงานร่ วมกับหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง ในการจัด วิทยากร กิจกรรม จัดโครงการอาเซี ยนสัญจร จัดพิมพ์หนังสื อ เอกสารเกี่ยวกับอาเซี ยนเผยแพร่ (2) คณะอนุกรรมาธิ การการศึกษาขั้นพื้นฐานในคณะกรรมาธิ การการศึกษา วุฒิสภา ได้ประชุม พิจารณาและมีขอเสนอที่เป็ นรู ปธรรมนาไปสู่ การกาหนดนโยบายด้านการศึกษาสู่ ประชาคมอาเซี ยน ดังนี้ ้ - พัฒนาระบบการศึกษาของประเทศไทยให้เป็ นศูนย์กลางทางการศึกษาเฉพาะด้าน เช่น การศึกษานอกระบบ (กศน.) เด็กพิการ การศึกษาทางไกล - จัดทา Road Map เพื่อเตรี ยมคนไทยสู่ ประชาคมอาเซี ยน มีแผนงาน งบประมาณ หลักสู ตร ทักษะภาษาอังกฤษ เสริ มภาษาในประเทศอาเซียน 5
  • 6. - จัดตั้งชุมชนอาเซี ยน ประกอบด้วยผูเ้ รี ยน ผูสอน ผูปกครองและประชาชน ดาเนินชีวตให้ ้ ้ ิ หลอมรวมความคิดอาเซียนเดียว มีการจัดตั้งศูนย์การศึกษาเพื่ออาเซี ยนทุกเขตตรวจราชการ เขตพื้นที่ จังหวัด อาเภอ - พัฒนาเทคโนโลยีสื่อสารในองค์กรการศึกษา - เปิ ดโอกาสให้ภาคเอกชนร่ วมจัดการศึกษาสู่ สังคมอาเซี ยน - เตรี ยมพลเมืองไทยสู่ ประชาคมอาเซี ยน เพื่อให้สามารถแข่งขันในเวทีประชาคมอาเซี ยนได้ อย่างเข้มแข็ง ทั้งด้านภาษา ความรู้เศรษฐศาสตร์ การผลิต การลงทุน การค้า การกระจายสิ นค้า การบริ โภค สิ นค้าและบริ การ - แต่งตั้งผูช่วยฑูตด้านการศึกษา ้ (3) สานักงานเลขาธิ การรัฐมนตรี ศึกษาแห่งเอเชียตะวันออกเฉี ยงใต้ ดาเนินการประสานความ ร่ วมมือระหว่างประเทศสมาชิกในด้านการศึกษา วัฒนธรรมและวิทยาศาสตร์ ระดับภูมิภาคและผลักดันให้ เกิดความร่ วมมือในอาเซี ยน จัดทาคู่มือให้ความรู ้เกี่ยวกับอาเซี ยน รวมทั้งศูนย์ภูมิภาคว่าด้วยการอุดมศึกษา เพื่อให้สามารถโอนย้ายหน่วยกิต ให้ทุนไปอบรมศึกษาแลกเปลี่ยนตามข้อตกลงระหว่างประเทศสมาชิก (4) สานักเลขาธิ การอาเซี ยน ร่ วมกับองค์การเพื่อการพัฒนาระหว่างประเทศของสหรัฐอเมริ กา (USAID) ประชุมปฏิบติการเพื่อจัดทาแผนปฏิบติการด้านการศึกษา 5 ปี ของอาเซียน เมื่อวันที่ 4 - 5 ตุลาคม ั ั พ.ศ. 2553 ที่กรุ งเทพ และคณะที่ปรึ กษา ASEAN-US Technical Assistance and Training Facility ได้ยกร่ าง ยุทธศาสตร์และข้อเสนอแนะในการดาเนินงานตามแผนการศึกษา 5 ปี ของอาเซียน 9 ยุทธศาสตร์ ดังนี้ 1) สร้างความตระหนักเกี่ยวกับอาเซี ยน เช่น การจัดทาคู่มืออาเซี ยนเพื่อสร้างความตระหนัก และค่านิยมร่ วมกัน การพัฒนาหลักสู ตรอาเซี ยนศึกษา การพัฒนาครู และบุคลากร การจัดตั้งมุมอาซี ยนใน โรงเรี ยน การเฉลิมฉลองวันอาเซียน โครงการแลกเปลี่ยน การแข่งขันกีฬา 2) การเข้าถึงการศึกษาขั้นพื้นฐานภายในปี พ.