SlideShare una empresa de Scribd logo
1 de 17
ความหมายและขั้นตอนการแก้ปัญหา
กระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศ คือ กระบวนการที่ใช้ในการ
แก้ปัญหา เพื่อสนองความต้องการของมนุษย์ ซึ่งปัญหาจะเกี่ยวเนื่องกับ
ข้อมูล เช่น การรวบรวม การตรวจสอบความถูกต้อง การประมวลผล การ
เผยแพร่ข้อมูล โดยมีการถ่ายทอดความคิดในการแก้ปัญหาด้วย อัลกอริทึม
การแก้ปัญหาด้วยกระบวนการสารสนเทศ มี 4 ขั้นตอน ได้แก่ การ
วิเคราะห์และกาหนดรายละเอียดของปัญหา การเลือกเครื่องมือและ
ออกแบบขั้นตอน การดาเนินการแก้ปัญหา และการตรวจสอบและปรับปรุง
1.การวิเคราะห์และกาหนดรายละเอียดของปัญหา
การวิเคราะห์และกาหนดรายละเอียดของปัญหา คือ การทาความเข้าใจ
กับปัญหาอย่างละเอียด โดยมีวิธีการ ดังนี้
1.วิเคราะห์สิ่งที่ต้องการ โดยวิเคราะห์ว่า ต้องการแก้ปัญหาอะไร
ผลผลิตอะไร หรืองานอะไร แล้วกาหนดวัตถุประสงค์ที่ต้องการ
ตัวอย่าง:ต้องการแก้ไขปัญญาการขาดทุนของร้านเช่าหนังสือ
2.วิเคราะห์ผลลัพธ์ที่ต้องการ โดยวิเคราะห์สิ่งที่คาดว่าจะได้รับจากการแก้ปัญหา
โดยผลลัพธ์ที่ได้อาจมีมากกว่า 1 ข้อ
3.วิเคราะห์ทรัพยากร โดยคานึงถึงทรัพยากรที่สามารถใช้ในการแก้ปัญหา ควรเป็น
ทรัพยากรที่มีอยู่แล้วเป็นหลัก ทั้งในด้านวัสดุ อุปกรณ์ ความรู้ของบุคคล แรงงาน และ
งบประมาณ
ตัวอย่าง:มีความสะดวกรวดเร็วในการเช่าหนังสือป้องกัน ป้องกันไม่ให้
หนังสือเสียหายมีกาไรมากยิ่งขึ้น
ตัวอย่าง:เงินสด5,000บาท คอมพิวเตอร์1เครื่อง จานวนหนังสือ20,000
เล่ม พนักงานจบการศึกษาระดับปริญญาตรี1คน
4.วิเคราะห์ตัวแปรหรือผลกระทบในด้านต่างๆ ที่ส่งผลต่อการแก้ปัญหานั้น ซึ่งอาจ
สมมติสถานการณ์ขึ้นเพื่อนามาวิเคราะห์ตัวแปรที่เกิดขึ้น โดยตัวแปรที่เกิดขึ้นมักเกิดจาก
การมีทรัพยากรที่ไม่เหมาะสม
5.วิเคราะห์วิธีการแก้ปัญหา ขั้นตอนนี้ควรนาเสนอวิธีการแก้ปัญหาทั้งหมดก่อนโดย
ไม่ต้องคานึงว่าสามารถทาได้หรือไม่ ด้วยการกาหนดวิธีการให้มากที่สุด จากนั้นนามา
วิเคราะห์โดยผู้วิเคราะห์ควรหาข้อมูลสนับสนุนว่าการแก้ปัญหาในวิธีนั้นสามารถทาได้
หรือไม่ แล้วบันทึกลงตาราง
ตัวอย่าง : หนังสือสูญหาย คิดราคาค่าเช่าผิด ดูแลลูกค่าได้ไม่ทั่วถึง
พนักงานไม่สามารถมาปฏิบัติงานได้
2.การเลือกเครื่องมือและออกแบบขั้นตอน
การเลือกเครื่องมือและออกแบบขั้นตอนเป็นการนาตารางการวิเคราะห์วิธีแก้ปัญหา มา
กาหนดขั้นตอนและวิธีการปฏิบัติ
1.การเลือกเครื่องมือที่ใช้ในการแก้ไขปัญหาเป็นการกาหนดทรัพยากรที่จะใช้แก้ปัญหา
โดยควรเป็นทรัพยากรที่มีอยู่แล้ว หรือเพิ่มประสิทธิภาพของเครื่องมือนั้นๆมากกว่าการ
