SlideShare una empresa de Scribd logo
1 de 27
Logo
ศาสนาที่ตายแล้ว
(Dead Religions)
ศาสนาโบราณ
บทที่ ๒ สามัญรูปแห่งศรัทธา
 ขอบข่ายเนื้อหาประจาบท
 วิวัฒนาการทางศาสนายุคแรกของมนุษย์
 การยอมรับนับถือธรรมชาติ
 ความเชื่ออานาจลึกลับ
 ความเชื่อมายาศาสตร์
 ข้อห้ามและพิธีกรรม
 การนับถือผี
 การบูชาสัตว์ที่มีคุณลักษณะพิเศษ
 การบูชาบรรพบุรุษ
 ความเชื่อเครื่องรางและเครื่องหมาย
 ลัทธิมานะ (Manaism)
เป็นความเชื่อเกี่ยวกับธรรมชาติ เช่น ต้นไม้ ภูเขา แม่น้า ฯลฯ
 ลัทธิโตเต็ม (Totemism)
เป็นความเชื่อเกี่ยวกับสัตว์และคน
 วิญญาณนิยม (Animism)
เป็นผีที่มีอานาจลึกลับอาจท่องเที่ยวไปอย่างเสรี อาจสิงสถิตอยู่ ในร่าง
คนสัตว์ ต้นไม้ ฯลฯ
วิวัฒนาการทางศาสนายุคแรกของมนุษย์
การนับถือธรรมชาติ (Nature Worship)
การนับถือสัตว์ (Animal Worship)
การนับถือบรรพบุรุษ (Ancestor Worship)
ปรัมปรวิทยา (Mythology)
สิ่งต้องห้าม (Taboo)
พิธีกรรม (Ritual)
ไสยศาสตร์(Magic)
วิวัฒนาการของความเชื่อทางศาสนา
(เสฐียร พันธรังษี)
 การนับถือธรรมชาติ (Nature Worship)
 การนับถือผีสางเทวดา (Animal Worship)
 การนับถือบรรพบุรุษ (Ancestor Worship)
 การนับถือพระเจ้าหลายองค์ (Poly-theism)
 การนับถือพระเจ้าองค์เดียว (Heno-theism)
 ขั้นการนับถือเทพเจ้าองค์หนึ่งของชนกลุ่มหนึ่ง (Heno-theism)
 ขั้นการนับถือเทพเจ้าองค์เดียว (Meno-theism)
 ขั้นเหตุผล (พระพุทธศาสนา)
 มนุษย์มองเห็นธรรมชาติรอบข้าง ไม่รู้ว่าเป็นสิ่งใดและเพราะ
อะไร เมื่อร่างกายกระทบความหนาว ความร้อน ความหิว
กระหาย พบความมืด ความสว่าง ดวงอาทิตย์ ดวงจันทร์พายุ ฟ้ า
ร้อง เกิดความสงสัยและหวาดกลัวภัย เชื่อว่าสิ่งที่เห็นนั้นศักดิ์
บริสุทธิ์ วิเศษกว่าตัวเอง มีอานาจทาให้เกิดได้ ตายได้ ควรแก่
การเคารพบูชาและควรมอบให้ซึ่งเครื่องเซ่นสังเวย
 ธรรมชาติอันศักดิ์ มีฤทธิ์ดังกล่าว
กลายเป็นเทวะ หรือพระเจ้าขึ้นใน
ภายหลัง ซึ่งเรียกสามัญรูปแห่ง
ศรัทธานี้ว่า
“Recognition of the Sacred”
 อานาจลึกลับภายในนั้น เรียบกว่า มนะ = Mana อานาจนั้นสามารถบันดาลให้
สิ่งหนึ่งเป็นอีกสิ่งหนึ่งได้สามารถถ่ายทอดออกจากสิ่งหนึ่งไปสู่อีกสิ่งหนึ่ง
 สามัญรูปแห่งศรัทธาอันนี้ ดูลักษณะคล้ายคลึงกับการเชื่อเรื่องอานาจของ
เจตภูต หรือวิญญาณ
 มนุษย์ดึกดาบรรพ์ มีความเชื่อว่า ร่างกายประกอบด้วยธรรมชาติ ๒ ส่วน ส่วน
หนึ่งได้แก่เนื้อ หนัง กระดูก ทีเห็นอยู่ภายนอก และอีกส่วนคือ สิ่งใดสิ่งหนึ่งที่
มองไม่เห็นด้วยตา สิ่งนั้นคือ เจตภูต วิญญาณ (Soul)
 ความเชื่ออันนี้ เป็นมูลเหตุของความเชื่อเรื่องผีสางเทวดา
 ในลัทธิลามะของชาวธิเบต สอนให้เชื่อว่าเมื่อ
องค์ดาไลลามะสิ้นชีพดวงวิญญาณจะออกจาก
ร่างไปบังเกิดในร่างเด็กที่เกิดใหม่ทันที
 มายาศาสตร์เป็นผลสืบเนื่องโดยตรงมาจากความเชื่อลึกลับของมนะ แต่ผิดกัน
ตรงที่ มนะเป็นเรื่องภายในเกิดจากอานาจข้างในมองไม่เห็นด้วยนัยน์ตา แต่
มายาศาสตร์เป็นเรื่องภายนอก หรือเกิดจากการกระทาข้างนอกเป็นรูป
มองเห็นได้ด้วยนัยน์ตา ผู้กระทาเรียก มายากร
 มายาศาสตร์เริ่มด้วยกล่าวเวทมนต์คาถา เชื่อกันว่าสามารถบังคับอานาจลึกลับ
ที่มีอยู่ในโลกให้เข้ามาสู่มนุษย์ได้
 ความเชื่อข้อนี้มีรูปแสดงออกให้เห็นว่าศาสนาของมนุษย์นั้นมีทั้งข้อ
อนุญาตให้กระทา อันได้แก่ ธรรม และมีทั้งส่วนที่ห้ามมิให้กระทา (Tabu)
ซึ่งได้แก่ข้อห้ามหรือวินัย คาว่าธรรมวินัยทีใช้ในพุทธศาสนา หมายถึง
ลักษณะปฏิบัติที่กล่าวนี้
 คัมภีร์ใบเบิลเก่า มีบัญญัติของพระเจ้าไว้แต่แรก ห้ามไม่ให้อาดัมและอีวา
กินลูกไม้แห่งสานึก (Tree of Knowledging good and evil)
 ศีล ๕ ศีล ๑๐ ของพุทธศาสนา ก็มีข้อห้ามไว้หลายประการ
 ถ้าผู้ใดละเมิด เชื่อว่ามีบาป สังคมไม่ต้องการ บางทีอาจถึงตาย
 เมื่ออาดัมรับหน้าที่จากพระเจ้าให้
เฝ้ าอุทยานของตนอยู่นั้น พระเจ้า
รับสั่งแก่อาดัมว่า
“ถ้าบริโภคผลไม้ที่ทรงห้ามไว้
สูเจ้าจะถึงความพินาศสิ้นเชิง”
การชาระให้บริสุทธิ์ในข้อนี้ ส่วนใหญ่มุ่งถึงการชาระจิตใจ ทาความหมอง
มัวในจิตใจให้สะอาด หรือชาระเพื่อเรียกโชคลางข้างดีเข้ามาสู่ตน บางที
ความหมายของการชาระสูงขึ้นไปถึงการชาระบาปทางใจด้วย
การชาระให้บริสุทธิ์มีหลายอย่าง และยังเชื่อกันอยู่ในปัจจุบัน เช่น การอด
อาหาร ตัดเล็บ โกนหนวด การลุยไฟ การเจาะเลือด เป็นต้น
พิธีชาระให้บริสุทธิ์
พิธีชาระให้บริสุทธิ์
พิธีชาระให้บริสุทธิ์
• พิธีปัดรังควาน
คือมีศรัทธาว่าทุกสิ่งไม่ว่าจะเป็นคน สัตว์ ต้นไม้ ภูเขา แม่น้า เครื่องใช้ อาวุธ
ฯลฯ มีชีวิตกากับอยู่ด้วยทั้งนั้น
ความคิดตกลงมาถึงชั้นนี้ ทาให้มนุษย์กับธรรมชาติมีความสัมพันธ์กันมาก
ขึ้น โดยมนุษย์เชื่อว่า ธรรมชาติทั้งหลายชอบให้รัก ให้อ้อนวอน และสุดแต่
จะเชื่อว่า ธรรมชาติใดมีคุณลักษณะไปในรูปใด มนุษย์ก็กระทาให้ถูกใจไปใน
รูปนั้นๆ
ศรัทธานี้มีทางพาไปให้เกิดเรื่องเครื่องเซ่นสรวงสังเวย เป็นสินบนต่อ
ธรรมชาติและธรรมชาติซึ่งมีอานาจเหล่านั้นเอง ได้กลายเป็นเทพเจ้าไปใน
ภายหลัง
 ศรัทธาของมนุษย์เป็นไปตามสามัญญรูปอีกอย่างหนึ่ง คือการ
เห็นสัตว์ควรแก่การบูชา
 การนับถือสัตว์ในกลุ่มชาวอียิปต์โบราณ และการเชื่อว่าโคเป็น
พาหนะของพระอิศวร เชื่อว่าลิงเป็นทหารเอกของพระราม เป็น
ตัวอย่างที่ดีที่สุดในศรัทธาประเภทนี้
 ส่วนสามัญญรูปแห่งศรัทธาที่เกิดแก่มนุษย์ยุคดึกดาบรรพ์ตั้งแต่สมัยหิน
คือ เมื่อมองเห็นแผ่นดิน ก็พากันเชื่อว่าเป็นมารดา (แม่พระธรณี) เป็นที่
เกิดของพืชพรรณธัญญชาติ มองเห็นน้าให้มหาสมุทร ทะเลสาบ น้าพุ ก็
เชื่อว่าเป็นผู้ช่วยชีวิตให้ชุ่มชื่น
 เห็นฟ้ าอากาศเป็นบ้านของดวงอาทิตย์ ดวงจันทร์ ดวงดาว และหมู่เมฆทั้ง
ปวง
 การเคารพบูชาบรรพบุรุษเป็นสามัญญรูปแห่งศรัทธาที่เชื่อว่าผู้อยู่ใน
ครอบครัวเดียวกัน เป็นผู้ให้ประโยชน์แก่ตน และช่วยเหลือตนได้มากที่สุด
โดยเฉพาะบิดามารดา
 การมีชีวิตอยู่ของบิดามารดายังความอบอุ่นปลอดภัยมากที่สุด แต่เมื่อ
มนุษย์หมดบิดามารดาความเปล่าเปลี่ยวอ้างว้างก็มีมากที่สุดตามไปด้วย
 เมื่อมนุษย์ไม่ปรารถนาความพลัดพรากจากกัน มนุษย์จึงต้องการและ
พยายามหาทางให้สิ่งนั้นคงอยู่ ไม่ว่าจะเป็นทางใดและมากน้อยเท่าใด
จบบทที่ ๒
ดาวน์โหลดไฟล์นี้ได้ที่
www.philosophychicchic.com
สนุกกับการเรียนรู้ปรัชญาและศาสนาแบบชิคๆ เคียงคู่รอยยิ้ม

