SlideShare una empresa de Scribd logo
1 de 29
ปรัชญาเบื้องต้น
บทที่ ๔ ญาณวิทยา
บทที่ ๔ ญาณวิทยา
 ขอบข่ายเนื้อหา
ความหมายและความสาคัญของญาณวิทยา
บ่อเกิดและขอบเขตของญาณวิทยา
ทฤษฎีทางญาณวิทยา
Tell me and I will forget
Show me and I will remember,
Involve me and I will understand
ญาณวิทยา
Epistemology
คือ ทฤษฎีที่ว่าด้วยความรู้ ซึ่งนามาอธิบายความจริง
เป็นกฎเกณฑ์ที่มาจากเหตุผล เป็นวิธีการที่ทาให้เกิด
ความรู้จากความจริง รู้สาเหตุที่ให้เกิดเรื่องนั้น โ ยดย
การใช้ทฤษฎีวิเคราะห์ปัญหา เป็นความพยายามตอบ
คาถามและหาความหมายเกี่ยวกับความรู้ในด้านต่าง โ
ยดยเน้นว่า เรารู้ความจริงนั้นได้อย่างไร (How to know reality?)
ญาณวิทยา
วิชาว่าด้วยความรู้หรือทฤษฎีว่าด้วยความรู้
Epistemology
ญาณ วิทยา
Espisteme Logos
วิชาหรือความรู้ความรู้
+
ความรู้ หรือ Knowledge ทฤษฎี หรือ ศาสตร์
+
๔.๒ ความหมายของญาณวิทยา
ความสาคัญของญาณวิทยา
เป็นหัวใจในการดาเนินการหาความรู้
“การศึกษากรรมวิธีแห่งความรู้ของเราด้วยวิจารณญาณ
ควรจะเป็นพื้นฐานของความคิดคานึงทุกอย่าง”
**ลัทธิค้านท์ใหม่
บ่อเกิดของญาณวิทยา
 บ่อเกิดของญาณวิทยาเกิดขึ้นจากแนวความคิดทางปรัชญา ที่ต้องการ
อธิบายการเกิดขึ้นของความรู้ของมนุษย์ ซึ่งต่อมาแนวความคิดทางปรัชญา
นี้ได้พัฒนาเป็นทฤษฎีญาณวิทยา เช่น
ทฤษฎีเหตุผลนิยม (Rationalism)
ทฤษฎีประจักษ์นิยม (Empiricism)
ทฤษฎีอนุมานนิยม หรือทฤษฎีความรู้เชิงวิจารณ์ (Apiorism)
ทฤษฎีสัญชาตญาณนิยม หรืออัชฌัตติกญาณ (Intuitionism)
ขอบเขตของญาณวิทยา
๑) วิธีสร้างความรู้
๒) ธรรมชาติของความรู้
๓) ความแท้จริงของความรู้
๔) เงื่อนไขหรือเหตุปัจจัยแห่งความรู้
๕) มาตรฐานในการตัดสินความรู้
 การสร้างความรู้มี 4 วิธีคือ
 วิธีที่ยึดถือลัทธิที่มีอยู่ตั้งแต่เดิม
 วิธีตั้งข้อสงสัย แล้วสร้างความรู้ขึ้น
 วิธีวิจารณ์ พิจารณาสมเหตุสมผล
 วิภาษวิธี ข้อยต้ตอบ
๑) วิธีสร้างความรู้
 กลุ่มจิตนิยม
 เชื่อว่า ธรรมชาติของความรู้อยู่ที่บุคคลหรืออยู่ที่จิต
 กลุ่มสัจนิยม
 เชื่อว่า วัตถุและคุณสมบัติมีความจริงอยู่ในตัวของมันเอง
 กลุ่มสัมพัทธนิยม
 เชื่อว่า ธรรมชาติของความรู้เกิดขึ้นได้เพราะความสัมพันธ์ของ จิต กับ
วัตถุ
๒) ธรรมชาติของความรู้
 ๑. ทฤษฎีสมนัย คือ มีความรู้หรือเหตุผลตรงกัน ด้วยอาศัยความคิดที่ทุกคน
มีเป็นพื้นฐานอยู่แล้ว
 เช่น สุทธิชัย พูดว่า “ชุมพรอยู่ทางทิศใต้ของกรุงเทพ”
 ๒. ทฤษฎีความสอดคล้อง จะอธิบายสิ่งใด ต้องตรงตามสภาวะที่สิ่งนั้น
เป็นอยู่จริงโ
 เช่น ไม้ย่อมลอยน้า
 ๓. ทฤษฎีปฏิบัตินิยม ทฤษฎีต่างโ ต้องนาไปปฏิบัติให้เกิดประยยชน์จริงได้
๓) ความแท้จริงของความรู้
 นักปราชญ์ ฝ่ายตะวันตกเรียกว่า คาทีกอรี่ (Categories) คือ
 1. สสาร
 2. กาล
 3. เทศะ
 4. ความเป็นเหตุเป็นผล
๔) เงื่อนไขหรือเหตุปัจจัยแห่งความรู้
 มี ๒ ลัทธิ ที่อธิบายไว้ คือ
๕) มาตรฐานในการตัดสินความรู้
(๑) ลัทธิประจักษวาท เชื่อว่า “ความรู้สามารถเปิ ดเผยตัวเองได้
ทั้งผุดขึ้นในจิตของบุคคล และความรู้จริงจะต้องอาศัยประสบการณ์”
(๒) ลัทธิวิวรตวาท เชื่อว่า “ความรู้ไม่สามารถเปิ ดเผยตัวเองได้
จะผุดขึ้นในใจก็ไม่ได้ แต่ความรู้จะเกิดขึ้นได้ ต่อเมื่อมีสื่อกลาง
ที่จะทาให้เกิดความรู้”
ทฤษฎีญาณวิทยา
เหตุผลนิยม- ความเข้าใจ (understanding)
ประสบการณ์นิยม – ผัสสะ (sensation)
ลัทธิค้านท์ - ทั้งความเข้าใจและผัสสะ
สัญชาตญาณนิยม - อัชฌัตติกญาณ (intuition)
วิวรณ์ - การเปิ ดเผยจากพระเจ้า (revelation)
พระพุทธศาสนา – ตรัสรู้ (enlightenment)
 คือแนวความคิดที่ถือว่ามนุษย์มีความรู้ติดตัวมาตั้งแต่เกิด ซึ่งความรู้
นั้นจัดว่าเป็นความรู้ที่แท้จริง เป็นอิสระจากประสบการณ์ ถือว่าเป็นความรู้ที่
แน่นอนตายตัว ที่เรียกว่า ความจริงที่จาเป็น (necessary truth) จะต้องไม่
เป็นความจริงที่ไม่แน่นอน (contingent truth)
 กิจกรรมทางปัญญา คือ การคิดตามเหตุผลซึ่งจะเป็นเครื่องมือที่
สามารถนามนุษย์ไปสู่ความรู้ที่แน่นอนได้
 ใช้วิธีการนิรนัย (Deduction) ในการแสวงหาความรู้
เหตุผลนิยม (Rationalism)
