SlideShare a Scribd company logo
1 of 15
ฐานข้อมูลอิเล็กทรอนิกส์
ผู้ขายมีการเสนอขาย 
และมีการให้ข้อมูลข่าวสารกับผู้ซื้อหรือผู้ใช้เกี่ยวกับฐานข้อมูล 
ผู้ซื้อจึงพยายามจะแสวงหาข้อมูลให้มากเกี่ยวกับการตัดสินใจ 
ผู้ซื้ออาจจะมีการตรวจสอบฐานข้อมูลเพื่อใช้ในการตัดสินใจซื้อ 
ฐานข้อมูลเพื่อนามาให้บริการผู้ใช้ในศูนย์สารสนเทศ 
ผู้ซื้อจะตัดสินใจซื้อฐานข้อมูลเมื่อพิจารณาถึงคุณภาพ เช่น 
ก่อนตกลงในการซื้อต้องมีการทดลองใช้ฐานข้อมูลก่อนตัดสินใ 
จ ทดลองโดยผู้เชี่ยวชาญเกี่ยวกับเนื้อหา บรรณารักษ์ ผู้วิจัย 
นักศึกษาเพื่อทดสอบการใช้งาน 
กระบวนการทางานของแต่ละโมดูลในฐานข้อมูล 
ในบางครั้งผู้ซื้ออาจคิดว่าผู้ขายมีการโฆษณาฐานข้อมูลเกินควา 
มเป็นจริงหรือให้ข้อมูลไม่ครบถ้วน 
การที่ผู้ซื้อและผู้ขายปิดบังข้อมูลและรับรู้ข้อมูลข่าวสารไม่เท่าเที 
ยมกัน ทาให้ไม่เกิดประสิทธิภาพทางสังคม 
ในกรณีที่ผู้ซื้อพิจารณาข้อมูลข่าวสารที่ได้รับจากผู้ขาย 
ได้ทาการวิเคราะห์อย่างมีเหตุผลแล้วที่จะซื้อฐานอิเล็กทรอนิกส์ 
น้อยกว่าราคาที่ตั้งไว้ 
เนื่องจากผู้ซื้อพยายามวิเคราะห์ถึงประโยชน์ที่ได้รับจากฐานข้อ 
มูลที่เป็นจริงว่าผลประโยชน์เพิ่มน้อยกว่าต้นทุน ตัวอย่างเช่น 
ฐานข้อมูลมีเนื้อหาไม่ครอบคลุม 
ไม่เพียงพอต่อการศึกษาของนักวิจัยและนักศึกษา 
ผู้ซื้อจึงเต็มใจที่จะซื้อน้อยกว่าราคาที่ตั้งไว้ทั้งนี้เนื่องจากผู้ซื้อวิเ 
คราะห์ผลประโยชน์เพิ่มมาเรียบร้อยแล้ว
การไม่เกิดประสิทธิภาพทางสังคมเกิดจากตลาดที่มีข้อมูลข่ 
าวสารไม่สมบูรณ์ ผู้ขายมีการบิดเบือนความเป็นจริง 
โดยถ้าหากผู้ซื้อมีข้อมูลข่าวสารที่เพียงพอก็จะช่วยบรรเทาปัญห 
าความไม่มีประสทธิภาพของตลาดฐานข้อมูลอิเล็กทรอนิกส์ได้ 
ความไม่มีประสิทธิสามารถแก้ไขปัญหาได้ 
โดยผู้ผลิตฐานข้อมูลอืเล็กทรอนิกส์ต้องสามารถพิสูจน์ถึงคุณภา 
พและความครบถ้วนของฐานข้อมูลที่บริษัทเสนอขาย 
ตัวอย่างเช่น มีการให้ทดลองใช้ฐานข้อมูลอิเล็กทรอนิกส์ 
มีการบารุงรักษาหรือปรับปรุงตลอดเวลา 
มีการรับรองคุณภาพกับผู้ซื้อ 
มีการคืนเงินเมื่อฐานข้อมูลมีปัญหาหรือพบความผิดพลาดในช่ว 
งระยะเวลาที่กาหนด เป็นต้น 
ข้อมูลข่าวสารมีการซื้อและขายเกิดขึ้นเกิดปัญหาความไม่ 
สมบูรณ์ของข้อมูลข่าวสารจึงทาให้ตลาดล้มเหลว 
การที่จะเกิดประสิทธิภาพทางเศรษฐกิจจะต้องได้รับข้อมูลข่าวส 
ารที่สมบูรณ์ ซึ่งจะทาให้ได้รับประโยชน์ในการตัดสินใจ เช่น 
ถ้าข้อมูลที่ได้รับมาไม่สมบูรณ์ก็จะทาให้เกิดค่าของความเสี่ยงใ 
นการตัดสินใจสูงอาจจะทาให้เกิดการตัดสินใจซื้อฐานข้อมูลอิเล็ 
กทรอนิกส์ผิดพลาดได้ 
วิธีการแก้ไขความไม่สมบูรณ์ของข้อมูลข่าวสารนั้น 
บางครั้งอาจมาจากการแทรกแซงของรัฐบาลเพื่อคุ้มครองผู้ซื้อใ 
นการออกกฏหมายต่างๆ เช่น 
กฏหมายคุ้มครองผู้บริโภคในกรณีผู้ขายมีการบิดเบือนความเป็ 
นจริงเกี่ยวกับฐานข้อมูล
บทที่ 9 
ฐานข้อมูลเป็นสินค้าสาธารณะ(Public goods) 
มีผู้ใช้บริการพร้อมๆกันได้หลายคน 
ซึ่งแต่ละคนที่ใช้ฐานข้อมูลได้รับประโยชน์จากการใช้เหมือนกั 
นถึงแม้บางครั้งจะใช้ไม่พร้อมกัน 
ฐานข้อมูลเป็นสินค้าสาธารณะเนื่องจากดูผลประโยชน์ที่ได้รับ 
มีการตัดสินใจเกี่ยวกับกับใครจะเป็นผู้จ่ายเงิน 
แต่ละคนจะจ่ายเงินเท่าไหร่ขึ้นกับประโยชน์ที่ตนเองได้รับ 
ถ้าฐานข้อมูลถูกซื้อโดยศูนย์บริการสารสนเทศ 
ประโยชน์ที่เกิดขึ้นจะตกอยู่กับผู้ใช้เป็นจานวนมากโดยศูนย์บริก 
ารสารสนเทศจะเป็นผู้เสียค่าใช้จ่ายในการซื้อฐานข้อมูล 
ดังนั้นก่อนการซื้อฐานข้อมูลศูนย์บริการสานเทศจึงต้องนาผลปร 
ะโยชน์จากผู้ใช้บริการไปพิจารณาการซื้อฐานข้อมูลด้วย 
โดยต้องคานึงถึงประโยชน์จากผู้ใช้จานวนมาก 
มากกว่าค่าใช้จ่ายในการซื้อฐานข้อมูลเล็กทรอนิกส์ 
การซื้อฐานข้อมูลอิเล็กทรอนิกส์โดยศูนย์บริการสารสนเทศ 
มีส่วนแบ่งการตลาดน้อยแต่มีผู้ใช้ในศูนย์สารสนเทศจานวนมา 
กมีผลประโยชน์เพิ่มของผู้ใช้เกิดประสิทธิภาพทางเศรษฐกิจ 
รายได้ที่ซื้อฐานข้อมูลอิเล็กทรอนิกส์ได้จากการจัดสรรงบป 
ระมาณจากรัฐบาล 
รัฐบาลจะจัดสรรงบประมาณประจาปีเพื่อซื้อฐานข้อมูลเป็นสาธา 
รณะที่ใช้ร่วมกัน------------------------------------------------------- 
----
บทที่ 10 
การใช้ฐานข้อมูลอิเล็กทรอนิกส์ในศูนย์สารสนเทศหรือห้อ 
งสมุดหรือองค์กรสารสนเทศอื่นๆ มักเป็นบริการที่ใช้ฟรี เช่น 
ฐานข้อมูลอิเล็กทรอนิกส์ของศูนย์บรรณสารและสื่อการศึกษา 
มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี นักศึกษา ผู้วิจัย 
อาจารย์และเจ้าหน้าที่ สามารถใช้ฟรีโดยไม่เสียค่าใช้จ่าย 
อย่างไรก็ตามศูนย์บริการสารสนเทศบางแห่งอาจจะมีการเก็บค่า 
ธรรมเนียมการเข้าใช้ฐานข้อมูล 
