SlideShare a Scribd company logo
1 of 34
ปรัชญาเบื้องต้น
บทที่ ๖ ปรัชญาตะวันออก
บทที่ ๖ปรัชญาตะวันออก
 ขอบข่ายเนื้อหา
 ลักษณะทั่วไปของปรัชญาตะวันออก
 ลักษณะและพัฒนาการของปรัชญาอินเดีย
 ลักษณะและพัฒนาการของปรัชญาจีน
 ลักษณะและพัฒนาการของปรัชญาญี่ปุ่น
 ลักษณะและพัฒนาการของปรัชญาไทย
ลักษณะทั่วไปของปรัชญาตะวันออก
ปรัชญาตะวันออก หมายถึงปรัชญาที่เกิดขึ้นทางแถบตะวันออก
ทั้งหมด เช่น ปรัชญาอินเดีย ปรัชญาจีน ปรัชญาญี่ปุ่น เป็นต้น
ปรัชญาตะวันออก ส่วนใหญ่เป็นปรัชญาชีวิต มุ่งศึกษาเพื่อรู้และ
เพื่อส่งเสริมการปฏิบัติมีพื้นฐานมาจากศาสนา
มุ่งรู้แจ้งตนเองก่อนแล้วจึงศึกษาให้รู้สิ่งนอกตัวภายหลังโดย
ได้รับความคิดพื้นฐานมากจากปรัชญาอินเดีย
ปรัชญาอินเดีย
 แบ่งออกเป็น ๓ ยุค หลัก ๆ ได้แก่
ยุคพระเวท
ยุคอุปนิสัย
ยุคปรัชญา ๙ สานัก
๑.ยุคพระเวท
 เริ่มตั้งแต่ประมาณ ๑,๐๐๐ ถึง ๑๐๐ ปีก่อน พ.ศ. โดยมีคัมภีร์ไตรเภท
เป็นหลัก คือ
 ๑) ฤคเวท สาหรับสวดสดุดีสรรเสริญพระเจ้าต่างๆ
 ๒) ยชุรเวท ว่าด้วยกฎเกณฑ์การบูชาเทพ
 ๓) สามเวท สาหรับคาสวดในพิธีถวายน้าโสมแด่พระอินทร์
 ๔) อถรรพเวท ว่าด้วยเรื่องไสยศาสตร์
๒.ยุคอุปนิสัย
 เริ่มตั้งแต่ ๑๐๐ ปี ก่อนพุทธกาล จนถึง พ.ศ. ๗๐๐
 เริ่มตั้งแต่การเกิดขึ้นของมหากาพย์ ๒ เรื่อง คือ
รามยณะและมหาภารตะ
 เป็นสมัยสาคัญแห่งประวัติศาสตร์ของศาสนาทั้งสาม คือ ศาสนา
ฮินดู พระพุทธศาสนา ศาสนาเชน
๓.ยุคปรัชญา๙สานัก
 เป็นยุคของวิวัฒนาการ ของปรัชญา ๙ สานักในอินเดีย
 ซึ่งเริ่มตั้งแต่ พ.ศ. ๗๐๐ เรื่อยมา ในยุคนี้ศาสนาพราหมณ์ ได้มีการ
ปฏิรูป ครั้งสาคัญ ๆ หลายครั้ง จนเป็นเหตุให้กลายมาเป็นศาสนา
ฮินดูในปัจจุบัน
ที่มาของปรัชญาอินเดีย
ปรัชญาอินเดียโดยสรุป มี ๒ สาย คือ
๑. ปรัชญากลุ่มอาสติกะ(Orthodox) เป็นกลุ่มที่มีระบบปรัชญา
คัญๆหกระบบซึ่งได้รับอิทธิพลจากคัมภีร์พระเวทโดยตรง ได้แก่
นยายะ ไวเศษิกะ สางขยา โคยะ มีมามสา เวทานตะ ทั้งหกระบบ
นี้มิใช่เพียงเพราะมีความเชื่อถือในความีอยู่ของพระผู้เป็นเจ้า
สูงสุดเท่านั้น แต่ยังยอมรับนับถือความขลัง ความถูกต้อง
สมบูรณ์และความศักดิ์สิทธิ์ของพระเวทอีกด้วย
 ๒. ปรัชญากลุ่มนาสติกะ(Heterodox)
เป็นกลุ่มที่มีระบบปรัชญาที่สาคัญสาม
ระบบซึ่งคัดค้านในความขลังและความ
ศักดิ์สิทธิ์ของพระเวทได้ชื่อว่าได้รับ
อิทธิพลจากคัมภีร์พระเวทโดยอ้อม
ได้แก่ ปรัชญาจารวาก พุทธปรัชญา และ
ปรัชญาเชน
ปรัชญาไทย
 ปรัชญาไทย หมายถึงโลกทัศน์ แนวคิด
หลักปฏิบัติหรือหลักการดาเนิ นชีวิต
ค่านิยม ความเชื่อ คติ การประพฤติการ
ปฏิบัติอันเกี่ยวเนื่องด้วยศาสนาอันเป็น
พื้นฐานชีวิตของคนไทย มาตั้งแต่สมัย