นักปรัชญาในกลุ่มเหตุผลนิยม
๑. เรอเน เดการ์ตส์ (Rene Decartes : 1596 – 1650)
๒. บารุค สปิ ยนซา (Baruch Spinoza : 1632 – 1677)
๓. คอทฟริด วินเฮล์ม ฟอน ไลบ์นิช (Cottfried Wilhelm Von Leibniz
: 1646 – 1716)
เรอเน เดการ์ตส์ (Rene Decartes : 1596 – 1650)
บิดาของปรัชญาสมัยใหม่ ผู้ถือว่า
“มนุษย์มีความรู้ติดตัวมาตั้งแต่เกิด”
(Innate Idea)
คว า ม รู้ ใ น ใ จ ข อ ง ม นุ ษ ย์นั้น ก็
เหมือนกับน้าที่มีอยู่ในแผ่นดิน ถ้ารู้จัก
วิธีการขุดก็จะทาให้สามารถค้นพบน้าคือ
ความรู้ในจิตของมนุษย์ได้อย่างไม่ยาก
ประสบการณ์นิยม (Empiricism)
• คือแนวความคิดที่ถือว่าความรู้ของมนุษย์มีบ่อเกิดมา
จากประสบการณ์เท่านั้น (Experience) ซึ่งหมายถึงว่า ความรู้
เหล่านั้นจะต้องผ่านประสาทสัมผัสทั้ง 5 คือ ตา หู จมูก ลิ้น กาย
อย่างเดียว
• ใช้วิธีการอุปนัย (Induction) ในการแสวงหาความรู้
นักปรัชญาในกลุ่มประสบการณ์นิยม
1. ฟรานซิส เบคอน (Francis Bacon : 1561 – 1626)
2. ยทมัส ฮอบส์ (Thomas Hobbes : 1588 – 1679)
3. จอห์น ล็อค (John Locke : 1632 – 1704)
4. เดวิด ฮิวม์(David Hume : 1711 – 1776)
1 2 3 4
ฟรานซิส เบคอน พูดถึงเทวรูปคืออคติในใจมนุษย์
ว่ามีอยู่ 4 ประการ
1. เทวรูปแห่งเผ่าพันธุ์ (Idol of the Tribe) หมายถึง กรรมพันธุ์ที่
ได้รับจากการอบรมสั่งสอน
2. เทวรูปแห่งถ้า (Idol of the Cave) หมายถึง ประสบการณ์ส่วนตัว
ของมนุษย์ในแต่ละคน
3. เทวรูปแห่งตลาดนัด (Idol of the Market place) หมายถึง ความ
สับสนในการใช้ภาษาเป็นสิ่งที่น่ากลัวและอันตรายที่สุด
4. เทวรูปแห่งยรงละคร (Idol of the Theater) หมายถึง ระเบียบ
ประเพณี ปรัชญา ศาสนา
เบคอน เห็นว่า เทวรูปทั้ง 4 ที่มีอยู่ในใจ
มนุษย์นั้นจะต้องใช้ปัญญาในการทา
หน้าที่กวาดล้างเทวรูปเหล่านี้ออกจาก
ใจ เมื่อทาได้ มนุษย์จะเข้าถึงสัจธรรม
อันถูกต้อง
จอห์น ล็อค (John Locke : 1632 – 1704)
จอห์น ล็อค เขาเห็นว่า ความรู้ทุกอย่าง
ล้วนแต่เริ่มต้นจากประสบการณ์ทั้งนั้น
(All knowledge comes from
experience) นั่นคือ คนเราเกิดมามีจิต
ว่างเปล่าเหมือนกระดาษขาวที่ยังไม่มี
ตัวอักษรอะไรเขียนลงไปเลย
เดวิด ฮิวม์ (David Hume : 1711 – 1776)
เจ้าของแนวคิด กังขานิยม (Sceptic) ที่ผลักดันแนวความคิด
แบบประสบการณ์นิยมจนถึงจุดสูงสุด เขาไม่เชื่อในทุกสิ่งทุกอย่าง
จนกว่าจะได้พิสูจน์ด้วยตัวเองในแต่ละครั้ง เขากล่าวไว้ในตอนหนึ่ง
ว่า
“ทุก โ ฝีก้าว ข้าพเจ้ารู้สึกลังเล ความคิดใหม่ทุกครั้งทาให้ข้าพเจ้า
รู้สึกขยาดกลัวต่อความผิดเหลวไหลในเหตุผลของข้าพเจ้า ”
ลัทธิของค้านท์
เอ็มมานูเอล ค้านท์
(Immanuel Kant : 1724 – 1804)
นักปรัชญาที่วิพากษ์และสรุปแนวคิดของ 2 กลุ่มที่ผ่านมา
ค้านท์ กล่าวว่า เป็นความเข้าใจผิดของฝ่ายประสบการณ์
นิยมซึ่งถือว่า จิตไม่ใช่ตัวทางานในกระบวนการการทางานรับรู้ของ
มนุษย์ และก็เป็ นความเข้าใจผิดของฝ่ ายเหตุผลนิ ยมที่ไม่ให้
ความสาคัญกับความรู้ทางผัสสะ
ญาณวิทยาในพระพุทธศาสนา
คือแนวความคิดที่ถือว่าความรู้ขั้นมูลฐานของมนุษย์เกิด
จากประสาทสัมผัสทั้ง 6 คือ ตา หูจมูก ลิ้น กาย ใจ
อีกประการหนึ่ง แหล่งความรู้ที่มนุษย์ได้รับจะมาจาก
3 แหล่ง ดังต่อไปนี้ คือ
• สุตมยปัญญา ปัญญาเกิดจากการฟัง การอ่าน
• จินตามยปัญญา ปัญญาเกิดจากการพิจารณา
• ภาวนามยปัญญา ปัญญาเกิดมาจากการฝึกฝนอบรมจิต
เปรียบเทียบญาณวิทยาของพุทธศาสนากับญาณวิทยาในตะวันตก
พระพุทธศาสนา ได้วิจารณ์แนวคิดทางตะวันตกในเรื่องญาณวิทยาว่า
สุตมยปัญญา = ประสบการณ์นิยม
จินตามยปัญญา = เหตุผลนิยม
ภาวนามยปัญญา = อัชฌัตติกญาณ คือ สมถภาวนา ได้แก่ ความรู้แจ้ง
อย่างฉับพลัน แต่ยังมีกิเลสอยู่
ส่วนการบรรลุธรรมหรือการตรัสรู้ นั้นจะไม่มีกิเลสในจิตใจเลย ทาให้
ความรู้ที่ได้รับถูกต้องชัดเจนเสมอ ดังนั้นเพื่อที่จะให้ได้รับความรู้ที่ถูกต้อง
มนุษย์จึงควรฝึกอบรมจิตด้วยสมถภาวนา เพื่อให้จิตใจสงบและเจริญวิปัสสนา
ภาวนา เพื่อทาลายกิเลส
จบบทที่ ๔
ดาวน์โหลดไฟล์นี้ได้ที่
www.philosophychicchic.com
สนุกกับการเรียนรู้ปรัชญาและศาสนาแบบชิคๆ เคียงคู่รอยยิ้ม

