SlideShare una empresa de Scribd logo
1 de 54
ปรัชญาเบื้องต้น
บทที่ ๗ ปรัชญาตะวันตก
บทที่ ๗ : ปรัชญาตะวันตก
บทที่ ๗ : ปรัชญาตะวันตก
 ขอบข่ายเนื้อหา
 ปรัชญาตะวันตกสมัยโบราณ
 ปรัชญาตะวันตกสมัยกลาง
 ปรัชญาตะวันตกสมัยใหม่
 ปรัชญาตะวันตกร่วมสมัย
ปรัชญาตะวันตกสมัยโบราณ
 เป็นปรัชญากรีกที่มุ่งแสวงหาความจริงเกี่ยวกับต้นกาเนิดของ
สิ่งทั้งปวง นักปรัชญากรีกยุคแรกเริ่มต้นเมื่อประมาณ ๖๐๐ ปี ก่อน
คริสต์ศักราช ศึกษาในเรื่องธรรมชาติ ว่า ปฐมธาตุมาจากอะไร
การแบ่งยุคปรัชญากรีกยุคโบราณ
 แบ่งออกเป็น ๓ สมัย
๑. สมัยเริ่มต้น (ก.ค.ศ. ๖๔๐-๔๕๐)
นับตั้งแต่ธาเลสไปจนถึงก่อนโสคราตีส
๒. สมัยรุ่งเรื่อง (ก.ค.ศ. ๔๕๐-๓๒๒)
นับตั้งแต่โสคราตีสจนถึงมรณกรรมของอริสโตเติล
๓. สมัยเสื่อม (ก.ค.ศ. ๓๒๒-๕๒๙)
นับตั้งแต่มรณกรรมของอริสโตเติล
๑) ยุคเริ่มต้น
 ธาเลส (Thales B.C. 624-546)
• ธาเลส เกิดที่เมืองไมเลตุส ประมาณ 624 ปี ก่อนคริสตกาล และได้รับ
ยกย่องว่าเป็นบิดาปรัชญาตะวันตกโบราณ
 “น้า” คือละอองธุลี หรือธาตุดั้งเดิมของโลก เพราะว่าโลกและ
สรรพสิ่งเกิดมาจากน้าและเมื่อแตกสลายก็จะกลับคืนไปสู่สภาพ
ของน้า ธาเลส จึงให้เหตุผลว่าน้าเป็นปฐมธาตุ เพราะน้าทรง
ประสิทธิภาพในการแปรรูป เป็นสิ่งอื่นๆ
อะแนกซิมานเดอร์(AnaximanderB.C.610-546)
 อะแนกซิมาเดอร์เป็นชาวเมืองไมเลตุส เล่ากันว่าอะแนกซิมาน
เดอร์ได้เคยทาแผนที่โลก และเป็นผู้ที่เผยแพร่นาฬิกาแดดแก่
ชาวกรีก เป็นคนแรก
อะแนกซิมานเดอร์(AnaximanderB.C.610-546)
 สิ่งที่จะเป็นปฐมธาตุของโลก ควรจะมีความเป็นกลาง คือใน
ตัวมันเองยังไม่เป็นอะไร ยังไม่เป็นดิน น้า ลม ไฟ มันจะยัง
ไม่สังกัดกลุ่มใดกลุ่มหนึ่ง ปฐมธาตุจึงควรเป็นสารที่ไร้รูป
(Formless Material) ที่ไม่มีรูปลักษณะเหมือนสิ่งของใดๆ ที่
คนเรารู้จัก มันเป็นสิ่งที่มองไม่เห็นด้วยตาเปล่า แต่มันเป็น
สิ่งที่เป็นนิรันดร และแผ่ซ่านไม่มีที่สิ้นสุด ดังนั้น อะแนกซิ
มานเดอร์ จึงสรุปว่า “ปฐมธาตุ คือ อนันต์ (Infinite)”
อะแนกซิเมเนส(AnaximenesB.C.595-528)
 อะแนกซิเมเนสเป็นศิษย์ของอะแนกซิมานเดอร์
อภิปรัชญาของอะแนกซิเมเนส
“อากาศ” ต่างหากที่เป็นปฐมธาตุของโลกเพราะอากาศแผ่
ขยายออกไปไม่มีที่สิ้นสุด และมีพลังขับเคลื่อนในตัวเอง
อากาศจึงเคลื่อนไหวตลอดเวลา และด้วยอนุภาพแห่งการ
เคลื่อนไหวของอากาศนี้ สรรพสิ่งจึงจะเกิดขึ้น
 ไม่ว่าจะเป็นของแข็ง ของเหลว และก๊าซ ล้วนมีต้นเหตุ
มาจากอากาศทั้งสิ้น ฉะนั้น อากาศจังเป็นปฐมธาตุของโลก
ไพธากอรัส(PythagorasB.C.582-507)
 ไฟธากอรัส เป็นบุรุษคนแรกที่
เรียกตัวเองว่าเป็น
นักปรัชญา (Philosopher)
อภิปรัชญาของไพธากอรัส
ไพธากอรัส มีความเชื่อในเรื่อง จิตญาณพิเศษ (Mysticism)
เขาถือว่าการเรียนวิชาคณิตศาสตร์เป็นการฝึกจิตใจที่
นาไปสู่การค้นพบสัจธรรมสากลที่มีลักษณะเป็นนามธรรม
 “จานวนเลขทั้งหลายเป็นสิ่งสาคัญที่สุด เป็นพื้นฐาน
คุณภาพของสิ่งทั้งปวง เกี่ยวข้องกับทุกสิ่งในจักรวาล
โลกนี้สร้างมาจากจานวนตัวเลขซึ่งเป็นนามธรรม”
เฮราคลีตุส(HeraclitusB.C.540-470)
 เฮราคลีตุส เป็นผู้ให้กาเนินทฤษฎีอนิจจัง (Changing) จนได้
นามว่า “เจ้าแห่งจักรวาล”
อภิปรัชญาของเฮราคลีตุส
“ไฟต้องเป็นแก่นของสิ่งทั้งปวง” ทั้งนี้เพราะว่าไฟนั้น ให้
ชีวิต ให้พลังงาน คือมีความเปลี่ยนแปลงอยู่เสมอ
 “ทุกสิ่งทุกอย่างย่อมเปลี่ยนแปลงไป ไม่มีอะไรคงที่อยู่