ลพบุรี เรื่อยมาจนถึงสมัยรัตนโกสินทร์
เป็ นการรวมเอาความเชื่อ ทัศนคติ
ตลอดจนค่านิยมต่างๆ ของบุคคลหรือ
ของสังคมเข้าไว้ด้วยกัน โดยมีเป้ าหมาย
เพื่อให้ชีวิตเข้าถึงความสงบสุข
พัฒนาการแนวคิดด้านปรัชญาไทย
 ๑) ยุควิญญาณธรรมชาติ (Natural Soul) พร้อมกับการก่อตัวของการ
บูชาวิญญาณบรรพบุรุษ ชนชาติไทยคิดแต่เรื่องนอกตัว จึงก่อให้เกิด
แนวคิดเรื่องวิญญาณต่างๆ ขึ้น และทาให้เกิดประเพณีเลี้ยงผี เช่น ผี
ฟ้ า ผีแถน การเรียกขวัญ และความเชื่อโชคลางต่างๆ โดยเชื่อว่าสิ่ง
เหล่านี้จะสามารถอานวยความสุขให้ได้
พัฒนาการแนวคิดด้านปรัชญาไทย
 ๒) ยุครับแนวคิดพราหมณ์ พร้อมกับพัฒนารูปแบบไสยศาสตร์ เป็น
ยุคที่แนวคิดของศาสนาพราหมณ์เข้ามามีอิทธิพลต่อคนไทย ทั้งใน
ด้านความเชื่อ และพิธีกรรม ซึ่งได้พัฒนาแนวคิดเรื่องวิญญาณตาม
เทพเจ้าของพราหมณ์
พัฒนาการแนวคิดด้านปรัชญาไทย
 ๓) ยุครับแนวคิดพระพุทธศาสนาพร้อมกับการก่อตัวของวัฒนธรรม
ประเพณี หลังจากพระพุทธศาสนาแผ่อิทธิพลเข้าสู่ดินแดนสุวรรณ
ภูมิ ชนชาติไทยได้หันมาพัฒนาวัฒนธรรมและประเพณีของตนตาม
หลักธรรมทางพระพุทธศาสนา ในด้านความเชื่อ และมีอิทธิพลเหนือ
ชีวิตและจิตใจของชาวไทยอย่างเบ็ดเสร็จ
พัฒนาการแนวคิดด้านปรัชญาไทย
 ๔) ยุครับแนวคิดตะวันตก เป็น
ยุคที่สังคมไทยกาลังเกิดการ
เปลี่ยนแปลงทั้งในด้าน
โครงสร้างของสังคม ทัศนคติ
และการดาเนินชีวิตเพื่อปรับตัว
ให้สอดคล้องกับความ
เจริญก้าวหน้าของโลกตะวันตก
พัฒนาการแนวคิดด้านปรัชญาไทย
 ๕) ยุคพัฒนาแนวคิดพระพุทธศาสนาบริสุทธิ์ เป็นยุคที่นักปรัชญา
ไทยพัฒนาแนวคิดด้านจิตใจ ในพระพุทธศาสนาแนวตรง โดยเชื่อว่า
การที่จะแก้ปัญหาชีวิตมนุษย์และเข้าถึงความสุขได้อย่างสมบูรณ์
ต้องพัฒนาจิตให้เข้าถึงความสมบูรณ์ด้วย เพราะเชื่อตามหลัก
พระพุทธศาสนาว่า “สุขอื่นยิ่งกว่าความสงบไม่มี”
ลักษณะของปรัชญาไทย
 ปรัชญาชีวิตไทยมีลักษณะเป็นวิญญาณนิยม
 ปรัชญาชีวิตไทยมีลักษณะเกี่ยวข้องกับความเชื่อเรื่องไสยศาสตร์
 ปรัชญาชีวิตไทยเน้นหลักปฏิบัติในชีวิตประจาวัน
ปรัชญาจีน
ลักษณะของปรัชญาจีน
ปรัชญาจีนไม่สนใจแสวงหาปฐมธาตุอย่างที่ปรัชญาตะวันตก
แสวงหา แต่ปรัชญาจีนให้ความสาคัญเรื่องมนุษย์ด้วยกัน จึงถูกมอง
ว่าเป็นมนุษยนิยม
คือมีเป้ าหมายว่าจะทาอย่างไรจึงจะเป็นคนที่มีความสุข ทาอย่างไร
สังคมประเทศชาติ และโลกจะมีความสงบสุข
เน้นเรื่องจริยธรรมมากกว่าสติปัญญา
สานักปรัชญาต่างๆของจีน
 ๑. สานักปรัชญาเต๋า สานักนี้มีเล่าจื้อเป็นหัวหน้า ปรัชญาใน
สานักนี้มีเต๋าเป็นจุดหมายสูงสุด เต๋าเป็นนามธรรม แต่ก็เป็นบ่อเกิด
ของสรรพสิ่ง คอยหล่อเลี้ยงสรรพสิ่ง และเป็นจุดหมายสูงสุดของ
สรรพสิ่ง สานักนี้เชื่อว่าคนเคยมีความสุขสบายในบุรพกาลมา
