SlideShare a Scribd company logo
1 of 38
วรรณคดีสมัยอยุธยาตอนกลาง
(พ.ศ. ๒๑๖๓ – ๒๒๓๑)
ลักษณะวรรณคดีสมัยอยุธยาตอนกลาง
• “เป็นยุคทองของวรรณคดี” มีกวีและวรรณคดีเกิดขึ้น
มากมาย
• ลักษณะคาประพันธ์นิยม ใช้โคลงมากที่สุด ฉันท์และ
กาพย์มีบ้าง ไม่ปรากฏคาประพันธ์ประเภทกลอน
• มีแบบเรียนภาษาไทยกาเนิดขึ้นด้วยคือเรื่อง “จินดามณี”
๑. กาพย์มหาชาติ
 ผู้แต่ง พระเจ้าทรงธรรม
 ระยะเวลา พ.ศ. ๒๑๗๐
 คาประพันธ์ ร่ายยาว โดยยกภาษาบาลี ๒ – ๓ คา
แล้วแต่งร่ายขยายขยายความไปมากมาย ถ้อยคาภาษาไม่
ยากมากนัก
 วัตถุประสงค์ ใช้เทศน์
 สาระสาคัญ เรื่องมหาเวสสันดรชาดกทั้ง ๑๓ กัณฑ์
 คุณค่า เป็นตัวอย่างการแต่งร่ายยาวโดยยก
คาถานา แล้วเขียนขยายความด้วยร่ายยาวตลอด มีบท
พรรณนาโวหารที่ไพเราะหลายตอน
๑. กาพย์มหาชาติ
๒. โคลงสุภาษิต
 ผู้แต่ง สมเด็จพระนารายณ์มหาราช
 คาประพันธ์ เป็นโคลง
 สาระสาคัญ
โคลงพาลีสอนน้อง พาลีพระยาวานรเจ้าเมือง
ขีดขินสอนสุครีพน้องชายถึงหลักการรับราชการ
โคลงทศรถสอนพระราม ท้าวทศรถสอนพระรามถึง
หลักการครองบ้านเมือง
โคลงราชสวัสดิ์ ทรงนาหลักพระพุทธศาสนามาสั่งสอน
ข้าราชการหลายเรื่อง เช่น กิริยามารยาท การแต่งกายเข้า
เฝ้า การไม่ยักยอกของหลวง ฯลฯ เป็นต้น
๒. โคลงสุภาษิต
 วัตถุประสงค์
โคลงพาลีสอนน้อง เป็นหลักฐานสาหรับข้าราชการ
โคลงทศรถสอนพระราม เป็นการแสดงหลักในการ
ปกครองบ้านเมือง
โคลงราชสวัสดิ์ แต่งเพื่อสอนข้าราชการ
 คุณค่า
ให้แบบอย่างการปฏิบัติตนของกษัตริย์และข้าราชการ
แสดงค่านิยมในการเคารพยกย่องกษัตริย์
๒. โคลงสุภาษิต
๓. เสือโคคาฉันท์
 ผู้แต่ง พระมหาราชครู ได้เค้าเรื่องมาจากปัญญาสชาดก
 คาประพันธ์ เป็นคาฉันท์ มีกาพย์ฉบังและกาพย์
สุรางคนางค์ปนอยู่ด้วย
 วัตถุประสงค์ เป็นคติสอนใจ
 สาระสาคัญ เป็นเรื่องราวของลูกเสือกับลูกโคซึ่งเป็น
เพื่อนกัน เป็นผู้มีคุณธรรมคือความกตัญญูและซื่อสัตย์ จึง
ได้รับการชุบเป็นคนชื่อ หลวิชัยและคาวี ซึ่งก็ยังมีความรัก
ความผูกผันซึ่งกันและกัน ได้เดินทางผจญภัยจนได้ปกครอง
เมืองเป็นเจ้าเมืองทั้งสองคน
๓. เสือโคคาฉันท์
 คุณค่า เป็นคาฉันท์ที่แต่งเป็นเรื่องยาวเป็นเรื่องแรก ให้
คติสอนใจในเรื่องความกตัญญูและความซื่อสัตย์
๔. สมุทรโฆษคาฉันท์
 ผู้แต่ง พระมหาราชครู แต่งตอนต้น
สมเด็จพระนารายณ์แต่งตอนกลาง
สมเด็จพระมหาสมณเจ้ากรมพระปรมานุชิต
ชิโนรส ทรงนิพนธ์ต่อจนจบในสมัยรัชกาลที่ ๓
 คาประพันธ์ ใช้ฉันท์ทั้งเรื่อง
 วัตถุประสงค์ เพื่อเล่นหนังใหญ่ในพระราชพิธีฉลอง
พระชนมายุครบเบญจเพสของสมเด็จพระนารายณ์ ฯ
๔. สมุทรโฆษคาฉันท์
 สาระสาคัญ พระสมุทรโฆษถูกเทพอุ้มไปสมกับนาง
พินทุมดีในขณะบรรทมหลับ เมื่อตื่นบรรทมก็คร่าครวญหา
กัน แต่ในที่สุดทั้งสองก็ได้พบกันและได้ไปผจญภัยจนพลัด
พรากจากกันไปอีก ในที่สุดก็กลับมาพบกัน
 คุณค่า
ด้านภาษา มีสานวนโวหารที่ไพเราะหลายตอน
ด้านความรู้ ให้ความรู้ในการเล่นหนังใหญ่ ประเพณี
คล้องช้าง ป่าหิมพานต์
๔. สมุทรโฆษคาฉันท์
๕. จินดามณี
 ผู้แต่ง พระมโหราธิบดี
 คาประพันธ์ เป็นร้อยแก้ว มีตัวอย่างคาประพันธ์ต่างๆ
 วัตถุประสงค์ สมเด็จพระนารายณ์โปรดให้นักปราชญ์
แต่งหนังสือเรียนภาษาไทยเพื่อไม่ให้เด็กไทยหันไปเรียนและ
ไปนับถือศาสนาคริสต์
 สาระสาคัญ กล่าวถึงอักษรศัพท์ เป็นคาศัพท์ที่มีเสียง
คล้ายๆ กัน วิธีใช้อักษรต่างๆ การผันอักษร กาเนิด
ตัวอักษร วิธีแต่งคาประพันธ์ชนิดต่าง ๆ
 คุณค่า เป็นตาราเรียนภาษาไทยเล่มแรก เป็น
หนังสือค้นคว้าอ้างอิงเกี่ยวกับภาษาไทยที่ดีที่สุด
๕. จินดามณี
๖. พงศาวดารฉบับหลวงประเสริฐอักษรนิติ
 ผู้แต่ง เป็นพระประสงค์ของสมเด็จพระนารายณ์
มหาราชให้รวบรวมจดหมายเหตุและเหตุการณ์ต่างๆ
รวบรวมไว้ด้วยกัน หลวงประเสริฐอักษรนิติเป็นผู้ได้มาจาก
ชาวบ้านแล้วนามาถวายสมเด็จกรมพระยาดารงราชานุภาพ
จึงประทานชื่อให้เป็นเกียรติ
 เวลาแต่ง พ.ศ. ๒๒๒๓
 คาประพันธ์ เป็นร้อยแก้ว เป็นการบันทึกเหตุการณ์
สาคัญ หรือเหตุการณ์แปลก ๆ ไว้
 วัตถุประสงค์ เพี่อบันทึกเหตุการณ์บ้านเมืองไว้เป็น
หลักฐาน
๖. พงศาวดารฉบับหลวงประเสริฐอักษรนิติ
 สาระสาคัญ เริ่มตั้งแต่เริ่มสร้างพระพุทธรูปวัดพนัญ
เชิง พ.ศ. ๑๘๖๗ จุลศักราช ๖๘๖ ไปจนถึง พ.ศ. ๒๑๔๗
สมเด็จพระนเรศวรเสด็จไปรบที่เมืองเชียงใหม่ ประชวร
สวรรคตที่เมืองห้างหลวง
 คุณค่า มีคุณค่าสาคัญด้านประวัติศาสตร์
๖. พงศาวดารฉบับหลวงประเสริฐอักษรนิติ
๗. อนิรุทธ์คาฉันท์
 ผู้แต่ง ศรีปราชญ์ เป็นบุตรของพระโหราธิบดี
เป็นกวีเอกในสมัยสมเด็จพระนารายณ์
 คาประพันธ์ เป็นฉันท์และกาพย์ มีร่ายปนอยู่บ้าง
 วัตถุประสงค์
เพื่อแข่งกับเรื่องสมุทรโฆษคาฉันท์
แสดงความสามารถแต่งฉันท์เป็นเรื่องยาวได้
 สาระสาคัญ เรื่องอนิรุทธ์ได้มาจากคัมภีร์วิษณุ
ปุราณะและมหาภารตะ มีเนื้อเรื่องคล้ายสมุทรโฆษ คือมี
การอุ้มสมระหว่าง พระอนิรุทธ์กับนางอุษา และพรากจาก
กัน แต่ในที่สุดก็ได้พบกันและครองกันสืบมา
๗. อนิรุทธ์คาฉันท์
 คุณค่า