จัดหามาเพิ่มเติม และควรกาหนดรายละเอียดให้ชัดเจนพร้อมประเมินค่าใช้จ่ายด้วย
ตัวอย่าง : พนักงานจานวน 1 คน วุฒิขั้นต่ามัธยมศึกษาปีที่ 3 หรือเทียบเท่า มี
ความสามารถด้านคอมพิวเตอร์ควรได้รับพิจารณาเป็นพิเศษ ค่าจ้างเดือนละ
2,000 บาท
คอมพิวเตอร์ ตรวจสอบว่าสามารถใช้งานได้ปกติและมีโปรแกรม
สาหรับใช้งานได้ครบถ้วน
2.การออกแบบขั้นตอนในการปฏิบัติงาน เป็นการกาหนดแนวทางในการแก้ไขปัญหา
ก่อนการปฏิบัติจริง โดยจะต้องกาหนดขั้นตอนเป็นลาดับขั้น แล้วจึงระบุผู้รับผิดชอบและ
ระยะเวลาการปฏิบัติงานในตารางปฏิบัติงาน กาหนดวัตถุประสงค์ที่ต้องการ
ตัวอย่าง : ขั้นตอนที่ 1 จัดทาป้ายและติดประกาศรับสมัครพนักงาน
ขั้นตอนที่ 2 สร้างแผนผังการจัดวางชั้นหนังสือ โต๊ะคอมพิวเตอร์
ทางเข้า–ออกร้าน
ขั้นตอนที่ 3 ให้ช่างมาติดตั้งกระจก
ขั้นตอนที่ 4 จัดวางและติดตั้งชั้นหนังสือ เครื่องคอมพิวเตอร์ และ
อื่นๆตามแผนผัง
3.การดาเนินการแก้ปัญหา
1.การวิเคราะห์และกาหนดรายละเอียดของปัญหา
เป็นขั้นตอนแรกในการแก้ปัญหา เพื่อทาความเข้าใจกับปัญหา แยกแยะให้ออกว่า
ข้อมูลที่กาหนดมาให้ในปัญหาหรือเงื่อนไขของปัญหาคืออะไร สิ่งที่ต้องการคืออะไร
รวมถึงวิธีการที่ใช้ประมวลผล ซึ่งการวิเคราะห์และกาหนดรายละเอียดของปัญหามี
องค์ประกอบ ดังนี้
• สิ่งที่โจทย์ต้องการ ได้แก่ การวิเคราะห์จากโจทย์ว่าสิ่งที่โจทย์ต้องการนั้นคืออะไร
สามารถแยกได้ออกมาเป็นรายละเอียดที่ชัดเจน
• การระบุข้อมูลที่ต้องส่งออก ได้แก่ การพิจารณาเป้ าหมายหรือสิ่งที่ต้องหาคาตอบ
• การระบุข้อมูลนาเข้า ได้แก่กาพิจารณาข้อมูลและเงื่อนไขที่กาหนดมาในปัญหา
• การกาหนดตัวแปร ได้แก่ ตัวเก็บค่าต่างๆในการทางาน
• การกาหนดวิธีประมวลผล ได้แก่ การพิจารณาขั้นตอนวิธีการได้มาซึ่งคาตอบ
2. การเลือกเครื่องมือและออกแบบขั้นตอนวิธี
เป็นขั้นตอนการวางแผนในการแก้ปัญหาอย่างละเอียดถี่ถ้วน หลังจากที่ได้
วิเคราะห์ปัญหาแล้ว ขั้นตอนต่อไปจะใช้เครื่องมือช่วยในการออกแบบโปรแกรม โดย
เขียนเป็นลาดับขั้นตอนการทางานของโปรแกรมที่เรียกว่าอัลกอริทึม (Algorithm)
โดยจะเขียนแสดงขั้นตอนการแก้ปัญหา ด้วยประโยคที่ชัดเจนไม่คลุมเครือ และมี
รายละเอียดการทางานพอสมควรเพียงพอที่จะนาไปเขียนเป็นโปรแกรมให้ทางานจริง
โดยอัลกอริทึมนั้นอาจเขียนให้อยู่ในรูปของรหัสจาลอง หรือซูโดโค้ด (Pseudo-
code) หรือเขียนเป็นผังงาน (Flowchart) ก็ได้
การเขียนผังงาน ผังงานเป็นแผนภาพที่แสดงลาดับขั้นตอนในการทางานของ
โปรแกรม โดยมีการลงรายละเอียด ใส่วิธีการ และจัดลาดับขั้นตอนของโปรแกรม ตั้งแต่