Más contenido relacionado

La actualidad más candente

พุทธศาสนามหายานในไทย
พุทธศาสนามหายานในไทยพุทธศาสนามหายานในไทย
พุทธศาสนามหายานในไทยPadvee Academy
 
ศาสนายิว
ศาสนายิวศาสนายิว
ศาสนายิวPadvee Academy
 
ปรัชญาเบื้องต้น บทที่ ๔ ญาณวิทยา
ปรัชญาเบื้องต้น บทที่ ๔ ญาณวิทยาปรัชญาเบื้องต้น บทที่ ๔ ญาณวิทยา
ปรัชญาเบื้องต้น บทที่ ๔ ญาณวิทยาPadvee Academy
 
บทที่ 3 ความแตกต่างระหว่างปรัชญากับศาสนา
บทที่ 3 ความแตกต่างระหว่างปรัชญากับศาสนาบทที่ 3 ความแตกต่างระหว่างปรัชญากับศาสนา
บทที่ 3 ความแตกต่างระหว่างปรัชญากับศาสนาPadvee Academy
 
เทศกาลและพิธีกรรมทางศาสนา
เทศกาลและพิธีกรรมทางศาสนาเทศกาลและพิธีกรรมทางศาสนา
เทศกาลและพิธีกรรมทางศาสนาCC Nakhon Pathom Rajabhat University
 
บทที่ ๒ กรรมฐาน และบุรพกิจของการปฏิบัติกรรมฐาน
บทที่ ๒ กรรมฐาน และบุรพกิจของการปฏิบัติกรรมฐานบทที่ ๒ กรรมฐาน และบุรพกิจของการปฏิบัติกรรมฐาน
บทที่ ๒ กรรมฐาน และบุรพกิจของการปฏิบัติกรรมฐานpop Jaturong
 