(๑) ใช้ในการเปรียบเทียบกับเรื่องอณุรุทในสมัยรัชกาลที่ ๑
(๒) มีลักษณะแหวกธรรมเนียมนิยมคือไม่มีบทไหว้ครู
๘. โคลงกาสรวล หรือ กาสรวลศรีปราชญ์
 ผู้แต่ง ศรีปราชญ์
 คาประพันธ์ เป็นโคลงดั้น มีสัมผัสระหว่างบท
 วัตถุประสงค์ พรรณนาการเดินทางพร้อมทั้งคร่า
ครวญถึงนางผู้เป็นที่รักไปด้วย เนื้อความบางตอนมีการยก
วรรณคดีเรื่องอื่นมากล่าวเปรียบเทียบ
 คุณค่า
ด้านภาษา ให้ความรู้ด้านคาศัพท์โบราณ
ด้านภูมิศาสตร์ ทราบสภาพเส้นทางตามที่กวีกล่าว
ด้านสังคม ได้รู้ถึงความเป็นอยู่ การแต่งกาย
๘. โคลงกาสรวล หรือ กาสรวลศรีปราชญ์
๙. โคลงเบ็ดเตล็ดของศรีปราชญ์
 ผู้แต่ง ศรีปราชญ์ได้แต่งไว้เป็นโคลงเฉพาะกิจ มีการ
รวมรวมอยู่ในโคลงกวีโบราณของพระยาตรังคภูมิบาล
และตานานศรีปราชญ์ ของพระยาปริยัติธรรมธาดา (แพ
ตาละลักษณ์)
 ตัวอย่าง โคลงกระทู้
ทะ เลแม่ว่าห้วย เรียมฟัง
ลุ่ม ว่าดอนเรียมหวัง ว่าด้วย
ปุ่ม เปลือกปะการัง เรียมร่วม คาแม่
ปู ว่าหอยแม้กล้วย ว่ากล้ายเรียมตาม
๙. โคลงเบ็ดเตล็ดของศรีปราชญ์
 ตัวอย่าง โคลงสุดท้ายก่อนถูกประหาร
ธรณีภพนี้เพ่ง ทิพญาณ หนึ่งรา
เราก็ลูกอาจารย์ หนึ่งบ้าง
เราผิดท่านประหาร เราชอบ
เราบ่ผิดท่านมล้าง ดาบนี้คืนสนอง
 คุณค่า แสดงให้เห็นความเป็นปราชญ์ในเชิง ปฏิภาณกวี
ของศรีปราชญ์อย่างแท้จริง
๑๐. โคลงอักษรสามหมู่
 ผู้แต่ง พระศรีมโหสถ
 เวลาแต่ง สมัยสมเด็จพระนารายณ์มหาราช
 คาประพันธ์ โคลงสี่สุภาพ กลบท ใช้คาๆ เดียวกัน
เรียงตั้งแต่ไม่มีรูปวรรณยุกต์ และผันได้ด้วยไม้เอก ไม้โท
เป็นชุดๆ
 วัตถุประสงค์ เพื่อแสดงฝีมือทางวรรณศิลป์
๑๐. โคลงอักษรสามหมู่
 สาระสาคัญ มีโคลงพรรณนาการรบที่เชียงใหม่
และการพรรณนาชมนก ชมไม้ เช่น
ขาขันคูคู่คู้ เคียงสอง
เยื้องย่างนางยูงทอง ท่องท้อง
ทิวทุ้งทุ่งทุงมอง มัจฉพราศ
เทาเท่าเท้ายางหย้อง เฉียบลิ้มริมธาร
 คุณค่า เป็นแบบอย่างในการแต่งกลบทของกวียุคหลัง
๑๑. โคลงเฉลิมพระเกียรติพระนารายณ์
 ผู้แต่ง พระศรีมโหสถ
 คาประพันธ์ โคลงสี่สุภาพ
 วัตถุประสงค์ เพื่อสดุดีพระเกียรติและบันทึกเหตุการณ์
บ้านเมือง
 สาระสาคัญ เล่าเรื่องการได้ช้างเผือก อัญเชิญพระพุทธ
สิหิงค์จากชียงใหม่ และพรรณนาเมืองลพบุรี
 คุณค่า มีคุณค่าด้านประวัติศาสตร์และโบราณคดี
๑๒. นิราศนครสวรรค์
 ผู้แต่ง พระศรีมโหสถ
 คาประพันธ์ ร่ายสุภาพและโคลงสุภาพ
 วัตถุประสงค์ พรรณนาการเดินทางชลมารคตามเสด็จ
ไปรับช้างเผือกที่นครสวรรค์
 สาระสาคัญ พรรณนาสถานที่ต่างๆ ที่เดินทางผ่าน
จากอยุธยาถึงนครสวรรค์ โดยแทรกสานวนนิราศไว้ด้วย
 คุณค่า ได้ทราบถึงสภาพความอุดมสมบูรณ์ของ
บ้านเมืองยุคนั้น
๑๓. กาพย์ห่อโคลง
 ผู้แต่ง พระศรีมโหสถ
 คาประพันธ์ กาพย์ยานีสลับกับโคลงสี่สุภาพบทต่อบท
 วัตถุประสงค์ สดุดีชมบ้านเมืองสมัยสมเด็จพระนารายณ์
 สาระสาคัญ เล่าถึงชีวิตความเป็นอยู่ของชาวอยุธยา
 คุณค่า
(๑) เป็นตัวอย่างของกวีรุ่นหลังในลักษณะการแต่งกาพย์
ห่อโคลงขนาดยาวมีสานวนโวหารที่ไพเราะ คมคาย หลายตอน
(๒) ได้ทราบถึงสภาพบ้านเมือง
๑๓. กาพย์ห่อโคลง
๑๔. นิราศสีดา หรือ ราชาพิลาป
 ผู้แต่ง ไม่ทราบผู้แต่ง
 คาประพันธ์ กาพย์ฉบังและกาพย์สุรางคนางค์
 วัตถุประสงค์ แสดงบทคร่าครวญของพระรามต่อนางสีดา
 สาระสาคัญ ตัดตอนจากรามเกียรติ์ตอนที่พระรามตาม
นางสีดา โดยแทรกสานวนนิราศไว้
 คุณค่า เป็นตัวอย่างของนิราศให้กวีรุ่นหลังได้ศึกษา
๑๔. นิราศสีดา หรือ ราชาพิลาป
๑๕. คาฉันท์ดุษฎีสังเวยกล่อมช้าง
 ผู้แต่ง ขุนเทพกวี
 คาประพันธ์ ฉันท์, กาพย์ยานี และกาพย์ฉบัง
 วัตถุประสงค์ ใช้ขับในราชพิธีสมโภชช้างเผือก
 สาระสาคัญ ตอนต้นเป็นบทสดุดีเทพทั้งหลายพรรณนา
การเตรียมตัวคล้องช้างขอพรเทพให้ทาการคล้องช้างสาเร็จ
 คุณค่า
(๑) เป็นคาฉันท์ดุษฎีสังเวยกล่อมช้างที่เก่าที่สุดที่กวีรุ่น
หลังนามาเป็น ตัวอย่าง
(๒) ให้ความรู้เรื่องพิธีกรรมเกี่ยวกับช้าง
๑๕. คาฉันท์ดุษฎีสังเวยกล่อมช้าง
๑๖. โคลงทวาทศมาส
 ผู้แต่ง ไม่ชัดเจน บอกไว้เพียงว่าพระเยาวราช
แต่ง และมีขุนพรหมมนตรี ขุนศรีกวีราชและขุนสารประเสริฐ
เป็นผู้เกลากลอน
 เวลาการแต่ง ยังไม่เป็นที่ยุติ บางท่านว่าแต่งในสมัย
สมเด็จพระนารายณ์บางท่านว่าแต่งในสมัยสมเด็จพระบรม
ไตรโลกนาถ
 คาประพันธ์ โคลงดั้นวิวิธมาลี
 สาระสาคัญ พรรณนาคร่าครวญการจากไป ๑๒ เดือน
 คุณค่า เป็นตัวอย่างในการแต่งนิราศของกวีรุ่นหลัง
๑๖. โคลงทวาทศมาส
๑๗. โคลงนิราศหริภุญชัย
 ผู้แต่ง กวีชาวชียงใหม่
 คาประพันธ์ โคลงสี่สุภาพ
 วัตถุประสงค์ แสดงความอาลัยรักนาง แต่ผู้ที่ถอดมา
เป็นภาษาไทยภาคกลางมีวัตถุประสงค์เพื่อเฉลิมพระเกียรติ
กษัตริย์ และแสดงผลงานของกวีผู้เป็นเจ้าของ
 สาระสาคัญ เขียนในลักษณะนิราศพรรณนาถึง
สถานที่ผ่านและคร่าครวญถึงนางอันเป็นที่รักระหว่าง
เดินทางไปนมัสการพระธาตุหริภุญชัย
 คุณค่า ได้รับรู้ด้านวัฒนธรรมและการละเล่นในสมัยนั้น
และเป็นตัวอย่างในการศึกษาศัพท์โบราณภาคเหนือ
๑๗. โคลงนิราศหริภุญชัย
จบการนาเสนอ