เริ่มต้นจากการรับข้อมูล การประมวลผล ไปจนถึงการแสดงผลลัพธ์การทางาน
3. การดาเนินการแก้ปัญหา
เป็นขั้นตอนแก้ปัญหาโดยใช้เครื่องมือที่เลือกไว้ เช่น คอมพิวเตอร์และโปรแกรม
สาเร็จ หรือการใช้ภาษาคอมพิวเตอร์เขียนโปรแกรม ขั้นตอนนี้ต้องอาศัยความรู้เกี่ยวกับ
เครื่องมือที่เลือกใช้ ผู้แก้ปัญหาจึงต้องศึกษาให้เข้าใจ มีความรู้ความสามารถในการเขียน
โปรแกรมเป็นอย่างดี และในขณะดาเนินการ หากพบแนวทางที่ดีกว่าที่ออกแบบไว้ต้อง
สามารถปรับเปลี่ยนให้เหมาะสม
4.การตรวจสอบและการปรับปรุง
เป็นขั้นตอนการตรวจสอบว่าขั้นตอนวิธีที่สร้างขึ้นสอดคล้องกับรายละเอียดของ
ปัญหา เช่น ข้อมูลรับเข้า ข้อมูลส่งออก หรือไม่ เพื่อให้มั่นใจได้ว่าสามารถรองรับข้อมูลเข้า
ได้ในทุกกรณีถูกต้องและสมบูรณ์ ในขณะเดียวกันต้องปรับปรุงวิธีการเพื่อให้ได้ผลลัพธ์ที่
ดีที่สุด
1.ตรวจสอบและปรับปรุงโดยผู้ออกแบบ เป็นการกระทาทั้งในระหว่างการ
ดาเนินการและภายหลังการดาเนินการเสร็จสิ้นแล้วซึ่งเป็นการตรวจสอบและปรับปรุง
กระบวนการทางานก่อนการใช้งานจริง
2.การตรวจสอบโดยผู้ใช้งานจริงเป็นการตรวจสอบและปรับปรุงกระบวนการทางาน
ภายหลังการดาเนินการ โดยจัดเก็บข้อมูลจากผู้ใช้งานกระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศ
นั้นโดยตรง ซึ่งสามารถทาได้หลายวิธี เช่น การสังเกต การสัมภาษณ์ และการทา
แบบสอบถาม จากนั้นผู้ออกแบบรวบรวมข้อมูลไปปรับปรุงกระบวนการเทคโนโลยี
สารสนเทศอีกครั้ง
การถ่ายทอดความคิดในการแก้ไขปัญหาด้วยอัลกอริทึม
อัลกอริทึม (Algorithm) คือ กระบวนการ การทางานที่ใช้การตัดสินใจ โดยนาหลักเหตุผลและ
คณิตศาสตร์มาช่วยเลือกวิธีการหรือขั้นตอนการดาเนินงานต่อไป จนกระทั่งถึงขั้นตอนสุดท้าย เป็น
วิธีการที่ใช้แยกย่อยและเรียงลาดับขั้นตอนของกระบวนการในการทางานต่างๆ เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพ
ในการค้นหาและแก้ไขปัญหา
อัลกอริทึมที่ดีต้องได้ผลลัพธ์ตรงกับความต้องการเสมอ อัลกอริทึมจึงควรมีคุณสมบัติ ดังนี้
1. มีความถูกต้องแม่นยา โดยเมื่อป้อนข้อมูลนาเข้าเดียวกันในอัลกอริทึมเดียวกัน จะต้องทางาน
ได้ผลลัพธ์ออกมาเหมือนเดิมทุกครั้ง
2. เข้าใจง่ายและชัดเจน แต่ละขั้นตอนในอัลกอริทึมจะต้องมีการแบ่งการทางานเป็นขั้นตอนย่อยๆ
หลายขั้นตอน โดยแต่ละขั้นตอนมีวิธีการคิดหรือตรรกะไม่ซับซ้อน
3. มีขั้นตอนหลักและขั้นตอนย่อย การเขียนอัลกอริทึมให้เข้าใจได้ง่ายนั้นไม่สามารถระบุความยาก
ง่ายได้อย่างชัดเจน ดังนั้นจึงควรออกแบบอัลกอริทึมให้มีระดับชั้นเพื่อประกอบขั้นตอนการทางานหลัก