พระพุทธศาสนาวัชรยาน Vajrayana Buddhism
พระพุทธศาสนาวัชรยาน Vajrayana Buddhismพระพุทธศาสนาวัชรยาน Vajrayana Buddhism
พระพุทธศาสนาวัชรยาน Vajrayana BuddhismPadvee Academy
 
เอกสารประกอบการบรรยายวิชาพระไตรปิฎกวิเคราะห์ (ตอน ๓) ๑๗ พ.ย.
เอกสารประกอบการบรรยายวิชาพระไตรปิฎกวิเคราะห์ (ตอน ๓) ๑๗ พ.ย.เอกสารประกอบการบรรยายวิชาพระไตรปิฎกวิเคราะห์ (ตอน ๓) ๑๗ พ.ย.
เอกสารประกอบการบรรยายวิชาพระไตรปิฎกวิเคราะห์ (ตอน ๓) ๑๗ พ.ย.วัดดอนทอง กาฬสินธุ์
 
บทที่ 7 สมถกัมมัฏฐาน
บทที่ 7 สมถกัมมัฏฐานบทที่ 7 สมถกัมมัฏฐาน
บทที่ 7 สมถกัมมัฏฐานOnpa Akaradech
 
ศาสนาสากล โดย ครูอัมพร
ศาสนาสากล                โดย ครูอัมพรศาสนาสากล                โดย ครูอัมพร
ศาสนาสากล โดย ครูอัมพรampy48
 
เปรียบเทียบพุทธปรัชญาและปรัชญาลัทธิครูทั้ง ๖
เปรียบเทียบพุทธปรัชญาและปรัชญาลัทธิครูทั้ง ๖เปรียบเทียบพุทธปรัชญาและปรัชญาลัทธิครูทั้ง ๖
เปรียบเทียบพุทธปรัชญาและปรัชญาลัทธิครูทั้ง ๖Anchalee BuddhaBucha
 
พุทธศาสนานิกายมหายาน
พุทธศาสนานิกายมหายานพุทธศาสนานิกายมหายาน
พุทธศาสนานิกายมหายานChainarong Maharak
 
บทที่ ๑ ประวัติและวิวัฒนาการของการปฏิบัติกรรมฐาน
บทที่ ๑ ประวัติและวิวัฒนาการของการปฏิบัติกรรมฐานบทที่ ๑ ประวัติและวิวัฒนาการของการปฏิบัติกรรมฐาน
บทที่ ๑ ประวัติและวิวัฒนาการของการปฏิบัติกรรมฐานpop Jaturong
 
ศาสนาเปรียบเทียบ 1
ศาสนาเปรียบเทียบ 1ศาสนาเปรียบเทียบ 1
ศาสนาเปรียบเทียบ 1thnaporn999
 
ปรัชญาเบื้องต้น บทที่ ๒ ความสัมพันธ์ระหว่างปรัชญา ศาสนา วิทยาศาสตร์
ปรัชญาเบื้องต้น บทที่ ๒ ความสัมพันธ์ระหว่างปรัชญา ศาสนา วิทยาศาสตร์ปรัชญาเบื้องต้น บทที่ ๒ ความสัมพันธ์ระหว่างปรัชญา ศาสนา วิทยาศาสตร์
ปรัชญาเบื้องต้น บทที่ ๒ ความสัมพันธ์ระหว่างปรัชญา ศาสนา วิทยาศาสตร์Padvee Academy
 

La actualidad más candente (20)

พุทธศาสนามหายานในไทย
พุทธศาสนามหายานในไทยพุทธศาสนามหายานในไทย
พุทธศาสนามหายานในไทย
 
พระพุทธศาสนา
พระพุทธศาสนาพระพุทธศาสนา
พระพุทธศาสนา
 
ศาสนายิว
ศาสนายิวศาสนายิว
ศาสนายิว
 
ปรัชญาเบื้องต้น บทที่ ๔ ญาณวิทยา
ปรัชญาเบื้องต้น บทที่ ๔ ญาณวิทยาปรัชญาเบื้องต้น บทที่ ๔ ญาณวิทยา
ปรัชญาเบื้องต้น บทที่ ๔ ญาณวิทยา
 
กรรมฐาน (สื่อการสอน ๒) สัปดาห์ที่ ๒
กรรมฐาน (สื่อการสอน ๒) สัปดาห์ที่ ๒กรรมฐาน (สื่อการสอน ๒) สัปดาห์ที่ ๒
กรรมฐาน (สื่อการสอน ๒) สัปดาห์ที่ ๒
 
บทที่ 3 ความแตกต่างระหว่างปรัชญากับศาสนา
บทที่ 3 ความแตกต่างระหว่างปรัชญากับศาสนาบทที่ 3 ความแตกต่างระหว่างปรัชญากับศาสนา
บทที่ 3 ความแตกต่างระหว่างปรัชญากับศาสนา
 
เทศกาลและพิธีกรรมทางศาสนา
เทศกาลและพิธีกรรมทางศาสนาเทศกาลและพิธีกรรมทางศาสนา
เทศกาลและพิธีกรรมทางศาสนา
 
บทที่ ๒ กรรมฐาน และบุรพกิจของการปฏิบัติกรรมฐาน
บทที่ ๒ กรรมฐาน และบุรพกิจของการปฏิบัติกรรมฐานบทที่ ๒ กรรมฐาน และบุรพกิจของการปฏิบัติกรรมฐาน
บทที่ ๒ กรรมฐาน และบุรพกิจของการปฏิบัติกรรมฐาน
 
พระพุทธศาสนาวัชรยาน Vajrayana Buddhism
พระพุทธศาสนาวัชรยาน Vajrayana Buddhismพระพุทธศาสนาวัชรยาน Vajrayana Buddhism
พระพุทธศาสนาวัชรยาน Vajrayana Buddhism
 
เอกสารประกอบการบรรยายวิชาพระไตรปิฎกวิเคราะห์ (ตอน ๓) ๑๗ พ.ย.
เอกสารประกอบการบรรยายวิชาพระไตรปิฎกวิเคราะห์ (ตอน ๓) ๑๗ พ.ย.เอกสารประกอบการบรรยายวิชาพระไตรปิฎกวิเคราะห์ (ตอน ๓) ๑๗ พ.ย.
เอกสารประกอบการบรรยายวิชาพระไตรปิฎกวิเคราะห์ (ตอน ๓) ๑๗ พ.ย.
 