Más contenido relacionado

La actualidad más candente

ปรัชญาตะวันตก ตะวันออก
ปรัชญาตะวันตก ตะวันออกปรัชญาตะวันตก ตะวันออก
ปรัชญาตะวันตก ตะวันออกรมณ รมณ
 
บทที่ ๒ กรรมฐาน และบุรพกิจของการปฏิบัติกรรมฐาน
บทที่ ๒ กรรมฐาน และบุรพกิจของการปฏิบัติกรรมฐานบทที่ ๒ กรรมฐาน และบุรพกิจของการปฏิบัติกรรมฐาน
บทที่ ๒ กรรมฐาน และบุรพกิจของการปฏิบัติกรรมฐานpop Jaturong
 
วิชาพุทธปรัชญา : พื้นฐานพุทธปรัชญา
วิชาพุทธปรัชญา : พื้นฐานพุทธปรัชญาวิชาพุทธปรัชญา : พื้นฐานพุทธปรัชญา
วิชาพุทธปรัชญา : พื้นฐานพุทธปรัชญาPadvee Academy
 
บทที่ 3 ความแตกต่างระหว่างปรัชญากับศาสนา
บทที่ 3 ความแตกต่างระหว่างปรัชญากับศาสนาบทที่ 3 ความแตกต่างระหว่างปรัชญากับศาสนา
บทที่ 3 ความแตกต่างระหว่างปรัชญากับศาสนาPadvee Academy
 
พุทธศาสนากับวิทยาศาสตร์
พุทธศาสนากับวิทยาศาสตร์พุทธศาสนากับวิทยาศาสตร์
พุทธศาสนากับวิทยาศาสตร์native
 
ปรัชญาทั่วไป ตอน ทำความรู้จักกับปรัชญา
ปรัชญาทั่วไป ตอน ทำความรู้จักกับปรัชญาปรัชญาทั่วไป ตอน ทำความรู้จักกับปรัชญา
ปรัชญาทั่วไป ตอน ทำความรู้จักกับปรัชญาPadvee Academy
 
บทที่ 2 ปรัชญาคืออะไร
บทที่ 2 ปรัชญาคืออะไรบทที่ 2 ปรัชญาคืออะไร
บทที่ 2 ปรัชญาคืออะไรPadvee Academy
 
ปรัชญาทั่วไป ตอน ปรัชญาอินเดีย
ปรัชญาทั่วไป ตอน ปรัชญาอินเดียปรัชญาทั่วไป ตอน ปรัชญาอินเดีย
ปรัชญาทั่วไป ตอน ปรัชญาอินเดียPadvee Academy
 
อภิปรัชญา ความจริงของโลก และ มนุษย์
อภิปรัชญา ความจริงของโลก และ มนุษย์อภิปรัชญา ความจริงของโลก และ มนุษย์
อภิปรัชญา ความจริงของโลก และ มนุษย์Padvee Academy
 