ค่าธรรมเนียมจะช่วยจัดสรรปริมาณการใช้บริการ 
กล่าวคือเมื่อมีการกาหนดค่าธรรมเนียมในการใช้ฐานข้อมูลจะ 
ทาให้ผู้ใช้บริการมีความต้องการที่จะใช้ฐานข้อมูลลดลง 
ผู้เสียค่าธรรมเนียมจะต้องได้รับประโยชน์มากกว่าค่าธรรมเนียม 
ที่เสียไป 
และการเสียค่าธรรมในการใช้บริการฐานข้อมูลอิเล็กทรอนิกส์จ 
ะช่วยไปสนับสนุนทางด้านการเงิน 
เป็นการเก็บค่าธรรมเนียมการใช้บริการเพิ่มขึ้น 
ส่งผลให้ส่วนเกินของผู้บริโภคลดลง 
แต่ค่าธรรมเนียมที่เสียไปนั้นจะถูกชดเชยด้วยบริการอื่นๆ เช่น 
การเก็บค่าบริการหรือค่าธรรมเนียมในการใช้ฐานข้อมูลของศูน 
ย์สารสนเทศทางศูนย์ฯจะนาเงินที่ได้ ไปบริหารจัดการ 
ปรับปรุงแก้ไขบริการ 
ซื้อคอมพิวเตอร์มาเพิ่มเพื่อความสะดวกรวดเร็วให้ผู้ใช้บริการ 
เรียกอีกอย่างว่า การกาหนดราคาแบบ Ramsey
การที่ศูนย์บริการสารสนเทศกาหนดค่าธรรมเนียมเพื่อเข้าใ 
ช้บริการฐานข้อมูลจะทาให้ผู้ใช้ได้รับประโยชน์สูงสุดอยู่ที่ราคา 
เท่ากับต้นทุน 
โดยมีการกาหนดค่าธรรมเนียมเท่ากับต้นทุนเพิ่มต่อหน่วยในกา 
รซื้อฐานข้อมูลมา ถ้าค่าธรรมเนียมเหมาะสม 
ปริมาณผู้เข้าใช้บริการก็จะเหมาะสม หมายความว่า 
ผลประโยชน์เพิ่มต่อหน่วยเท่ากับต้นทุนเพิ่มต่อหน่วย 
เกิดดุลยภาพเป็นประสิทธิภาพทางสังคม 
เนื่องจากค่าธรรมเนียมที่เสียไปเป็นราคาที่ผู้ใช้บริการยอมรับได้ 
การใช้บริการสะดวก ไม่แออัดกล่าวคือ 
ผู้ใช้บริการมีจานวนเหมาะสมและพึงพอใจในการจ่ายค่าธรรมเ 
นียมและพอใจในคุณภาพของฐานข้อมูลอิเล็กทรอนิกส์ 
เป็นราคาที่ผู้ใช้พึงพอใจ 
ในกรณีที่ศูนย์บริการสารสนเทศมีต้นทุนในการใช้บริการอ 
ยู่แล้ว 
เมื่อทางศูนย์ประกาศเพิ่มค่าธรรมเนียมจะทาให้ความพึงพอใจข 
องผู้ใช้บริการลดลง เนื่องจากราคาสูงเกินไป เกิด Dead 
weight loss 
ซึ่งผู้ใช้บริการคนอื่นๆไม่สามารถเข้าใช้ฐานข้อมูลได้หรือผู้ใช้บ 
ริการไม่เกิดความพึงพอใจ ผู้ที่อยากใช้ไม่สามารถใช้ได้ 
กรณีการเพิ่มค่าธรรมเนียมนี้ทาให้ไม่เกิดประสิทธิภาพทางสังคม 
กรณีที่ศูนย์สารสนเทศลดค่าธรรมเนียมการใช้บริการต่ากว่ 
าต้นทุนเพิ่ม ทาให้ผู้ใช้บริการมีจานวนมากขึ้น
เกิดความแออัดของผู้ใช้บริการฐานข้อมูล 
ต้องรอผู้ใช้บริการคนอื่นๆใช้งานเสร็จก่อนเพราะบางฐานข้อมูล 
Username และ Password เพื่อให้ใช้งานครั้งละ 1 
คนทาเกิดการรอคอยเกิดต้นทุนค่าเสียโอกาสในการรอคอย 
การลดค่าธรรมเนียมก็สามารถทาให้เกิด Dead weight loss 
ได้เช่นกัน เนื่องจากผู้ใช้บริการมีมากเกินไป 
ผู้ใช้บริการไม่ได้รับประโยชน์จึงไม่เกิดประสิทธิภาพทางสังคม 
ศูนย์บริการสารสนเทศมีต้นทุนแต่ไม่เก็บค่าธรรมเนียมการ 
ใช้บริการ ถ้าผู้ใช้บริการมีความจาเป็นมาก 
ค่าความยืดหยุ่นน้อยจะช่วยลด Dead weight loss 
ถ้าผู้ใช้บริการมีความจาเป็นน้อยค่าความยืดหยุ่นจะมากจะไม่ช่ 
วยลด Dead weight loss 
การเก็บค่าธรรมเนียมจะทาให้เกิดประสิทธิภาพทางเศรษฐกิจ 
การเก็บค่าธรรมเนียมจะทาให้เกิด Dead weight loss 
ทาให้ส่วนเกินของผู้บริโภคลดลงไม่เกิดประสิทธิภาพทางเศรษฐ 
กิจ 
การเก็บค่าธรรมเนียมเพิ่มขึ้นจะทาให้จานวนผู้ใช้บริการฐา 
นข้อมูลในศูนย์สารสนเทศลดลง 
กรณีผู้ใช้มีความจาเป็นมากค่าความยืดหยุ่นน้อยจะทาให้ความ 
พึงพอใจของผู้ใช้บริการฐานข้อมูลลดลงไปมาก 
และกรณีที่ผู้ใช้มีค่าความยืดหยุ่นมากหรือมีความจาเป็นในการใ 
ช้น้อย จะทาให้ความพึงพอใจของผู้ใช้หายไปน้อย
กรณีศูนย์บริการสารสนเทศเก็บค่าธรรมเนียมการใช้บริกา 
รฐานข้อมูลอิเล้กทรอนิกส์เท่ากับต้นทุนการใช้บริการ 
ถ้าผู้ใช้มีความจาเป็นมาก 
ค่าความยืดหยุ่นน้อยจะส่งผลให้ส่วนเกินของผู้บริโภคมีความพึง 
พอใจมาก ถ้าผู้ใช้มีความจาเป็นน้อย ความพึงพอใจก็จะลดลง-- 
-------------------------------------------------------- 
การเก็บค่าธรรมเนียมเพิ่มแบบ Ramsey 
จากการใช้บริการฐานข้อมูลเพื่อนาเงินมาสนับสนุนบริการอื่นๆเ 
กี่ยวกับการบริการฐานข้อมูล เช่น 
ศูนย์สารสนเทศบางแห่งอาจกาหนดเวลาในการเข้าใช้ฐานข้อมู 
ล 
ถ้าผู้ใช้บริการคนใดมีระยะเวลาการใช้นานกว่าที่กาหนดจะมีค่า 
ปรับและนาเงินค่าปรับที่ได้นั้นนา ไปซื้อคอมพิวเตอร์เพิ่มเพื่อควา 
มสะดวกของผู้ใช้บริการ 
การเพิ่มค่าธรรมเนียมหรือการปรับจะทาให้ผู้ใช้บริการสูญเสียค 
วามพึงพอใจเกิด Dead weight loss 
ในการใช้ฐานข้อมูลของผู้ใช้ 
แต่จะถูกชดเชยด้วยผลประโยชน์ส่วนเกินเพื่อสร้างความพึงพอ 
ใจให้กับผู้ใช้โดยซื้อคอมพิวเตอร์เพิ่มเพื่อความสะดวกรวดเร็วใ 
นการค้นหาสารสนเทศในฐานข้อมูลหรือจัดสรรให้กับบุคลากรจ 
ะเกิดประสิทธิภาพทางเศรษฐกิจ 
11
การใช้บริการฐานข้อมูลแต่ละครั้งมีต้นทุนค่าเสียโอกาส 
คือ 
เป็นต้นทุนที่ผู้ใช้บริการเสียค่าธรรมเนียมเพื่อการใช้ฐานข้อมูลร 