บทที่ 7 สมถกัมมัฏฐาน
บทที่ 7 สมถกัมมัฏฐานบทที่ 7 สมถกัมมัฏฐาน
บทที่ 7 สมถกัมมัฏฐาน
 
ศาสนาสากล โดย ครูอัมพร
ศาสนาสากล                โดย ครูอัมพรศาสนาสากล                โดย ครูอัมพร
ศาสนาสากล โดย ครูอัมพร
 
บทความ (สังขาร)
บทความ (สังขาร)บทความ (สังขาร)
บทความ (สังขาร)
 
เปรียบเทียบพุทธปรัชญาและปรัชญาลัทธิครูทั้ง ๖
เปรียบเทียบพุทธปรัชญาและปรัชญาลัทธิครูทั้ง ๖เปรียบเทียบพุทธปรัชญาและปรัชญาลัทธิครูทั้ง ๖
เปรียบเทียบพุทธปรัชญาและปรัชญาลัทธิครูทั้ง ๖
 
ปรัชญาเบื้องต้น
ปรัชญาเบื้องต้นปรัชญาเบื้องต้น
ปรัชญาเบื้องต้น
 
พุทธศาสนานิกายมหายาน
พุทธศาสนานิกายมหายานพุทธศาสนานิกายมหายาน
พุทธศาสนานิกายมหายาน
 
บทที่ ๑ ประวัติและวิวัฒนาการของการปฏิบัติกรรมฐาน
บทที่ ๑ ประวัติและวิวัฒนาการของการปฏิบัติกรรมฐานบทที่ ๑ ประวัติและวิวัฒนาการของการปฏิบัติกรรมฐาน
บทที่ ๑ ประวัติและวิวัฒนาการของการปฏิบัติกรรมฐาน
 
ศาสนาเปรียบเทียบ 1
ศาสนาเปรียบเทียบ 1ศาสนาเปรียบเทียบ 1
ศาสนาเปรียบเทียบ 1
 
ศาสนาพราหมณ์
ศาสนาพราหมณ์ศาสนาพราหมณ์
ศาสนาพราหมณ์
 
ปรัชญาเบื้องต้น บทที่ ๒ ความสัมพันธ์ระหว่างปรัชญา ศาสนา วิทยาศาสตร์
ปรัชญาเบื้องต้น บทที่ ๒ ความสัมพันธ์ระหว่างปรัชญา ศาสนา วิทยาศาสตร์ปรัชญาเบื้องต้น บทที่ ๒ ความสัมพันธ์ระหว่างปรัชญา ศาสนา วิทยาศาสตร์
ปรัชญาเบื้องต้น บทที่ ๒ ความสัมพันธ์ระหว่างปรัชญา ศาสนา วิทยาศาสตร์
 

Destacado

บทที่ ๓ ศาสนาอียิปต์โบราณ
บทที่ ๓ ศาสนาอียิปต์โบราณบทที่ ๓ ศาสนาอียิปต์โบราณ
บทที่ ๓ ศาสนาอียิปต์โบราณPadvee Academy
 
วิเคราะห์ปรัชญาขงจื๊อ
วิเคราะห์ปรัชญาขงจื๊อวิเคราะห์ปรัชญาขงจื๊อ
วิเคราะห์ปรัชญาขงจื๊อPadvee Academy
 
บทที่ ๗ ศาสนาเฮบรู
บทที่ ๗ ศาสนาเฮบรูบทที่ ๗ ศาสนาเฮบรู
บทที่ ๗ ศาสนาเฮบรูPadvee Academy
 
บทที่ ๔ ศาสนาสุเมเรียน
บทที่ ๔ ศาสนาสุเมเรียนบทที่ ๔ ศาสนาสุเมเรียน
บทที่ ๔ ศาสนาสุเมเรียนPadvee Academy
 
วิชาปรัชญาจีน ตอน ปรัชญาเม่งจื๊อ
วิชาปรัชญาจีน ตอน ปรัชญาเม่งจื๊อวิชาปรัชญาจีน ตอน ปรัชญาเม่งจื๊อ
วิชาปรัชญาจีน ตอน ปรัชญาเม่งจื๊อPadvee Academy
 
ปรัชญาตะวันตก บทที่ ๖ ปรัชญากรีกสมัยเสื่อม
ปรัชญาตะวันตก บทที่ ๖ ปรัชญากรีกสมัยเสื่อมปรัชญาตะวันตก บทที่ ๖ ปรัชญากรีกสมัยเสื่อม
ปรัชญาตะวันตก บทที่ ๖ ปรัชญากรีกสมัยเสื่อมPadvee Academy
 
ความฉลาดทางอารมณ์และการพัฒนาจิตใจ
ความฉลาดทางอารมณ์และการพัฒนาจิตใจความฉลาดทางอารมณ์และการพัฒนาจิตใจ
ความฉลาดทางอารมณ์และการพัฒนาจิตใจPadvee Academy
 
พุทธสันติวิธี
พุทธสันติวิธีพุทธสันติวิธี
พุทธสันติวิธีPadvee Academy
 
แนวคิดเรื่องการพยากรณ์ในคัมภีร์พุทธศาสนา
แนวคิดเรื่องการพยากรณ์ในคัมภีร์พุทธศาสนาแนวคิดเรื่องการพยากรณ์ในคัมภีร์พุทธศาสนา
แนวคิดเรื่องการพยากรณ์ในคัมภีร์พุทธศาสนาPadvee Academy
 
แนวคิดและอุดมคติพระโพธิสัตว์ในพุทธศาสนามหายาน
แนวคิดและอุดมคติพระโพธิสัตว์ในพุทธศาสนามหายานแนวคิดและอุดมคติพระโพธิสัตว์ในพุทธศาสนามหายาน
แนวคิดและอุดมคติพระโพธิสัตว์ในพุทธศาสนามหายานPadvee Academy
 
ปรัชญาเบื้องต้น บทที่ ๕ คุณวิทยา
ปรัชญาเบื้องต้น บทที่ ๕ คุณวิทยาปรัชญาเบื้องต้น บทที่ ๕ คุณวิทยา
ปรัชญาเบื้องต้น บทที่ ๕ คุณวิทยาPadvee Academy
 
บทที่ ๕ ศาสนาบาบิโลเนียน
บทที่ ๕ ศาสนาบาบิโลเนียนบทที่ ๕ ศาสนาบาบิโลเนียน
บทที่ ๕ ศาสนาบาบิโลเนียนPadvee Academy
 