More Related Content

What's hot

เอกสารประกอบการเรียน เรื่องนาฏยศัพท์ ม-4 รวบรวมโดย ครูเย็นจิตร บุญศรี
เอกสารประกอบการเรียน เรื่องนาฏยศัพท์  ม-4 รวบรวมโดย ครูเย็นจิตร  บุญศรีเอกสารประกอบการเรียน เรื่องนาฏยศัพท์  ม-4 รวบรวมโดย ครูเย็นจิตร  บุญศรี
เอกสารประกอบการเรียน เรื่องนาฏยศัพท์ ม-4 รวบรวมโดย ครูเย็นจิตร บุญศรีครูเย็นจิตร บุญศรี
 
คำอุทานงานนำเสนอคำอุทาน
คำอุทานงานนำเสนอคำอุทานคำอุทานงานนำเสนอคำอุทาน
คำอุทานงานนำเสนอคำอุทานKu'kab Ratthakiat
 
ใบงานคำที่มาจากภาษาต่างประเทศ
ใบงานคำที่มาจากภาษาต่างประเทศใบงานคำที่มาจากภาษาต่างประเทศ
ใบงานคำที่มาจากภาษาต่างประเทศssuser456899
 
บทพากย์เอราวัณ
บทพากย์เอราวัณบทพากย์เอราวัณ
บทพากย์เอราวัณKornnicha Wonglai
 
เอกสารประกอบการเรียน วิชานาฏศิลป์ เรื่อง เทคนิคการจัดการแสดง
เอกสารประกอบการเรียน  วิชานาฏศิลป์  เรื่อง  เทคนิคการจัดการแสดงเอกสารประกอบการเรียน  วิชานาฏศิลป์  เรื่อง  เทคนิคการจัดการแสดง
เอกสารประกอบการเรียน วิชานาฏศิลป์ เรื่อง เทคนิคการจัดการแสดงPanomporn Chinchana
 
การวิจารณ์วรรณคดีตามแนวตะวันออก
การวิจารณ์วรรณคดีตามแนวตะวันออกการวิจารณ์วรรณคดีตามแนวตะวันออก
การวิจารณ์วรรณคดีตามแนวตะวันออกWatcharapol Wiboolyasarin
 
ความรู้พื้นฐานด้านวรรณคดี
ความรู้พื้นฐานด้านวรรณคดีความรู้พื้นฐานด้านวรรณคดี
ความรู้พื้นฐานด้านวรรณคดีWatcharapol Wiboolyasarin
 
การเผยแผ่พระพุทธศาสนาเข้าสู่ประเทศเพื่อนบ้าน
การเผยแผ่พระพุทธศาสนาเข้าสู่ประเทศเพื่อนบ้าน การเผยแผ่พระพุทธศาสนาเข้าสู่ประเทศเพื่อนบ้าน
การเผยแผ่พระพุทธศาสนาเข้าสู่ประเทศเพื่อนบ้าน เพ็ญลักษณ์ สุวรรณาโชติ
 