วมกับเวลาที่ใช้บริการ 
ซึ่งมีผลกระทบต่อต้นทุนของฐานข้อมูลและความเต็มใจจ่ายของ 
ผู้ใช้บริการ 
การวัดมูลค่าของเวลามีความสาคัญต่อการวิเครห์ต้นทุนและผล 
ตอบแทนของฐานข้อมูล เช่น 
ต้นทุนค่าเสียโอกาสของการค้นหาสารสนเทศในฐานข้อมูล 
เป็นต้น 
การประหยัดทางด้านเวลาทาให้เกิดผลประโยชน์ทางเศรษฐกิจ 
เทคโนโลยีใหม่ๆจะช่วยลดระยะเวลาในการใช้บริการ เช่น 
การซื้อคอมพิวเตอร์ใหม่เข้ามาใช้ในศูนย์บริการสารสนเทศทาใ 
ห้ระบบเครือข่ายดีขึ้น 
จะส่งผลให้การใช้บริการฐานข้อมูลมีความรวดเร็วประหยัดเวลา 
ได้ 
ความล้มเหลวของการวิเคราะห์ต้นทุนและผลตอบแทนของ 
ฐานข้อมูลเกิดจากการไม่นามูลค่าของเวลาเข้ามาพิจารณาเป็น 
ความผิดพลาดเพราะเป็นสิ่งที่สาคัญควรนามาพิจารณาด้วยมีกา 
รประเมินมูลค่าของเวลา 
เช่นผู้ใช้ฐานข้อมูลเป็นนักศึกษาเป็นนักศึกษาจ้างงานได้ค่าตอบ 
แทน 40 บาทต่อชั่วโมง 
ดังนั้นถ้านักศึกษาใช้เวลาในการค้นหาสารสนเทศในฐานข้อมูล 
30 นาที มูลค่าของการใช้ฐานข้อมูลเท่ากับ 20 บาท ต่อ 30
นาที คานวนต้นทุนค่าเสียโอกาสด้วยสูตร P+tw โดยที่ P 
คือค่าธรรมเนียมการใช้บริการฐานข้อมูลแต่ละครั้ง 20 บาท t 
คือ ระยะเวลาในการใช้บานข้อมูล 0.5 ชม. คูณกับ w 
คือนักศึกษาจ้างงาน 1 ชม. 40 บาท จากการคานวณมีค่าเท่ากับ 
40 บาท 
ถ้าค่าจ้างหรือเวลาในการใช้ฐานข้อมูลเพิ่มเติมจะทาให้ต้นทุนค่ 
าเสียโอกาสเพิ่มขึ้นด้วย 
การใช้บริการฐานข้อมูลที่มีความรวดเร็วหรือช่วยประหยัด 
ระยะเวลาในการค้นหาสารสนเทศลงได้ 
มูลค่าของเวลาที่ลดลงคือประโยชน์ที่ผู้ใช้บริการได้รับ 
12 
ฐานข้อมูลอิเล็กทรอนิกส์ 
เป็นทรัพยากรสารสนเทศที่ผู้ใช้สามารถใช้ร่วมกันได้ 
ผู้ซื้อมีส่วนร่วมในรายจ่ายกับผู้ซื้อรายอื่นๆ 
หรือจ่ายเงินซื้อฐานข้อมูลร่วมกัน เรียกว่าสินค้าสาธารณะ 
ผู้ซื้อรวมตัวกันสามารถต่อรองกับผู้ซื้อเกี่ยวกับราคาของฐานข้อ 
มูลในราคาที่ไม่แพงได้
การใช้ทรัพยากรร่วมกันเป็นกลยุทธ์ในการพัฒนาศูนย์บริการส 
ารสนเทศเพื่อลดต้นทุน 
นาไปสู่การจัดการและการตัดสินใจเกี่ยวกับต้นทุนและผลตอบแ 
ทนทางเศรษฐศาสตร์ 
ความหลากหลายของผู้ใช้ทรัพยากรสารสนเทศ 
ผู้ใช้แต่ละคนจะได้รับประโยชน์จากการใช้ร่วมกันในสินค้าชนิ 
ดเดียวกัน 
ประโยชน์ที่ผู้ใช้ได้รับนั้นเป็นการวัดของสังคมด้วยและนาไปเป 
รียบเทียบต้นทุนเพิ่มของการผลิตทรัพยากรฯ 
การที่ศูนย์บริการสารสนเทศแต่ละแห่งมีการใช้ฐานข้อมูลร่ 
วมกันประโยชน์จะตกอยู่กับผู้ใช้ทุกคน ไม่เฉพาะศูนย์ฯ ใด 
ศูนย์หนึ่งเท่านั้น ทาให้ประหยัดเงิน 
เกิดประสิทธิภาพทางเศรษฐกิจเป็นประสิทธิภาพในรูปแบบของก 
ารร่วมมือกัน 
การที่ฐานข้อมูลเป็นสินค้าสาธารณะที่ผู้ใช้บริการไม่เสียค่าธรร 
มเนียมในการเข้าใช้ในศูนย์บริการสารสนเทศ 
ทาให้เกิดส่วนเกินของผู้บริโภคที่ผู้ใช้ได้รับมีมากขึ้น 
เพราะผู้ใช้ไม่เสียค่าบริการระดับการใช้อยู่ที่ปริมาณเท่ากับต้นทุ 
น 
สรุปแล้วการใช้ทรัพยากรสารสนเทศร่วมกันเป็นการลดต้นทุน 
ทาให้ศูนย์บริการสารสนเทศประหยัดเงิน 
เกิดประสิทธิภาพทางเศรษฐกิจ 
13
วิเคราะห์ต้นทุนเพิ่มและผลตอบแทนในการซื้อข้อมูลอิเล็ก 
ทรอนิกส์ 
การประเมินค่าของต้นทุนจาเป็นต้องมีข้อมูลเกี่ยวกับราคา 
ค่าจ้างหรือเงินเดือน ต้นทุนที่เป็นตัวเงินและต้นทุนค่าเสียโอกาส 
ต้นทุนดังกล่าวสามารถประเมินได้ ยกเว้นต้นทุนค่าเสียโอกาส 
การประเมินผลตอบแทนหรือต้นทุนหรือประโยชน์ทผีู่้ใช้บริ 
การได้รับต้องใช้ข้อมูลเกี่ยวกับปริมาณ 
ราคาที่ซื้อมาและต้นทุนค่าเสียโอกาสของเงินที่ต้องจ่ายสาหรบัซื้ 
อฐานข้อมูล ผลประโยชน์ที่เกิดขึ้น เป็นส่วนเกินของผู้บริโภค 
จาเป็นต้องประเมินถึงความเต็มใจจ่ายของผู้ใช้ 
ขั้นตอนการวิเคราะห์ต้นทุนและผลตอบแทนมีดังนี้ 
1. กาหนดว่าใครเป็นผู้ที่เกี่ยวข้องเกี่ยวกับโครงการ 
2. แจกแจงต้นทุนและผลตอบแทน 
(โครงการของรัฐบาลจะมีเงินโอนเข้ามาเกี่ยวข้อง) 
3. ต้นทุนและผลตอบแทนเกี่ยวข้องกับใครบ้าง (ทากากบาทไว้) 
4. ตีเป็นตัวเลขหรือเชิงบวกให้ใส่บวก (+) 
ผู้ที่เกี่ยวข้องกับการวิเคราะห์ต้นทุนและผลตอบแทนแยกเป็ 
น 
รายบุคคลกรือเป็นกลุ่มก็ได้ที่ทาให้เกิดต้นทุนหรือได้รับผลตอบ 
แทนจากโครงการ ได้แก่ ผู้เสียภาษี ผู้ใช้บริการ คนงาน
อาสาสมัครหรือหน่วยงานของรัฐบาล 
โดยแยกเป็นกลุ่มแล้ววิเคราะห์ต้นทุนและผลตอบแทนให้อยู่ในรู 
ปของเมทริกซ์ 
แสดงตัวอย่างเมทริกซ์ของต้นทุนและผลตอบแทนโครงการฐาน 
ข้อมูลสาหรับเด็กในชุมชน 
ผู้ที่เกี่ยวข้อง 
ชุม 
ชน 
อาสาส 
มัคร 
เด็กและผู้ปก 
ครอง 
ศูนย์บริการสาร 
สนเทศ 
ต้นทุน 
ค่าจ้าง 
ค่าฐานข้อมูล 
ค่าสถานที่ 
ต้นทุนค่าเสียโ 
อกาส 
ผลตอบแทน
Eitbase