บทที่ ๖ ศาสนาอัสสิเรีย โบราณ
บทที่ ๖ ศาสนาอัสสิเรีย โบราณบทที่ ๖ ศาสนาอัสสิเรีย โบราณ
บทที่ ๖ ศาสนาอัสสิเรีย โบราณPadvee Academy
 
ธรรมาภิบาลกับปัญหาคอรัปชั่นในประเทศไทย
ธรรมาภิบาลกับปัญหาคอรัปชั่นในประเทศไทยธรรมาภิบาลกับปัญหาคอรัปชั่นในประเทศไทย
ธรรมาภิบาลกับปัญหาคอรัปชั่นในประเทศไทยPadvee Academy
 
ปรัชญาอัตถิภาวนิยมของนิทเช่ (Friedrich nietzsche)
ปรัชญาอัตถิภาวนิยมของนิทเช่ (Friedrich nietzsche)ปรัชญาอัตถิภาวนิยมของนิทเช่ (Friedrich nietzsche)
ปรัชญาอัตถิภาวนิยมของนิทเช่ (Friedrich nietzsche)Padvee Academy
 
ปรัชญาหยางจื๊อ (Yang tzu)
ปรัชญาหยางจื๊อ (Yang  tzu)ปรัชญาหยางจื๊อ (Yang  tzu)
ปรัชญาหยางจื๊อ (Yang tzu)Padvee Academy
 
วิชาปรัชญาจีน ตอน ปรัชญาบั๊คจื๊อ (ม่อจื๊อ)
วิชาปรัชญาจีน ตอน ปรัชญาบั๊คจื๊อ (ม่อจื๊อ)วิชาปรัชญาจีน ตอน ปรัชญาบั๊คจื๊อ (ม่อจื๊อ)
วิชาปรัชญาจีน ตอน ปรัชญาบั๊คจื๊อ (ม่อจื๊อ)Padvee Academy
 
วิชาปรัชญาจีน ตอน ปรัชญาขงจื๊อ
วิชาปรัชญาจีน ตอน ปรัชญาขงจื๊อวิชาปรัชญาจีน ตอน ปรัชญาขงจื๊อ
วิชาปรัชญาจีน ตอน ปรัชญาขงจื๊อPadvee Academy
 
วิชาปรัชญาจีน ตอน ปรัชญาฮั่นเฟยจื๊อ
วิชาปรัชญาจีน ตอน ปรัชญาฮั่นเฟยจื๊อวิชาปรัชญาจีน ตอน ปรัชญาฮั่นเฟยจื๊อ
วิชาปรัชญาจีน ตอน ปรัชญาฮั่นเฟยจื๊อPadvee Academy
 
การเข้ามาและพัฒนาการพุทธศาสนาในประเทศไทย
การเข้ามาและพัฒนาการพุทธศาสนาในประเทศไทยการเข้ามาและพัฒนาการพุทธศาสนาในประเทศไทย
การเข้ามาและพัฒนาการพุทธศาสนาในประเทศไทยPadvee Academy
 

Destacado (20)

บทที่ ๓ ศาสนาอียิปต์โบราณ
บทที่ ๓ ศาสนาอียิปต์โบราณบทที่ ๓ ศาสนาอียิปต์โบราณ
บทที่ ๓ ศาสนาอียิปต์โบราณ
 
วิเคราะห์ปรัชญาขงจื๊อ
วิเคราะห์ปรัชญาขงจื๊อวิเคราะห์ปรัชญาขงจื๊อ
วิเคราะห์ปรัชญาขงจื๊อ
 
บทที่ ๗ ศาสนาเฮบรู
บทที่ ๗ ศาสนาเฮบรูบทที่ ๗ ศาสนาเฮบรู
บทที่ ๗ ศาสนาเฮบรู
 
บทที่ ๔ ศาสนาสุเมเรียน
บทที่ ๔ ศาสนาสุเมเรียนบทที่ ๔ ศาสนาสุเมเรียน
บทที่ ๔ ศาสนาสุเมเรียน
 
วิชาปรัชญาจีน ตอน ปรัชญาเม่งจื๊อ
วิชาปรัชญาจีน ตอน ปรัชญาเม่งจื๊อวิชาปรัชญาจีน ตอน ปรัชญาเม่งจื๊อ
วิชาปรัชญาจีน ตอน ปรัชญาเม่งจื๊อ
 
ปรัชญาตะวันตก บทที่ ๖ ปรัชญากรีกสมัยเสื่อม
ปรัชญาตะวันตก บทที่ ๖ ปรัชญากรีกสมัยเสื่อมปรัชญาตะวันตก บทที่ ๖ ปรัชญากรีกสมัยเสื่อม
ปรัชญาตะวันตก บทที่ ๖ ปรัชญากรีกสมัยเสื่อม
 
ความฉลาดทางอารมณ์และการพัฒนาจิตใจ
ความฉลาดทางอารมณ์และการพัฒนาจิตใจความฉลาดทางอารมณ์และการพัฒนาจิตใจ
ความฉลาดทางอารมณ์และการพัฒนาจิตใจ
 
พุทธสันติวิธี
พุทธสันติวิธีพุทธสันติวิธี
พุทธสันติวิธี
 
แนวคิดเรื่องการพยากรณ์ในคัมภีร์พุทธศาสนา
แนวคิดเรื่องการพยากรณ์ในคัมภีร์พุทธศาสนาแนวคิดเรื่องการพยากรณ์ในคัมภีร์พุทธศาสนา
แนวคิดเรื่องการพยากรณ์ในคัมภีร์พุทธศาสนา
 
แนวคิดและอุดมคติพระโพธิสัตว์ในพุทธศาสนามหายาน
แนวคิดและอุดมคติพระโพธิสัตว์ในพุทธศาสนามหายานแนวคิดและอุดมคติพระโพธิสัตว์ในพุทธศาสนามหายาน
แนวคิดและอุดมคติพระโพธิสัตว์ในพุทธศาสนามหายาน
 
ปรัชญาเบื้องต้น บทที่ ๕ คุณวิทยา
ปรัชญาเบื้องต้น บทที่ ๕ คุณวิทยาปรัชญาเบื้องต้น บทที่ ๕ คุณวิทยา
ปรัชญาเบื้องต้น บทที่ ๕ คุณวิทยา
 