ศ. 2558 โดยการจัดทานโยบายและยุทธศาสตร์ ของภูมิภาค การสนับสนุนกิจกรรมและเป้ าหมายการศึกษาเพื่อปวงชนในอาเซี ยน เช่น การให้ประชาชนทุก คนได้รับการศึกษาขั้นพื้นฐานภายในปี พ.ศ. 2558 3) คุณภาพของมาตรฐานการเรี ยนการสอนและการพัฒนาวิชาชีพครู เช่น การพัฒนาคุณภาพ ของมาตรฐานการเรี ยนการสอนและการพัฒนาวิชาชีพครู 4) การเคลื่อนย้ายข้ามพรมแดนของนักเรี ยน ครู และบุคลากรทางการศึกษา 5) เครื อข่ายและหุ นส่ วนภาคประชาชน ้ 6) การเรี ยนรู้ตลอดชีวิต โดยเฉพาะการอาชีวศึกษาและการพัฒนาฝี มือแรงงาน 7) ความเสมอภาคทางเพศ 8) การฝึ กอบรมภาษาอังกฤษและภาษาอื่นๆ ในภูมิภาค 9) การสนับสนุนการดาเนินงานอื่นๆ ของภาคส่ วนที่เกี่ยวข้องกับด้านการศึกษา 6
  • 7. เมื่อการจัดการศึกษาในอาเซี ยนเป็ นรากฐานสาคัญในการสร้างความเข้มแข็ง และความเจริ ญทาง เศรษฐกิจของอาเซี ยนและเศรษฐกิจโลก ส่ งผลให้การอุดมศึกษาในอาเซียนกลายเป็ นภาคธุ รกิจขนาดใหญ่ และไร้พรมแดนเพื่อตอบสนองการเปิ ดเสรี การศึกษาทั้งในกรอบอาเซี ยนและการค้าโลก เป็ นผลให้เกิด กระแสการแข่งขันในการให้บริ การด้านการศึกษา การเสริ มสร้างความร่ วมมือกับประเทศเพื่อนบ้านในการ พัฒนามาตรฐานการศึกษาของสถาบันการอุดมศึกษาไปสู่ ความเป็ นนานาชาติและ World Class University ตามระบบและรู ปแบบการจัดการศึกษาของยุโรปและอเมริ กา ทั้งในประเทศที่ใช้ภาษาอังกฤษเป็ นภาษาหลัก ภาษาหนึ่งในการเรี ยนการสอน เช่น ฟิ ลิปปิ นส์ สิ งคโปร์ มาเลเซี ย และในประเทศที่ใช้ภาษาท้องถิ่นเป็ นหลัก เช่น ไทย ลาว กัมพูชา เวียดนาม เพื่อตอบสนองการเปลี่ยนแปลงและความต้องการของตลาดแรงงานใน ระดับชาติและภูมิภาค การปรับตัวต่อกระแสการเปิ ดเสรี ทางการศึกษากฏบัตรอาเซียน ฯลฯ แนวทางดังกล่าว ก่อให้เกิดความร่ วมมือทางวิชาการระหว่างสถาบันอุดมศึกษาในอาเซี ยนและประชาคมยุโรป ในลักษณะข้อตกลงที่ทาร่ วมกันในระดับสถาบันต่อสถาบัน ทั้งในส่ วนของมหาวิทยาลัยของรัฐและมหาวิทยาลัยของ เอกชนในด้านการพัฒนาหลักสู ตรและการพัฒนาสถาบันการศึกษาร่ วมกัน ขณะเดียวกันการจัดตั้งเครื อข่าย มหาวิทยาลัยอาเซียนก็ช่วยส่ งเสริ มความร่ วมมือในการพัฒนาคณาจารย์ นักวิชาการ และนักศึกษาในระดับ อุดมศึกษา รวมทั้งการแลกเปลี่ยนข้อมูลข่าวสารระหว่างประเทศสมาชิกด้วยกันและความร่ วมมือกับประเทศ คู่เจรจาในอาเซี ยนบางประเทศ โดยเฉพาะอย่างยิงญี่ปุ่น เกาหลี จีน อินเดีย รัสเซีย และสหภาพยุโรป อีกด้วย ่ วิเคราะห์ ความได้ เปรียบในการแข่ งขันด้ านการศึกษาไทยโดยอาศัย Dynamic Diamond Model ไมเคิล อี พอร์ เตอร์ (2533) มหาวิทยาลัยฮาร์ วาร์ด ได้ทาการศึกษาความได้เปรี ยบในการแข่งขันของ ประเทศ (The competitive advantage of nations) โดยเสนอตัวแบบเพชร (Diamond Model) ในการวิเคราะห์ ความได้เปรี ยบในการแข่งขันของประเทศต่างๆ 4 ปั จจัยด้วยกัน คือ (สมชนก ภาสกรจรัส. 2551: 33-37) รู ปที่ 1-1 ตัวแบบเพชรของไมเคิล อี พอร์ เตอร์ ในการแสดงความได้ เปรี ยบในการแข่ งขันของประเทศ (Developed from Michael E. Porter Diamond Model) 7