คำสมาส สนธิ
คำสมาส สนธิ คำสมาส สนธิ
คำสมาส สนธิ Rodchana Pattha
 
สามัคคีเภทคำฉันท์
สามัคคีเภทคำฉันท์สามัคคีเภทคำฉันท์
สามัคคีเภทคำฉันท์Sudarat Makon
 
แบบฝึกทักษะเรื่องคำสมาสสนธิ
แบบฝึกทักษะเรื่องคำสมาสสนธิแบบฝึกทักษะเรื่องคำสมาสสนธิ
แบบฝึกทักษะเรื่องคำสมาสสนธิSurapong Klamboot
 
ร่ายสุภาพ
ร่ายสุภาพร่ายสุภาพ
ร่ายสุภาพkhorntee
 
ราชาศัพท์
ราชาศัพท์ราชาศัพท์
ราชาศัพท์kruthai40
 
สารพันเลือกสรรตีความ
สารพันเลือกสรรตีความสารพันเลือกสรรตีความ
สารพันเลือกสรรตีความพัน พัน
 

What's hot (20)

การอ่านวรรณคดี ม.๕[1]
การอ่านวรรณคดี ม.๕[1]การอ่านวรรณคดี ม.๕[1]
การอ่านวรรณคดี ม.๕[1]
 
ใบความรู้ เรื่อง มหาเวสสันดรชาดก
ใบความรู้ เรื่อง มหาเวสสันดรชาดกใบความรู้ เรื่อง มหาเวสสันดรชาดก
ใบความรู้ เรื่อง มหาเวสสันดรชาดก
 
เอกสารประกอบการเรียน เรื่องนาฏยศัพท์ ม-4 รวบรวมโดย ครูเย็นจิตร บุญศรี
เอกสารประกอบการเรียน เรื่องนาฏยศัพท์  ม-4 รวบรวมโดย ครูเย็นจิตร  บุญศรีเอกสารประกอบการเรียน เรื่องนาฏยศัพท์  ม-4 รวบรวมโดย ครูเย็นจิตร  บุญศรี
เอกสารประกอบการเรียน เรื่องนาฏยศัพท์ ม-4 รวบรวมโดย ครูเย็นจิตร บุญศรี
 
คำอุทานงานนำเสนอคำอุทาน
คำอุทานงานนำเสนอคำอุทานคำอุทานงานนำเสนอคำอุทาน
คำอุทานงานนำเสนอคำอุทาน
 
ใบงานคำที่มาจากภาษาต่างประเทศ
ใบงานคำที่มาจากภาษาต่างประเทศใบงานคำที่มาจากภาษาต่างประเทศ
ใบงานคำที่มาจากภาษาต่างประเทศ
 
บทพากย์เอราวัณ
บทพากย์เอราวัณบทพากย์เอราวัณ
บทพากย์เอราวัณ
 
เอกสารประกอบการเรียน วิชานาฏศิลป์ เรื่อง เทคนิคการจัดการแสดง
เอกสารประกอบการเรียน  วิชานาฏศิลป์  เรื่อง  เทคนิคการจัดการแสดงเอกสารประกอบการเรียน  วิชานาฏศิลป์  เรื่อง  เทคนิคการจัดการแสดง
เอกสารประกอบการเรียน วิชานาฏศิลป์ เรื่อง เทคนิคการจัดการแสดง
 
การวิจารณ์วรรณคดีตามแนวตะวันออก
การวิจารณ์วรรณคดีตามแนวตะวันออกการวิจารณ์วรรณคดีตามแนวตะวันออก
การวิจารณ์วรรณคดีตามแนวตะวันออก
 
การสร้างคำในภาษาไทย
การสร้างคำในภาษาไทยการสร้างคำในภาษาไทย
การสร้างคำในภาษาไทย
 
ความรู้พื้นฐานด้านวรรณคดี
ความรู้พื้นฐานด้านวรรณคดีความรู้พื้นฐานด้านวรรณคดี
ความรู้พื้นฐานด้านวรรณคดี
 
เล่มที่ 6 คำอุทาน
เล่มที่ 6 คำอุทานเล่มที่ 6 คำอุทาน
เล่มที่ 6 คำอุทาน
 
การเผยแผ่พระพุทธศาสนาเข้าสู่ประเทศเพื่อนบ้าน
การเผยแผ่พระพุทธศาสนาเข้าสู่ประเทศเพื่อนบ้าน การเผยแผ่พระพุทธศาสนาเข้าสู่ประเทศเพื่อนบ้าน
การเผยแผ่พระพุทธศาสนาเข้าสู่ประเทศเพื่อนบ้าน
 
คำสมาส สนธิ
คำสมาส สนธิ คำสมาส สนธิ
คำสมาส สนธิ
 
สามัคคีเภทคำฉันท์
สามัคคีเภทคำฉันท์สามัคคีเภทคำฉันท์
สามัคคีเภทคำฉันท์
 
แบบฝึกหัด
แบบฝึกหัดแบบฝึกหัด
แบบฝึกหัด
 
โขน
โขนโขน
โขน
 
แบบฝึกทักษะเรื่องคำสมาสสนธิ
แบบฝึกทักษะเรื่องคำสมาสสนธิแบบฝึกทักษะเรื่องคำสมาสสนธิ
แบบฝึกทักษะเรื่องคำสมาสสนธิ
 
ร่ายสุภาพ
ร่ายสุภาพร่ายสุภาพ
ร่ายสุภาพ
 
ราชาศัพท์
ราชาศัพท์ราชาศัพท์
ราชาศัพท์
 
สารพันเลือกสรรตีความ
สารพันเลือกสรรตีความสารพันเลือกสรรตีความ
สารพันเลือกสรรตีความ
 

Similar to วรรณคดีสมัยอยุธยาตอนกลาง

วรรณคดีไทยกับบริบททางสังคม
วรรณคดีไทยกับบริบททางสังคมวรรณคดีไทยกับบริบททางสังคม
วรรณคดีไทยกับบริบททางสังคมOrapan Chamnan
 
วรรณคดีไทยกับบริบททางสังคม
วรรณคดีไทยกับบริบททางสังคมวรรณคดีไทยกับบริบททางสังคม
วรรณคดีไทยกับบริบททางสังคมmayavee16
 
ประวัติของวรรณคดี
ประวัติของวรรณคดีประวัติของวรรณคดี
ประวัติของวรรณคดีRuangrat Watthanasaowalak
 
ประวัติที่มาของเรื่อง1
ประวัติที่มาของเรื่อง1ประวัติที่มาของเรื่อง1
ประวัติที่มาของเรื่อง1Tae'cub Rachen
 
สหบทกับวรรณกรรม
สหบทกับวรรณกรรมสหบทกับวรรณกรรม
สหบทกับวรรณกรรมAttaporn Saranoppakun
 
กาพย์เห่เรือ บทชมปลา ภาษาไทย ม.6
กาพย์เห่เรือ บทชมปลา ภาษาไทย ม.6 กาพย์เห่เรือ บทชมปลา ภาษาไทย ม.6
กาพย์เห่เรือ บทชมปลา ภาษาไทย ม.6 Bom Anuchit
 
ศิลาจารึกหลักที่ ๑
ศิลาจารึกหลักที่ ๑ศิลาจารึกหลักที่ ๑
ศิลาจารึกหลักที่ ๑krunoree.wordpress.com
 