บทที่ ๕ ศาสนาบาบิโลเนียน
บทที่ ๕ ศาสนาบาบิโลเนียนบทที่ ๕ ศาสนาบาบิโลเนียน
บทที่ ๕ ศาสนาบาบิโลเนียน
 
บทที่ ๖ ศาสนาอัสสิเรีย โบราณ
บทที่ ๖ ศาสนาอัสสิเรีย โบราณบทที่ ๖ ศาสนาอัสสิเรีย โบราณ
บทที่ ๖ ศาสนาอัสสิเรีย โบราณ
 
ธรรมาภิบาลกับปัญหาคอรัปชั่นในประเทศไทย
ธรรมาภิบาลกับปัญหาคอรัปชั่นในประเทศไทยธรรมาภิบาลกับปัญหาคอรัปชั่นในประเทศไทย
ธรรมาภิบาลกับปัญหาคอรัปชั่นในประเทศไทย
 
ปรัชญาอัตถิภาวนิยมของนิทเช่ (Friedrich nietzsche)
ปรัชญาอัตถิภาวนิยมของนิทเช่ (Friedrich nietzsche)ปรัชญาอัตถิภาวนิยมของนิทเช่ (Friedrich nietzsche)
ปรัชญาอัตถิภาวนิยมของนิทเช่ (Friedrich nietzsche)
 
ปรัชญาหยางจื๊อ (Yang tzu)
ปรัชญาหยางจื๊อ (Yang  tzu)ปรัชญาหยางจื๊อ (Yang  tzu)
ปรัชญาหยางจื๊อ (Yang tzu)
 
วิชาปรัชญาจีน ตอน ปรัชญาบั๊คจื๊อ (ม่อจื๊อ)
วิชาปรัชญาจีน ตอน ปรัชญาบั๊คจื๊อ (ม่อจื๊อ)วิชาปรัชญาจีน ตอน ปรัชญาบั๊คจื๊อ (ม่อจื๊อ)
วิชาปรัชญาจีน ตอน ปรัชญาบั๊คจื๊อ (ม่อจื๊อ)
 
วิชาปรัชญาจีน ตอน ปรัชญาขงจื๊อ
วิชาปรัชญาจีน ตอน ปรัชญาขงจื๊อวิชาปรัชญาจีน ตอน ปรัชญาขงจื๊อ
วิชาปรัชญาจีน ตอน ปรัชญาขงจื๊อ
 
วิชาปรัชญาจีน ตอน ปรัชญาฮั่นเฟยจื๊อ
วิชาปรัชญาจีน ตอน ปรัชญาฮั่นเฟยจื๊อวิชาปรัชญาจีน ตอน ปรัชญาฮั่นเฟยจื๊อ
วิชาปรัชญาจีน ตอน ปรัชญาฮั่นเฟยจื๊อ
 
การเข้ามาและพัฒนาการพุทธศาสนาในประเทศไทย
การเข้ามาและพัฒนาการพุทธศาสนาในประเทศไทยการเข้ามาและพัฒนาการพุทธศาสนาในประเทศไทย
การเข้ามาและพัฒนาการพุทธศาสนาในประเทศไทย
 

Similar a ศาสนาโบราณ บทที่ ๒

03ศาสนาเชน...ใหม่ 007
03ศาสนาเชน...ใหม่ 00703ศาสนาเชน...ใหม่ 007
03ศาสนาเชน...ใหม่ 007Dream'Es W.c.
 
ศาสนาเปรียบเทียบ
ศาสนาเปรียบเทียบศาสนาเปรียบเทียบ
ศาสนาเปรียบเทียบthnaporn999
 
ศาสนาเปรียบเทียบ
ศาสนาเปรียบเทียบศาสนาเปรียบเทียบ
ศาสนาเปรียบเทียบthnaporn999
 
ศาสนาพราหมณ์ ฮินดู
ศาสนาพราหมณ์ ฮินดูศาสนาพราหมณ์ ฮินดู
ศาสนาพราหมณ์ ฮินดูJani Kp
 
ความรู้เรื่องศาสนาแผ่นพับ
ความรู้เรื่องศาสนาแผ่นพับความรู้เรื่องศาสนาแผ่นพับ
ความรู้เรื่องศาสนาแผ่นพับniralai
 
บทที่ 1 ศาสนาคืออะไร
บทที่ 1 ศาสนาคืออะไรบทที่ 1 ศาสนาคืออะไร
บทที่ 1 ศาสนาคืออะไรPadvee Academy
 
การสร้างภูมิปัญญาไทย
การสร้างภูมิปัญญาไทยการสร้างภูมิปัญญาไทย
การสร้างภูมิปัญญาไทยKunnai- เบ้
 
ประวัติพุทธสาวก
ประวัติพุทธสาวกประวัติพุทธสาวก
ประวัติพุทธสาวกchaichaichaiyoyoyo
 
ศาสนาพราหมณ์
ศาสนาพราหมณ์ศาสนาพราหมณ์
ศาสนาพราหมณ์sorrachat keawjam
 

Similar a ศาสนาโบราณ บทที่ ๒ (10)

03ศาสนาเชน...ใหม่ 007
03ศาสนาเชน...ใหม่ 00703ศาสนาเชน...ใหม่ 007
03ศาสนาเชน...ใหม่ 007
 
ศาสนาเปรียบเทียบ
ศาสนาเปรียบเทียบศาสนาเปรียบเทียบ
ศาสนาเปรียบเทียบ
 
ศาสนาเปรียบเทียบ
ศาสนาเปรียบเทียบศาสนาเปรียบเทียบ
ศาสนาเปรียบเทียบ
 
ศาสนาพราหมณ์ ฮินดู
ศาสนาพราหมณ์ ฮินดูศาสนาพราหมณ์ ฮินดู
ศาสนาพราหมณ์ ฮินดู
 
ความรู้เรื่องศาสนาแผ่นพับ
ความรู้เรื่องศาสนาแผ่นพับความรู้เรื่องศาสนาแผ่นพับ
ความรู้เรื่องศาสนาแผ่นพับ
 
บทที่ 1 ศาสนาคืออะไร
บทที่ 1 ศาสนาคืออะไรบทที่ 1 ศาสนาคืออะไร
บทที่ 1 ศาสนาคืออะไร
 
การสร้างภูมิปัญญาไทย
การสร้างภูมิปัญญาไทยการสร้างภูมิปัญญาไทย
การสร้างภูมิปัญญาไทย
 