ได้ สรรพสิ่งย่อมเปลี่ยนแปลงไปอย่างไม่หยุดยั้ง”
 เฮราคลีตุส กล่าว่า
“บุคคลไม่สามารถกระโดดลงไปในกระแสน้าอัน
เดียวกันได้ถึง ๒ ครั้ง”
อภิปรัชญาของพาร์มินิเดส(B.C.500)
เป็นผู้พัฒนาความคิดเกี่ยวกับ ภาวะ (Being)
 เขาเป็นคนแรกที่เรียกสัจจะภาวะว่า มีเพียงหน่วยเดียว
เป็นนิรันดร ไม่มีมากมายหลายหลาก และการเปลี่ยนแปลง
เป็นเพียงมายาหรือภาพลวงตา
 “สิ่งที่เป็นจริงขั้นสูงสุด ต้องมีลักษณะเป็นนิจจัง”
๒)ยุครุ่งเรื่อง
 อภิปรัชญากลุ่มโซฟิ สต์ (ประมาณ 500 ปี ก่อน ค.ศ.)
โซฟิ สต์คิดว่า ความจริงที่แน่นอน ตายตัว ไม่มีในโลกนี้
“ความจริงเป็นเรื่องส่วนบุคคล ใครเห็นอะไร เป็น
อย่างไร ก็จริงสาหรับคนนั้น”
โปรตากอรัส จึงกล่าว่า
“Man is the measure of all thing.”
“คนเป็นผู้วัดทุกสิ่ง”
โสคราตีส(SocratesB.C.470-399)
 แนวอภิปรัชญาของโสคราตีส
เรารู้ได้จากผลงานของเพลโต
ผู้เป็นศิษย์ เพราะโสคราตีสไม่ได้
เขียนอะไรไว้เลย
 โสคราตีสพยายามเรียกร้องให้มนุษย์หันเข้าสู่ความจริง
เพราะเชื่ออย่างแน่นอน “ปัญญา” คืออานาจ ย่อมพามนุษย์
เข้าสู่สัจจะได้
 โสคราตีสเองก็มิได้ตั้งใจจะสร้าง
ระบบปรัชญาอะไรขึ้นอีก
เพียงแต่ปรารถนาจะปลุกให้
มนุษย์ตื่นจากอวิชชา เพื่อศึกษา
ค้นคว้าหาความหมายแห่งชีวิต
และสืบสาวหาสิ่งอันเป็นสัจ
จธรรมและคุณธรรมเพื่อที่จะได้
ยึดถือเป็นหลักในการดารงชีวิต
ต่อไป
อภิปรัชญาของพลาโต(PlatoB.C.427-347)
ในฐานะที่เป็นนักปรัชญาฝ่ายจิตนิยม (Idealist) พลาโตได้
แบ่งโลกออกเป็น 2 ชนิด
 1. โลกที่ปรากฏ หรือโลกทางประสาทสัมผัส (The word
of sense-perceptions)
 2. โลกแห่งความคิด หรือแบบ (The Transcendent
world of ideas or Form)
โลกที่ปรากฏ(Thewordofsense-perceptions)
 หมายถึงโลกที่ปรากฏทางประสาทสัมผัส หรือโลกที่เรามองเห็น เป็น
เพียงลักษณะที่ปรากฎต่อเราคล้ายกับว่าเป็นลักษณะที่แท้จริง และที่
ปรากฏอย่างไรนั้น แล้วแต่เราจะมองจากแง่ไหน เช่น กระต่ายตัว
หนึ่งขนาดของกระต่ายตัวนี้ ใหญ่หรือเล็ก เราตอบได้เพียงว่า เล็กถ้า
เทียบกับช้าง ใหญ่ถ้าเทียบกับแมลง
โลกแห่งความคิดหรือโลกแห่งแบบ
 คือ โลกที่อยู่เหนือประสาทสัมผัส เป็นโลกที่จริงกว่าโลกที่
เราประจักษ์ในชีวิตประจาวัน
 ตามทัศนะของพลาโต วัตถุมากมายหลายหลากในโลกนี้ สามารถที่
จะลดลงสู่มโนภาพที่แน่นอนหรือแบบได้ และสรรพวัตถุก็เป็นสิ่งที่
แสดงออกของแบบ (Forms) ที่สมบูรณ์มากหรือน้อยต่างๆ กัน ใน
ขณะเดียวกันแบบที่สมบูรณ์ของมันก็ได้สร้างแบบโลกที่แท้จริงของ
มันด้วย
อภิปรัชญาของอริสโตเติล(B.C.385)
 รูปของพลาโตชี้มือขึ้นฟ้ า ส่วน
อริสโตเติลนั้น ชี้มือลงสู่พื้นดิน
อันเป็นความแตกต่างระหว่าง
ปรัชญาของทั้งสองผู้ยิ่งใหญ่
อย่างเห็นได้ชัด
 ทั้งนี้เพราะพลาโต เป็นนักปรัชญาที่นิยมความคิดที่เหนือ
ธรรมชาติและเหนือประสาทสัมผัส ส่วนอริสโตเติลนั้นเป็น
นักสัจจนิยม เขามองดูโลกรอบตัว เพื่อแสวงหาสัจจภาวะ
ความคิดอันเป็นหลักสากลหรือแบบ จากโลกแห่งความเป็น
จริงที่อยู่รอบตัว
อริสโตเติล
 แบบจะต้องเป็นแบบของสสารอย่างใดอย่างหนึ่งอยู่เสมอ ภาวะ
อันแท้จริงของสิ่งใดนั้นจะต้องมีอยู่ในวัตถุชิ้นนั้นอยู่เสมอ ภาวะ
อันแท้จริงเป็นตัวที่แสดงธรรมชาติและคุณลักษณะของสิ่งนั้น
 “ภาวะแห่งอุดมคติทุกชนิดนั้น มีรากฐานมาจากภาวะอัน
แท้จริงที่เป็นธรรมชาติของมัน ทุกสิ่งทุกอย่างในธรรมชาตินั้น