9789740331797
97897403317979789740331797
9789740331797CUPress
 
โครงงานภาษาไทยเรื่องนิทาน
โครงงานภาษาไทยเรื่องนิทานโครงงานภาษาไทยเรื่องนิทาน
โครงงานภาษาไทยเรื่องนิทานRawinnipha Joy
 
บทความพระมเหลเถไถ คันฉ่องส่องเงาแปลก
บทความพระมเหลเถไถ คันฉ่องส่องเงาแปลกบทความพระมเหลเถไถ คันฉ่องส่องเงาแปลก
บทความพระมเหลเถไถ คันฉ่องส่องเงาแปลกItt Bandhudhara
 
ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับวรรณกรรม
ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับวรรณกรรมความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับวรรณกรรม
ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับวรรณกรรมWatcharapol Wiboolyasarin
 
กัณฑ์มัทรี2๕๗
กัณฑ์มัทรี2๕๗กัณฑ์มัทรี2๕๗
กัณฑ์มัทรี2๕๗Milky' __
 
วรรณกรรมท้องถิ่น ภูมิหลัง
วรรณกรรมท้องถิ่น  ภูมิหลังวรรณกรรมท้องถิ่น  ภูมิหลัง
วรรณกรรมท้องถิ่น ภูมิหลังchontee55
 
กาพย์ห่อโคลงประพาสธารทองแดง
กาพย์ห่อโคลงประพาสธารทองแดงกาพย์ห่อโคลงประพาสธารทองแดง
กาพย์ห่อโคลงประพาสธารทองแดงComputer ITSWKJ
 
ขุนช้างขุนแผน
ขุนช้างขุนแผนขุนช้างขุนแผน
ขุนช้างขุนแผนF'Film Fondlyriz
 

Similar to วรรณคดีสมัยอยุธยาตอนกลาง (20)

Ppt1
Ppt1Ppt1
Ppt1
 
วรรณคดีไทยกับบริบททางสังคม
วรรณคดีไทยกับบริบททางสังคมวรรณคดีไทยกับบริบททางสังคม
วรรณคดีไทยกับบริบททางสังคม
 
วรรณคดีไทยกับบริบททางสังคม
วรรณคดีไทยกับบริบททางสังคมวรรณคดีไทยกับบริบททางสังคม
วรรณคดีไทยกับบริบททางสังคม
 
ประวัติของวรรณคดี
ประวัติของวรรณคดีประวัติของวรรณคดี
ประวัติของวรรณคดี
 
ประวัติที่มาของเรื่อง1
ประวัติที่มาของเรื่อง1ประวัติที่มาของเรื่อง1
ประวัติที่มาของเรื่อง1
 
ใบความรู้ไตรภูมิพระร่วง
ใบความรู้ไตรภูมิพระร่วงใบความรู้ไตรภูมิพระร่วง
ใบความรู้ไตรภูมิพระร่วง
 
สหบทกับวรรณกรรม
สหบทกับวรรณกรรมสหบทกับวรรณกรรม
สหบทกับวรรณกรรม
 
กาพย์เห่เรือ บทชมปลา ภาษาไทย ม.6
กาพย์เห่เรือ บทชมปลา ภาษาไทย ม.6 กาพย์เห่เรือ บทชมปลา ภาษาไทย ม.6
กาพย์เห่เรือ บทชมปลา ภาษาไทย ม.6
 
ศิลาจารึกหลักที่ ๑
ศิลาจารึกหลักที่ ๑ศิลาจารึกหลักที่ ๑
ศิลาจารึกหลักที่ ๑
 
วรรณคดี
วรรณคดีวรรณคดี
วรรณคดี
 
9789740331797
97897403317979789740331797
9789740331797
 
ใบความรู้ไตรภูมิพระร่วง
ใบความรู้ไตรภูมิพระร่วงใบความรู้ไตรภูมิพระร่วง
ใบความรู้ไตรภูมิพระร่วง
 
โครงงานภาษาไทยเรื่องนิทาน
โครงงานภาษาไทยเรื่องนิทานโครงงานภาษาไทยเรื่องนิทาน
โครงงานภาษาไทยเรื่องนิทาน
 
ลิลิตตะเลงพ่าย (สอน Ppt)[1]
ลิลิตตะเลงพ่าย (สอน Ppt)[1]ลิลิตตะเลงพ่าย (สอน Ppt)[1]
ลิลิตตะเลงพ่าย (สอน Ppt)[1]
 
บทความพระมเหลเถไถ คันฉ่องส่องเงาแปลก
บทความพระมเหลเถไถ คันฉ่องส่องเงาแปลกบทความพระมเหลเถไถ คันฉ่องส่องเงาแปลก
บทความพระมเหลเถไถ คันฉ่องส่องเงาแปลก
 
ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับวรรณกรรม
ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับวรรณกรรมความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับวรรณกรรม
ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับวรรณกรรม
 
กัณฑ์มัทรี2๕๗
กัณฑ์มัทรี2๕๗กัณฑ์มัทรี2๕๗
กัณฑ์มัทรี2๕๗
 
วรรณกรรมท้องถิ่น ภูมิหลัง
วรรณกรรมท้องถิ่น  ภูมิหลังวรรณกรรมท้องถิ่น  ภูมิหลัง
วรรณกรรมท้องถิ่น ภูมิหลัง
 
กาพย์ห่อโคลงประพาสธารทองแดง
กาพย์ห่อโคลงประพาสธารทองแดงกาพย์ห่อโคลงประพาสธารทองแดง
กาพย์ห่อโคลงประพาสธารทองแดง
 
ขุนช้างขุนแผน
ขุนช้างขุนแผนขุนช้างขุนแผน
ขุนช้างขุนแผน
 

More from Nattha Namm

แผ่นดินไหว
แผ่นดินไหวแผ่นดินไหว
แผ่นดินไหวNattha Namm
 
ธาตุหมู่ 6A
ธาตุหมู่ 6Aธาตุหมู่ 6A
ธาตุหมู่ 6ANattha Namm
 
ภูเขาไฟ
ภูเขาไฟภูเขาไฟ
ภูเขาไฟNattha Namm
 
แผ่นดินไหว
แผ่นดินไหวแผ่นดินไหว
แผ่นดินไหวNattha Namm
 
ดินถล่ม
ดินถล่มดินถล่ม
ดินถล่มNattha Namm
 
ผลกระทบจากการขยายอิทธิพลของประเทศในยุโรป
ผลกระทบจากการขยายอิทธิพลของประเทศในยุโรปผลกระทบจากการขยายอิทธิพลของประเทศในยุโรป
ผลกระทบจากการขยายอิทธิพลของประเทศในยุโรปNattha Namm
 