บทที่ 1
บทที่ 1บทที่ 1
บทที่ 1
 
ประวัติพุทธสาวก
ประวัติพุทธสาวกประวัติพุทธสาวก
ประวัติพุทธสาวก
 
ศาสนาพราหมณ์
ศาสนาพราหมณ์ศาสนาพราหมณ์
ศาสนาพราหมณ์
 

Más de Padvee Academy

หนังสือสอนใช้ WordPress สำหรับผู้เริ่มต้น [ฉบับ E-book]
หนังสือสอนใช้ WordPress สำหรับผู้เริ่มต้น [ฉบับ E-book]หนังสือสอนใช้ WordPress สำหรับผู้เริ่มต้น [ฉบับ E-book]
หนังสือสอนใช้ WordPress สำหรับผู้เริ่มต้น [ฉบับ E-book]Padvee Academy
 
Onpage stucture checklist
Onpage stucture checklist Onpage stucture checklist
Onpage stucture checklist Padvee Academy
 
ปรัชญาอัตถิภาวนิยมของ ฌอง ปอล ซาร์ต (Jean paul sartre)
ปรัชญาอัตถิภาวนิยมของ ฌอง ปอล ซาร์ต (Jean paul sartre)ปรัชญาอัตถิภาวนิยมของ ฌอง ปอล ซาร์ต (Jean paul sartre)
ปรัชญาอัตถิภาวนิยมของ ฌอง ปอล ซาร์ต (Jean paul sartre)Padvee Academy
 
ปรัชญาทั่วไป ตอน ปรัชญาอินเดีย
ปรัชญาทั่วไป ตอน ปรัชญาอินเดียปรัชญาทั่วไป ตอน ปรัชญาอินเดีย
ปรัชญาทั่วไป ตอน ปรัชญาอินเดียPadvee Academy
 
ปรัชญากับวิถีชีวิต
ปรัชญากับวิถีชีวิตปรัชญากับวิถีชีวิต
ปรัชญากับวิถีชีวิตPadvee Academy
 
ปรัชญาทั่วไป ตอน ทำความรู้จักกับปรัชญา
ปรัชญาทั่วไป ตอน ทำความรู้จักกับปรัชญาปรัชญาทั่วไป ตอน ทำความรู้จักกับปรัชญา
ปรัชญาทั่วไป ตอน ทำความรู้จักกับปรัชญาPadvee Academy
 
5 ขั้นตอนที่ต้องรู้ก่อนทำเว็บไซต์
5 ขั้นตอนที่ต้องรู้ก่อนทำเว็บไซต์5 ขั้นตอนที่ต้องรู้ก่อนทำเว็บไซต์
5 ขั้นตอนที่ต้องรู้ก่อนทำเว็บไซต์Padvee Academy
 
สรุปเนื้อหา ปรัชญาเบื้องต้น ตอน โทมัส ฮอบส์ (Thomas hobbes)
สรุปเนื้อหา ปรัชญาเบื้องต้น ตอน โทมัส  ฮอบส์ (Thomas hobbes)สรุปเนื้อหา ปรัชญาเบื้องต้น ตอน โทมัส  ฮอบส์ (Thomas hobbes)
สรุปเนื้อหา ปรัชญาเบื้องต้น ตอน โทมัส ฮอบส์ (Thomas hobbes)Padvee Academy
 
พุทธศาสนามหายาน นิกายสุขาวดี | Pure Land Buddhism
พุทธศาสนามหายาน นิกายสุขาวดี | Pure Land Buddhismพุทธศาสนามหายาน นิกายสุขาวดี | Pure Land Buddhism
พุทธศาสนามหายาน นิกายสุขาวดี | Pure Land BuddhismPadvee Academy
 
Timeline : history of philosophy
Timeline : history of philosophyTimeline : history of philosophy
Timeline : history of philosophyPadvee Academy
 
Timeline : A History of Eastern Philosophy
Timeline : A History of Eastern PhilosophyTimeline : A History of Eastern Philosophy
Timeline : A History of Eastern PhilosophyPadvee Academy
 
รูปภาพ Infographic สรุปแนวคิดที่สำคัญทาง จริยศาสตร์
รูปภาพ Infographic สรุปแนวคิดที่สำคัญทาง จริยศาสตร์รูปภาพ Infographic สรุปแนวคิดที่สำคัญทาง จริยศาสตร์
รูปภาพ Infographic สรุปแนวคิดที่สำคัญทาง จริยศาสตร์Padvee Academy
 
เทพเจ้ากรีกและโรมัน (The greek and roman gods Infographic)
เทพเจ้ากรีกและโรมัน (The greek and roman gods Infographic)เทพเจ้ากรีกและโรมัน (The greek and roman gods Infographic)
เทพเจ้ากรีกและโรมัน (The greek and roman gods Infographic)Padvee Academy
 
ศิลปะแห่งความรัก
ศิลปะแห่งความรักศิลปะแห่งความรัก
ศิลปะแห่งความรักPadvee Academy
 
รากฐานแห่งอภิปรัชญาของศีลธรรม โดย ค้านท์ (Kants groundwork of the metaphysics...
รากฐานแห่งอภิปรัชญาของศีลธรรม โดย ค้านท์ (Kants groundwork of the metaphysics...รากฐานแห่งอภิปรัชญาของศีลธรรม โดย ค้านท์ (Kants groundwork of the metaphysics...
รากฐานแห่งอภิปรัชญาของศีลธรรม โดย ค้านท์ (Kants groundwork of the metaphysics...Padvee Academy
 
สัทธรรมปุณฑริกสูตร (The Lotus of The True Law)
สัทธรรมปุณฑริกสูตร (The Lotus of The True Law)สัทธรรมปุณฑริกสูตร (The Lotus of The True Law)
สัทธรรมปุณฑริกสูตร (The Lotus of The True Law)Padvee Academy
 
ธรรมนิเทศ Dhamma Communication
ธรรมนิเทศ Dhamma Communicationธรรมนิเทศ Dhamma Communication
ธรรมนิเทศ Dhamma CommunicationPadvee Academy
 
ศาสนาบาไฮ
ศาสนาบาไฮศาสนาบาไฮ
ศาสนาบาไฮPadvee Academy
 
ประวัติศาสตร์การเมืองการปกครองของไทย
ประวัติศาสตร์การเมืองการปกครองของไทยประวัติศาสตร์การเมืองการปกครองของไทย
ประวัติศาสตร์การเมืองการปกครองของไทยPadvee Academy
 