จะต้องเจริญไปสู่ภาวะแห่งอุดมคติของมันทั้งสิ้น”
๓)ยุคเสื่อม
อภิปรัชญาของสานักเอปิ คิวเรียน (B.C. 300)
พวกเอปิ วคิวเรียน มีความเห็นขัดแย้งกับศาสนา เพราะเขาต้องการ
ที่จะปลดปล่อยมนุษย์ให้พ้นจากการถูกชะตากาหนด และจากอานาจ
ของเทพเจ้าทั้งปวง ซึ่งถือกันว่า เป็นสิ่งที่มีอานาจเหนือธรรมชาติที่
เข้ามายุ่งเกี่ยวกับมนุษย์
 “บุคคลผู้ไม่หวังอะไรเลยย่อมเป็นสุข เพราะเขาจะไม่ผิดหวัง”
ลัทธิสโตอิค(Stoicism)
 เสนอว่า ความสุขอยู่ที่การตัดทุกที่ไม่จาเป็นออกเสีย ไม่ว่าจะเป็น
เครื่องอุปโภค บริโภค เหลือไว้แต่เพียงสิ่งจาเป็นในการยังชีพ แล้วให้
มีใจอุเบกขาตลอดเวลา คนเราขาดความสุขเพราะตกเป็นทาสของ
ความต้องการเกินขอบเขต
ลัทธิซีนิค(Cynicism)
 ความสุขอยู่ที่การตัดทุกสิ่งในชีวิต ไม่ให้เหลือความจาเป็นอะไร
เลย มีชีวิตอยู่ไปวันหนึ่งๆ อย่างไร้กังวลเหมือนสุนัข ต้องตัดทุก
สิ่งทุกอย่าง แม้เสื้อผ้าอาหารก็บริโภคตามมีตามเกิด
ปรัชญาตะวันตกสมัยกลาง
 ตั้งแต่เริ่มปรัชญาคริสต์ จนถึงประมาณสิ้นศตวรรษที่ ๑๕ มีเนื้อ
หาทางปรัชญาแบ่งเป็น ๔ หัวข้อ
 ปรัชญาปิ ตาจารย์ (ค.ศ. ๘๐๐)
 ปรัชญาอัสมาจารย์ (ค.ศ. ๙๐๐-๑๕๐๐)
 ปรัชญาอิสลาม (ค.ศ. ๑๐๐๐-๑๑๐๐)
 ปรัชญาสมัยฟื้นฟู (ค.ศ. ๑๔๐๐-๑๖๐๐)
ปรัชญาปิ ตาจารย์(ค.ศ.๘๐๐)
 นักบุญออกัสติน (St. Augustine)
นักบุญออกัสติน เป็นผู้ที่ศรัทธา
ในปรัชญาของพลาโตใหม่
ปรัชญาปิ ตาจารย์
 เซนต์ ออกัสติน (Saint Augustine)
 เขียนหนังสือ The city of god เสนอว่า
สิ่งสากลอยู่ในพระมนัส (Intellect) ของพระเจ้า
 พระเจ้าสร้างวิญญาณมนุษย์และส่องสว่าง (Illumination)
เพื่อให้รู้สิ่งสากล และความรอด (Salvation - รอดจากความ
ทุกข์ไปสวรรค์)
 ให้เจตจานงเสรี แต่มนุษย์ใช้ไม่เป็นจึงกลายเป็นบาปกาเนิด
(Original sin)
ปรัชญาอัสมาจารย์
 ในยุคนี้ใช้ปรัชญาของอริสโตเติลมาอธิบายคริสต์ศาสนาและใช้
ปรัชญาของพลาโตเท่าที่จาเป็นเพื่อสนับสนุนความคิดของ
อริสโตเติล
 ยกย่องอริสโตเติลกันขนาดให้สมญาว่านักปรัชญา (The Philosophy)
 นักปรัชญาที่สาคัญที่สุดได้แก่ เซนต์ โธมัส อควินัส (Saint Thomas
Aquinas)ใช้ วิธีพิสูจน์ความถูกต้องของข้อเสนอโดยเหตุผลทาง
ตรรกวิทยาแบบ อริสโตเติล (Aristotle
ปรัชญาอิสลาม
 นักคิดสาคัญ : อวีเซนนา, อเวอร์โรเอส, อัล คินดี, อัลรอซี,
อิบนุ อัล นาดีม,อิบนุ มิสกาวัย, อิบนุ ซีนา, อิบนุ ตุเฟล
 แนวคิดทางปรัชญา : ยุคนี้ประนีประนอมระหว่างปรัชญาของ
พลาโตและอริสโตเติลกับศาสนาอิสลาม ให้ความสนใจในเรื่อง
อานาจแห่งเหตุผลและอานาจแห่งพระเจ้า
ปรัชญาสมัยฟื้นฟู
 Philosophy of Renaissance ๑๔๐๐ – ๑๖๐๐
 นักคิดสาคัญ : กาลิเลโอ, บรูโน
 แนวคิดทางปรัชญา : ความรู้ที่ถูกต้องได้จากประสบการณ์
ปรัชญาตะวันตกสมัยใหม่
 เป็นยุคที่สนใจในเรื่องวิทยาศาสตร์
 ปรัชญาประสบการณ์นิยม
 ปรัชญาเหตุผลนิยม
 ปรัชญาอัชฌัตติกญาณนิยม
 ปรัชญาอนุมานนิยม
ปรัชญาประสบการณ์นิยม
 นักคิดสาคัญในปรัชญาสายนี้ : ได้แก่ ฟรานซีส เบคอน,
จอห์น ล็อค, เดวิด ฮูม, โธมัส ฮอบส์, จออร์จ เบิร์กเลย์
 แนวคิดทางปรัชญา : ความรู้ที่ถูกต้องได้จากประสบการณ์
ปรัชญาเหตุผลนิยม(Rationalism)
 นักคิดสาคัญ : เรอเน เดส์การ์ตส์, เบเนดิกต์ สปิ โนซา,
กอตต์ฟรีด วิลเฮล์ม ฟอน ไลบ์นิซ
 แนวคิดทางปรัชญา : ความรู้ที่มีอยู่แล้วในมนุษย์ ก่อนการ
ได้รับประสบการณ์ และความรู้ที่ได้เกิดจากเหตุผลเป็นจริง