ปริศนาธรรมในพุทธปรัชญา
ปริศนาธรรมในพุทธปรัชญาปริศนาธรรมในพุทธปรัชญา
ปริศนาธรรมในพุทธปรัชญาpentanino
 
ปรัชญาทั่วไป บทที่1
ปรัชญาทั่วไป บทที่1 ปรัชญาทั่วไป บทที่1
ปรัชญาทั่วไป บทที่1 Padvee Academy
 
พระพุทธศาสนาวัชรยาน Vajrayana Buddhism
พระพุทธศาสนาวัชรยาน Vajrayana Buddhismพระพุทธศาสนาวัชรยาน Vajrayana Buddhism
พระพุทธศาสนาวัชรยาน Vajrayana BuddhismPadvee Academy
 
วิชาปรัชญาจีน ตอน ปรัชญาขงจื๊อ
วิชาปรัชญาจีน ตอน ปรัชญาขงจื๊อวิชาปรัชญาจีน ตอน ปรัชญาขงจื๊อ
วิชาปรัชญาจีน ตอน ปรัชญาขงจื๊อPadvee Academy
 
ประวัติและวิวัฒนาการแนวความคิดทางปรัชญา
ประวัติและวิวัฒนาการแนวความคิดทางปรัชญาประวัติและวิวัฒนาการแนวความคิดทางปรัชญา
ประวัติและวิวัฒนาการแนวความคิดทางปรัชญาPadvee Academy
 
พระพุทธศาสนา
พระพุทธศาสนาพระพุทธศาสนา
พระพุทธศาสนาPadvee Academy
 
วิชาพุทธปรัชญา : ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับพระพุทธศาสนาและปรัชญา
วิชาพุทธปรัชญา : ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับพระพุทธศาสนาและปรัชญาวิชาพุทธปรัชญา : ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับพระพุทธศาสนาและปรัชญา
วิชาพุทธปรัชญา : ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับพระพุทธศาสนาและปรัชญาPadvee Academy
 
ปรัชญาตะวันตก บทที่ ๖ ปรัชญากรีกสมัยเสื่อม
ปรัชญาตะวันตก บทที่ ๖ ปรัชญากรีกสมัยเสื่อมปรัชญาตะวันตก บทที่ ๖ ปรัชญากรีกสมัยเสื่อม
ปรัชญาตะวันตก บทที่ ๖ ปรัชญากรีกสมัยเสื่อมPadvee Academy
 

La actualidad más candente (20)

ปรัชญาตะวันตก ตะวันออก
ปรัชญาตะวันตก ตะวันออกปรัชญาตะวันตก ตะวันออก
ปรัชญาตะวันตก ตะวันออก
 
บทที่ ๒ กรรมฐาน และบุรพกิจของการปฏิบัติกรรมฐาน
บทที่ ๒ กรรมฐาน และบุรพกิจของการปฏิบัติกรรมฐานบทที่ ๒ กรรมฐาน และบุรพกิจของการปฏิบัติกรรมฐาน
บทที่ ๒ กรรมฐาน และบุรพกิจของการปฏิบัติกรรมฐาน
 
วิชาพุทธปรัชญา : พื้นฐานพุทธปรัชญา
วิชาพุทธปรัชญา : พื้นฐานพุทธปรัชญาวิชาพุทธปรัชญา : พื้นฐานพุทธปรัชญา
วิชาพุทธปรัชญา : พื้นฐานพุทธปรัชญา
 
บทที่ 3 ความแตกต่างระหว่างปรัชญากับศาสนา
บทที่ 3 ความแตกต่างระหว่างปรัชญากับศาสนาบทที่ 3 ความแตกต่างระหว่างปรัชญากับศาสนา
บทที่ 3 ความแตกต่างระหว่างปรัชญากับศาสนา
 
พุทธศาสนากับวิทยาศาสตร์
พุทธศาสนากับวิทยาศาสตร์พุทธศาสนากับวิทยาศาสตร์
พุทธศาสนากับวิทยาศาสตร์
 
ปรัชญาทั่วไป ตอน ทำความรู้จักกับปรัชญา
ปรัชญาทั่วไป ตอน ทำความรู้จักกับปรัชญาปรัชญาทั่วไป ตอน ทำความรู้จักกับปรัชญา
ปรัชญาทั่วไป ตอน ทำความรู้จักกับปรัชญา
 
กรรมฐาน (สื่อการสอน ๒) สัปดาห์ที่ ๒
กรรมฐาน (สื่อการสอน ๒) สัปดาห์ที่ ๒กรรมฐาน (สื่อการสอน ๒) สัปดาห์ที่ ๒
กรรมฐาน (สื่อการสอน ๒) สัปดาห์ที่ ๒
 
บทที่ 2 ปรัชญาคืออะไร
บทที่ 2 ปรัชญาคืออะไรบทที่ 2 ปรัชญาคืออะไร
บทที่ 2 ปรัชญาคืออะไร
 
พระไตรปิฎก
พระไตรปิฎกพระไตรปิฎก
พระไตรปิฎก
 
ปรัชญาทั่วไป ตอน ปรัชญาอินเดีย
ปรัชญาทั่วไป ตอน ปรัชญาอินเดียปรัชญาทั่วไป ตอน ปรัชญาอินเดีย
ปรัชญาทั่วไป ตอน ปรัชญาอินเดีย
 
อภิปรัชญา ความจริงของโลก และ มนุษย์
อภิปรัชญา ความจริงของโลก และ มนุษย์อภิปรัชญา ความจริงของโลก และ มนุษย์
อภิปรัชญา ความจริงของโลก และ มนุษย์
 
ปริศนาธรรมในพุทธปรัชญา
ปริศนาธรรมในพุทธปรัชญาปริศนาธรรมในพุทธปรัชญา
ปริศนาธรรมในพุทธปรัชญา
 