แนวคิดเรื่อง “สังฆะ” ของหมู่บ้านพลัม
แนวคิดเรื่อง “สังฆะ” ของหมู่บ้านพลัม  แนวคิดเรื่อง “สังฆะ” ของหมู่บ้านพลัม
แนวคิดเรื่อง “สังฆะ” ของหมู่บ้านพลัม Padvee Academy
 

Más de Padvee Academy (20)

หนังสือสอนใช้ WordPress สำหรับผู้เริ่มต้น [ฉบับ E-book]
หนังสือสอนใช้ WordPress สำหรับผู้เริ่มต้น [ฉบับ E-book]หนังสือสอนใช้ WordPress สำหรับผู้เริ่มต้น [ฉบับ E-book]
หนังสือสอนใช้ WordPress สำหรับผู้เริ่มต้น [ฉบับ E-book]
 
Onpage stucture checklist
Onpage stucture checklist Onpage stucture checklist
Onpage stucture checklist
 
ปรัชญาอัตถิภาวนิยมของ ฌอง ปอล ซาร์ต (Jean paul sartre)
ปรัชญาอัตถิภาวนิยมของ ฌอง ปอล ซาร์ต (Jean paul sartre)ปรัชญาอัตถิภาวนิยมของ ฌอง ปอล ซาร์ต (Jean paul sartre)
ปรัชญาอัตถิภาวนิยมของ ฌอง ปอล ซาร์ต (Jean paul sartre)
 
ปรัชญาทั่วไป ตอน ปรัชญาอินเดีย
ปรัชญาทั่วไป ตอน ปรัชญาอินเดียปรัชญาทั่วไป ตอน ปรัชญาอินเดีย
ปรัชญาทั่วไป ตอน ปรัชญาอินเดีย
 
ปรัชญากับวิถีชีวิต
ปรัชญากับวิถีชีวิตปรัชญากับวิถีชีวิต
ปรัชญากับวิถีชีวิต
 
ปรัชญาทั่วไป ตอน ทำความรู้จักกับปรัชญา
ปรัชญาทั่วไป ตอน ทำความรู้จักกับปรัชญาปรัชญาทั่วไป ตอน ทำความรู้จักกับปรัชญา
ปรัชญาทั่วไป ตอน ทำความรู้จักกับปรัชญา
 
5 ขั้นตอนที่ต้องรู้ก่อนทำเว็บไซต์
5 ขั้นตอนที่ต้องรู้ก่อนทำเว็บไซต์5 ขั้นตอนที่ต้องรู้ก่อนทำเว็บไซต์
5 ขั้นตอนที่ต้องรู้ก่อนทำเว็บไซต์
 
สรุปเนื้อหา ปรัชญาเบื้องต้น ตอน โทมัส ฮอบส์ (Thomas hobbes)
สรุปเนื้อหา ปรัชญาเบื้องต้น ตอน โทมัส  ฮอบส์ (Thomas hobbes)สรุปเนื้อหา ปรัชญาเบื้องต้น ตอน โทมัส  ฮอบส์ (Thomas hobbes)
สรุปเนื้อหา ปรัชญาเบื้องต้น ตอน โทมัส ฮอบส์ (Thomas hobbes)
 
พุทธศาสนามหายาน นิกายสุขาวดี | Pure Land Buddhism
พุทธศาสนามหายาน นิกายสุขาวดี | Pure Land Buddhismพุทธศาสนามหายาน นิกายสุขาวดี | Pure Land Buddhism
พุทธศาสนามหายาน นิกายสุขาวดี | Pure Land Buddhism
 
Timeline : history of philosophy
Timeline : history of philosophyTimeline : history of philosophy
Timeline : history of philosophy
 
Timeline : A History of Eastern Philosophy
Timeline : A History of Eastern PhilosophyTimeline : A History of Eastern Philosophy
Timeline : A History of Eastern Philosophy
 
รูปภาพ Infographic สรุปแนวคิดที่สำคัญทาง จริยศาสตร์
รูปภาพ Infographic สรุปแนวคิดที่สำคัญทาง จริยศาสตร์รูปภาพ Infographic สรุปแนวคิดที่สำคัญทาง จริยศาสตร์
รูปภาพ Infographic สรุปแนวคิดที่สำคัญทาง จริยศาสตร์
 
เทพเจ้ากรีกและโรมัน (The greek and roman gods Infographic)
เทพเจ้ากรีกและโรมัน (The greek and roman gods Infographic)เทพเจ้ากรีกและโรมัน (The greek and roman gods Infographic)
เทพเจ้ากรีกและโรมัน (The greek and roman gods Infographic)
 
ศิลปะแห่งความรัก
ศิลปะแห่งความรักศิลปะแห่งความรัก
ศิลปะแห่งความรัก
 
รากฐานแห่งอภิปรัชญาของศีลธรรม โดย ค้านท์ (Kants groundwork of the metaphysics...
รากฐานแห่งอภิปรัชญาของศีลธรรม โดย ค้านท์ (Kants groundwork of the metaphysics...รากฐานแห่งอภิปรัชญาของศีลธรรม โดย ค้านท์ (Kants groundwork of the metaphysics...
รากฐานแห่งอภิปรัชญาของศีลธรรม โดย ค้านท์ (Kants groundwork of the metaphysics...
 
สัทธรรมปุณฑริกสูตร (The Lotus of The True Law)
สัทธรรมปุณฑริกสูตร (The Lotus of The True Law)สัทธรรมปุณฑริกสูตร (The Lotus of The True Law)
สัทธรรมปุณฑริกสูตร (The Lotus of The True Law)
 
ธรรมนิเทศ Dhamma Communication
ธรรมนิเทศ Dhamma Communicationธรรมนิเทศ Dhamma Communication
ธรรมนิเทศ Dhamma Communication
 
ศาสนาบาไฮ
ศาสนาบาไฮศาสนาบาไฮ
ศาสนาบาไฮ
 
ประวัติศาสตร์การเมืองการปกครองของไทย
ประวัติศาสตร์การเมืองการปกครองของไทยประวัติศาสตร์การเมืองการปกครองของไทย
ประวัติศาสตร์การเมืองการปกครองของไทย
 
แนวคิดเรื่อง “สังฆะ” ของหมู่บ้านพลัม
แนวคิดเรื่อง “สังฆะ” ของหมู่บ้านพลัม  แนวคิดเรื่อง “สังฆะ” ของหมู่บ้านพลัม
แนวคิดเรื่อง “สังฆะ” ของหมู่บ้านพลัม
 

ศาสนาโบราณ บทที่ ๒