มากกว่าประสบการณ์
การใช้เหตุผลเกี่ยวกับเรื่องจิต
เดส์คาร์ต พิสูจน์ความมีอยู่ของจิตดังนี้ ข้าพเจ้า มีความสงสัย
เมื่อมีความสงสัยก็ต้องมีผู้สงสัย ความสงสัยคือความคิด ผู้สงสัย
ก็คือผู้คิด ความคิดคือความมีอยู่ เพราะฉะนั้นผู้คิดก็ต้องมีอยู่ ผู้
คิดในที่นี้ หมายถึงจิต จึงต้องเป็นสิ่งที่มีอยู่
“ข้าเจ้าคิด ข้าพเจ้าจึงมีอยู่”
(I think, therefore I am)
ปรัชญาอัชฌัตติกญาณนิยม(Intuition)
 นักคิดสาคัญ : ฟิ กเต, ฟรีดิค วิลเฮล์ม เซ็ลลิง, อาเธอร์ โช
เป็นเฮาเออร์, นิตเช่, อองรี หลุยส์ แบร์กซอง, เกออร์ก
วิลเฮล์ม ฟรีดริช เฮเกลม, คาล มาร์กซ์
 แนวคิดทางปรัชญา : ความรู้ที่ถูกต้องได้จากการฝึกฝนจิต
จนเข้าถึงความจริงด้วยญาณ
ปรัชญาอนุมานนิยม
 นักคิดสาคัญ : ค้านท์
 แนวคิดทางปรัชญา : ความรู้มีทั้งก่อนและหลังประสบการณ์
ดังนั้นระหว่างประสบการณ์นิยมกับเหตุผลนิยมต้องพึ่งพิง
ซึ่งกันและกัน
ปรัชญาตะวันตกร่วมสมัย
 กลุ่มแนวคิดวัตถุนิยม
 กลุ่มแนวคิดจิตนิยม
 กลุ่มแนวคิดมนุษยนิยม
 กลุ่มแนวคิดปฏิบัตินิยม
กลุ่มแนวคิดวัตถุนิยม
 นักคิดสาคัญ : เบอร์ทัล รัสเซลล์, ไวท์เฮด, มองตากู ซัน
ตายานา, ออกัส ก้องต์, ชลิค, คาแนบ , วิตเก็นสไตน์, แอร์
 แนวคิดทางปรัชญา : ยอมรับความรู้แบบประสบการณ์ จัด
กลุ่มแนวคิดเป็น ๔ แนวคิด ได้แก่ ลัทธิสัจจนิยมใหม่ ลัทธิ
ปฏิฐานนิยม ลัทธิปฏิฐานนิยมใหม่ ลัทธิภาษาวิเคราะห์
กลุ่มแนวคิดจิตนิยม
 นักคิดสาคัญ : เอฟ. เอช. เบรดเลย์, โทมัส ฮิลล์ กรีน,เบ
เนเดตโต โกรเซ, กิโอแวนนี เยนไตล์
 แนวคิดทางปรัชญา : ให้มนุษย์หันกลับไปใส่ใจเรื่องของจิต
นาปรัชญายุคกลางมาปรับปรุงใหม่ให้ทันสมัย โดยเพิ่ม
วิทยาการใหม่ ๆ เข้ามาร่วมพิจารณาและ ปรับเอาส่วนดี
ของปรัชญาทุกระบบ สร้างเป็นระบบปรัชญาที่สมบูรณ์
ครบถ้วนศาสนา
กลุ่มแนวคิดอัตถิภาวนิยม(Existentialism)
 นักคิดสาคัญ : โซเรน เคอร์คีร์การ์ด, คาร์ล จัสเปอร์ส, มาติน
ไฮเดกเกอร์, ยังปอล ซาร์ต, ไฟรด์ริช นิตซ์เช
 แนวคิดทางปรัชญา : ให้ความสาคัญแก่ปัจเจกภาพมากกว่า
สากลภาพ เสรีภาพมากกว่า ระเบียบกฎเกณฑ์ เน้นการ
สร้างสรรค์มากกว่าอนุรักษ์ระเบียบแบบแผน ความรู้สึก
มากกว่าเหตุผล และให้ความสาคัญแก่ความรู้เชิงอัตนัย
กลุ่มแนวคิดปฏิบัตินิยม(Pragmatism)
 นักคิดสาคัญ : ชาร์ลส์ เอส เพียร์ซ, วิลเลี่ยม เจมส์, จอห์น
ดิวอี้
 แนวคิดทางปรัชญา : มาตรการความจริงคือการปฏิบัติได้
ถ้าทฤษฎีใดใช้เป็นประโยชน์ได้ มากกว่าก็ถือว่าอันนั่น
แหละเป็นสิ่งที่ถูกต้องและเป็นจริง ไม่ต้องไปพิสูจน์
สรุปท้ายบท
 ลักษณะและพัฒนาการของปรัชญาตะวันตกสมัยโบราณนั้น
ใช้วิธีสืบค้นความรู้ด้วยการนั่งขบคิด พัฒนาการของปรัชญา
ตะวันตกเริ่มตันที่กรีก
 ลักษณะและพัฒนาการของปรัชญาตะวันตกสมัยกลาง
ปรัชญาทาหน้าที่รับใช้ศาสนา นักปรัชญายุคนี้เป็นนักบวช
ในศาสนาคริสต์ ได้สืบทอดแนวคิดกรีกไว้
สรุปท้ายบท(ต่อ)
 ลักษณะและพัฒนาการของปรัชญาตะวันตกสมัยใหม่
 เป็นการต่อสู้กันทางความคิดระหว่างจิตนิยม กับ
ประสบการณ์นิยม เมื่อชัยชนะเป็นของประสบการณ์นิยม
ก่อเกิดเครื่องมือแบบวิทยาศาสตร์ซึ่งเป็นสิ่งสาคัญ ทาให้
แนวคิดด้านวัตถุนิยมครอบงาความคิดของมนุษย์กระทั่ง
ปัจจุบัน
จบบทที่ ๗ ปรัชญาตะวันตก
โชคดีกันทุกคนนะ
ดาวน์โหลดไฟล์นี้ได้ที่
www.philosophychicchic.com
สนุกกับการเรียนรู้ปรัชญาและศาสนาแบบชิคๆ เคียงคู่รอยยิ้ม