  • 8. (1) เงื่อนไขด้านปัจจัยการผลิต (Factor Conditions) หมายถึงองค์ประกอบทางด้านทรัพยากรมนุษย์ ปัจจัยทุน สิ่ งอานวยความสะดวกทางกายภาพ โครงสร้างการบริ หาร สารสนเทศและเทคโนโลยี และ ทรัพยากรธรรมชาติของประเทศ 1.1 ทรัพยากรความรู้และทรัพยากรมนุษย์ จากผลการจัดอันดับความสามารถในการแข่งขันด้าน การศึกษาของไทย โดยสถาบันการจัดการนานาชาติ (International Institute for Management Development: IMD) ปี 2553 จากจานวนทั้งหมด 58 ประเทศพบว่า (สุ นทรี วงษ์สมาน. 2554 : Online; สานักงาน คณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ. 2554 : 22,33) ่ - ผลการจัดอันดับของ IMD ภาพรวมพบว่า ไทยได้อนดับที่ 26 อยูในเกณฑ์ปานกลาง ั ่ ่ - ภาพรวมสมรรถนะด้านการศึกษา พบว่าไทยถูกจัดอยูในอันดับ 47 จัดว่าอยูในเกฑ์ดอย ้ - ด้านคุณภาพการศึกษา โดยเพราะความสามารถในการใช้ภาษาอังกฤษของไทยด้อยมาก ่ โดยอยูในอันดับที่ 54 - การตอบสนองความสามามารถในการแข่งขันของระบบการศึกษา พบว่าไทยถูกจัดอันดับที่ ่ 32 หรื ออยูในระดับค่อนไปทางด้อย ่ - การจัดการศึกษาที่ตอบสนองความต้องการภาคธุ รกิจ ไทยอยูในอันดับที่ 30 หรื อกล่าวอีก นัยหนึ่งคือผลิตคนไม่ตรงกับความต้องการทั้งในเชิงปริ มาณและคุณภาพ นอกจากนี้ ยังมีปัจจัยชี้วดอีกหลายตัวที่ตองได้รับการปรับปรุ ง ได้แก่ จานวนค่าใช้จ่ายภาครัฐ ั ้ ด้านการศึกษาต่อหัวยังต่า จานวนประชากรที่อ่านออกเขียนได้นอย จานวนประชากรที่มีอายุระหว่าง 25-34 ้ และสาเร็ จการศึกษาในระดับอุดมศึกษาต่า จานวนประชากรที่จบการศึกษาสู งกว่าระดับประถมศึกษาเพิ่มขึ้น ในปริ มาณน้อยกว่าความต้องการของภาคการผลิต รวมทั้งกาลังคนระดับสู งด้านวิทยาศาสตร์มีนอยและ ้ คุณภาพการเรี ยนยังมีปัญหาต้องแก้ไข เนื่ องจากทักษะการอ่านและภาษาของคนไทยยังต่า เมื่อประกอบกับผลคะแนน O-Net ของชั้นประถม 6 มัธยม 3 และมัธยม 6 ปี การศึกษา 2552 เทียบกับปี การศึกษา 2553 พบว่า วิชาที่คะแนนเฉลี่ยต่าสุ ดของทั้งสามระดับการศึกษา คือวิชาภาษาอังกฤษ และพบว่าระดับคะแนนเฉลี่ยของปี การศึกษา 2553 มีแนวโน้มลดลงจากปี การศึกษา 2552 อย่างเห็นได้ชด ั ่ นอกจากนี้ยงพบว่าวิชาที่คะแนนเฉลี่ยสู งสุ ดทุกรายวิชาทุกชั้นอยูในระดับต่าว่าร้อยละ 50 บ่งบอกให้เห็นถึง ั ่ คุณภาพของระดับการศึกษาไทยที่อยูในเกณฑ์ดอย ดังตาราง 1-1 (สุ นทรี วงษ์สมาน. 2554 : Online) ้ ตาราง 1-1 เปรี