SlideShare una empresa de Scribd logo
1 de 39
ธรรมะภาคปฏิบัติ : บทที่ ๑
ประวัติและวิวัฒนาการของการปฏิบัติกรรมฐาน
วัตถุประสงค์การเรียนประจาบท
 บอกประวัติและวิวัฒนาการของการปฏิบัติกรรมฐานสมัยก่อน
พุทธกาลได้
 บอกการปฏิบัติกรรมฐานสมัยพุทธกาลและสมัยหลังพุทธกาลได้
 บอกรูปแบบการปฏิบัติกรรมฐานในประเทศไทยปัจจุบันได้
ความนา
 กรรมฐานเป็นงานพัฒนาจิตให้เข้าถึงความสงบและให้
เกิดปัญญาเป็นศาสตร์และศิลป์ แห่งการดาเนินชีวิตและเป็น
ธุระสาคัญยิ่งในทางพระพุทธศาสนา
 กรรมฐานเป็ นวิถีทางออกจากทุกข์ที่ดีที่สุด ซึ่งมี
พัฒนาการสั่งสมสืบเนื่องกันมาเป็นระยะเวลายาวนานจาก
ยุคก่อนพุทธกาลยุคพุทธกาลและหลังพุทธกาลมาจนถึงสมัย
ปัจจุบัน
สมัยก่อนยุคพุทธกาล
 การปฏิบัติกรรมฐานสมัยก่อนพุทธกาลมีปรากฏในคัมภีร์
ทางพระพุทธศาสนาจานวนมากซึ่งได้กล่าวถึงฤาษีดาบสผู้
บาเพ็ญพรตอยู่ในป่าหิมพานต์บรรลุฌานสมาบัติได้อภิญญา ๕
แสดงฤทธิ์ปาฏิหาริย์ต่าง ๆ ได้ การบรรลุฌานสมาบัติการได้
อภิญญาของพวกฤาษีดาบสดังกล่าวนั้นจัดเป็นผลของการเจริญ
สมถกรรมฐานโดยตรง
สมัยพุทธกาล
 เมื่อเจ้าชายสิทธัตถะเสด็จออก
บรรพชาก็ทรงไปศึกษาลัทธิของ
เจ้าสานักต่าง ๆ ที่มีชื่อเสียงในสมัย
นั้นทรงแสวงหาหนทางดับทุกข์โดย
วิธีการลองผิดลองถูกมาหลากหลาย
วิธีโดยเฉพาะวิธีปฏิบัติแบบสมถ-
กรรมฐานและวิธีทรมานตัวเองที่
เรียกว่า อัตตกิลมถานุโยค
สมัยพุทธกาล
 พระองค์ก็สรุปผลได้ว่าวิธีการเหล่านั้นไม่ใช่ทางพ้นทุกข์ได้
แท้จริงจึงทรงหันมาเลือกวิธีการบาเพ็ญเพียรทางจิตด้วยการ
เจริญสมกรรมฐานและวิปัสสนากรรมฐาน
สมัยพุทธกาล
 พระพุทธองค์ทรงบรรลุถึงผลขั้นสูงสุดจนสามารถ
ทาลายกิเลสได้หมดสิ้นก็ด้วยทรงยึดเอาการปฏิบัติสม
ถกรรมฐานและวิปัสสนากรรมฐานเป็นอุบายในการ
พัฒนาจิตโดยนาเอาสมถกรรมฐานมาสร้างพื้นฐานที่
มั่นคงให้แก่จิตใจก่อนแล้วเพิ่มเติมต่อยอดด้วยการ
ปฏิบัติวิปัสสนากรรมฐาน
 วิปัสสนากรรมฐานจึงถือว่าเป็ นเอกลักณ์สาคัญทาง
พระพุทธศาสนาที่พระพุทธองค์ทรงค้นพบแล้วนามาเผยแผ่สั่ง
สอนพุทธบริษัทมีปรากฏเฉพาะในพระพุทธศาสนาเท่านั้น
ความจริงการปฏิบัติกรรมฐานในสมัยพุทธกาลปรากฏว่ามี
แพร่หลายมากมายจะเห็นได้จากคัมภีร์พระไตรปิ ฎกที่ได้บันทึก
เรื่องราวและคาสอนที่พระพุทธองค์ทรงสอนกรรมฐานไว้ เช่น
มหาสติปัฏฐานสูตร อานาปานสติสูตร เป็นต้น
 ในคัมภีร์อรรถกถาได้กล่าวถึงการปฏิบัติกรรมฐานในสมัย
พุทธกาลไว้หลายแห่งพอสรุปความได้ว่าภิกษุผู้มีศรัทธาออกบวช