ในขณะที่ขั้นตอนการทางานหลักสามารถแตกเป็นขั้นตอนย่อยๆ ซึ่งประกอบด้วยรายละเอียดมากขึ้น
เรียกว่า มอดูล (Module)โดยแต่ละมอดูลมีอิสระจากกันและสามารถเรียกขึ้นมาใช้งานซ้าได้หลาย
ครั้ง
การเขียนรหัสจาลอง
รหัสจาลอง หรือpseudo code เป็นคาบรรยายที่เขียนแสดงขั้นตอนวิธี
(algorithm) ของการเขียนโปรแกรม โดยใช้ภาษาที่กะทัดรัด สื่อสารกับโปรแกรมเมอร์
ผู้เขียนโปรแกรม โดยอาจใช้ภาษาที่ใช้ทั่วไปและอาจมีภาษาที่ใช้ในการเขียนโปรแกรมประกอบ
แต่ไม่มีมาตรฐานแน่นอนในการเขียน pseudo code และไม่สามารถนาไปทางานบน
คอมพิวเตอร์โดยตรง(เพราะไม่ใช่คาสั่งในภาษาคอมพิวเตอร์) และไม่ขึ้นกับภาษาคอมพิวเตอร์
ภาษาใดภาษาหนึ่ง
นิยมใช้ pseudo code แสดง algorithmมากกว่าใช้ผังงาน เพราะผังงาน
อาจไม่แสดงรายละเอียดมากนักและใช้สัญลักษณ์ซึ่งทาให้ไม่สะดวกในการเขียน เช่น
โปรแกรมใหญ่ ๆ มักจะประกอบด้วยคาสั่งต่างๆที่ใกล้เคียงกับภาษาคอมพิวเตอร์ที่ใช้ใน
การเขียนโปรแกรมจริงๆ เช่น begin…end, if…else, do…while, while,
for, read และ print
การเขียนรหัสจาลองจะต้องมีการวางแผนสาหรับการอ้างอิงถึงข้อมูลต่างๆที่จะใช้ใน
โปรแกรมด้วยการสร้างตัวแปร โดยใช้เครื่องหมายเท่ากับ (=) แทนการกาหนดค่าให้
กาหนดตัวแปรนั้นๆ
การเขียนผังงาน
ผังงาน (flowchart) คือ แผนภาพซึ่งแสดงลาดับขั้นตอนของการทางาน
โดยแต่ละขั้นตอนจะถูกแสดงโดยใช้สัญลักษณ์ซึ่งมีความหมายบ่งบอกว่า ขั้นตอนนั้น
ๆ มีลักษณะการทางาน ทาให้ง่ายต่อความเข้าใจ ว่าในการทางานนั้นมีขั้นตอน
อะไรบ้าง และมีลาดับอย่างไร
เครื่องมือที่ใช้ในการจาลองความคิด
มักจะประกอบขึ้นด้วยเครื่องหมายที่แตกต่างกันหลายอย่าง แต่พอสรุปได้เป็น 2
ลักษณะ คือ
1. การจาลองความคิดเป็นข้อความหรือคาบรรยาย (Algorithm)
เป็นการเขียนเค้าโครงด้วยการบรรยายเป็นภาษาที่มนุษย์ใช้สื่อสารกัน เพื่อให้ทราบถึง
ขั้นตอนการทางานของการแก้ปัญหาแต่ละตอน ในบางครั้งอาจใช้คาสั่งของภาษาที่ใช้
เขียนโปรแกรมก็ได้
2. การจาลองความคิดเป็นสัญลักษณ์หรือผังงาน (Flowchart)
สัญลักษณ์ คือ เครื่องหมายรูปแบบต่างๆ ซึ่งใช้สาหรับสื่อสารความหมายให้เข้าใจ
ตรงกัน สถาบันมาตรฐานแห่งชาติอเมริกา ได้กาหนดสัญลักษณ์ไว้เป็นมาตรฐานแล้ว
สามารถนาไปใช้ได้ตามความเหมาะสมต่อไป
สมาชิกกลุ่ม
1.นางสาวชิดารัตน์ อินแถลง ม.5/1 เลขที่34
2.นางสาวดลนภา บ่อทรัพย์ ม.5/1 เลขที่35
3.นางสาวภวิษย์พร ภิรมย์รักษ์ ม.5/1 เลขที่36
4.นางสาวอริสรา แก้วทับทิม ม.5/1 เลขที่37
5.นางสาวศณิตา ฝักบัว ม.5/1 เลขที่38
6.นางสาวรวีวรรณ อินวารี ม.5/1 เลขที่40
7.นางสาววีรวรรณ อินวารี ม.5/1 เลขที่41