Más contenido relacionado

La actualidad más candente

ปรัชญาทั่วไป ตอน ปรัชญาอินเดีย
ปรัชญาทั่วไป ตอน ปรัชญาอินเดียปรัชญาทั่วไป ตอน ปรัชญาอินเดีย
ปรัชญาทั่วไป ตอน ปรัชญาอินเดีย
Padvee Academy
 
พุทธศาสนากับการบริหาร
พุทธศาสนากับการบริหารพุทธศาสนากับการบริหาร
พุทธศาสนากับการบริหาร
Anchalee BuddhaBucha
 
พระพุทธศาสนาวัชรยาน Vajrayana Buddhism
พระพุทธศาสนาวัชรยาน Vajrayana Buddhismพระพุทธศาสนาวัชรยาน Vajrayana Buddhism
พระพุทธศาสนาวัชรยาน Vajrayana Buddhism
Padvee Academy
 
หน่วยการเรียนรู้ที่ 1
หน่วยการเรียนรู้ที่ 1หน่วยการเรียนรู้ที่ 1
หน่วยการเรียนรู้ที่ 1
suchinmam
 

La actualidad más candente (20)

ปรัชญาทั่วไป ตอน ปรัชญาอินเดีย
ปรัชญาทั่วไป ตอน ปรัชญาอินเดียปรัชญาทั่วไป ตอน ปรัชญาอินเดีย
ปรัชญาทั่วไป ตอน ปรัชญาอินเดีย
 
บทที่ 2 ปรัชญาคืออะไร
บทที่ 2 ปรัชญาคืออะไรบทที่ 2 ปรัชญาคืออะไร
บทที่ 2 ปรัชญาคืออะไร
 
ปรัชญาตะวันตก บทที่ ๕ ปรัชญากรีกสมัยรุ่งเรื่อง
ปรัชญาตะวันตก บทที่ ๕ ปรัชญากรีกสมัยรุ่งเรื่องปรัชญาตะวันตก บทที่ ๕ ปรัชญากรีกสมัยรุ่งเรื่อง
ปรัชญาตะวันตก บทที่ ๕ ปรัชญากรีกสมัยรุ่งเรื่อง
 
ปรัชญาตะวันตก บทที่ ๑ ความหมายและขอบข่ายปรัชญา
ปรัชญาตะวันตก บทที่ ๑ ความหมายและขอบข่ายปรัชญาปรัชญาตะวันตก บทที่ ๑ ความหมายและขอบข่ายปรัชญา
ปรัชญาตะวันตก บทที่ ๑ ความหมายและขอบข่ายปรัชญา
 
หลักธรรมทางพระพุทธศาสนา ม.2 ภาคเรียนที่ 1
หลักธรรมทางพระพุทธศาสนา ม.2 ภาคเรียนที่ 1 หลักธรรมทางพระพุทธศาสนา ม.2 ภาคเรียนที่ 1
หลักธรรมทางพระพุทธศาสนา ม.2 ภาคเรียนที่ 1
 
ศาสนาคริสต์
ศาสนาคริสต์ศาสนาคริสต์
ศาสนาคริสต์
 
พุทธศาสนานิกายมหายาน
พุทธศาสนานิกายมหายานพุทธศาสนานิกายมหายาน
พุทธศาสนานิกายมหายาน
 
ความรู้พื้นฐานและบ่อเกิดพุทธศาสนามหายาน
ความรู้พื้นฐานและบ่อเกิดพุทธศาสนามหายานความรู้พื้นฐานและบ่อเกิดพุทธศาสนามหายาน
ความรู้พื้นฐานและบ่อเกิดพุทธศาสนามหายาน
 
แผนวันสำคัญทางพระพุทธศาสนา
แผนวันสำคัญทางพระพุทธศาสนาแผนวันสำคัญทางพระพุทธศาสนา
แผนวันสำคัญทางพระพุทธศาสนา
 
พุทธศาสนากับวิทยาศาสตร์
พุทธศาสนากับวิทยาศาสตร์พุทธศาสนากับวิทยาศาสตร์
พุทธศาสนากับวิทยาศาสตร์
 
ศาสนาเชน
ศาสนาเชนศาสนาเชน
ศาสนาเชน
 
อจท. พระพุทธศาสนา ม.3
อจท. พระพุทธศาสนา ม.3อจท. พระพุทธศาสนา ม.3
อจท. พระพุทธศาสนา ม.3
 
ปรัชญาเบื้องต้น บทที่ ๑ ความหมายและขอบเขตของปรัชญา
ปรัชญาเบื้องต้น บทที่ ๑ ความหมายและขอบเขตของปรัชญาปรัชญาเบื้องต้น บทที่ ๑ ความหมายและขอบเขตของปรัชญา
ปรัชญาเบื้องต้น บทที่ ๑ ความหมายและขอบเขตของปรัชญา
 