ยบเที ยบผลคะแนน O-Net ของนักเรี ยนชั้นประถม 6 มัธยม 3 และ มัธยม 6 ระหว่ างปี การศึกษา 2552-2553 ระดับการศึกษา ประถม 6 มัธยม 3 มัธยม 6 ปี การศึกษา 2552 ปี การศึกษา 2553 วิชาที่คะแนนเฉลี่ย วิชาที่คะแนนเฉลี่ย วิชาที่คะแนนเฉลี่ย วิชาที่คะแนนเฉลี่ย สู งสุ ด ต่าสุ ด สู งสุ ด ต่าสุ ด วิทยาศาสตร์ 38.7 ภาษาอังกฤษ 31.75 สังคมศาสตร์ 47.1 ภาษาอังกฤษ 21.0 สังคมศาสตร์ 39.7 ภาษาอังกฤษ 22.54 ภาษาไทย 42.8 ภาษาอังกฤษ 16.2 ภาษาไทย 46.47 ภาษาอังกฤษ 23.98 สังคมศาสตร์ 46.5 ภาษาอังกฤษ 19.2 8
  • 9. 1.2 โครงสร้างพื้นฐานทางวิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยี ่ - ประเทศไทยมีจานวนผูใช้อินเตอร์ เน็ตต่อประชากร 1,000 คน จัดอยูในอันดับ 53 ยังต่ามาก ้ เมื่อเทียบกับต่างประเทศ - เทคโนโลยีและนวัตกรรมของไทยยังอ่อนแอ โดยเฉพาะด้านวิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยี จากผลการวิเคราะห์ของ IMD พบว่า การลงทุนวิจยและพัฒนายังน้อยมากเมื่อเทียบกับต่างั ประเทศ มีการใช้ประโยชน์จากงานวิจยน้อย รวมถึงให้ความสาคัญกับการเรี ยนการสอนด้าน ั วิทยาศาสตร์ นอย อีกทั้งขาดการกาหนดมาตรฐานงานวิจยให้ได้มาตรฐานสากล ้ ั (2) เงื่อนไขด้านอุปสงค์หรื อความต้องการ (Demand Conditions) มีผลต่อการพัฒนาผลิตภัณฑ์และ บริ การซึ่ งเป็ นเงื่อนไขที่ก่อให้เกิดกระบวนการพัฒนา 2.1 อุปสงค์หรื อความต้องการภายในประเทศ (Local demand side) ตามยุทธศาสตร์อาเซี ยนว่า ด้วยการเข้าถึงการศึกษาขั้นพื้นฐาน รวมไปถึงการเปิ ดการเคลื่ยนย้ายข้ามพรมแดนของนักเรี ยน ครู และ บุคลากรทางการศึกษา ภายในปี พ.ศ. 2558 ส่ งผลให้อุปสงค์หรื อความต้องการด้านการศึกษาภายในประเทศ มีเพิ่มขึ้น 2.2 ลักษณะของความต้องการภายในประเทศ (Demand characteristics) มีความต้องการที่สลับ ่ ซับซ้อนพิถีพิถน (Sophisticated demand) มากขึ้น ในประเด็นที่วาค่านิยมของคนรุ่ นใหม่ที่เป็ น Generation ั Y (ประชากรที่เกิดในช่วงปี พ.ศ. 2521 – 2537) Generation Z Generation M-Millennium & Mobile (ประชากรที่เกิดตั้งแต่ปี พ.ศ. 2538 เป็ นต้นมา) ที่เปลี่ยนแปลงไปจากยุคก่อน คือ มีค่านิยมด้านอาชีพในแนว “ศิลปิ น” มากขึ้น มีความต้องการอิสระในการทางานที่ไม่ใช่การเป็ นลูกจ้างทางานประจาวัน การมีความ ่ เข้าใจในระบบทรัพย์สินทางปั ญญาทาให้รู้วาความมังคังเกิดจากความคิด เช่นแต่งเพลง เขียนบทละคร ฯลฯ ่ ่ แล้วมีลิขสิ ทธิ์ หรื อจดทะเบียนเป็ นเจ้าของสิ่ งนั้น สามารถจะทารายได้ จากจานวนครั้งที่สินค้าหรื อบริ การนั้น ถูกใช้ ค่านิยมดังกล่าวทาให้กลุ่มวัยเรี ยนในปั จจุบนต้องการสถาบัน การศึกษาที่ตอบโจทย์เป้ าหมายชีวตของ ั ิ เขาได้ นอกจากนี้ เพื่อให้สามารถก้าวไปสู่ ความสาเร็ จของการเป็ นประชาคมอาเซี ยนเด็กไทยต้องเรี ยนรู ้ ่ วัฒนธรรม สังคมและความเป็ นอยูของเพื่อนอีก 9 ประเทศ ตลอดจนต้องเตรี ยมความพร้อมให้มีความ เข้มแข็งด้านภาษา อังกฤษ และ ICT (Information Communication Technology) (ศรัญยพงศ์ เที่ยงธรรม. 