สงครามเวียดนาม
สงครามเวียดนามสงครามเวียดนาม
สงครามเวียดนามNattha Namm
 
หลักการทรูแมน
หลักการทรูแมนหลักการทรูแมน
หลักการทรูแมนNattha Namm
 
ศาสนาซิกข์
ศาสนาซิกข์ศาสนาซิกข์
ศาสนาซิกข์Nattha Namm
 
อาณาจักรศรีวิชัย
อาณาจักรศรีวิชัยอาณาจักรศรีวิชัย
อาณาจักรศรีวิชัยNattha Namm
 
แผ่นพับ ข้อเข่าเสื่อม
แผ่นพับ ข้อเข่าเสื่อมแผ่นพับ ข้อเข่าเสื่อม
แผ่นพับ ข้อเข่าเสื่อมNattha Namm
 
ตามรอยภาพความเจริญสมัยอยุธยา
ตามรอยภาพความเจริญสมัยอยุธยาตามรอยภาพความเจริญสมัยอยุธยา
ตามรอยภาพความเจริญสมัยอยุธยาNattha Namm
 
ใบความรู้ ลิ้น
ใบความรู้ ลิ้นใบความรู้ ลิ้น
ใบความรู้ ลิ้นNattha Namm
 
ความสัมพันธ์กับต่างประเทศในสมัยรัตนโกสินทร์ตอนต้น
ความสัมพันธ์กับต่างประเทศในสมัยรัตนโกสินทร์ตอนต้นความสัมพันธ์กับต่างประเทศในสมัยรัตนโกสินทร์ตอนต้น
ความสัมพันธ์กับต่างประเทศในสมัยรัตนโกสินทร์ตอนต้นNattha Namm
 

More from Nattha Namm (14)

แผ่นดินไหว
แผ่นดินไหวแผ่นดินไหว
แผ่นดินไหว
 
ธาตุหมู่ 6A
ธาตุหมู่ 6Aธาตุหมู่ 6A
ธาตุหมู่ 6A
 
ภูเขาไฟ
ภูเขาไฟภูเขาไฟ
ภูเขาไฟ
 
แผ่นดินไหว
แผ่นดินไหวแผ่นดินไหว
แผ่นดินไหว
 
ดินถล่ม
ดินถล่มดินถล่ม
ดินถล่ม
 
ผลกระทบจากการขยายอิทธิพลของประเทศในยุโรป
ผลกระทบจากการขยายอิทธิพลของประเทศในยุโรปผลกระทบจากการขยายอิทธิพลของประเทศในยุโรป
ผลกระทบจากการขยายอิทธิพลของประเทศในยุโรป
 
สงครามเวียดนาม
สงครามเวียดนามสงครามเวียดนาม
สงครามเวียดนาม
 
หลักการทรูแมน
หลักการทรูแมนหลักการทรูแมน
หลักการทรูแมน
 
ศาสนาซิกข์
ศาสนาซิกข์ศาสนาซิกข์
ศาสนาซิกข์
 
อาณาจักรศรีวิชัย
อาณาจักรศรีวิชัยอาณาจักรศรีวิชัย
อาณาจักรศรีวิชัย
 
แผ่นพับ ข้อเข่าเสื่อม
แผ่นพับ ข้อเข่าเสื่อมแผ่นพับ ข้อเข่าเสื่อม
แผ่นพับ ข้อเข่าเสื่อม
 
ตามรอยภาพความเจริญสมัยอยุธยา
ตามรอยภาพความเจริญสมัยอยุธยาตามรอยภาพความเจริญสมัยอยุธยา
ตามรอยภาพความเจริญสมัยอยุธยา
 
ใบความรู้ ลิ้น
ใบความรู้ ลิ้นใบความรู้ ลิ้น
ใบความรู้ ลิ้น
 
ความสัมพันธ์กับต่างประเทศในสมัยรัตนโกสินทร์ตอนต้น
ความสัมพันธ์กับต่างประเทศในสมัยรัตนโกสินทร์ตอนต้นความสัมพันธ์กับต่างประเทศในสมัยรัตนโกสินทร์ตอนต้น
ความสัมพันธ์กับต่างประเทศในสมัยรัตนโกสินทร์ตอนต้น
 