ประสงค์จะปฏิบัติกรรมฐานจะต้องบาเพ็ญธุระ ๒ อย่างใน
พระศาสนาคือ
คันถธุระ
วิปัสสนาธุระ
คันถธุระ
 หมายถึงการศึกษาเล่าเรียนภาคทฤษฎีหรือปริยัติให้
เข้าใจถึงกิจวัตรข้อปฏิบัติสาหรับพระภิกษุและคาสอน
ของพระพุทธเจ้า(พุทธพจน์)
วิปัสสนาธุระ
 หมายถึงการปฏิบัติวิปัสสนากรรมฐานด้วยยกรูปนามขึ้น
พิจารณาโดยความเป็นสภาพไม่เที่ยง ไม่คงทน มิใช่ตัวตน
จนเกิดผลคือสามารถทาลายกิเลสบรรลุมรรค ผล นิพพาน
ได้ในที่สุด
สมัยหลังพุทธปรินิพพาน
 หลังจากที่องค์สมเด็จพระสัมมาสัมพุทธเจ้า
ปรินิพพานแล้วเหล่าสาวกมีความแตกแยกทาง
ความคิดมากขึ้น แต่ในส่วนที่เป็นการพัฒนาจิต
เหล่าสาวกก็คงยึดถือการปฏิบัติสมถกรรมฐาน
และวิปัสสนากรรมฐานตามแนวสติปัฏฐานสูตร
อานาปานสติสูตร และสมถวิธีที่พระพุทธองค์ทรง
สอนไว้จนถึงยุคพุทธศตวรรษที่ ๓
สมัยหลังพุทธปรินิพพาน
 ในส่วนของการปฏิบัติกรรมฐานยุคนี้ปรากฏว่ามีพระ
เถระผู้ทรงคุณสมบัติทั้งทางด้านปริยัติและด้านการปฏิบัติ
หลายรูป เช่น พระโมคคัลลีบุตรติสสเถระ พระมหินทเถระ
และคณะพระเถระที่ไปเป็นธรรมทูตเผยแผ่ในดินแดนต่าง ๆ
นั้นล้วนเป็นพระอรหันต์ขีณาสพทั้งสิ้นเป็นเครื่องแสดงให้
เห็นถึงความเจริญของการปฏิบัติกรรมฐาน
การส่งสมณทูต ๙ สาย สมัยพระเจ้าอโศก
 โดยเฉพาะวิปัสสนากรรมฐานในยุคนี้ คณะพระโสณะและ
พระอุตตระที่นาพระพุทธศาสนามาเผยแผ่ในดินแดนสุวรรณภูมิ
นับได้ว่าเป็นผู้วางรากฐานทางพระพุทธศาสนาในดินแดนแห่งนี้
รวมถึงได้นาแนวการปฏิบัติวิปัสสนากรรมฐานที่เชื่อว่ารับได้
ถ่ายทอดมาจากพระโมคคัลลีบุตรติสสเถระมาเผยแผ่ในภูมิภาค
นี้และมีผู้รักษาสืบต่อแนวการปฏิบัตินี้มาจนถึงปัจจุบัน
การปฏิบัติกรรมฐานในประเทศไทยปัจจุบัน
 แนวการปฏิบัติกรรมฐานในประเทศไทยปัจจุบันมีรูปแบบ
แนวการปฏิบัติที่หลากหลายตามแนวทางที่คณาจารย์ได้คิดค้น
พัฒนาขึ้นให้เหมาะกับจริตนิสัยของตนเองโดยมีจุดมุ่งหมาย
เพื่อทาจิตให้สงบรางับและเพื่อให้เกิดปัญญารู้เท่าทันตามความ
เป็นจริง ดังนั้น รูปแบบวิธีการปฏิบัติอาจดูต่างกันแต่ถ้าเป็นไป
เพื่อเข้าถึงจุดมุ่งหมายอันเดียวกันคือความสงบระงับใจและให้
เกิดสติปัญญาแล้ว ก็ถือว่าไม่ออกนอกจากจุดมุ่งหมายของการ
ปฏิบัติกรรมฐานทางพระพุทธศาสนา
ในที่นี้จะขอยกรูปแบบแนวการปฏิบัติกรรมฐาน
ซึ่งเป็นที่คุ้นเคยรู้จักกันมาสัก ๕ สายหลัก คือ
แนวการปฏิบัติสายบริกรรมภาวนาพุทโธ
แนวการปฏิบัติแบบพอง-ยุบ
แนวการปฏิบัติแบบเคลื่อนไหว
แนวการปฏิบัติแบบวิชชาธรรมกาย