More Related Content

Viewers also liked

Viewers also liked (19)

Libro español para exposicion1
Libro español para exposicion1Libro español para exposicion1
Libro español para exposicion1
 
337 equipo 7 bloque 1
337 equipo 7 bloque 1337 equipo 7 bloque 1
337 equipo 7 bloque 1
 
Clase 3. Apuntes.
Clase 3. Apuntes.Clase 3. Apuntes.
Clase 3. Apuntes.
 
Biomec nov
Biomec novBiomec nov
Biomec nov
 
Siti
Siti Siti
Siti
 
Articulo smart cities
Articulo smart citiesArticulo smart cities
Articulo smart cities
 
Fiesta pablo (1)
Fiesta pablo (1)Fiesta pablo (1)
Fiesta pablo (1)
 
Vanhuus
VanhuusVanhuus
Vanhuus
 
Herramientas power point 3
Herramientas power point 3Herramientas power point 3
Herramientas power point 3
 
B&B De Heihorst
B&B De HeihorstB&B De Heihorst
B&B De Heihorst
 
Page #4
Page #4Page #4
Page #4
 
Pcori fivepagemodel
Pcori fivepagemodelPcori fivepagemodel
Pcori fivepagemodel
 
MűVeletek TöRtekkel úJ
MűVeletek TöRtekkel úJMűVeletek TöRtekkel úJ
MűVeletek TöRtekkel úJ
 
VOIP Server
VOIP ServerVOIP Server
VOIP Server
 
Brochure Beelen CS architecten
Brochure Beelen CS architectenBrochure Beelen CS architecten
Brochure Beelen CS architecten
 
Protocolo de Internet (ip)
Protocolo de Internet  (ip)Protocolo de Internet  (ip)
Protocolo de Internet (ip)
 
Mouvement ultra Français
Mouvement ultra FrançaisMouvement ultra Français
Mouvement ultra Français
 
Brittany Hesch - EDTP 600 Article Analysis
Brittany Hesch - EDTP 600 Article AnalysisBrittany Hesch - EDTP 600 Article Analysis
Brittany Hesch - EDTP 600 Article Analysis
 
El dinero yel presupuesto
El dinero yel presupuestoEl dinero yel presupuesto
El dinero yel presupuesto
 

Similar to Eitbase

ระบบและเทคโนโลยีเพื่อทำ CRM
ระบบและเทคโนโลยีเพื่อทำ CRMระบบและเทคโนโลยีเพื่อทำ CRM
ระบบและเทคโนโลยีเพื่อทำ CRMCRM in Action
 
ตัวอย่างบทที่ 3 วิทยานิพนธ์เว็บไซต์เพื่อสุขภาพ
ตัวอย่างบทที่ 3 วิทยานิพนธ์เว็บไซต์เพื่อสุขภาพตัวอย่างบทที่ 3 วิทยานิพนธ์เว็บไซต์เพื่อสุขภาพ
ตัวอย่างบทที่ 3 วิทยานิพนธ์เว็บไซต์เพื่อสุขภาพrubtumproject.com
 