แล้วแต่เพราะความที่ขาดปัญญา จึงเห็นผิดเป็นชอบ ตอบสนองกิเลส
ตัณหาโดยหันหลังให้กับธรรมชาติดั้งเดิม แล้วมุ่งสร้างวัฒนธรรม
และอารยธรรมขึ้นมา ผลก็คือแต่ละคนมีความทุกข์ สังคมวุ่นวาย มี
ปัญหาน้อยใหญ่ให้แก้อย่างมิรู้จบสิ้น สานักนี้มีความเห็นต่อไปว่า วิธี
ที่จะแก้ความยุ่งยากนั้นได้ก็โดยการหยุดสร้างวัฒนธรรมและอารย
ธรรมเสีย แล้วกลับเข้าหาธรรมชาติดั้งเดิมของตน
 ๒.สำนักปรัชญำขงจื้อ มีขงจื้อเป็นหัวหน้ำ ปรัชญำสำนักนี้มุ่งสอนให้คนกลับสู่
อดีตเช่นกัน จะต่ำงกันก็คือแทนที่จะเน้นธรรมชำติกลับเน้นจำรีตประเพณี ดนตรี
และคุณธรรมที่ดีงำมในอดีต สำนักนี้เชื่อว่ำคนในสมัยอดีตเคยสุขสบำย สังคมมี
ระเบียบ เรำะทุกคนปฏิบัติตำมจำรีตประเพณีและคุณธรรมมำแล้ว เพรำะฉะนั้น
สำนักขงจื้อจึงรณรงค์ให้ฟื้ นฟูจำรีตประเพณี ดนตรี และคุณธรรมที่เคยดีงำม
มำแล้วในอดีตมำให้ผู้คนปฏิบัติกันอีก วิธีนี้เท่ำนั้นที่จะทำให้คนมีควำมสุข สังคมมี
ระเบียบวินัย
 ๓.สานักปรัชญาม่อจื้อ มีม่อจื้อเป็นหัวหน้า ม่อจื้อเชื่อว่าอดีต
เป็นความผันผ่านไปแล้วก็ไม่อาจหวนกลับมาอีก กาลเวลาผ่านไป
ทุกอย่างก็ผ่านไปเช่นกัน สิ่งที่เหมาะสมกับสมัยหนึ่งไม่จาเป็นต้อง
เหมาะสมกับอีกสมัยหนึ่ง
 เพราะฉะนั้น คนมีปัญญาควรสร้างกฎเกณฑ์ใหม่ขึ้นมาให้
สอดคล้องตรงกับความจริงในปัจจุบัน อย่างเช่น ทุกคนต้องการ
ความสุข เกลียดความทุกข์ด้วยกัน ต้องการมีเกียรติมีศักดิ์ศรี
เหมือนกัน เพราะฉะนั้นคนเราจึงควรเห็นอกเห็นใจกัน แผ่ความรัก
ความเมตตาให้กัน ช่วยเหลือกัน ไม่แบ่งแยกชนชั้นให้ต่างกัน
 ๔.สานักปรัชญานิตินิยม โดยมีฮั่นเฟยจื้อเป็นตัวแทน ปรัชญา
สานักนี้ชี้ให้เห็นว่าอานาจและกฎหมายมีความจาเป็น และสาคัญ
ที่สุดในการนาความสงบสุขมาสู่บุคคลและสังคม ฮั่นเฟ่ยจื้อเชื่อว่า
วิธีการใช้อานาจและกฎหมายมาใช้เป็นการสอดคล้องกับธรรมชาติ
ของมนุษย์ เพราะมนุษย์ต้องการได้อิฏฐารมณ์ คืออารมณ์ที่น่า
ปรารถนา มีลาภ ยศ สรรเสริญ สุข และไม่ต้องการอนิฏฐารมณ์
เพราะฉะนั้นการใช้อานาจและกฎหมายจึงทาให้คนอยากทาดี เพื่อจะ
ได้รับรางวัลตอบแทนและไม่กล้าทาความชั่ว เพราะกลัวถูกลงโทษ
ทัณฑ์ หากเป็นได้ดังกล่าวก็เท่ากับทาให้สังคมสงบสุขโดยอัตโนมัติ
หลักอภิปรัชญาจีน
 เชื่อว่าโลกนี้เกิดมาจากการสร้างของเทพเจ้า ปันกู ซึ่งหมายถึงที่
รองรับอันทรงพลังของ หยิน และหยาง เป็นผลให้สรรพสิ่งในสากล
จักรวาลเกิดขึ้น นักคิดแนวอภิปรัชญาล้วนๆ ของจีนก็คือเล่าจื้อ ผู้
เป็นต้นคิดปรัชญาเต๋า
หลักจริยศาสตร์จีน
 ในทัศนะของเล่าจื้อ ถือว่า “สภาวะดั้งเดิมของมนุษย์นั้นคือความสุข
แต่มนุษย์ต้องมีทุกข์เพราะสภาพของสังคมเปลี่ยนแปลง ดังนั้นวิถีทาง