Más contenido relacionado

La actualidad más candente

สารสนเทศเพื่อประกอบการตัดสินใจ
สารสนเทศเพื่อประกอบการตัดสินใจสารสนเทศเพื่อประกอบการตัดสินใจ
สารสนเทศเพื่อประกอบการตัดสินใจleoline
 
ใบความรู้ที่ 9
ใบความรู้ที่ 9ใบความรู้ที่ 9
ใบความรู้ที่ 9Rattana Wongphu-nga
 
การแก้ไขปัญหาด้วยกระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศ
การแก้ไขปัญหาด้วยกระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศการแก้ไขปัญหาด้วยกระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศ
การแก้ไขปัญหาด้วยกระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศGokudera Gokutsu
 
สารสนเทศเพื่อประกอบการตัดสินใจ
สารสนเทศเพื่อประกอบการตัดสินใจสารสนเทศเพื่อประกอบการตัดสินใจ
สารสนเทศเพื่อประกอบการตัดสินใจFluke Ggo
 
ความหมายของเทคโนโลยีสารสนเทศ
ความหมายของเทคโนโลยีสารสนเทศความหมายของเทคโนโลยีสารสนเทศ
ความหมายของเทคโนโลยีสารสนเทศPaweena Kittitongchaikul
 
บทที่1
บทที่1บทที่1
บทที่1airly2011
 
ข้อมูลและสารสนเทศ
ข้อมูลและสารสนเทศข้อมูลและสารสนเทศ
ข้อมูลและสารสนเทศKewalin Kaewwijit
 
การแก้ปัญหาด้วยกระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศ
การแก้ปัญหาด้วยกระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศการแก้ปัญหาด้วยกระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศ
การแก้ปัญหาด้วยกระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศParn Nichakorn
 
หลักการแก้ปัญหาและการพัฒนาโปรแกรม
หลักการแก้ปัญหาและการพัฒนาโปรแกรมหลักการแก้ปัญหาและการพัฒนาโปรแกรม
หลักการแก้ปัญหาและการพัฒนาโปรแกรมNunnaphat Chadajit
 