ธันยพร นกศิริ ม409 เลขที่2
ธันยพร นกศิริ ม409 เลขที่2ธันยพร นกศิริ ม409 เลขที่2
ธันยพร นกศิริ ม409 เลขที่2Hitsuji12
 
บทที่ 1 ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับสารสนเทศ
บทที่ 1 ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับสารสนเทศบทที่ 1 ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับสารสนเทศ
บทที่ 1 ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับสารสนเทศchushi1991
 
คำถามสัมภาษณ์ที่โดนอาจารย์แก้ๆๆๆ
คำถามสัมภาษณ์ที่โดนอาจารย์แก้ๆๆๆคำถามสัมภาษณ์ที่โดนอาจารย์แก้ๆๆๆ
คำถามสัมภาษณ์ที่โดนอาจารย์แก้ๆๆๆkvlovelove
 
ใบงาน8
ใบงาน8ใบงาน8
ใบงาน8Kubgife Yrc
 
ใบงาน7
ใบงาน7ใบงาน7
ใบงาน7Kubgife Yrc
 
จุลนิพนธ์ Power Pointครั้งที่ 1
จุลนิพนธ์ Power Pointครั้งที่ 1จุลนิพนธ์ Power Pointครั้งที่ 1
จุลนิพนธ์ Power Pointครั้งที่ 1Ouizz Saebe
 

Similar to Eitbase (15)

Data
DataData
Data
 
ระบบและเทคโนโลยีเพื่อทำ CRM
ระบบและเทคโนโลยีเพื่อทำ CRMระบบและเทคโนโลยีเพื่อทำ CRM
ระบบและเทคโนโลยีเพื่อทำ CRM
 
Case Study : Customer Centric & Lead User 2
Case Study : Customer Centric & Lead User 2Case Study : Customer Centric & Lead User 2
Case Study : Customer Centric & Lead User 2
 
บทที่ 2
บทที่ 2บทที่ 2
บทที่ 2
 
ตัวอย่างบทที่ 3 วิทยานิพนธ์เว็บไซต์เพื่อสุขภาพ
ตัวอย่างบทที่ 3 วิทยานิพนธ์เว็บไซต์เพื่อสุขภาพตัวอย่างบทที่ 3 วิทยานิพนธ์เว็บไซต์เพื่อสุขภาพ
ตัวอย่างบทที่ 3 วิทยานิพนธ์เว็บไซต์เพื่อสุขภาพ
 
ธันยพร นกศิริ ม409 เลขที่2
ธันยพร นกศิริ ม409 เลขที่2ธันยพร นกศิริ ม409 เลขที่2
ธันยพร นกศิริ ม409 เลขที่2
 
บทที่ 1 ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับสารสนเทศ
บทที่ 1 ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับสารสนเทศบทที่ 1 ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับสารสนเทศ
บทที่ 1 ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับสารสนเทศ
 
คำถามสัมภาษณ์ที่โดนอาจารย์แก้ๆๆๆ
คำถามสัมภาษณ์ที่โดนอาจารย์แก้ๆๆๆคำถามสัมภาษณ์ที่โดนอาจารย์แก้ๆๆๆ
คำถามสัมภาษณ์ที่โดนอาจารย์แก้ๆๆๆ
 
ใบงาน8
ใบงาน8ใบงาน8
ใบงาน8
 
ใบงาน7
ใบงาน7ใบงาน7
ใบงาน7
 
Ch1
Ch1Ch1
Ch1
 
Turnitin
TurnitinTurnitin
Turnitin
 
Turnitin
TurnitinTurnitin
Turnitin
 
Market
MarketMarket
Market
 
จุลนิพนธ์ Power Pointครั้งที่ 1
จุลนิพนธ์ Power Pointครั้งที่ 1จุลนิพนธ์ Power Pointครั้งที่ 1
จุลนิพนธ์ Power Pointครั้งที่ 1
 