ที่จะมีความสุขได้นั้น ก็คือการขจัดวัฒนธรรม และขนบธรรมเนียม
ประเพณีต่างๆ ที่สังคมสร้างขึ้น”
 ส่วนในทัศนะของขงจื้อ กล่าวว่า “สังคมที่ดีที่สุดสาหรับมนุษย์ก็คือ
สังคมที่มีความชอบธรรม โดยเริ่มจัดระบบครอบครัวให้มั่นคง มี
ความสุขและชอบธรรมได้แล้ว สังคมโดยร่วมก็จะเป็นปึกแผ่นมั่นคงมี
ความสุขและชอบธรรมไปด้วย”
ปรัชญาญี่ปุ่น
หลักอภิปรัชญาญี่ปุ่น
 อภิปรัชญาญี่ปุ่น เชื่อว่าบรรพบุรุษดั้งเดิมของตนสืบเชื้อสายมาจาก
พระอาทิตย์ ซึ่งเป็นเทพเจ้าสูงสุดในศาสนาชินโต ปรากฏการณ์ต่างๆ
ตามธรรมชาติเกิดขึ้นจากการบันดาลของเทพเจ้า แม้แต่พระเจ้า
จักรพรรดิทุกพระองค์ก็เป็นสิ่งที่เทพเจ้าประทานมาให้เช่นกัน
หลักจริยศาสตร์ปรัชญาญี่ปุ่น
 หลักจริยศาสตร์หรือแนวทาง
ปฏิบัติอันเป็นผลสืบเนื่องมาจากศาสนา
ชินโตนั้น มีหลายประการ เช่น หลักแห่ง
ความสะอาด ซึ่งเป็นสิ่งที่ศาสนาชินโต
เน้นมาก เพราะปรากฏในคัมภีร์ว่า เหล่า
เทพเจ้าทั้งหลายมีเทพอิซานางิ เทพอมเต
ระสุ และเทพโมกิมิ ได้ทาพิธีชาระ
พระองค์ให้สะอาด ก่อนที่จะสร้างสรรค์
สิ่งอื่น ๆ นอกจากนี้ยังมีหลักปฏิบัติใน
เรื่องของความภักดีต่อครอบครัว ภักดี
ต่อชุมชน และภักดีต่อรัฐอันเป็ นการ
แสดงออกด้วยองค์จักรพรรดิ
สัญลักษณ์ของปรัชญาญี่ปุ่น
ดอกซากุระ มิกาโด (จักรพรรดิ)
ดารูมา
ลักษณะปรัชญาญี่ปุ่น
 ปรัชญาของญี่ปุ่นจาแนกเป็นฐานหลักได้ ๓ ฐาน คือ
 ๑. ฐานชินโต ฐานนี้ ญี่ปุ่นรับมาในสมัยมีการนับถือธรรมชาติ
(พระเจ้า) มีคัมภีร์โคยิกิและนิเป็น ตาราศาสนาประจาชาติ เริ่มเป็น
ระบบสั่งสอนและปฏิบัติจากราชสานักไปถึงราษฎร์สามัญและเพื่อให้
มีระเบียบมั่นคงเป็นศาสนามีแบบมีแผนเท่าเทียมกับศาสนาอื่นที่เข้า
มาใหม่ จึงให้ตั้งชื่อศาสนาประจาชาติในโลกธาตุ หรือระบบหยาง-
หยินของจีน
 ๒. ฐานมิกาโต คือ ฐานเกี่ยวกับระบบการนับถือจักรพรรดิ ระบบ
ภายในครอบครัวและระบบทางสังคมที่ยังเป็นระบบที่มีชีวิต มีการ
ปฏิบัติ ทะนุถนอมรักษากันไว้ เป็นเอกลักษณ์ไม่มีเสื่อมคลาย
ยากที่จะหาได้ในสังคมของชาติอื่น อันประกอบด้วย
 ความภักดีต่อบรรพบุรุษ
 ความภักดีต่อครอบครัว
 ความภักดีต่อสังคมในชาติ
ลักษณะปรัชญาญี่ปุ่น
 ๓. ปุตสุโต พระพุทธศาสนา
 ความภัคดีต่อพระพุทธศาสนา เพราะว่า พระพุทธศาสนา มี
อิทธิพลยิ่งใหญ่ ควบคู่ไปกับศาสนาชินโต กล่อมจิตใจขั้นพื้นฐาน
ของชาวญี่ปุ่นรวมเข้าเป็นหนึ่งเดียวมาแต่ต้น นาความเจริญด้าน
จิตใจ ด้านศิลปะวิทยาการ และวัฒนธรรมความเป็นอยู่มาให้แก่
ญี่ปุ่นทุกระดับ
ลักษณะปรัชญาญี่ปุ่น
จบบทที่ ๖
ปรัชญาตะวันออก
ดาวน์โหลดไฟล์นี้ได้ที่
www.philosophychicchic.com
สนุกกับการเรียนรู้ปรัชญาและศาสนาแบบชิคๆ เคียงคู่รอยยิ้ม