พุทธศาสนากับการบริหาร
พุทธศาสนากับการบริหารพุทธศาสนากับการบริหาร
พุทธศาสนากับการบริหาร
 
วิชาพุทธปรัชญา : ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับพระพุทธศาสนาและปรัชญา
วิชาพุทธปรัชญา : ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับพระพุทธศาสนาและปรัชญาวิชาพุทธปรัชญา : ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับพระพุทธศาสนาและปรัชญา
วิชาพุทธปรัชญา : ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับพระพุทธศาสนาและปรัชญา
 
บทที่ ๑ ประวัติและวิวัฒนาการของการปฏิบัติกรรมฐาน
บทที่ ๑ ประวัติและวิวัฒนาการของการปฏิบัติกรรมฐานบทที่ ๑ ประวัติและวิวัฒนาการของการปฏิบัติกรรมฐาน
บทที่ ๑ ประวัติและวิวัฒนาการของการปฏิบัติกรรมฐาน
 
พระพุทธศาสนาวัชรยาน Vajrayana Buddhism
พระพุทธศาสนาวัชรยาน Vajrayana Buddhismพระพุทธศาสนาวัชรยาน Vajrayana Buddhism
พระพุทธศาสนาวัชรยาน Vajrayana Buddhism
 
หน่วยการเรียนรู้ที่ 1
หน่วยการเรียนรู้ที่ 1หน่วยการเรียนรู้ที่ 1
หน่วยการเรียนรู้ที่ 1
 
จิตวิทยาในพระไตรปิฎก
จิตวิทยาในพระไตรปิฎก จิตวิทยาในพระไตรปิฎก
จิตวิทยาในพระไตรปิฎก
 
วิวัฒนาการการศึกษาไทยและการศึกษาโลก
วิวัฒนาการการศึกษาไทยและการศึกษาโลกวิวัฒนาการการศึกษาไทยและการศึกษาโลก
วิวัฒนาการการศึกษาไทยและการศึกษาโลก
 

Similar a ปรัชญาเบื้องต้น บทที่ ๗ ปรัชญาตะวันตก

03ศาสนาเชน...ใหม่ 007
03ศาสนาเชน...ใหม่ 00703ศาสนาเชน...ใหม่ 007
03ศาสนาเชน...ใหม่ 007
Dream'Es W.c.
 
วิชาปรัชญาจีน ตอน ปรัชญาเล่าจื๊อ
วิชาปรัชญาจีน ตอน ปรัชญาเล่าจื๊อวิชาปรัชญาจีน ตอน ปรัชญาเล่าจื๊อ
วิชาปรัชญาจีน ตอน ปรัชญาเล่าจื๊อ
Padvee Academy
 
ไอน์สไตน์ได้กล่าวถึงพระพุทธศาสนา
ไอน์สไตน์ได้กล่าวถึงพระพุทธศาสนาไอน์สไตน์ได้กล่าวถึงพระพุทธศาสนา
ไอน์สไตน์ได้กล่าวถึงพระพุทธศาสนา
mocxx
 
ชีวิตและผลงานของพระสุมังคลาจารย์
ชีวิตและผลงานของพระสุมังคลาจารย์ชีวิตและผลงานของพระสุมังคลาจารย์
ชีวิตและผลงานของพระสุมังคลาจารย์
Padvee Academy
 
Powerpoint.ppt พุทธศาสนากับวรรณคดี.ppt1
Powerpoint.ppt พุทธศาสนากับวรรณคดี.ppt1Powerpoint.ppt พุทธศาสนากับวรรณคดี.ppt1
Powerpoint.ppt พุทธศาสนากับวรรณคดี.ppt1
krunoree.wordpress.com
 
อาณาจักรตามพรลิงค์
อาณาจักรตามพรลิงค์อาณาจักรตามพรลิงค์
อาณาจักรตามพรลิงค์
sangworn
 
อารยธรรมลุ่มแม่น้ำสินธุ(อินเดีย)
อารยธรรมลุ่มแม่น้ำสินธุ(อินเดีย)อารยธรรมลุ่มแม่น้ำสินธุ(อินเดีย)
อารยธรรมลุ่มแม่น้ำสินธุ(อินเดีย)
พัน พัน
 
ศิลปะตะวันออก (ของวันนี้)
ศิลปะตะวันออก (ของวันนี้)ศิลปะตะวันออก (ของวันนี้)
ศิลปะตะวันออก (ของวันนี้)
Heritagecivil Kasetsart
 
วัฒนธรรมไทย
วัฒนธรรมไทยวัฒนธรรมไทย
วัฒนธรรมไทย
babyoam
 

Similar a ปรัชญาเบื้องต้น บทที่ ๗ ปรัชญาตะวันตก (20)

03ศาสนาเชน...ใหม่ 007
03ศาสนาเชน...ใหม่ 00703ศาสนาเชน...ใหม่ 007
03ศาสนาเชน...ใหม่ 007
 
วิชาปรัชญาจีน ตอน ปรัชญาเล่าจื๊อ
วิชาปรัชญาจีน ตอน ปรัชญาเล่าจื๊อวิชาปรัชญาจีน ตอน ปรัชญาเล่าจื๊อ
วิชาปรัชญาจีน ตอน ปรัชญาเล่าจื๊อ
 
ไอน์สไตน์ได้กล่าวถึงพระพุทธศาสนา
ไอน์สไตน์ได้กล่าวถึงพระพุทธศาสนาไอน์สไตน์ได้กล่าวถึงพระพุทธศาสนา
ไอน์สไตน์ได้กล่าวถึงพระพุทธศาสนา
 
อารยธรรมอินเดียสมัยประวัติศาตร์
อารยธรรมอินเดียสมัยประวัติศาตร์อารยธรรมอินเดียสมัยประวัติศาตร์
อารยธรรมอินเดียสมัยประวัติศาตร์
 