ข้อมูลและสารสนเทศ
ข้อมูลและสารสนเทศข้อมูลและสารสนเทศ
ข้อมูลและสารสนเทศWirot Chantharoek
 
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการวิเคราะห์ระบบ
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการวิเคราะห์ระบบความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการวิเคราะห์ระบบ
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการวิเคราะห์ระบบCC Nakhon Pathom Rajabhat University
 
สารสนเทศเพื่อประกอบการตัดสินใจ
สารสนเทศเพื่อประกอบการตัดสินใจสารสนเทศเพื่อประกอบการตัดสินใจ
สารสนเทศเพื่อประกอบการตัดสินใจpcpvip
 

La actualidad más candente (16)

สารสนเทศเพื่อประกอบการตัดสินใจ
สารสนเทศเพื่อประกอบการตัดสินใจสารสนเทศเพื่อประกอบการตัดสินใจ
สารสนเทศเพื่อประกอบการตัดสินใจ
 
ใบความรู้ที่ 9
ใบความรู้ที่ 9ใบความรู้ที่ 9
ใบความรู้ที่ 9
 
ทบทวนความรู้เดิม
ทบทวนความรู้เดิมทบทวนความรู้เดิม
ทบทวนความรู้เดิม
 
การแก้ไขปัญหาด้วยกระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศ
การแก้ไขปัญหาด้วยกระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศการแก้ไขปัญหาด้วยกระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศ
การแก้ไขปัญหาด้วยกระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศ
 
Week2-1
Week2-1Week2-1
Week2-1
 
Week2-1
Week2-1Week2-1
Week2-1
 
สารสนเทศเพื่อประกอบการตัดสินใจ
สารสนเทศเพื่อประกอบการตัดสินใจสารสนเทศเพื่อประกอบการตัดสินใจ
สารสนเทศเพื่อประกอบการตัดสินใจ
 
ความหมายของเทคโนโลยีสารสนเทศ
ความหมายของเทคโนโลยีสารสนเทศความหมายของเทคโนโลยีสารสนเทศ
ความหมายของเทคโนโลยีสารสนเทศ
 
บทที่1
บทที่1บทที่1
บทที่1
 
Mi sch1
Mi sch1Mi sch1
Mi sch1
 
ข้อมูลและสารสนเทศ
ข้อมูลและสารสนเทศข้อมูลและสารสนเทศ
ข้อมูลและสารสนเทศ
 
การแก้ปัญหาด้วยกระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศ
การแก้ปัญหาด้วยกระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศการแก้ปัญหาด้วยกระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศ
การแก้ปัญหาด้วยกระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศ
 
หลักการแก้ปัญหาและการพัฒนาโปรแกรม
หลักการแก้ปัญหาและการพัฒนาโปรแกรมหลักการแก้ปัญหาและการพัฒนาโปรแกรม
หลักการแก้ปัญหาและการพัฒนาโปรแกรม
 
ข้อมูลและสารสนเทศ
ข้อมูลและสารสนเทศข้อมูลและสารสนเทศ
ข้อมูลและสารสนเทศ
 
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการวิเคราะห์ระบบ
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการวิเคราะห์ระบบความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการวิเคราะห์ระบบ
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการวิเคราะห์ระบบ
 
สารสนเทศเพื่อประกอบการตัดสินใจ
สารสนเทศเพื่อประกอบการตัดสินใจสารสนเทศเพื่อประกอบการตัดสินใจ
สารสนเทศเพื่อประกอบการตัดสินใจ
 

Similar a งานคอมกลุ่มที่1ชั้น ม.5/1

กระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศ
กระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศกระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศ
กระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศPim Untika
 
กระบวนการเทคโนดโลยีสารสนเทศ 5.2
กระบวนการเทคโนดโลยีสารสนเทศ 5.2กระบวนการเทคโนดโลยีสารสนเทศ 5.2
กระบวนการเทคโนดโลยีสารสนเทศ 5.2Pim Untika
 