Eitbase

  • 2.
  • 3. ผู้ขายมีการเสนอขาย และมีการให้ข้อมูลข่าวสารกับผู้ซื้อหรือผู้ใช้เกี่ยวกับฐานข้อมูล ผู้ซื้อจึงพยายามจะแสวงหาข้อมูลให้มากเกี่ยวกับการตัดสินใจ ผู้ซื้ออาจจะมีการตรวจสอบฐานข้อมูลเพื่อใช้ในการตัดสินใจซื้อ ฐานข้อมูลเพื่อนามาให้บริการผู้ใช้ในศูนย์สารสนเทศ ผู้ซื้อจะตัดสินใจซื้อฐานข้อมูลเมื่อพิจารณาถึงคุณภาพ เช่น ก่อนตกลงในการซื้อต้องมีการทดลองใช้ฐานข้อมูลก่อนตัดสินใ จ ทดลองโดยผู้เชี่ยวชาญเกี่ยวกับเนื้อหา บรรณารักษ์ ผู้วิจัย นักศึกษาเพื่อทดสอบการใช้งาน กระบวนการทางานของแต่ละโมดูลในฐานข้อมูล ในบางครั้งผู้ซื้ออาจคิดว่าผู้ขายมีการโฆษณาฐานข้อมูลเกินควา มเป็นจริงหรือให้ข้อมูลไม่ครบถ้วน การที่ผู้ซื้อและผู้ขายปิดบังข้อมูลและรับรู้ข้อมูลข่าวสารไม่เท่าเที ยมกัน ทาให้ไม่เกิดประสิทธิภาพทางสังคม ในกรณีที่ผู้ซื้อพิจารณาข้อมูลข่าวสารที่ได้รับจากผู้ขาย ได้ทาการวิเคราะห์อย่างมีเหตุผลแล้วที่จะซื้อฐานอิเล็กทรอนิกส์ น้อยกว่าราคาที่ตั้งไว้ เนื่องจากผู้ซื้อพยายามวิเคราะห์ถึงประโยชน์ที่ได้รับจากฐานข้อ มูลที่เป็นจริงว่าผลประโยชน์เพิ่มน้อยกว่าต้นทุน ตัวอย่างเช่น ฐานข้อมูลมีเนื้อหาไม่ครอบคลุม ไม่เพียงพอต่อการศึกษาของนักวิจัยและนักศึกษา ผู้ซื้อจึงเต็มใจที่จะซื้อน้อยกว่าราคาที่ตั้งไว้ทั้งนี้เนื่องจากผู้ซื้อวิเ คราะห์ผลประโยชน์เพิ่มมาเรียบร้อยแล้ว
  • 4. การไม่เกิดประสิทธิภาพทางสังคมเกิดจากตลาดที่มีข้อมูลข่ าวสารไม่สมบูรณ์ ผู้ขายมีการบิดเบือนความเป็นจริง โดยถ้าหากผู้ซื้อมีข้อมูลข่าวสารที่เพียงพอก็จะช่วยบรรเทาปัญห าความไม่มีประสทธิภาพของตลาดฐานข้อมูลอิเล็กทรอนิกส์ได้ ความไม่มีประสิทธิสามารถแก้ไขปัญหาได้ โดยผู้ผลิตฐานข้อมูลอืเล็กทรอนิกส์ต้องสามารถพิสูจน์ถึงคุณภา พและความครบถ้วนของฐานข้อมูลที่บริษัทเสนอขาย ตัวอย่างเช่น มีการให้ทดลองใช้ฐานข้อมูลอิเล็กทรอนิกส์ มีการบารุงรักษาหรือปรับปรุงตลอดเวลา มีการรับรองคุณภาพกับผู้ซื้อ มีการคืนเงินเมื่อฐานข้อมูลมีปัญหาหรือพบความผิดพลาดในช่ว งระยะเวลาที่กาหนด เป็นต้น ข้อมูลข่าวสารมีการซื้อและขายเกิดขึ้นเกิดปัญหาความไม่ สมบูรณ์ของข้อมูลข่าวสารจึงทาให้ตลาดล้มเหลว การที่จะเกิดประสิทธิภาพทางเศรษฐกิจจะต้องได้รับข้อมูลข่าวส ารที่สมบูรณ์ ซึ่งจะทาให้ได้รับประโยชน์ในการตัดสินใจ เช่น ถ้าข้อมูลที่ได้รับมาไม่สมบูรณ์ก็จะทาให้เกิดค่าของความเสี่ยงใ นการตัดสินใจสูงอาจจะทาให้เกิดการตัดสินใจซื้อฐานข้อมูลอิเล็ กทรอนิกส์ผิดพลาดได้ วิธีการแก้ไขความไม่สมบูรณ์ของข้อมูลข่าวสารนั้น บางครั้งอาจมาจากการแทรกแซงของรัฐบาลเพื่อคุ้มครองผู้ซื้อใ นการออกกฏหมายต่างๆ เช่น กฏหมายคุ้มครองผู้บริโภคในกรณีผู้ขายมีการบิดเบือนความเป็ นจริงเกี่ยวกับฐานข้อมูล
  • 5. บทที่ 9 ฐานข้อมูลเป็นสินค้าสาธารณะ(Public goods) มีผู้ใช้บริการพร้อมๆกันได้หลายคน ซึ่งแต่ละคนที่ใช้ฐานข้อมูลได้รับประโยชน์จากการใช้เหมือนกั นถึงแม้บางครั้งจะใช้ไม่พร้อมกัน ฐานข้อมูลเป็นสินค้าสาธารณะเนื่องจากดูผลประโยชน์ที่ได้รับ มีการตัดสินใจเกี่ยวกับกับใครจะเป็นผู้จ่ายเงิน แต่ละคนจะจ่ายเงินเท่าไหร่ขึ้นกับประโยชน์ที่ตนเองได้รับ ถ้าฐานข้อมูลถูกซื้อโดยศูนย์บริการสารสนเทศ ประโยชน์ที่เกิดขึ้นจะตกอยู่กับผู้ใช้เป็นจานวนมากโดยศูนย์บริก ารสารสนเทศจะเป็นผู้เสียค่าใช้จ่ายในการซื้อฐานข้อมูล ดังนั้นก่อนการซื้อฐานข้อมูลศูนย์บริการสานเทศจึงต้องนาผลปร ะโยชน์จากผู้ใช้บริการไปพิจารณาการซื้อฐานข้อมูลด้วย โดยต้องคานึงถึงประโยชน์จากผู้ใช้จานวนมาก มากกว่าค่าใช้จ่ายในการซื้อฐานข้อมูลเล็กทรอนิกส์ การซื้อฐานข้อมูลอิเล็กทรอนิกส์โดยศูนย์บริการสารสนเทศ มีส่วนแบ่งการตลาดน้อยแต่มีผู้ใช้ในศูนย์สารสนเทศจานวนมา กมีผลประโยชน์เพิ่มของผู้ใช้เกิดประสิทธิภาพทางเศรษฐกิจ รายได้ที่ซื้อฐานข้อมูลอิเล็กทรอนิกส์ได้จากการจัดสรรงบป ระมาณจากรัฐบาล รัฐบาลจะจัดสรรงบประมาณประจาปีเพื่อซื้อฐานข้อมูลเป็นสาธา รณะที่ใช้ร่วมกัน------------------------------------------------------- ----