ชีวิตและผลงานของพระสุมังคลาจารย์
ชีวิตและผลงานของพระสุมังคลาจารย์ชีวิตและผลงานของพระสุมังคลาจารย์
ชีวิตและผลงานของพระสุมังคลาจารย์
 
พุทธศาสนามหายานในไทย
พุทธศาสนามหายานในไทยพุทธศาสนามหายานในไทย
พุทธศาสนามหายานในไทย
 
อารยธรรมจีน
อารยธรรมจีนอารยธรรมจีน
อารยธรรมจีน
 
590802 บทที่-1-แก้ไขแล้ว
590802 บทที่-1-แก้ไขแล้ว590802 บทที่-1-แก้ไขแล้ว
590802 บทที่-1-แก้ไขแล้ว
 
Powerpoint.ppt พุทธศาสนากับวรรณคดี.ppt1
Powerpoint.ppt พุทธศาสนากับวรรณคดี.ppt1Powerpoint.ppt พุทธศาสนากับวรรณคดี.ppt1
Powerpoint.ppt พุทธศาสนากับวรรณคดี.ppt1
 
การเข้ามาและพัฒนาการพุทธศาสนาในประเทศไทย
การเข้ามาและพัฒนาการพุทธศาสนาในประเทศไทยการเข้ามาและพัฒนาการพุทธศาสนาในประเทศไทย
การเข้ามาและพัฒนาการพุทธศาสนาในประเทศไทย
 
งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1
 
การแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์
การแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์การแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์
การแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์
 
อาณาจักรตามพรลิงค์
อาณาจักรตามพรลิงค์อาณาจักรตามพรลิงค์
อาณาจักรตามพรลิงค์
 
โพธิยาลัย เดือน มกราคม 2555
โพธิยาลัย เดือน มกราคม 2555โพธิยาลัย เดือน มกราคม 2555
โพธิยาลัย เดือน มกราคม 2555
 
อารยธรรมลุ่มแม่น้ำสินธุ(อินเดีย)
อารยธรรมลุ่มแม่น้ำสินธุ(อินเดีย)อารยธรรมลุ่มแม่น้ำสินธุ(อินเดีย)
อารยธรรมลุ่มแม่น้ำสินธุ(อินเดีย)
 
ศิลปะตะวันออก (ของวันนี้)
ศิลปะตะวันออก (ของวันนี้)ศิลปะตะวันออก (ของวันนี้)
ศิลปะตะวันออก (ของวันนี้)
 
Lesson 4 christianity
Lesson 4 christianityLesson 4 christianity
Lesson 4 christianity
 
J & b
J & bJ & b
J & b
 
วัฒนธรรมไทย
วัฒนธรรมไทยวัฒนธรรมไทย
วัฒนธรรมไทย
 
Brands so(o net)
Brands so(o net)Brands so(o net)
Brands so(o net)
 

Más de Padvee Academy

หนังสือสอนใช้ WordPress สำหรับผู้เริ่มต้น [ฉบับ E-book]
หนังสือสอนใช้ WordPress สำหรับผู้เริ่มต้น [ฉบับ E-book]หนังสือสอนใช้ WordPress สำหรับผู้เริ่มต้น [ฉบับ E-book]
หนังสือสอนใช้ WordPress สำหรับผู้เริ่มต้น [ฉบับ E-book]
Padvee Academy
 
ปรัชญาอัตถิภาวนิยมของ ฌอง ปอล ซาร์ต (Jean paul sartre)
ปรัชญาอัตถิภาวนิยมของ ฌอง ปอล ซาร์ต (Jean paul sartre)ปรัชญาอัตถิภาวนิยมของ ฌอง ปอล ซาร์ต (Jean paul sartre)
ปรัชญาอัตถิภาวนิยมของ ฌอง ปอล ซาร์ต (Jean paul sartre)
Padvee Academy
 
ปรัชญากับวิถีชีวิต
ปรัชญากับวิถีชีวิตปรัชญากับวิถีชีวิต
ปรัชญากับวิถีชีวิต
Padvee Academy
 
5 ขั้นตอนที่ต้องรู้ก่อนทำเว็บไซต์
5 ขั้นตอนที่ต้องรู้ก่อนทำเว็บไซต์5 ขั้นตอนที่ต้องรู้ก่อนทำเว็บไซต์
5 ขั้นตอนที่ต้องรู้ก่อนทำเว็บไซต์
Padvee Academy
 
สรุปเนื้อหา ปรัชญาเบื้องต้น ตอน โทมัส ฮอบส์ (Thomas hobbes)
สรุปเนื้อหา ปรัชญาเบื้องต้น ตอน โทมัส  ฮอบส์ (Thomas hobbes)สรุปเนื้อหา ปรัชญาเบื้องต้น ตอน โทมัส  ฮอบส์ (Thomas hobbes)
สรุปเนื้อหา ปรัชญาเบื้องต้น ตอน โทมัส ฮอบส์ (Thomas hobbes)
Padvee Academy
 
พุทธศาสนามหายาน นิกายสุขาวดี | Pure Land Buddhism
พุทธศาสนามหายาน นิกายสุขาวดี | Pure Land Buddhismพุทธศาสนามหายาน นิกายสุขาวดี | Pure Land Buddhism
พุทธศาสนามหายาน นิกายสุขาวดี | Pure Land Buddhism
Padvee Academy
 
สัทธรรมปุณฑริกสูตร (The Lotus of The True Law)
สัทธรรมปุณฑริกสูตร (The Lotus of The True Law)สัทธรรมปุณฑริกสูตร (The Lotus of The True Law)
สัทธรรมปุณฑริกสูตร (The Lotus of The True Law)
Padvee Academy
 

Más de Padvee Academy (20)