More Related Content

What's hot

ศาสนาเปรียบเทียบ
ศาสนาเปรียบเทียบศาสนาเปรียบเทียบ
ศาสนาเปรียบเทียบ
thnaporn999
 
หน่วยที่ 5 การวางโครงเรื่องของเรียงความ
หน่วยที่ 5 การวางโครงเรื่องของเรียงความหน่วยที่ 5 การวางโครงเรื่องของเรียงความ
หน่วยที่ 5 การวางโครงเรื่องของเรียงความ
ขนิษฐา ทวีศรี
 
ปรัชญาทั่วไป ตอน ปรัชญาอินเดีย
ปรัชญาทั่วไป ตอน ปรัชญาอินเดียปรัชญาทั่วไป ตอน ปรัชญาอินเดีย
ปรัชญาทั่วไป ตอน ปรัชญาอินเดีย
Padvee Academy
 
ประวัติและวิวัฒนาการแนวความคิดทางปรัชญา
ประวัติและวิวัฒนาการแนวความคิดทางปรัชญาประวัติและวิวัฒนาการแนวความคิดทางปรัชญา
ประวัติและวิวัฒนาการแนวความคิดทางปรัชญา
Padvee Academy
 

What's hot (20)

ศาสนาเชน
ศาสนาเชนศาสนาเชน
ศาสนาเชน
 
ปรัชญาทั่วไป บทที่1
ปรัชญาทั่วไป บทที่1 ปรัชญาทั่วไป บทที่1
ปรัชญาทั่วไป บทที่1
 
บทที่ ๒ กรรมฐาน และบุรพกิจของการปฏิบัติกรรมฐาน
บทที่ ๒ กรรมฐาน และบุรพกิจของการปฏิบัติกรรมฐานบทที่ ๒ กรรมฐาน และบุรพกิจของการปฏิบัติกรรมฐาน
บทที่ ๒ กรรมฐาน และบุรพกิจของการปฏิบัติกรรมฐาน
 
พระไตรปิฎก
พระไตรปิฎกพระไตรปิฎก
พระไตรปิฎก
 
หลักการทรงงาน 23 ข้อกับการประยุกต์ใช้
หลักการทรงงาน 23 ข้อกับการประยุกต์ใช้หลักการทรงงาน 23 ข้อกับการประยุกต์ใช้
หลักการทรงงาน 23 ข้อกับการประยุกต์ใช้
 
ศาสนาเปรียบเทียบ
ศาสนาเปรียบเทียบศาสนาเปรียบเทียบ
ศาสนาเปรียบเทียบ
 
การเผยแผ่พระพุทธศาสนาเข้าสู่ประเทศเพื่อนบ้าน
การเผยแผ่พระพุทธศาสนาเข้าสู่ประเทศเพื่อนบ้าน การเผยแผ่พระพุทธศาสนาเข้าสู่ประเทศเพื่อนบ้าน
การเผยแผ่พระพุทธศาสนาเข้าสู่ประเทศเพื่อนบ้าน
 
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับศาสนา
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับศาสนาความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับศาสนา
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับศาสนา
 
พุทธศาสนานิกายมหายาน
พุทธศาสนานิกายมหายานพุทธศาสนานิกายมหายาน
พุทธศาสนานิกายมหายาน
 
หน่วยที่ 5 การวางโครงเรื่องของเรียงความ
หน่วยที่ 5 การวางโครงเรื่องของเรียงความหน่วยที่ 5 การวางโครงเรื่องของเรียงความ
หน่วยที่ 5 การวางโครงเรื่องของเรียงความ
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่๗
แผนการจัดการเรียนรู้ที่๗แผนการจัดการเรียนรู้ที่๗
แผนการจัดการเรียนรู้ที่๗
 
ศาสนาชินโต
ศาสนาชินโตศาสนาชินโต
ศาสนาชินโต
 
คัมภีร์ฉันทศาสตร์ Ppt[1]
คัมภีร์ฉันทศาสตร์ Ppt[1]คัมภีร์ฉันทศาสตร์ Ppt[1]
คัมภีร์ฉันทศาสตร์ Ppt[1]
 
ความรู้พื้นฐานและบ่อเกิดพุทธศาสนามหายาน
ความรู้พื้นฐานและบ่อเกิดพุทธศาสนามหายานความรู้พื้นฐานและบ่อเกิดพุทธศาสนามหายาน
ความรู้พื้นฐานและบ่อเกิดพุทธศาสนามหายาน
 
ศาสนาคริสต์
ศาสนาคริสต์ศาสนาคริสต์
ศาสนาคริสต์
 
อจท. พระพุทธศาสนา ม.3
อจท. พระพุทธศาสนา ม.3อจท. พระพุทธศาสนา ม.3
อจท. พระพุทธศาสนา ม.3
 
บทที่ ๑ ประวัติและวิวัฒนาการของการปฏิบัติกรรมฐาน
บทที่ ๑ ประวัติและวิวัฒนาการของการปฏิบัติกรรมฐานบทที่ ๑ ประวัติและวิวัฒนาการของการปฏิบัติกรรมฐาน
บทที่ ๑ ประวัติและวิวัฒนาการของการปฏิบัติกรรมฐาน
 
ปรัชญาทั่วไป ตอน ปรัชญาอินเดีย
ปรัชญาทั่วไป ตอน ปรัชญาอินเดียปรัชญาทั่วไป ตอน ปรัชญาอินเดีย
ปรัชญาทั่วไป ตอน ปรัชญาอินเดีย
 
ประวัติและวิวัฒนาการแนวความคิดทางปรัชญา
ประวัติและวิวัฒนาการแนวความคิดทางปรัชญาประวัติและวิวัฒนาการแนวความคิดทางปรัชญา
ประวัติและวิวัฒนาการแนวความคิดทางปรัชญา
 
การเข้ามาและพัฒนาการพุทธศาสนาในประเทศไทย
การเข้ามาและพัฒนาการพุทธศาสนาในประเทศไทยการเข้ามาและพัฒนาการพุทธศาสนาในประเทศไทย
การเข้ามาและพัฒนาการพุทธศาสนาในประเทศไทย
 