  • 6. บทที่ 10 การใช้ฐานข้อมูลอิเล็กทรอนิกส์ในศูนย์สารสนเทศหรือห้อ งสมุดหรือองค์กรสารสนเทศอื่นๆ มักเป็นบริการที่ใช้ฟรี เช่น ฐานข้อมูลอิเล็กทรอนิกส์ของศูนย์บรรณสารและสื่อการศึกษา มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี นักศึกษา ผู้วิจัย อาจารย์และเจ้าหน้าที่ สามารถใช้ฟรีโดยไม่เสียค่าใช้จ่าย อย่างไรก็ตามศูนย์บริการสารสนเทศบางแห่งอาจจะมีการเก็บค่า ธรรมเนียมการเข้าใช้ฐานข้อมูล ค่าธรรมเนียมจะช่วยจัดสรรปริมาณการใช้บริการ กล่าวคือเมื่อมีการกาหนดค่าธรรมเนียมในการใช้ฐานข้อมูลจะ ทาให้ผู้ใช้บริการมีความต้องการที่จะใช้ฐานข้อมูลลดลง ผู้เสียค่าธรรมเนียมจะต้องได้รับประโยชน์มากกว่าค่าธรรมเนียม ที่เสียไป และการเสียค่าธรรมในการใช้บริการฐานข้อมูลอิเล็กทรอนิกส์จ ะช่วยไปสนับสนุนทางด้านการเงิน เป็นการเก็บค่าธรรมเนียมการใช้บริการเพิ่มขึ้น ส่งผลให้ส่วนเกินของผู้บริโภคลดลง แต่ค่าธรรมเนียมที่เสียไปนั้นจะถูกชดเชยด้วยบริการอื่นๆ เช่น การเก็บค่าบริการหรือค่าธรรมเนียมในการใช้ฐานข้อมูลของศูน ย์สารสนเทศทางศูนย์ฯจะนาเงินที่ได้ ไปบริหารจัดการ ปรับปรุงแก้ไขบริการ ซื้อคอมพิวเตอร์มาเพิ่มเพื่อความสะดวกรวดเร็วให้ผู้ใช้บริการ เรียกอีกอย่างว่า การกาหนดราคาแบบ Ramsey
  • 7. การที่ศูนย์บริการสารสนเทศกาหนดค่าธรรมเนียมเพื่อเข้าใ ช้บริการฐานข้อมูลจะทาให้ผู้ใช้ได้รับประโยชน์สูงสุดอยู่ที่ราคา เท่ากับต้นทุน โดยมีการกาหนดค่าธรรมเนียมเท่ากับต้นทุนเพิ่มต่อหน่วยในกา รซื้อฐานข้อมูลมา ถ้าค่าธรรมเนียมเหมาะสม ปริมาณผู้เข้าใช้บริการก็จะเหมาะสม หมายความว่า ผลประโยชน์เพิ่มต่อหน่วยเท่ากับต้นทุนเพิ่มต่อหน่วย เกิดดุลยภาพเป็นประสิทธิภาพทางสังคม เนื่องจากค่าธรรมเนียมที่เสียไปเป็นราคาที่ผู้ใช้บริการยอมรับได้ การใช้บริการสะดวก ไม่แออัดกล่าวคือ ผู้ใช้บริการมีจานวนเหมาะสมและพึงพอใจในการจ่ายค่าธรรมเ นียมและพอใจในคุณภาพของฐานข้อมูลอิเล็กทรอนิกส์ เป็นราคาที่ผู้ใช้พึงพอใจ ในกรณีที่ศูนย์บริการสารสนเทศมีต้นทุนในการใช้บริการอ ยู่แล้ว เมื่อทางศูนย์ประกาศเพิ่มค่าธรรมเนียมจะทาให้ความพึงพอใจข องผู้ใช้บริการลดลง เนื่องจากราคาสูงเกินไป เกิด Dead weight loss ซึ่งผู้ใช้บริการคนอื่นๆไม่สามารถเข้าใช้ฐานข้อมูลได้หรือผู้ใช้บ ริการไม่เกิดความพึงพอใจ ผู้ที่อยากใช้ไม่สามารถใช้ได้ กรณีการเพิ่มค่าธรรมเนียมนี้ทาให้ไม่เกิดประสิทธิภาพทางสังคม กรณีที่ศูนย์สารสนเทศลดค่าธรรมเนียมการใช้บริการต่ากว่ าต้นทุนเพิ่ม ทาให้ผู้ใช้บริการมีจานวนมากขึ้น
  • 8. เกิดความแออัดของผู้ใช้บริการฐานข้อมูล ต้องรอผู้ใช้บริการคนอื่นๆใช้งานเสร็จก่อนเพราะบางฐานข้อมูล Username และ Password เพื่อให้ใช้งานครั้งละ 1 คนทาเกิดการรอคอยเกิดต้นทุนค่าเสียโอกาสในการรอคอย การลดค่าธรรมเนียมก็สามารถทาให้เกิด Dead weight loss ได้เช่นกัน เนื่องจากผู้ใช้บริการมีมากเกินไป ผู้ใช้บริการไม่ได้รับประโยชน์จึงไม่เกิดประสิทธิภาพทางสังคม ศูนย์บริการสารสนเทศมีต้นทุนแต่ไม่เก็บค่าธรรมเนียมการ ใช้บริการ ถ้าผู้ใช้บริการมีความจาเป็นมาก ค่าความยืดหยุ่นน้อยจะช่วยลด Dead weight loss ถ้าผู้ใช้บริการมีความจาเป็นน้อยค่าความยืดหยุ่นจะมากจะไม่ช่ วยลด Dead weight loss การเก็บค่าธรรมเนียมจะทาให้เกิดประสิทธิภาพทางเศรษฐกิจ การเก็บค่าธรรมเนียมจะทาให้เกิด Dead weight loss ทาให้ส่วนเกินของผู้บริโภคลดลงไม่เกิดประสิทธิภาพทางเศรษฐ กิจ การเก็บค่าธรรมเนียมเพิ่มขึ้นจะทาให้จานวนผู้ใช้บริการฐา นข้อมูลในศูนย์สารสนเทศลดลง กรณีผู้ใช้มีความจาเป็นมากค่าความยืดหยุ่นน้อยจะทาให้ความ พึงพอใจของผู้ใช้บริการฐานข้อมูลลดลงไปมาก และกรณีที่ผู้ใช้มีค่าความยืดหยุ่นมากหรือมีความจาเป็นในการใ ช้น้อย จะทาให้ความพึงพอใจของผู้ใช้หายไปน้อย
  • 9. กรณีศูนย์บริการสารสนเทศเก็บค่าธรรมเนียมการใช้บริกา รฐานข้อมูลอิเล้กทรอนิกส์เท่ากับต้นทุนการใช้บริการ ถ้าผู้ใช้มีความจาเป็นมาก ค่าความยืดหยุ่นน้อยจะส่งผลให้ส่วนเกินของผู้บริโภคมีความพึง พอใจมาก ถ้าผู้ใช้มีความจาเป็นน้อย ความพึงพอใจก็จะลดลง-- -------------------------------------------------------- การเก็บค่าธรรมเนียมเพิ่มแบบ Ramsey จากการใช้บริการฐานข้อมูลเพื่อนาเงินมาสนับสนุนบริการอื่นๆเ กี่ยวกับการบริการฐานข้อมูล เช่น ศูนย์สารสนเทศบางแห่งอาจกาหนดเวลาในการเข้าใช้ฐานข้อมู ล ถ้าผู้ใช้บริการคนใดมีระยะเวลาการใช้นานกว่าที่กาหนดจะมีค่า ปรับและนาเงินค่าปรับที่ได้นั้นนา ไปซื้อคอมพิวเตอร์เพิ่มเพื่อควา มสะดวกของผู้ใช้บริการ การเพิ่มค่าธรรมเนียมหรือการปรับจะทาให้ผู้ใช้บริการสูญเสียค วามพึงพอใจเกิด Dead weight loss ในการใช้ฐานข้อมูลของผู้ใช้ แต่จะถูกชดเชยด้วยผลประโยชน์ส่วนเกินเพื่อสร้างความพึงพอ ใจให้กับผู้ใช้โดยซื้อคอมพิวเตอร์เพิ่มเพื่อความสะดวกรวดเร็วใ นการค้นหาสารสนเทศในฐานข้อมูลหรือจัดสรรให้กับบุคลากรจ ะเกิดประสิทธิภาพทางเศรษฐกิจ 11