2553 : Online) (3) อุตสาหกรรมเกี่ยวเนื่องและอุตสาหกรรมสนับสนุน (Related and Supporting Industries) องค์ประกอบทั้งสองมีส่วนส่ งผลให้ภาคการศึกษาไทยมีความได้เปรี ยบทางการแข่งขันเพิ่มขึ้น 3.1 ความร่ วมมือภายในอุตสาหกรรม เกิดการก่อตั้งเครื อข่ายมหาวิทยาลัยอาเซี ยน (ASEAN University Network, AUN) ขึ้นในเดือนพฤศจิกายน พ.ศ. 2538 ตามมติของที่ประชุมสุ ดยอดอาเซี ยนครั้งที่ 4 เพื่อเสริ มความเข้มแข็งของเครื อข่ายมหาวิทยาลัยและสถาบันอุดมศึกษา โดยมีขอตกลงเพื่อส่ งเสริ มความ ้ ร่ วมมือระหว่างนักปราชญ์ นักวิชาการและนักวิทยาศาสตร์ในภูมิภาค พัฒนาทรัพยากรมนุษย์ดานวิชาการ ้ และอาชีพในภูมิภาค รวมถึงส่ งเสริ มการเผยแพร่ ขอมูลสารสนเทศระหว่างชุมชนนักวิชาการอาเซี ยน เป็ นผล ้ 9
  • 10. ให้เกิดการเสริ มสร้างความร่ วมมือระหว่างประเทศเพื่อนบ้าน ในการพัฒนามาตรฐานการศึกษาของสถาบัน การศึกษาโดยเฉพาะระดับอุมศึกษาเพื่อนาไปสู่ ความเป็ นนานาชาติ (ผูเ้ ชี่ยวชาญกระทรวงศึกษาธิการ, 2554 : Online) 3.2 ความเข้มแข็งของอุตสาหกรรมสนับสนุน เพื่อให้การพัฒนาการศึกษาสามารถตอบสนอง ความต้องการทางสังคมและเศรษฐกิจ สานักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษามีนโยบายส่ งเสริ มสนับสนุน การจัดการศึกษาระบบสหกิจศึกษา ทั้งนี้เพื่อให้เกิดความเชื่อมโยงระหว่างสถาบันอุดมศึกษากับองค์กรผูใช้ ้ บัณฑิต ก่อเกิดการบูรณาการความร่ วมมือในการพัฒนาหลักสู ตรการเรี ยนการสอน การวิจยและการสร้าง ั องค์ความรู ้ใหม่ (ผูเ้ ชี่ยวชาญสานักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา, 2554 : Online) (4) บริ บทของกลยุทธ์และการแข่งขัน (Context for Firm Strategy and Rivalry) เป็ นองค์ประกอบที่ มีผลให้เกิดการลงทุนและการพัฒนาอย่างยังยืนของหน่วยธุ รกิจแต่ละหน่วย พบว่า ภาพรวมสภาพทางธุ รกิจ ่ ่ ่ และการแข่งขันในตลาดอุดมศึกษาว่าที่ผานมา การแข่งขันมักอยูในฝ่ ายมหาวิทยาลัยเอกชนเป็ นส่ วนใหญ่ ่ แต่สาหรับช่วง 3-5 ปี ที่ผานมามหาวิยาลัยของรัฐก็ออกมาทาการตลาดมากขึ้น ทุกสถาบันการศึกษามีการจัด ทาแผนกลยุทธ์ซ่ ึงเป็ นผลพวงจากการประกันคุณภาพ (5) บทบาทของรัฐบาล (Role of Government) เนื่องจากความร่ วมมือด้านการศึกษาของประชาคม อาเซียนนั้นเป็ นการลงนามโดยผูนาอาเซียนและมีกรอบเวลาที่แน่นอน ส่ งผลให้รัฐบาลทุกหน่วยงานและทุก ้ ภาคส่ วนต้องให้ความสาคัญในการเร่ งสร้างความร่ วมมือระหว่างกัน เพื่อเดินหน้าขับเคลื่อนเตรี ยมพร้อมของ ้ เด็กไทยให้กาวสู่ ประชาคมอาเซี ยนตามเป้ าหมาย โดยองค์กรหลักในกระทรวงศึกษาธิ การได้แก่ สานักงาน ปลัดกระทรวงศึกษาธิการ สานักงานเลขาธิการสภาการศึกษา สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน สานักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา สานักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษาและหน่วยงานอื่นๆ ต่างเร่ ง จัดทายุทธศาสตร์ แผนงาน มาตรการและโครงการต่างๆ รองรับเพื่อเตรี ยมพร้อมสู่ การเป็ นประชาคมอาเซี ยน ในปี พ.ศ. 2558 (Bureau of Community College Administration, 2554 : Online) (6) โอกาส (Chance) เมื่อประชาคมเศรษฐกิจอาเซี ยนเกิดขึ้นในปี พ.ศ. 2558 จะเปิ ดโอกาสให้เกิด การเคลื่อนย้ายข้ามพรมแดนของการให้บริ การด้านการศึกษาในอาเซียนอย่างเสรี เกิดการเสริ มสร้างความ ร่ วมมือกับประเทศเพื่อนบ้านในการพัฒนามาตรฐานการศึกษาของสถาบันอุดมศึกษา ส่ งผลให้เกิดการ พัฒนาหลักสู ตรและการพัฒนาสถาบันการศึกษาร่ วมกัน ช่วยส่ งเสริ มความร่ วมมือในการพัฒนาคณาจารย์ นักวิชาการและนักศึกษาในระดับอุดมศึกษาในระหว่างประเทศสมาชิกด้วยกันเอง (เกษม ใคร้มา, 2554 : Online) เป็ นโอกาสอย่างมากสาหรับภาคการศึกษาของประเทศไทย บทสรุ ป ความร่ วมมืออาเซี ยนด้านการศึกษาเป็ นส่ วนหนึ่งของการจัดตั้งประชาคมอาเซี ยน ซึ่งมีเป้ าหมายที่ จะยกระดับคุณภาพชีวตของประชาชนและการพัฒนาภูมิภาคอย่างยังยืนโดยมีประชาชนเป็ นศูนย์กลาง เมื่อ ิ ่ วิเคราะห์ความสามารถในการแข่งขันของการศึกษาไทยภายใต้ตวแบบเพชรของไมเคิล อี พอร์ เตอร์ พบว่า มี ั 10
  • 11. เพียงเงื่อนไขเดียวที่ส่งผลด้านลบต่อความสามารถในการแข่งขันคือ เงื่อนไขด้านปัจจัยการผลิตของการ ่ ศึกษาไทยอยูในเกณฑ์ดอย ในด้านทรัพยากรความรู ้และทรัพยากรมนุษย์ โดยเฉพาะอย่างยิงด้านภาพรวม ้ ่ สมรรถนะด้านการศึกษา และด้านคุณภาพการศึกษาในด้านความ สามารถในการใช้ภาษาอังกฤษ การผลิต คนระดับสู งด้านวิทยาศาสตร์ มีนอย ในด้านโครงสร้างพื้นฐานทางวิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยี พบว่าการ ้ ลงทุนวิจยและพัฒนาของประเทศไทยยังมีนอยมากเมื่อเทียบกับต่างประเทศ ขาดการนาประโยชน์จากผล ั ้ วิจยไปใช้ ส่ วนเงื่อนไขอื่นเช่น เงื่อนไขด้านอุปสงค์ อุตสาหกรรมเกี่ยวเนื่องและอุตสาหกรรมสนับสนุ น ั บริ บทของกลยุทธ์และการแข่งขัน ตลอดจนโอกาสและบทบาทของรัฐบาลที่มีนโยบายต่างๆ เพื่อผลักดัน ่ ภาคการศึกษาในประเทศส่ งผลด้านบวกต่อการแข่งขันด้านการศึกษา ดังนั้น จึงอาจสรุ ปได้วา