ปรัชญาทั่วไป บทที่1
ปรัชญาทั่วไป บทที่1 ปรัชญาทั่วไป บทที่1
ปรัชญาทั่วไป บทที่1
 
พระพุทธศาสนาวัชรยาน Vajrayana Buddhism
พระพุทธศาสนาวัชรยาน Vajrayana Buddhismพระพุทธศาสนาวัชรยาน Vajrayana Buddhism
พระพุทธศาสนาวัชรยาน Vajrayana Buddhism
 
วิชาปรัชญาจีน ตอน ปรัชญาขงจื๊อ
วิชาปรัชญาจีน ตอน ปรัชญาขงจื๊อวิชาปรัชญาจีน ตอน ปรัชญาขงจื๊อ
วิชาปรัชญาจีน ตอน ปรัชญาขงจื๊อ
 
ประวัติและวิวัฒนาการแนวความคิดทางปรัชญา
ประวัติและวิวัฒนาการแนวความคิดทางปรัชญาประวัติและวิวัฒนาการแนวความคิดทางปรัชญา
ประวัติและวิวัฒนาการแนวความคิดทางปรัชญา
 
พระพุทธศาสนา
พระพุทธศาสนาพระพุทธศาสนา
พระพุทธศาสนา
 
วิชาพุทธปรัชญา : ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับพระพุทธศาสนาและปรัชญา
วิชาพุทธปรัชญา : ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับพระพุทธศาสนาและปรัชญาวิชาพุทธปรัชญา : ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับพระพุทธศาสนาและปรัชญา
วิชาพุทธปรัชญา : ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับพระพุทธศาสนาและปรัชญา
 
กรรมฐาน (สื่อการสอน ๑) สัปดาห์ที่ ๑
กรรมฐาน (สื่อการสอน ๑) สัปดาห์ที่ ๑กรรมฐาน (สื่อการสอน ๑) สัปดาห์ที่ ๑
กรรมฐาน (สื่อการสอน ๑) สัปดาห์ที่ ๑
 
ปรัชญาตะวันตก บทที่ ๖ ปรัชญากรีกสมัยเสื่อม
ปรัชญาตะวันตก บทที่ ๖ ปรัชญากรีกสมัยเสื่อมปรัชญาตะวันตก บทที่ ๖ ปรัชญากรีกสมัยเสื่อม
ปรัชญาตะวันตก บทที่ ๖ ปรัชญากรีกสมัยเสื่อม
 

Similar a ปรัชญาเบื้องต้น บทที่ ๔ ญาณวิทยา

ปรัชญาและปรัชญาการศึกษา 29 ต.ค.52
ปรัชญาและปรัชญาการศึกษา 29 ต.ค.52ปรัชญาและปรัชญาการศึกษา 29 ต.ค.52
ปรัชญาและปรัชญาการศึกษา 29 ต.ค.52juriporn chuchanakij
 
สาขาของปรัชญา
สาขาของปรัชญาสาขาของปรัชญา
สาขาของปรัชญาTupPee Zhouyongfang
 
กลุ่มน้องเต่าชิกูเมะ --มนุษยกับการแสวงหาความจริงและความหมายของชีวิต
กลุ่มน้องเต่าชิกูเมะ --มนุษยกับการแสวงหาความจริงและความหมายของชีวิตกลุ่มน้องเต่าชิกูเมะ --มนุษยกับการแสวงหาความจริงและความหมายของชีวิต
กลุ่มน้องเต่าชิกูเมะ --มนุษยกับการแสวงหาความจริงและความหมายของชีวิตfreelance
 
บทนำเกี่ยวกับจิตวิทยา Present
บทนำเกี่ยวกับจิตวิทยา Presentบทนำเกี่ยวกับจิตวิทยา Present
บทนำเกี่ยวกับจิตวิทยา PresentKobchai Khamboonruang
 
สายธารปรัชญาคือที่มาของสรรพศาสตร์
สายธารปรัชญาคือที่มาของสรรพศาสตร์สายธารปรัชญาคือที่มาของสรรพศาสตร์
สายธารปรัชญาคือที่มาของสรรพศาสตร์pentanino
 
จริยศาสตร์ ความหมายและขอบเขต
จริยศาสตร์ ความหมายและขอบเขตจริยศาสตร์ ความหมายและขอบเขต
จริยศาสตร์ ความหมายและขอบเขตchonlataz
 
ทฤษฎีหลักการแนวคิดเกี่ยวกับการคิดและพัฒนาการคิด
ทฤษฎีหลักการแนวคิดเกี่ยวกับการคิดและพัฒนาการคิดทฤษฎีหลักการแนวคิดเกี่ยวกับการคิดและพัฒนาการคิด
ทฤษฎีหลักการแนวคิดเกี่ยวกับการคิดและพัฒนาการคิดNote Na-ngam
 
เพาเวอร์พอย
เพาเวอร์พอยเพาเวอร์พอย
เพาเวอร์พอยNaree50
 
เอกสารประการเรียนรู้ รายวิชา ง20202 ทฤษฎีความรู้
เอกสารประการเรียนรู้ รายวิชา ง20202 ทฤษฎีความรู้เอกสารประการเรียนรู้ รายวิชา ง20202 ทฤษฎีความรู้
เอกสารประการเรียนรู้ รายวิชา ง20202 ทฤษฎีความรู้อัครเดช โพธิญาณ์
 
ความคิดสร้างสรรค์
ความคิดสร้างสรรค์ความคิดสร้างสรรค์
ความคิดสร้างสรรค์Surapon Boonlue
 
จิตปัญญาศึกษา จำเรียง
จิตปัญญาศึกษา  จำเรียงจิตปัญญาศึกษา  จำเรียง
จิตปัญญาศึกษา จำเรียงchamriang
 