Similar to ปรัชญาเบื้องต้น บทที่ ๖ ปรัชญาตะวันออก

สายธารปรัชญาคือที่มาของสรรพศาสตร์
สายธารปรัชญาคือที่มาของสรรพศาสตร์สายธารปรัชญาคือที่มาของสรรพศาสตร์
สายธารปรัชญาคือที่มาของสรรพศาสตร์
pentanino
 
ศาสนาเปรียบเทียบ 1
ศาสนาเปรียบเทียบ 1ศาสนาเปรียบเทียบ 1
ศาสนาเปรียบเทียบ 1
thnaporn999
 
ศาสนาพราหมณ์ ฮินดู
ศาสนาพราหมณ์ ฮินดูศาสนาพราหมณ์ ฮินดู
ศาสนาพราหมณ์ ฮินดู
Jani Kp
 
ปริศนาธรรมในพุทธปรัชญา
ปริศนาธรรมในพุทธปรัชญาปริศนาธรรมในพุทธปรัชญา
ปริศนาธรรมในพุทธปรัชญา
pentanino
 
ปรัชญาและปรัชญาการศึกษา 29 ต.ค.52
ปรัชญาและปรัชญาการศึกษา 29 ต.ค.52ปรัชญาและปรัชญาการศึกษา 29 ต.ค.52
ปรัชญาและปรัชญาการศึกษา 29 ต.ค.52
juriporn chuchanakij
 
แนวคิดเรื่องกรรมและความจริงสูงสุดของศาสนาเชน
แนวคิดเรื่องกรรมและความจริงสูงสุดของศาสนาเชนแนวคิดเรื่องกรรมและความจริงสูงสุดของศาสนาเชน
แนวคิดเรื่องกรรมและความจริงสูงสุดของศาสนาเชน
Tongsamut vorasan
 

Similar to ปรัชญาเบื้องต้น บทที่ ๖ ปรัชญาตะวันออก (20)

สายธารปรัชญาคือที่มาของสรรพศาสตร์
สายธารปรัชญาคือที่มาของสรรพศาสตร์สายธารปรัชญาคือที่มาของสรรพศาสตร์
สายธารปรัชญาคือที่มาของสรรพศาสตร์
 
590802 บทที่-1-แก้ไขแล้ว
590802 บทที่-1-แก้ไขแล้ว590802 บทที่-1-แก้ไขแล้ว
590802 บทที่-1-แก้ไขแล้ว
 
333
333333
333
 
Nrru 003
Nrru 003Nrru 003
Nrru 003
 
Lesson 3
Lesson 3Lesson 3
Lesson 3
 
ศาสนาเปรียบเทียบ 1
ศาสนาเปรียบเทียบ 1ศาสนาเปรียบเทียบ 1
ศาสนาเปรียบเทียบ 1
 
กลุ่มน้องเต่าชิกูเมะ --มนุษยกับการแสวงหาความจริงและความหมายของชีวิต
กลุ่มน้องเต่าชิกูเมะ --มนุษยกับการแสวงหาความจริงและความหมายของชีวิตกลุ่มน้องเต่าชิกูเมะ --มนุษยกับการแสวงหาความจริงและความหมายของชีวิต
กลุ่มน้องเต่าชิกูเมะ --มนุษยกับการแสวงหาความจริงและความหมายของชีวิต
 
ศาสนาพราหมณ์ ฮินดู
ศาสนาพราหมณ์ ฮินดูศาสนาพราหมณ์ ฮินดู
ศาสนาพราหมณ์ ฮินดู
 
พุทธศาสนามหายาน ตอน นิกายมาธยมิกะ
พุทธศาสนามหายาน ตอน นิกายมาธยมิกะพุทธศาสนามหายาน ตอน นิกายมาธยมิกะ
พุทธศาสนามหายาน ตอน นิกายมาธยมิกะ
 
สาระสำคัญของศาสนา
สาระสำคัญของศาสนา สาระสำคัญของศาสนา
สาระสำคัญของศาสนา
 
นวโกวาท
นวโกวาทนวโกวาท
นวโกวาท
 
ปริศนาธรรมในพุทธปรัชญา
ปริศนาธรรมในพุทธปรัชญาปริศนาธรรมในพุทธปรัชญา
ปริศนาธรรมในพุทธปรัชญา
 
โพธิยาลัย เดือน กุมภาพันธ์ 2555
โพธิยาลัย เดือน กุมภาพันธ์ 2555โพธิยาลัย เดือน กุมภาพันธ์ 2555
โพธิยาลัย เดือน กุมภาพันธ์ 2555
 
พุทธศาสนากับโหราศาสตร์
พุทธศาสนากับโหราศาสตร์พุทธศาสนากับโหราศาสตร์
พุทธศาสนากับโหราศาสตร์
 
ความรู้เรื่องศาสนาแผ่นพับ
ความรู้เรื่องศาสนาแผ่นพับความรู้เรื่องศาสนาแผ่นพับ
ความรู้เรื่องศาสนาแผ่นพับ
 
ปรัชญาและปรัชญาการศึกษา 29 ต.ค.52
ปรัชญาและปรัชญาการศึกษา 29 ต.ค.52ปรัชญาและปรัชญาการศึกษา 29 ต.ค.52
ปรัชญาและปรัชญาการศึกษา 29 ต.ค.52
 