การศึกษาของ ประเทศไทยยังมีความสามารถในการแข่งขันในประชาคมอาเซี ยน แต่ท้ งนี้ตองเร่ งพัฒนาและปรับปรุ ง ั ้ เงื่อนไขด้านปัจจัยการผลิต จึงเป็ นหน้าที่หลักของกระทรวงศึกษาธิการต้องเร่ งปรับตัวเพื่อแก้ปัญญา การศึกษา บุคลากรที่เกี่ยวข้องต้องร่ วมมือร่ วมใจกันทั้งระบบ ประสานเชื่อมโยงนโยบายและยุทธศาสตร์ ให้ ชัดเจน แผนปฏิบติการต้องเป็ นรู ปธรรม เร่ งพัฒนาและสร้างครู ที่มีความรู ้และที่สาคัญมีจิตวิญญาณในการ ั เป็ นครู ออกสู่ ระบบ และที่สาคัญในส่ วนของผูปกครอง สื่ อมวลชนและสถาบันทางศาสนาต้องแสดงบทบาท ้ และหน้าที่ในการมีส่วนร่ วมกับการพัฒนาการศึกษาด้วย เพื่อให้การศึกษาไทยพัฒนาได้ทดเทียมกับประเทศ ั สมาชิกอาเซียนอื่น เอกสารอ้างอิง 1. Bureau of Community College Administration. (2554) การขับเคลือนประชาคมอาเซียนให้ บรรลุ ่ ทั้ง ๓ เสาหลัก [Online] Available : http://202.29.93.22/asean/?name=aboutasean&file=readdatas&id=4 (20 ธันวาคม 2554) 2. เกษม ใคร้มา. (2554) ประชาคมอาเซียน กับ การศึกษา (พ.ศ.2558) [Online] Available : http://www.survey.mju.ac.th/acticleDetail.aspx?qid=122& (9 ธันวาคม 2554) 3. ผูเ้ ชี่ยวชาญสานักงานปลัดกระทรวง กระทรวงศึกษาธิการ. (2554) เครือข่ ายมหาวิทยาลัยอาเซียน [Online] Available : http://www.asean.moe.go.th/index.php?option=com_content&view=article&id=19&Itemid=8 (7 มกราคม 2555) 4. ผูเ้ ชี่ยวชาญสานักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา. (2554) โครงการส่ งเสริมการพัฒนาสหกิจศึกษา ในสถาบันอุดมศึกษา [Online] Available : http://www.mua.go.th/users/bphe/cooperative/ (7 มกราคม 2555) 5. สมชนก ภาสกรจรัส. (2551) หลักการจัดการธุรกิจระหว่ างประเทศ. กรุ งเทพมหานคร : สานักพิมพ์ แมคกรอ-ฮิล. หน้า 33-37 11
  • 12. 6. สุ นทรี วงษ์สมาน. (2554) ทิศทางการศึกษาไทยในประชาคมเศรษฐกิอาเซียน. [Online] Available : http://ird.oop.swu.ac.th/Portals/46/ASEAN%202015/ASEAN%202015_ONEC.pdf (9 ธันวาคม 2554) 7. สานักงานคณะกรรมการพัฒนาการขีดความสามารถในการแข่งขันของประเทศ สานักงาน คณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ. (2554) ผลการวิเคราะห์ ตัวชี้วดและแนว ั ทางการจัดการจุดอ่ อนของประเทศจากการจัดอันดับความสามารถในการแข่ งขันโดย WEF และ IMD. กรุ งเทพมหานคร : สานักพิมพ์กระทรวงศึกษาธิการ. หน้า 22, 33 8. ศรัญยพงศ์ เที่ยงธรรม. (2553) Dynamic Diamond Mode กรณีศึกษามหาวิทยาลัยกรุ งเทพ [Online] Available : http://202.183.190.2/FTPiWebAdmin/knw_pworld/image_content/86/4348.pdf (2 ธันวาคม 2554) 12