การแก้ปัญหาด้วยกระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศ
การแก้ปัญหาด้วยกระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศการแก้ปัญหาด้วยกระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศ
การแก้ปัญหาด้วยกระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศwarathip pongkan
 
การแก้ปัญหาด้วยกระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศ
การแก้ปัญหาด้วยกระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศการแก้ปัญหาด้วยกระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศ
การแก้ปัญหาด้วยกระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศbenz18
 
Problem solution
Problem solutionProblem solution
Problem solutionaumaiaiai
 
การแก้ปัญหาด้วยกระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศ
การแก้ปัญหาด้วยกระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศการแก้ปัญหาด้วยกระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศ
การแก้ปัญหาด้วยกระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศเอ็ม พุฒิพงษ์
 
การแก้ปัญหาโดยช้เทคโนโลยีสารสนเทศ
การแก้ปัญหาโดยช้เทคโนโลยีสารสนเทศการแก้ปัญหาโดยช้เทคโนโลยีสารสนเทศ
การแก้ปัญหาโดยช้เทคโนโลยีสารสนเทศThitikorn Prakrongyad
 
กระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศ
กระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศกระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศ
กระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศKantida SilverSoul
 
การแก้ปัญหาด้วยกระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศ
การแก้ปัญหาด้วยกระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศการแก้ปัญหาด้วยกระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศ
การแก้ปัญหาด้วยกระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศNattakan Panchoo
 
การแก้ปัญหาด้วยกระบวนการ
การแก้ปัญหาด้วยกระบวนการการแก้ปัญหาด้วยกระบวนการ
การแก้ปัญหาด้วยกระบวนการPongspak kamonsri
 
การแก้ปัญหาด้วยกระบวนการ
การแก้ปัญหาด้วยกระบวนการการแก้ปัญหาด้วยกระบวนการ
การแก้ปัญหาด้วยกระบวนการthanaluhk
 
การแก้ปัญหาด้วยกระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศ
การแก้ปัญหาด้วยกระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศการแก้ปัญหาด้วยกระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศ
การแก้ปัญหาด้วยกระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศณัฐพล บัวพันธ์
 
ใบความรู้ที่2
ใบความรู้ที่2ใบความรู้ที่2
ใบความรู้ที่2Orapan Chamnan
 
หน่วนการเรียนรู้ที่ 2 การแก้ปัญหาด้วยกระบวนการางเทคโนโลยีสารสนเทศ
หน่วนการเรียนรู้ที่ 2 การแก้ปัญหาด้วยกระบวนการางเทคโนโลยีสารสนเทศหน่วนการเรียนรู้ที่ 2 การแก้ปัญหาด้วยกระบวนการางเทคโนโลยีสารสนเทศ
หน่วนการเรียนรู้ที่ 2 การแก้ปัญหาด้วยกระบวนการางเทคโนโลยีสารสนเทศwanit sahnguansak
 
ใบความรู้ที่1.2
ใบความรู้ที่1.2ใบความรู้ที่1.2
ใบความรู้ที่1.2Orapan Chamnan
 
ความหมายของเทคโนโลยีสารสนเทศ
ความหมายของเทคโนโลยีสารสนเทศความหมายของเทคโนโลยีสารสนเทศ
ความหมายของเทคโนโลยีสารสนเทศPaweena Kittitongchaikul
 
การแก้ปัญหาด้วยกระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศ
การแก้ปัญหาด้วยกระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศการแก้ปัญหาด้วยกระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศ
การแก้ปัญหาด้วยกระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศB'Benz Sunisa
 
งานคอมพิวเตอร์
งานคอมพิวเตอร์งานคอมพิวเตอร์
งานคอมพิวเตอร์prang00
 

Similar a งานคอมกลุ่มที่1ชั้น ม.5/1 (20)

กระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศ
กระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศกระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศ
กระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศ
 
กระบวนการเทคโนดโลยีสารสนเทศ 5.2
กระบวนการเทคโนดโลยีสารสนเทศ 5.2กระบวนการเทคโนดโลยีสารสนเทศ 5.2
กระบวนการเทคโนดโลยีสารสนเทศ 5.2
 
การแก้ปัญหาด้วยกระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศ
การแก้ปัญหาด้วยกระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศการแก้ปัญหาด้วยกระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศ
การแก้ปัญหาด้วยกระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศ
 
การแก้ปัญหาด้วยกระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศ
การแก้ปัญหาด้วยกระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศการแก้ปัญหาด้วยกระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศ
การแก้ปัญหาด้วยกระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศ
 
Problem solution
Problem solutionProblem solution
Problem solution
 
การแก้ปัญหาด้วยกระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศ
การแก้ปัญหาด้วยกระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศการแก้ปัญหาด้วยกระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศ
การแก้ปัญหาด้วยกระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศ
 
It1
It1It1
It1
 
การแก้ปัญหาโดยช้เทคโนโลยีสารสนเทศ
การแก้ปัญหาโดยช้เทคโนโลยีสารสนเทศการแก้ปัญหาโดยช้เทคโนโลยีสารสนเทศ
การแก้ปัญหาโดยช้เทคโนโลยีสารสนเทศ
 
กระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศ
กระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศกระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศ
กระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศ
 
การแก้ปัญหาด้วยกระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศ
การแก้ปัญหาด้วยกระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศการแก้ปัญหาด้วยกระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศ
การแก้ปัญหาด้วยกระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศ
 
การแก้ปัญหาด้วยกระบวนการ
การแก้ปัญหาด้วยกระบวนการการแก้ปัญหาด้วยกระบวนการ
การแก้ปัญหาด้วยกระบวนการ
 
การแก้ปัญหาด้วยกระบวนการ
การแก้ปัญหาด้วยกระบวนการการแก้ปัญหาด้วยกระบวนการ
การแก้ปัญหาด้วยกระบวนการ
 
การแก้ปัญหาด้วยกระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศ
การแก้ปัญหาด้วยกระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศการแก้ปัญหาด้วยกระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศ
การแก้ปัญหาด้วยกระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศ
 
ใบความรู้ที่2
ใบความรู้ที่2ใบความรู้ที่2
ใบความรู้ที่2
 
หน่วนการเรียนรู้ที่ 2 การแก้ปัญหาด้วยกระบวนการางเทคโนโลยีสารสนเทศ
หน่วนการเรียนรู้ที่ 2 การแก้ปัญหาด้วยกระบวนการางเทคโนโลยีสารสนเทศหน่วนการเรียนรู้ที่ 2 การแก้ปัญหาด้วยกระบวนการางเทคโนโลยีสารสนเทศ
หน่วนการเรียนรู้ที่ 2 การแก้ปัญหาด้วยกระบวนการางเทคโนโลยีสารสนเทศ
 
ใบความรู้ที่1.2
ใบความรู้ที่1.2ใบความรู้ที่1.2
ใบความรู้ที่1.2
 
Mis 1
Mis 1Mis 1
Mis 1
 
ความหมายของเทคโนโลยีสารสนเทศ
ความหมายของเทคโนโลยีสารสนเทศความหมายของเทคโนโลยีสารสนเทศ
ความหมายของเทคโนโลยีสารสนเทศ
 
การแก้ปัญหาด้วยกระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศ
การแก้ปัญหาด้วยกระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศการแก้ปัญหาด้วยกระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศ
การแก้ปัญหาด้วยกระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศ
 
งานคอมพิวเตอร์
งานคอมพิวเตอร์งานคอมพิวเตอร์
งานคอมพิวเตอร์
 

งานคอมกลุ่มที่1ชั้น ม.5/1