บทความทางวิชาการ
บทความทางวิชาการบทความทางวิชาการ
บทความทางวิชาการขวัญ ฤทัย
 
บทความทางวิชาการ
บทความทางวิชาการบทความทางวิชาการ
บทความทางวิชาการขวัญ ฤทัย
 
ปรัชญาทั่วไป ตอนทฤษฎีความรู้ (ญาณวิทยา)
ปรัชญาทั่วไป ตอนทฤษฎีความรู้ (ญาณวิทยา)ปรัชญาทั่วไป ตอนทฤษฎีความรู้ (ญาณวิทยา)
ปรัชญาทั่วไป ตอนทฤษฎีความรู้ (ญาณวิทยา)Padvee Academy
 
Original b.
Original b.Original b.
Original b.ya035
 

Similar a ปรัชญาเบื้องต้น บทที่ ๔ ญาณวิทยา (20)

ปรัชญาและปรัชญาการศึกษา 29 ต.ค.52
ปรัชญาและปรัชญาการศึกษา 29 ต.ค.52ปรัชญาและปรัชญาการศึกษา 29 ต.ค.52
ปรัชญาและปรัชญาการศึกษา 29 ต.ค.52
 
สาขาของปรัชญา
สาขาของปรัชญาสาขาของปรัชญา
สาขาของปรัชญา
 
กลุ่มน้องเต่าชิกูเมะ --มนุษยกับการแสวงหาความจริงและความหมายของชีวิต
กลุ่มน้องเต่าชิกูเมะ --มนุษยกับการแสวงหาความจริงและความหมายของชีวิตกลุ่มน้องเต่าชิกูเมะ --มนุษยกับการแสวงหาความจริงและความหมายของชีวิต
กลุ่มน้องเต่าชิกูเมะ --มนุษยกับการแสวงหาความจริงและความหมายของชีวิต
 
บทนำเกี่ยวกับจิตวิทยา Present
บทนำเกี่ยวกับจิตวิทยา Presentบทนำเกี่ยวกับจิตวิทยา Present
บทนำเกี่ยวกับจิตวิทยา Present
 
สายธารปรัชญาคือที่มาของสรรพศาสตร์
สายธารปรัชญาคือที่มาของสรรพศาสตร์สายธารปรัชญาคือที่มาของสรรพศาสตร์
สายธารปรัชญาคือที่มาของสรรพศาสตร์
 
จริยศาสตร์ ความหมายและขอบเขต
จริยศาสตร์ ความหมายและขอบเขตจริยศาสตร์ ความหมายและขอบเขต
จริยศาสตร์ ความหมายและขอบเขต
 
ทฤษฎีหลักการแนวคิดเกี่ยวกับการคิดและพัฒนาการคิด
ทฤษฎีหลักการแนวคิดเกี่ยวกับการคิดและพัฒนาการคิดทฤษฎีหลักการแนวคิดเกี่ยวกับการคิดและพัฒนาการคิด
ทฤษฎีหลักการแนวคิดเกี่ยวกับการคิดและพัฒนาการคิด
 
การศึกษา
การศึกษาการศึกษา
การศึกษา
 
เพาเวอร์พอย
เพาเวอร์พอยเพาเวอร์พอย
เพาเวอร์พอย
 
เอกสารประการเรียนรู้ รายวิชา ง20202 ทฤษฎีความรู้
เอกสารประการเรียนรู้ รายวิชา ง20202 ทฤษฎีความรู้เอกสารประการเรียนรู้ รายวิชา ง20202 ทฤษฎีความรู้
เอกสารประการเรียนรู้ รายวิชา ง20202 ทฤษฎีความรู้
 
ปฏิจจสมุปบาท
ปฏิจจสมุปบาท ปฏิจจสมุปบาท
ปฏิจจสมุปบาท
 
ความคิดสร้างสรรค์
ความคิดสร้างสรรค์ความคิดสร้างสรรค์
ความคิดสร้างสรรค์
 
จิตปัญญาศึกษา จำเรียง
จิตปัญญาศึกษา  จำเรียงจิตปัญญาศึกษา  จำเรียง
จิตปัญญาศึกษา จำเรียง
 
บทความทางวิชาการ
บทความทางวิชาการบทความทางวิชาการ
บทความทางวิชาการ
 
บทความทางวิชาการ
บทความทางวิชาการบทความทางวิชาการ
บทความทางวิชาการ
 
ปรัชญาทั่วไป ตอนทฤษฎีความรู้ (ญาณวิทยา)
ปรัชญาทั่วไป ตอนทฤษฎีความรู้ (ญาณวิทยา)ปรัชญาทั่วไป ตอนทฤษฎีความรู้ (ญาณวิทยา)
ปรัชญาทั่วไป ตอนทฤษฎีความรู้ (ญาณวิทยา)
 
Cognitivism
CognitivismCognitivism
Cognitivism
 
Original b.
Original b.Original b.
Original b.
 
Original b.
Original b.Original b.
Original b.
 
Original b.
Original b.Original b.
Original b.
 