  • 10. การใช้บริการฐานข้อมูลแต่ละครั้งมีต้นทุนค่าเสียโอกาส คือ เป็นต้นทุนที่ผู้ใช้บริการเสียค่าธรรมเนียมเพื่อการใช้ฐานข้อมูลร วมกับเวลาที่ใช้บริการ ซึ่งมีผลกระทบต่อต้นทุนของฐานข้อมูลและความเต็มใจจ่ายของ ผู้ใช้บริการ การวัดมูลค่าของเวลามีความสาคัญต่อการวิเครห์ต้นทุนและผล ตอบแทนของฐานข้อมูล เช่น ต้นทุนค่าเสียโอกาสของการค้นหาสารสนเทศในฐานข้อมูล เป็นต้น การประหยัดทางด้านเวลาทาให้เกิดผลประโยชน์ทางเศรษฐกิจ เทคโนโลยีใหม่ๆจะช่วยลดระยะเวลาในการใช้บริการ เช่น การซื้อคอมพิวเตอร์ใหม่เข้ามาใช้ในศูนย์บริการสารสนเทศทาใ ห้ระบบเครือข่ายดีขึ้น จะส่งผลให้การใช้บริการฐานข้อมูลมีความรวดเร็วประหยัดเวลา ได้ ความล้มเหลวของการวิเคราะห์ต้นทุนและผลตอบแทนของ ฐานข้อมูลเกิดจากการไม่นามูลค่าของเวลาเข้ามาพิจารณาเป็น ความผิดพลาดเพราะเป็นสิ่งที่สาคัญควรนามาพิจารณาด้วยมีกา รประเมินมูลค่าของเวลา เช่นผู้ใช้ฐานข้อมูลเป็นนักศึกษาเป็นนักศึกษาจ้างงานได้ค่าตอบ แทน 40 บาทต่อชั่วโมง ดังนั้นถ้านักศึกษาใช้เวลาในการค้นหาสารสนเทศในฐานข้อมูล 30 นาที มูลค่าของการใช้ฐานข้อมูลเท่ากับ 20 บาท ต่อ 30
  • 11. นาที คานวนต้นทุนค่าเสียโอกาสด้วยสูตร P+tw โดยที่ P คือค่าธรรมเนียมการใช้บริการฐานข้อมูลแต่ละครั้ง 20 บาท t คือ ระยะเวลาในการใช้บานข้อมูล 0.5 ชม. คูณกับ w คือนักศึกษาจ้างงาน 1 ชม. 40 บาท จากการคานวณมีค่าเท่ากับ 40 บาท ถ้าค่าจ้างหรือเวลาในการใช้ฐานข้อมูลเพิ่มเติมจะทาให้ต้นทุนค่ าเสียโอกาสเพิ่มขึ้นด้วย การใช้บริการฐานข้อมูลที่มีความรวดเร็วหรือช่วยประหยัด ระยะเวลาในการค้นหาสารสนเทศลงได้ มูลค่าของเวลาที่ลดลงคือประโยชน์ที่ผู้ใช้บริการได้รับ 12 ฐานข้อมูลอิเล็กทรอนิกส์ เป็นทรัพยากรสารสนเทศที่ผู้ใช้สามารถใช้ร่วมกันได้ ผู้ซื้อมีส่วนร่วมในรายจ่ายกับผู้ซื้อรายอื่นๆ หรือจ่ายเงินซื้อฐานข้อมูลร่วมกัน เรียกว่าสินค้าสาธารณะ ผู้ซื้อรวมตัวกันสามารถต่อรองกับผู้ซื้อเกี่ยวกับราคาของฐานข้อ มูลในราคาที่ไม่แพงได้
  • 12. การใช้ทรัพยากรร่วมกันเป็นกลยุทธ์ในการพัฒนาศูนย์บริการส ารสนเทศเพื่อลดต้นทุน นาไปสู่การจัดการและการตัดสินใจเกี่ยวกับต้นทุนและผลตอบแ ทนทางเศรษฐศาสตร์ ความหลากหลายของผู้ใช้ทรัพยากรสารสนเทศ ผู้ใช้แต่ละคนจะได้รับประโยชน์จากการใช้ร่วมกันในสินค้าชนิ ดเดียวกัน ประโยชน์ที่ผู้ใช้ได้รับนั้นเป็นการวัดของสังคมด้วยและนาไปเป รียบเทียบต้นทุนเพิ่มของการผลิตทรัพยากรฯ การที่ศูนย์บริการสารสนเทศแต่ละแห่งมีการใช้ฐานข้อมูลร่ วมกันประโยชน์จะตกอยู่กับผู้ใช้ทุกคน ไม่เฉพาะศูนย์ฯ ใด ศูนย์หนึ่งเท่านั้น ทาให้ประหยัดเงิน เกิดประสิทธิภาพทางเศรษฐกิจเป็นประสิทธิภาพในรูปแบบของก ารร่วมมือกัน การที่ฐานข้อมูลเป็นสินค้าสาธารณะที่ผู้ใช้บริการไม่เสียค่าธรร มเนียมในการเข้าใช้ในศูนย์บริการสารสนเทศ ทาให้เกิดส่วนเกินของผู้บริโภคที่ผู้ใช้ได้รับมีมากขึ้น เพราะผู้ใช้ไม่เสียค่าบริการระดับการใช้อยู่ที่ปริมาณเท่ากับต้นทุ น สรุปแล้วการใช้ทรัพยากรสารสนเทศร่วมกันเป็นการลดต้นทุน ทาให้ศูนย์บริการสารสนเทศประหยัดเงิน เกิดประสิทธิภาพทางเศรษฐกิจ 13
  • 13. วิเคราะห์ต้นทุนเพิ่มและผลตอบแทนในการซื้อข้อมูลอิเล็ก ทรอนิกส์ การประเมินค่าของต้นทุนจาเป็นต้องมีข้อมูลเกี่ยวกับราคา ค่าจ้างหรือเงินเดือน ต้นทุนที่เป็นตัวเงินและต้นทุนค่าเสียโอกาส ต้นทุนดังกล่าวสามารถประเมินได้ ยกเว้นต้นทุนค่าเสียโอกาส การประเมินผลตอบแทนหรือต้นทุนหรือประโยชน์ทผีู่้ใช้บริ การได้รับต้องใช้ข้อมูลเกี่ยวกับปริมาณ ราคาที่ซื้อมาและต้นทุนค่าเสียโอกาสของเงินที่ต้องจ่ายสาหรบัซื้ อฐานข้อมูล ผลประโยชน์ที่เกิดขึ้น เป็นส่วนเกินของผู้บริโภค จาเป็นต้องประเมินถึงความเต็มใจจ่ายของผู้ใช้ ขั้นตอนการวิเคราะห์ต้นทุนและผลตอบแทนมีดังนี้ 1. กาหนดว่าใครเป็นผู้ที่เกี่ยวข้องเกี่ยวกับโครงการ 2. แจกแจงต้นทุนและผลตอบแทน (โครงการของรัฐบาลจะมีเงินโอนเข้ามาเกี่ยวข้อง) 3. ต้นทุนและผลตอบแทนเกี่ยวข้องกับใครบ้าง (ทากากบาทไว้) 4. ตีเป็นตัวเลขหรือเชิงบวกให้ใส่บวก (+) ผู้ที่เกี่ยวข้องกับการวิเคราะห์ต้นทุนและผลตอบแทนแยกเป็ น รายบุคคลกรือเป็นกลุ่มก็ได้ที่ทาให้เกิดต้นทุนหรือได้รับผลตอบ แทนจากโครงการ ได้แก่ ผู้เสียภาษี ผู้ใช้บริการ คนงาน
  • 14. อาสาสมัครหรือหน่วยงานของรัฐบาล โดยแยกเป็นกลุ่มแล้ววิเคราะห์ต้นทุนและผลตอบแทนให้อยู่ในรู ปของเมทริกซ์ แสดงตัวอย่างเมทริกซ์ของต้นทุนและผลตอบแทนโครงการฐาน ข้อมูลสาหรับเด็กในชุมชน ผู้ที่เกี่ยวข้อง ชุม ชน อาสาส มัคร เด็กและผู้ปก ครอง ศูนย์บริการสาร สนเทศ ต้นทุน ค่าจ้าง ค่าฐานข้อมูล ค่าสถานที่ ต้นทุนค่าเสียโ อกาส ผลตอบแทน