23 06-10
23 06-1023 06-10
23 06-10
 
06
0606
06
 
พุทธวิธีในการสอน พระพรหมคุณาภรณ์(ป.อ.ปยุตฺโต)
พุทธวิธีในการสอน พระพรหมคุณาภรณ์(ป.อ.ปยุตฺโต) พุทธวิธีในการสอน พระพรหมคุณาภรณ์(ป.อ.ปยุตฺโต)
พุทธวิธีในการสอน พระพรหมคุณาภรณ์(ป.อ.ปยุตฺโต)
 
แนวคิดเรื่องกรรมและความจริงสูงสุดของศาสนาเชน
แนวคิดเรื่องกรรมและความจริงสูงสุดของศาสนาเชนแนวคิดเรื่องกรรมและความจริงสูงสุดของศาสนาเชน
แนวคิดเรื่องกรรมและความจริงสูงสุดของศาสนาเชน
 

More from Padvee Academy

หนังสือสอนใช้ WordPress สำหรับผู้เริ่มต้น [ฉบับ E-book]
หนังสือสอนใช้ WordPress สำหรับผู้เริ่มต้น [ฉบับ E-book]หนังสือสอนใช้ WordPress สำหรับผู้เริ่มต้น [ฉบับ E-book]
หนังสือสอนใช้ WordPress สำหรับผู้เริ่มต้น [ฉบับ E-book]
Padvee Academy
 
ปรัชญาอัตถิภาวนิยมของ ฌอง ปอล ซาร์ต (Jean paul sartre)
ปรัชญาอัตถิภาวนิยมของ ฌอง ปอล ซาร์ต (Jean paul sartre)ปรัชญาอัตถิภาวนิยมของ ฌอง ปอล ซาร์ต (Jean paul sartre)
ปรัชญาอัตถิภาวนิยมของ ฌอง ปอล ซาร์ต (Jean paul sartre)
Padvee Academy
 
ปรัชญากับวิถีชีวิต
ปรัชญากับวิถีชีวิตปรัชญากับวิถีชีวิต
ปรัชญากับวิถีชีวิต
Padvee Academy
 
5 ขั้นตอนที่ต้องรู้ก่อนทำเว็บไซต์
5 ขั้นตอนที่ต้องรู้ก่อนทำเว็บไซต์5 ขั้นตอนที่ต้องรู้ก่อนทำเว็บไซต์
5 ขั้นตอนที่ต้องรู้ก่อนทำเว็บไซต์
Padvee Academy
 
สรุปเนื้อหา ปรัชญาเบื้องต้น ตอน โทมัส ฮอบส์ (Thomas hobbes)
สรุปเนื้อหา ปรัชญาเบื้องต้น ตอน โทมัส  ฮอบส์ (Thomas hobbes)สรุปเนื้อหา ปรัชญาเบื้องต้น ตอน โทมัส  ฮอบส์ (Thomas hobbes)
สรุปเนื้อหา ปรัชญาเบื้องต้น ตอน โทมัส ฮอบส์ (Thomas hobbes)
Padvee Academy
 
พระพุทธศาสนาวัชรยาน Vajrayana Buddhism
พระพุทธศาสนาวัชรยาน Vajrayana Buddhismพระพุทธศาสนาวัชรยาน Vajrayana Buddhism
พระพุทธศาสนาวัชรยาน Vajrayana Buddhism
Padvee Academy
 
พุทธศาสนามหายาน นิกายสุขาวดี | Pure Land Buddhism
พุทธศาสนามหายาน นิกายสุขาวดี | Pure Land Buddhismพุทธศาสนามหายาน นิกายสุขาวดี | Pure Land Buddhism
พุทธศาสนามหายาน นิกายสุขาวดี | Pure Land Buddhism
Padvee Academy
 
สัทธรรมปุณฑริกสูตร (The Lotus of The True Law)
สัทธรรมปุณฑริกสูตร (The Lotus of The True Law)สัทธรรมปุณฑริกสูตร (The Lotus of The True Law)
สัทธรรมปุณฑริกสูตร (The Lotus of The True Law)
Padvee Academy
 

More from Padvee Academy (20)

หนังสือสอนใช้ WordPress สำหรับผู้เริ่มต้น [ฉบับ E-book]
หนังสือสอนใช้ WordPress สำหรับผู้เริ่มต้น [ฉบับ E-book]หนังสือสอนใช้ WordPress สำหรับผู้เริ่มต้น [ฉบับ E-book]
หนังสือสอนใช้ WordPress สำหรับผู้เริ่มต้น [ฉบับ E-book]
 
Onpage stucture checklist
Onpage stucture checklist Onpage stucture checklist
Onpage stucture checklist
 
ปรัชญาอัตถิภาวนิยมของ ฌอง ปอล ซาร์ต (Jean paul sartre)
ปรัชญาอัตถิภาวนิยมของ ฌอง ปอล ซาร์ต (Jean paul sartre)ปรัชญาอัตถิภาวนิยมของ ฌอง ปอล ซาร์ต (Jean paul sartre)
ปรัชญาอัตถิภาวนิยมของ ฌอง ปอล ซาร์ต (Jean paul sartre)
 