วรรณคดีสมัยอยุธยาตอนกลาง

  • 2. ลักษณะวรรณคดีสมัยอยุธยาตอนกลาง • “เป็นยุคทองของวรรณคดี” มีกวีและวรรณคดีเกิดขึ้น มากมาย • ลักษณะคาประพันธ์นิยม ใช้โคลงมากที่สุด ฉันท์และ กาพย์มีบ้าง ไม่ปรากฏคาประพันธ์ประเภทกลอน • มีแบบเรียนภาษาไทยกาเนิดขึ้นด้วยคือเรื่อง “จินดามณี”
  • 3. ๑. กาพย์มหาชาติ  ผู้แต่ง พระเจ้าทรงธรรม  ระยะเวลา พ.ศ. ๒๑๗๐  คาประพันธ์ ร่ายยาว โดยยกภาษาบาลี ๒ – ๓ คา แล้วแต่งร่ายขยายขยายความไปมากมาย ถ้อยคาภาษาไม่ ยากมากนัก  วัตถุประสงค์ ใช้เทศน์  สาระสาคัญ เรื่องมหาเวสสันดรชาดกทั้ง ๑๓ กัณฑ์  คุณค่า เป็นตัวอย่างการแต่งร่ายยาวโดยยก คาถานา แล้วเขียนขยายความด้วยร่ายยาวตลอด มีบท พรรณนาโวหารที่ไพเราะหลายตอน
  • 5. ๒. โคลงสุภาษิต  ผู้แต่ง สมเด็จพระนารายณ์มหาราช  คาประพันธ์ เป็นโคลง  สาระสาคัญ โคลงพาลีสอนน้อง พาลีพระยาวานรเจ้าเมือง ขีดขินสอนสุครีพน้องชายถึงหลักการรับราชการ โคลงทศรถสอนพระราม ท้าวทศรถสอนพระรามถึง หลักการครองบ้านเมือง โคลงราชสวัสดิ์ ทรงนาหลักพระพุทธศาสนามาสั่งสอน ข้าราชการหลายเรื่อง เช่น กิริยามารยาท การแต่งกายเข้า เฝ้า การไม่ยักยอกของหลวง ฯลฯ เป็นต้น
  • 6. ๒. โคลงสุภาษิต  วัตถุประสงค์ โคลงพาลีสอนน้อง เป็นหลักฐานสาหรับข้าราชการ โคลงทศรถสอนพระราม เป็นการแสดงหลักในการ ปกครองบ้านเมือง โคลงราชสวัสดิ์ แต่งเพื่อสอนข้าราชการ  คุณค่า ให้แบบอย่างการปฏิบัติตนของกษัตริย์และข้าราชการ แสดงค่านิยมในการเคารพยกย่องกษัตริย์
  • 8. ๓. เสือโคคาฉันท์  ผู้แต่ง พระมหาราชครู ได้เค้าเรื่องมาจากปัญญาสชาดก  คาประพันธ์ เป็นคาฉันท์ มีกาพย์ฉบังและกาพย์ สุรางคนางค์ปนอยู่ด้วย  วัตถุประสงค์ เป็นคติสอนใจ  สาระสาคัญ เป็นเรื่องราวของลูกเสือกับลูกโคซึ่งเป็น เพื่อนกัน เป็นผู้มีคุณธรรมคือความกตัญญูและซื่อสัตย์ จึง ได้รับการชุบเป็นคนชื่อ หลวิชัยและคาวี ซึ่งก็ยังมีความรัก ความผูกผันซึ่งกันและกัน ได้เดินทางผจญภัยจนได้ปกครอง เมืองเป็นเจ้าเมืองทั้งสองคน
  • 9. ๓. เสือโคคาฉันท์  คุณค่า เป็นคาฉันท์ที่แต่งเป็นเรื่องยาวเป็นเรื่องแรก ให้ คติสอนใจในเรื่องความกตัญญูและความซื่อสัตย์
  • 10. ๔. สมุทรโฆษคาฉันท์  ผู้แต่ง พระมหาราชครู แต่งตอนต้น สมเด็จพระนารายณ์แต่งตอนกลาง สมเด็จพระมหาสมณเจ้ากรมพระปรมานุชิต ชิโนรส ทรงนิพนธ์ต่อจนจบในสมัยรัชกาลที่ ๓  คาประพันธ์ ใช้ฉันท์ทั้งเรื่อง  วัตถุประสงค์ เพื่อเล่นหนังใหญ่ในพระราชพิธีฉลอง พระชนมายุครบเบญจเพสของสมเด็จพระนารายณ์ ฯ
  • 11. ๔. สมุทรโฆษคาฉันท์  สาระสาคัญ พระสมุทรโฆษถูกเทพอุ้มไปสมกับนาง พินทุมดีในขณะบรรทมหลับ เมื่อตื่นบรรทมก็คร่าครวญหา กัน แต่ในที่สุดทั้งสองก็ได้พบกันและได้ไปผจญภัยจนพลัด พรากจากกันไปอีก ในที่สุดก็กลับมาพบกัน  คุณค่า ด้านภาษา มีสานวนโวหารที่ไพเราะหลายตอน ด้านความรู้ ให้ความรู้ในการเล่นหนังใหญ่ ประเพณี คล้องช้าง ป่าหิมพานต์
  • 13. ๕. จินดามณี  ผู้แต่ง พระมโหราธิบดี  คาประพันธ์ เป็นร้อยแก้ว มีตัวอย่างคาประพันธ์ต่างๆ  วัตถุประสงค์ สมเด็จพระนารายณ์โปรดให้นักปราชญ์ แต่งหนังสือเรียนภาษาไทยเพื่อไม่ให้เด็กไทยหันไปเรียนและ ไปนับถือศาสนาคริสต์  สาระสาคัญ กล่าวถึงอักษรศัพท์ เป็นคาศัพท์ที่มีเสียง คล้ายๆ กัน วิธีใช้อักษรต่างๆ การผันอักษร กาเนิด ตัวอักษร วิธีแต่งคาประพันธ์ชนิดต่าง ๆ  คุณค่า เป็นตาราเรียนภาษาไทยเล่มแรก เป็น หนังสือค้นคว้าอ้างอิงเกี่ยวกับภาษาไทยที่ดีที่สุด
  • 15. ๖. พงศาวดารฉบับหลวงประเสริฐอักษรนิติ  ผู้แต่ง เป็นพระประสงค์ของสมเด็จพระนารายณ์ มหาราชให้รวบรวมจดหมายเหตุและเหตุการณ์ต่างๆ รวบรวมไว้ด้วยกัน หลวงประเสริฐอักษรนิติเป็นผู้ได้มาจาก ชาวบ้านแล้วนามาถวายสมเด็จกรมพระยาดารงราชานุภาพ จึงประทานชื่อให้เป็นเกียรติ  เวลาแต่ง พ.ศ. ๒๒๒๓  คาประพันธ์ เป็นร้อยแก้ว เป็นการบันทึกเหตุการณ์ สาคัญ หรือเหตุการณ์แปลก ๆ ไว้  วัตถุประสงค์ เพี่อบันทึกเหตุการณ์บ้านเมืองไว้เป็น หลักฐาน
  • 16. ๖. พงศาวดารฉบับหลวงประเสริฐอักษรนิติ  สาระสาคัญ เริ่มตั้งแต่เริ่มสร้างพระพุทธรูปวัดพนัญ เชิง พ.ศ. ๑๘๖๗ จุลศักราช ๖๘๖ ไปจนถึง พ.ศ. ๒๑๔๗ สมเด็จพระนเรศวรเสด็จไปรบที่เมืองเชียงใหม่ ประชวร สวรรคตที่เมืองห้างหลวง  คุณค่า มีคุณค่าสาคัญด้านประวัติศาสตร์
  • 18. ๗. อนิรุทธ์คาฉันท์  ผู้แต่ง ศรีปราชญ์ เป็นบุตรของพระโหราธิบดี เป็นกวีเอกในสมัยสมเด็จพระนารายณ์  คาประพันธ์ เป็นฉันท์และกาพย์ มีร่ายปนอยู่บ้าง  วัตถุประสงค์ เพื่อแข่งกับเรื่องสมุทรโฆษคาฉันท์ แสดงความสามารถแต่งฉันท์เป็นเรื่องยาวได้  สาระสาคัญ เรื่องอนิรุทธ์ได้มาจากคัมภีร์วิษณุ ปุราณะและมหาภารตะ มีเนื้อเรื่องคล้ายสมุทรโฆษ คือมี การอุ้มสมระหว่าง พระอนิรุทธ์กับนางอุษา และพรากจาก กัน แต่ในที่สุดก็ได้พบกันและครองกันสืบมา