Más de Padvee Academy

หนังสือสอนใช้ WordPress สำหรับผู้เริ่มต้น [ฉบับ E-book]
หนังสือสอนใช้ WordPress สำหรับผู้เริ่มต้น [ฉบับ E-book]หนังสือสอนใช้ WordPress สำหรับผู้เริ่มต้น [ฉบับ E-book]
หนังสือสอนใช้ WordPress สำหรับผู้เริ่มต้น [ฉบับ E-book]Padvee Academy
 
Onpage stucture checklist
Onpage stucture checklist Onpage stucture checklist
Onpage stucture checklist Padvee Academy
 
ปรัชญาอัตถิภาวนิยมของ ฌอง ปอล ซาร์ต (Jean paul sartre)
ปรัชญาอัตถิภาวนิยมของ ฌอง ปอล ซาร์ต (Jean paul sartre)ปรัชญาอัตถิภาวนิยมของ ฌอง ปอล ซาร์ต (Jean paul sartre)
ปรัชญาอัตถิภาวนิยมของ ฌอง ปอล ซาร์ต (Jean paul sartre)Padvee Academy
 
ปรัชญากับวิถีชีวิต
ปรัชญากับวิถีชีวิตปรัชญากับวิถีชีวิต
ปรัชญากับวิถีชีวิตPadvee Academy
 
5 ขั้นตอนที่ต้องรู้ก่อนทำเว็บไซต์
5 ขั้นตอนที่ต้องรู้ก่อนทำเว็บไซต์5 ขั้นตอนที่ต้องรู้ก่อนทำเว็บไซต์
5 ขั้นตอนที่ต้องรู้ก่อนทำเว็บไซต์Padvee Academy
 
สรุปเนื้อหา ปรัชญาเบื้องต้น ตอน โทมัส ฮอบส์ (Thomas hobbes)
สรุปเนื้อหา ปรัชญาเบื้องต้น ตอน โทมัส  ฮอบส์ (Thomas hobbes)สรุปเนื้อหา ปรัชญาเบื้องต้น ตอน โทมัส  ฮอบส์ (Thomas hobbes)
สรุปเนื้อหา ปรัชญาเบื้องต้น ตอน โทมัส ฮอบส์ (Thomas hobbes)Padvee Academy
 
วิเคราะห์ปรัชญาขงจื๊อ
วิเคราะห์ปรัชญาขงจื๊อวิเคราะห์ปรัชญาขงจื๊อ
วิเคราะห์ปรัชญาขงจื๊อPadvee Academy
 
ปรัชญาหยางจื๊อ (Yang tzu)
ปรัชญาหยางจื๊อ (Yang  tzu)ปรัชญาหยางจื๊อ (Yang  tzu)
ปรัชญาหยางจื๊อ (Yang tzu)Padvee Academy
 
พุทธศาสนามหายาน นิกายสุขาวดี | Pure Land Buddhism
พุทธศาสนามหายาน นิกายสุขาวดี | Pure Land Buddhismพุทธศาสนามหายาน นิกายสุขาวดี | Pure Land Buddhism
พุทธศาสนามหายาน นิกายสุขาวดี | Pure Land BuddhismPadvee Academy
 
Timeline : history of philosophy
Timeline : history of philosophyTimeline : history of philosophy
Timeline : history of philosophyPadvee Academy
 
Timeline : A History of Eastern Philosophy
Timeline : A History of Eastern PhilosophyTimeline : A History of Eastern Philosophy
Timeline : A History of Eastern PhilosophyPadvee Academy
 
รูปภาพ Infographic สรุปแนวคิดที่สำคัญทาง จริยศาสตร์
รูปภาพ Infographic สรุปแนวคิดที่สำคัญทาง จริยศาสตร์รูปภาพ Infographic สรุปแนวคิดที่สำคัญทาง จริยศาสตร์
รูปภาพ Infographic สรุปแนวคิดที่สำคัญทาง จริยศาสตร์Padvee Academy
 
เทพเจ้ากรีกและโรมัน (The greek and roman gods Infographic)
เทพเจ้ากรีกและโรมัน (The greek and roman gods Infographic)เทพเจ้ากรีกและโรมัน (The greek and roman gods Infographic)
เทพเจ้ากรีกและโรมัน (The greek and roman gods Infographic)Padvee Academy
 
ศิลปะแห่งความรัก
ศิลปะแห่งความรักศิลปะแห่งความรัก
ศิลปะแห่งความรักPadvee Academy
 
ความฉลาดทางอารมณ์และการพัฒนาจิตใจ
ความฉลาดทางอารมณ์และการพัฒนาจิตใจความฉลาดทางอารมณ์และการพัฒนาจิตใจ
ความฉลาดทางอารมณ์และการพัฒนาจิตใจPadvee Academy
 
รากฐานแห่งอภิปรัชญาของศีลธรรม โดย ค้านท์ (Kants groundwork of the metaphysics...
รากฐานแห่งอภิปรัชญาของศีลธรรม โดย ค้านท์ (Kants groundwork of the metaphysics...รากฐานแห่งอภิปรัชญาของศีลธรรม โดย ค้านท์ (Kants groundwork of the metaphysics...
รากฐานแห่งอภิปรัชญาของศีลธรรม โดย ค้านท์ (Kants groundwork of the metaphysics...Padvee Academy
 
สัทธรรมปุณฑริกสูตร (The Lotus of The True Law)
สัทธรรมปุณฑริกสูตร (The Lotus of The True Law)สัทธรรมปุณฑริกสูตร (The Lotus of The True Law)
สัทธรรมปุณฑริกสูตร (The Lotus of The True Law)Padvee Academy
 
ธรรมนิเทศ Dhamma Communication
ธรรมนิเทศ Dhamma Communicationธรรมนิเทศ Dhamma Communication
ธรรมนิเทศ Dhamma CommunicationPadvee Academy
 
ศาสนาบาไฮ
ศาสนาบาไฮศาสนาบาไฮ
ศาสนาบาไฮPadvee Academy
 
ประวัติศาสตร์การเมืองการปกครองของไทย
ประวัติศาสตร์การเมืองการปกครองของไทยประวัติศาสตร์การเมืองการปกครองของไทย
ประวัติศาสตร์การเมืองการปกครองของไทยPadvee Academy
 

Más de Padvee Academy (20)

หนังสือสอนใช้ WordPress สำหรับผู้เริ่มต้น [ฉบับ E-book]
หนังสือสอนใช้ WordPress สำหรับผู้เริ่มต้น [ฉบับ E-book]หนังสือสอนใช้ WordPress สำหรับผู้เริ่มต้น [ฉบับ E-book]
หนังสือสอนใช้ WordPress สำหรับผู้เริ่มต้น [ฉบับ E-book]
 