หนังสือสอนใช้ WordPress สำหรับผู้เริ่มต้น [ฉบับ E-book]
หนังสือสอนใช้ WordPress สำหรับผู้เริ่มต้น [ฉบับ E-book]หนังสือสอนใช้ WordPress สำหรับผู้เริ่มต้น [ฉบับ E-book]
หนังสือสอนใช้ WordPress สำหรับผู้เริ่มต้น [ฉบับ E-book]
 
Onpage stucture checklist
Onpage stucture checklist Onpage stucture checklist
Onpage stucture checklist
 
ปรัชญาอัตถิภาวนิยมของ ฌอง ปอล ซาร์ต (Jean paul sartre)
ปรัชญาอัตถิภาวนิยมของ ฌอง ปอล ซาร์ต (Jean paul sartre)ปรัชญาอัตถิภาวนิยมของ ฌอง ปอล ซาร์ต (Jean paul sartre)
ปรัชญาอัตถิภาวนิยมของ ฌอง ปอล ซาร์ต (Jean paul sartre)
 
ปรัชญากับวิถีชีวิต
ปรัชญากับวิถีชีวิตปรัชญากับวิถีชีวิต
ปรัชญากับวิถีชีวิต
 
ปรัชญาทั่วไป ตอน ทำความรู้จักกับปรัชญา
ปรัชญาทั่วไป ตอน ทำความรู้จักกับปรัชญาปรัชญาทั่วไป ตอน ทำความรู้จักกับปรัชญา
ปรัชญาทั่วไป ตอน ทำความรู้จักกับปรัชญา
 
5 ขั้นตอนที่ต้องรู้ก่อนทำเว็บไซต์
5 ขั้นตอนที่ต้องรู้ก่อนทำเว็บไซต์5 ขั้นตอนที่ต้องรู้ก่อนทำเว็บไซต์
5 ขั้นตอนที่ต้องรู้ก่อนทำเว็บไซต์
 
สรุปเนื้อหา ปรัชญาเบื้องต้น ตอน โทมัส ฮอบส์ (Thomas hobbes)
สรุปเนื้อหา ปรัชญาเบื้องต้น ตอน โทมัส  ฮอบส์ (Thomas hobbes)สรุปเนื้อหา ปรัชญาเบื้องต้น ตอน โทมัส  ฮอบส์ (Thomas hobbes)
สรุปเนื้อหา ปรัชญาเบื้องต้น ตอน โทมัส ฮอบส์ (Thomas hobbes)
 
วิเคราะห์ปรัชญาขงจื๊อ
วิเคราะห์ปรัชญาขงจื๊อวิเคราะห์ปรัชญาขงจื๊อ
วิเคราะห์ปรัชญาขงจื๊อ
 
ปรัชญาหยางจื๊อ (Yang tzu)
ปรัชญาหยางจื๊อ (Yang  tzu)ปรัชญาหยางจื๊อ (Yang  tzu)
ปรัชญาหยางจื๊อ (Yang tzu)
 
พุทธศาสนามหายาน นิกายสุขาวดี | Pure Land Buddhism
พุทธศาสนามหายาน นิกายสุขาวดี | Pure Land Buddhismพุทธศาสนามหายาน นิกายสุขาวดี | Pure Land Buddhism
พุทธศาสนามหายาน นิกายสุขาวดี | Pure Land Buddhism
 
Timeline : history of philosophy
Timeline : history of philosophyTimeline : history of philosophy
Timeline : history of philosophy
 
Timeline : A History of Eastern Philosophy
Timeline : A History of Eastern PhilosophyTimeline : A History of Eastern Philosophy
Timeline : A History of Eastern Philosophy
 
รูปภาพ Infographic สรุปแนวคิดที่สำคัญทาง จริยศาสตร์
รูปภาพ Infographic สรุปแนวคิดที่สำคัญทาง จริยศาสตร์รูปภาพ Infographic สรุปแนวคิดที่สำคัญทาง จริยศาสตร์
รูปภาพ Infographic สรุปแนวคิดที่สำคัญทาง จริยศาสตร์
 
เทพเจ้ากรีกและโรมัน (The greek and roman gods Infographic)
เทพเจ้ากรีกและโรมัน (The greek and roman gods Infographic)เทพเจ้ากรีกและโรมัน (The greek and roman gods Infographic)
เทพเจ้ากรีกและโรมัน (The greek and roman gods Infographic)
 
ศิลปะแห่งความรัก
ศิลปะแห่งความรักศิลปะแห่งความรัก
ศิลปะแห่งความรัก
 
ความฉลาดทางอารมณ์และการพัฒนาจิตใจ
ความฉลาดทางอารมณ์และการพัฒนาจิตใจความฉลาดทางอารมณ์และการพัฒนาจิตใจ
ความฉลาดทางอารมณ์และการพัฒนาจิตใจ
 
รากฐานแห่งอภิปรัชญาของศีลธรรม โดย ค้านท์ (Kants groundwork of the metaphysics...
รากฐานแห่งอภิปรัชญาของศีลธรรม โดย ค้านท์ (Kants groundwork of the metaphysics...รากฐานแห่งอภิปรัชญาของศีลธรรม โดย ค้านท์ (Kants groundwork of the metaphysics...
รากฐานแห่งอภิปรัชญาของศีลธรรม โดย ค้านท์ (Kants groundwork of the metaphysics...
 
สัทธรรมปุณฑริกสูตร (The Lotus of The True Law)
สัทธรรมปุณฑริกสูตร (The Lotus of The True Law)สัทธรรมปุณฑริกสูตร (The Lotus of The True Law)
สัทธรรมปุณฑริกสูตร (The Lotus of The True Law)
 
ธรรมนิเทศ Dhamma Communication
ธรรมนิเทศ Dhamma Communicationธรรมนิเทศ Dhamma Communication
ธรรมนิเทศ Dhamma Communication
 
ศาสนาบาไฮ
ศาสนาบาไฮศาสนาบาไฮ
ศาสนาบาไฮ
 

ปรัชญาเบื้องต้น บทที่ ๗ ปรัชญาตะวันตก