  • 19. ๗. อนิรุทธ์คาฉันท์  คุณค่า (๑) ใช้ในการเปรียบเทียบกับเรื่องอณุรุทในสมัยรัชกาลที่ ๑ (๒) มีลักษณะแหวกธรรมเนียมนิยมคือไม่มีบทไหว้ครู
  • 20. ๘. โคลงกาสรวล หรือ กาสรวลศรีปราชญ์  ผู้แต่ง ศรีปราชญ์  คาประพันธ์ เป็นโคลงดั้น มีสัมผัสระหว่างบท  วัตถุประสงค์ พรรณนาการเดินทางพร้อมทั้งคร่า ครวญถึงนางผู้เป็นที่รักไปด้วย เนื้อความบางตอนมีการยก วรรณคดีเรื่องอื่นมากล่าวเปรียบเทียบ  คุณค่า ด้านภาษา ให้ความรู้ด้านคาศัพท์โบราณ ด้านภูมิศาสตร์ ทราบสภาพเส้นทางตามที่กวีกล่าว ด้านสังคม ได้รู้ถึงความเป็นอยู่ การแต่งกาย
  • 21. ๘. โคลงกาสรวล หรือ กาสรวลศรีปราชญ์
  • 22. ๙. โคลงเบ็ดเตล็ดของศรีปราชญ์  ผู้แต่ง ศรีปราชญ์ได้แต่งไว้เป็นโคลงเฉพาะกิจ มีการ รวมรวมอยู่ในโคลงกวีโบราณของพระยาตรังคภูมิบาล และตานานศรีปราชญ์ ของพระยาปริยัติธรรมธาดา (แพ ตาละลักษณ์)  ตัวอย่าง โคลงกระทู้ ทะ เลแม่ว่าห้วย เรียมฟัง ลุ่ม ว่าดอนเรียมหวัง ว่าด้วย ปุ่ม เปลือกปะการัง เรียมร่วม คาแม่ ปู ว่าหอยแม้กล้วย ว่ากล้ายเรียมตาม
  • 23. ๙. โคลงเบ็ดเตล็ดของศรีปราชญ์  ตัวอย่าง โคลงสุดท้ายก่อนถูกประหาร ธรณีภพนี้เพ่ง ทิพญาณ หนึ่งรา เราก็ลูกอาจารย์ หนึ่งบ้าง เราผิดท่านประหาร เราชอบ เราบ่ผิดท่านมล้าง ดาบนี้คืนสนอง  คุณค่า แสดงให้เห็นความเป็นปราชญ์ในเชิง ปฏิภาณกวี ของศรีปราชญ์อย่างแท้จริง
  • 24. ๑๐. โคลงอักษรสามหมู่  ผู้แต่ง พระศรีมโหสถ  เวลาแต่ง สมัยสมเด็จพระนารายณ์มหาราช  คาประพันธ์ โคลงสี่สุภาพ กลบท ใช้คาๆ เดียวกัน เรียงตั้งแต่ไม่มีรูปวรรณยุกต์ และผันได้ด้วยไม้เอก ไม้โท เป็นชุดๆ  วัตถุประสงค์ เพื่อแสดงฝีมือทางวรรณศิลป์
  • 25. ๑๐. โคลงอักษรสามหมู่  สาระสาคัญ มีโคลงพรรณนาการรบที่เชียงใหม่ และการพรรณนาชมนก ชมไม้ เช่น ขาขันคูคู่คู้ เคียงสอง เยื้องย่างนางยูงทอง ท่องท้อง ทิวทุ้งทุ่งทุงมอง มัจฉพราศ เทาเท่าเท้ายางหย้อง เฉียบลิ้มริมธาร  คุณค่า เป็นแบบอย่างในการแต่งกลบทของกวียุคหลัง
  • 26. ๑๑. โคลงเฉลิมพระเกียรติพระนารายณ์  ผู้แต่ง พระศรีมโหสถ  คาประพันธ์ โคลงสี่สุภาพ  วัตถุประสงค์ เพื่อสดุดีพระเกียรติและบันทึกเหตุการณ์ บ้านเมือง  สาระสาคัญ เล่าเรื่องการได้ช้างเผือก อัญเชิญพระพุทธ สิหิงค์จากชียงใหม่ และพรรณนาเมืองลพบุรี  คุณค่า มีคุณค่าด้านประวัติศาสตร์และโบราณคดี
  • 27. ๑๒. นิราศนครสวรรค์  ผู้แต่ง พระศรีมโหสถ  คาประพันธ์ ร่ายสุภาพและโคลงสุภาพ  วัตถุประสงค์ พรรณนาการเดินทางชลมารคตามเสด็จ ไปรับช้างเผือกที่นครสวรรค์  สาระสาคัญ พรรณนาสถานที่ต่างๆ ที่เดินทางผ่าน จากอยุธยาถึงนครสวรรค์ โดยแทรกสานวนนิราศไว้ด้วย  คุณค่า ได้ทราบถึงสภาพความอุดมสมบูรณ์ของ บ้านเมืองยุคนั้น
  • 28. ๑๓. กาพย์ห่อโคลง  ผู้แต่ง พระศรีมโหสถ  คาประพันธ์ กาพย์ยานีสลับกับโคลงสี่สุภาพบทต่อบท  วัตถุประสงค์ สดุดีชมบ้านเมืองสมัยสมเด็จพระนารายณ์  สาระสาคัญ เล่าถึงชีวิตความเป็นอยู่ของชาวอยุธยา  คุณค่า (๑) เป็นตัวอย่างของกวีรุ่นหลังในลักษณะการแต่งกาพย์ ห่อโคลงขนาดยาวมีสานวนโวหารที่ไพเราะ คมคาย หลายตอน (๒) ได้ทราบถึงสภาพบ้านเมือง
  • 30. ๑๔. นิราศสีดา หรือ ราชาพิลาป  ผู้แต่ง ไม่ทราบผู้แต่ง  คาประพันธ์ กาพย์ฉบังและกาพย์สุรางคนางค์  วัตถุประสงค์ แสดงบทคร่าครวญของพระรามต่อนางสีดา  สาระสาคัญ ตัดตอนจากรามเกียรติ์ตอนที่พระรามตาม นางสีดา โดยแทรกสานวนนิราศไว้  คุณค่า เป็นตัวอย่างของนิราศให้กวีรุ่นหลังได้ศึกษา
  • 32. ๑๕. คาฉันท์ดุษฎีสังเวยกล่อมช้าง  ผู้แต่ง ขุนเทพกวี  คาประพันธ์ ฉันท์, กาพย์ยานี และกาพย์ฉบัง  วัตถุประสงค์ ใช้ขับในราชพิธีสมโภชช้างเผือก  สาระสาคัญ ตอนต้นเป็นบทสดุดีเทพทั้งหลายพรรณนา การเตรียมตัวคล้องช้างขอพรเทพให้ทาการคล้องช้างสาเร็จ  คุณค่า (๑) เป็นคาฉันท์ดุษฎีสังเวยกล่อมช้างที่เก่าที่สุดที่กวีรุ่น หลังนามาเป็น ตัวอย่าง (๒) ให้ความรู้เรื่องพิธีกรรมเกี่ยวกับช้าง
  • 34. ๑๖. โคลงทวาทศมาส  ผู้แต่ง ไม่ชัดเจน บอกไว้เพียงว่าพระเยาวราช แต่ง และมีขุนพรหมมนตรี ขุนศรีกวีราชและขุนสารประเสริฐ เป็นผู้เกลากลอน  เวลาการแต่ง ยังไม่เป็นที่ยุติ บางท่านว่าแต่งในสมัย สมเด็จพระนารายณ์บางท่านว่าแต่งในสมัยสมเด็จพระบรม ไตรโลกนาถ  คาประพันธ์ โคลงดั้นวิวิธมาลี  สาระสาคัญ พรรณนาคร่าครวญการจากไป ๑๒ เดือน  คุณค่า เป็นตัวอย่างในการแต่งนิราศของกวีรุ่นหลัง
  • 36. ๑๗. โคลงนิราศหริภุญชัย  ผู้แต่ง กวีชาวชียงใหม่  คาประพันธ์ โคลงสี่สุภาพ  วัตถุประสงค์ แสดงความอาลัยรักนาง แต่ผู้ที่ถอดมา เป็นภาษาไทยภาคกลางมีวัตถุประสงค์เพื่อเฉลิมพระเกียรติ กษัตริย์ และแสดงผลงานของกวีผู้เป็นเจ้าของ  สาระสาคัญ เขียนในลักษณะนิราศพรรณนาถึง สถานที่ผ่านและคร่าครวญถึงนางอันเป็นที่รักระหว่าง เดินทางไปนมัสการพระธาตุหริภุญชัย  คุณค่า ได้รับรู้ด้านวัฒนธรรมและการละเล่นในสมัยนั้น และเป็นตัวอย่างในการศึกษาศัพท์โบราณภาคเหนือ