Onpage stucture checklist
Onpage stucture checklist Onpage stucture checklist
Onpage stucture checklist
 
ปรัชญาอัตถิภาวนิยมของ ฌอง ปอล ซาร์ต (Jean paul sartre)
ปรัชญาอัตถิภาวนิยมของ ฌอง ปอล ซาร์ต (Jean paul sartre)ปรัชญาอัตถิภาวนิยมของ ฌอง ปอล ซาร์ต (Jean paul sartre)
ปรัชญาอัตถิภาวนิยมของ ฌอง ปอล ซาร์ต (Jean paul sartre)
 
ปรัชญากับวิถีชีวิต
ปรัชญากับวิถีชีวิตปรัชญากับวิถีชีวิต
ปรัชญากับวิถีชีวิต
 
5 ขั้นตอนที่ต้องรู้ก่อนทำเว็บไซต์
5 ขั้นตอนที่ต้องรู้ก่อนทำเว็บไซต์5 ขั้นตอนที่ต้องรู้ก่อนทำเว็บไซต์
5 ขั้นตอนที่ต้องรู้ก่อนทำเว็บไซต์
 
สรุปเนื้อหา ปรัชญาเบื้องต้น ตอน โทมัส ฮอบส์ (Thomas hobbes)
สรุปเนื้อหา ปรัชญาเบื้องต้น ตอน โทมัส  ฮอบส์ (Thomas hobbes)สรุปเนื้อหา ปรัชญาเบื้องต้น ตอน โทมัส  ฮอบส์ (Thomas hobbes)
สรุปเนื้อหา ปรัชญาเบื้องต้น ตอน โทมัส ฮอบส์ (Thomas hobbes)
 
วิเคราะห์ปรัชญาขงจื๊อ
วิเคราะห์ปรัชญาขงจื๊อวิเคราะห์ปรัชญาขงจื๊อ
วิเคราะห์ปรัชญาขงจื๊อ
 
ปรัชญาหยางจื๊อ (Yang tzu)
ปรัชญาหยางจื๊อ (Yang  tzu)ปรัชญาหยางจื๊อ (Yang  tzu)
ปรัชญาหยางจื๊อ (Yang tzu)
 
พุทธศาสนามหายาน นิกายสุขาวดี | Pure Land Buddhism
พุทธศาสนามหายาน นิกายสุขาวดี | Pure Land Buddhismพุทธศาสนามหายาน นิกายสุขาวดี | Pure Land Buddhism
พุทธศาสนามหายาน นิกายสุขาวดี | Pure Land Buddhism
 
Timeline : history of philosophy
Timeline : history of philosophyTimeline : history of philosophy
Timeline : history of philosophy
 
Timeline : A History of Eastern Philosophy
Timeline : A History of Eastern PhilosophyTimeline : A History of Eastern Philosophy
Timeline : A History of Eastern Philosophy
 
รูปภาพ Infographic สรุปแนวคิดที่สำคัญทาง จริยศาสตร์
รูปภาพ Infographic สรุปแนวคิดที่สำคัญทาง จริยศาสตร์รูปภาพ Infographic สรุปแนวคิดที่สำคัญทาง จริยศาสตร์
รูปภาพ Infographic สรุปแนวคิดที่สำคัญทาง จริยศาสตร์
 
เทพเจ้ากรีกและโรมัน (The greek and roman gods Infographic)
เทพเจ้ากรีกและโรมัน (The greek and roman gods Infographic)เทพเจ้ากรีกและโรมัน (The greek and roman gods Infographic)
เทพเจ้ากรีกและโรมัน (The greek and roman gods Infographic)
 
ศิลปะแห่งความรัก
ศิลปะแห่งความรักศิลปะแห่งความรัก
ศิลปะแห่งความรัก
 
ความฉลาดทางอารมณ์และการพัฒนาจิตใจ
ความฉลาดทางอารมณ์และการพัฒนาจิตใจความฉลาดทางอารมณ์และการพัฒนาจิตใจ
ความฉลาดทางอารมณ์และการพัฒนาจิตใจ
 
รากฐานแห่งอภิปรัชญาของศีลธรรม โดย ค้านท์ (Kants groundwork of the metaphysics...
รากฐานแห่งอภิปรัชญาของศีลธรรม โดย ค้านท์ (Kants groundwork of the metaphysics...รากฐานแห่งอภิปรัชญาของศีลธรรม โดย ค้านท์ (Kants groundwork of the metaphysics...
รากฐานแห่งอภิปรัชญาของศีลธรรม โดย ค้านท์ (Kants groundwork of the metaphysics...
 
สัทธรรมปุณฑริกสูตร (The Lotus of The True Law)
สัทธรรมปุณฑริกสูตร (The Lotus of The True Law)สัทธรรมปุณฑริกสูตร (The Lotus of The True Law)
สัทธรรมปุณฑริกสูตร (The Lotus of The True Law)
 
ธรรมนิเทศ Dhamma Communication
ธรรมนิเทศ Dhamma Communicationธรรมนิเทศ Dhamma Communication
ธรรมนิเทศ Dhamma Communication
 
ศาสนาบาไฮ
ศาสนาบาไฮศาสนาบาไฮ
ศาสนาบาไฮ
 
ประวัติศาสตร์การเมืองการปกครองของไทย
ประวัติศาสตร์การเมืองการปกครองของไทยประวัติศาสตร์การเมืองการปกครองของไทย
ประวัติศาสตร์การเมืองการปกครองของไทย
 

ปรัชญาเบื้องต้น บทที่ ๔ ญาณวิทยา