ปรัชญากับวิถีชีวิต
ปรัชญากับวิถีชีวิตปรัชญากับวิถีชีวิต
ปรัชญากับวิถีชีวิต
 
ปรัชญาทั่วไป ตอน ทำความรู้จักกับปรัชญา
ปรัชญาทั่วไป ตอน ทำความรู้จักกับปรัชญาปรัชญาทั่วไป ตอน ทำความรู้จักกับปรัชญา
ปรัชญาทั่วไป ตอน ทำความรู้จักกับปรัชญา
 
5 ขั้นตอนที่ต้องรู้ก่อนทำเว็บไซต์
5 ขั้นตอนที่ต้องรู้ก่อนทำเว็บไซต์5 ขั้นตอนที่ต้องรู้ก่อนทำเว็บไซต์
5 ขั้นตอนที่ต้องรู้ก่อนทำเว็บไซต์
 
สรุปเนื้อหา ปรัชญาเบื้องต้น ตอน โทมัส ฮอบส์ (Thomas hobbes)
สรุปเนื้อหา ปรัชญาเบื้องต้น ตอน โทมัส  ฮอบส์ (Thomas hobbes)สรุปเนื้อหา ปรัชญาเบื้องต้น ตอน โทมัส  ฮอบส์ (Thomas hobbes)
สรุปเนื้อหา ปรัชญาเบื้องต้น ตอน โทมัส ฮอบส์ (Thomas hobbes)
 
วิเคราะห์ปรัชญาขงจื๊อ
วิเคราะห์ปรัชญาขงจื๊อวิเคราะห์ปรัชญาขงจื๊อ
วิเคราะห์ปรัชญาขงจื๊อ
 
ปรัชญาหยางจื๊อ (Yang tzu)
ปรัชญาหยางจื๊อ (Yang  tzu)ปรัชญาหยางจื๊อ (Yang  tzu)
ปรัชญาหยางจื๊อ (Yang tzu)
 
พระพุทธศาสนาวัชรยาน Vajrayana Buddhism
พระพุทธศาสนาวัชรยาน Vajrayana Buddhismพระพุทธศาสนาวัชรยาน Vajrayana Buddhism
พระพุทธศาสนาวัชรยาน Vajrayana Buddhism
 
พุทธศาสนามหายาน นิกายสุขาวดี | Pure Land Buddhism
พุทธศาสนามหายาน นิกายสุขาวดี | Pure Land Buddhismพุทธศาสนามหายาน นิกายสุขาวดี | Pure Land Buddhism
พุทธศาสนามหายาน นิกายสุขาวดี | Pure Land Buddhism
 
Timeline : history of philosophy
Timeline : history of philosophyTimeline : history of philosophy
Timeline : history of philosophy
 
Timeline : A History of Eastern Philosophy
Timeline : A History of Eastern PhilosophyTimeline : A History of Eastern Philosophy
Timeline : A History of Eastern Philosophy
 
รูปภาพ Infographic สรุปแนวคิดที่สำคัญทาง จริยศาสตร์
รูปภาพ Infographic สรุปแนวคิดที่สำคัญทาง จริยศาสตร์รูปภาพ Infographic สรุปแนวคิดที่สำคัญทาง จริยศาสตร์
รูปภาพ Infographic สรุปแนวคิดที่สำคัญทาง จริยศาสตร์
 
เทพเจ้ากรีกและโรมัน (The greek and roman gods Infographic)
เทพเจ้ากรีกและโรมัน (The greek and roman gods Infographic)เทพเจ้ากรีกและโรมัน (The greek and roman gods Infographic)
เทพเจ้ากรีกและโรมัน (The greek and roman gods Infographic)
 
ศิลปะแห่งความรัก
ศิลปะแห่งความรักศิลปะแห่งความรัก
ศิลปะแห่งความรัก
 
ความฉลาดทางอารมณ์และการพัฒนาจิตใจ
ความฉลาดทางอารมณ์และการพัฒนาจิตใจความฉลาดทางอารมณ์และการพัฒนาจิตใจ
ความฉลาดทางอารมณ์และการพัฒนาจิตใจ
 
รากฐานแห่งอภิปรัชญาของศีลธรรม โดย ค้านท์ (Kants groundwork of the metaphysics...
รากฐานแห่งอภิปรัชญาของศีลธรรม โดย ค้านท์ (Kants groundwork of the metaphysics...รากฐานแห่งอภิปรัชญาของศีลธรรม โดย ค้านท์ (Kants groundwork of the metaphysics...
รากฐานแห่งอภิปรัชญาของศีลธรรม โดย ค้านท์ (Kants groundwork of the metaphysics...
 
สัทธรรมปุณฑริกสูตร (The Lotus of The True Law)
สัทธรรมปุณฑริกสูตร (The Lotus of The True Law)สัทธรรมปุณฑริกสูตร (The Lotus of The True Law)
สัทธรรมปุณฑริกสูตร (The Lotus of The True Law)
 
ธรรมนิเทศ Dhamma Communication
ธรรมนิเทศ Dhamma Communicationธรรมนิเทศ Dhamma Communication
ธรรมนิเทศ Dhamma Communication
 

ปรัชญาเบื้องต้น บทที่ ๖ ปรัชญาตะวันออก