แนวการปฏิบัติแบบอานาปานสติ
กรรมฐานสายบริกรรมภาวนาพุทโธ
 กรรมฐานสายบริกรรม
ภาวนาพุทโธมีปรากฏใน
ประเทศไทยเป็นเวลานาน
ซึ่งพระอาจารย์สาคัญผู้ที่ให้
กาเนิดการปฏิบัติแนวนี้เป็น
ที่รู้จักกันอย่างแพร่หลายคือ
พระอาจารย์มั่น ภูริทตฺโต
การปฏิบัติกรรมฐานตามแนวพระอาจารย์มั่น
 นอกจากจะนาบทว่าพุทโธมาบริกรรมให้เกิดสมาธิแล้ว ยังได้
นาการบริกรรมพุทโธไปประยุกต์ใช้กับอานาปานสติกรรมฐาน
ด้วย กล่าวคือ เวลาหายใจเข้าบริกรรมว่า พุท เวลาหายใจออก
บริกรรมว่า โธ คาว่า พุทโธ เป็นพระนามของพระพุทธเจ้าซึ่ง
แปลว่า ผู้รู้ ผู้ตื่น ผู้เบิกบาน การใช้คาว่าพุทโธมาบริกรรมขณะ
หายใจเข้าออกเป็นกุศโลบายในการรวมจิตเป็นหนึ่งเดียวได้ง่าย
ซึ่งเป็นการเจริญสมถกรรมฐานก่อนแล้วค่อยพัฒนาไปสู่
วิปัสสนากรรมฐานในภายหลัง
กรรมฐานสายพอง-ยุบ
 กรรมฐานสายนี้มีศูนย์กลางอยู่ที่วัดมหาธาตุยุวราชรังสฤษฎิ์
คณะ ๕ ท่าพระจันทร์ กรุงเทพมหานคร การสอนกรรมฐานสาย
นี้เป็นที่นิยมกันอย่างแพร่หลายนับตั้งแต่ปี พ.ศ.๒๔๙๖ เป็นต้น
มาจนถึงปัจจุบัน ทั้งนี้โดยมีพระธรรมธีรราชมหามุนี (โชดก
ญาณสิทฺธิ ป.ธ.๙) เป็นพระอาจารย์ใหญ่ฝ่ายวิปัสสนาธุระ ซึ่ง
ท่านได้ชื่อว่าเป็นผู้มีบทบาทสาคัญในการเผยแผ่แนวการปฏิบัติ
กรรมฐานวิธีนี้
พระธรรมธีรราชมหามุนี(โชดก ญาณสิทฺธิ ป.ธ.๙)
พระอาจารย์ใหญ่ฝ่ายวิปัสสนาธุระ
วิธีการปฏิบัติ
 วิธีการปฏิบัติในท่านั่ง เมื่อผู้ปฏิบัติอยู่ในอริยาบถนั่งเป็นที่
เรียบร้อยแล้ว พึงสังเกตอาการยพองยุบของหน้าท้อง ขณะ
หายใจเข้า หน้าท้องจะพอง ให้มีสติกาหนดดูอาการพองพร้อม
บริกรรมว่า “พองหนอ” ขณะหายใจออกหน้าท้องจะยุบ ให้มีสติ
กาหนดดูอาการยุบ พร้อมบริกรรมว่า “ยุบหนอ” ผู้ปฏิบัติให้มี
สติกาหนดดูอาการพองและยุบของหน้าท้องอย่างนี้ไปเรื่อยๆ
สิ่งสาคัญในการปฏิบัติคืออย่าตามลมหายใจเข้า หายใจออก ให้
มีสติกับอาการพองยุบอย่างเดียว
พองหนอ...
ยุบหนอ.....
กรรมฐานแบบเคลื่อนไหว
 อาจารย์ผู้มีชื่อเสียงในสายนี้
ที่รู้จักโดยมากคือ
หลวงพ่อเทียน จิตฺตสุโภ
วิธีการปฏิบัติแบบหลวงพ่อเทียน
 กล่าวถึงสาระสาคัญของการปฏิบัติกรรมฐานแบบเคลื่อนไหวว่า
ความคิดเป็นต้นเหตุของความทุกข์ของมนุษย์ โทสะ โมหะ
โลภะ กิเลส ตัณหา อุปาทาน ล้วนปรากฏขึ้นในรูปของความคิด
 ดังนั้น ผู้ปฏิบัติจึงต้องมีความรู้สึกตัวในการเคลื่อนไหว
ตลอดเวลา ให้สติอยู่กับอาการเคลื่อนไหวไม่ให้หลงเข้าไปปรุง
แต่งกับความคิดที่เกิดขึ้นและต้องเห็นความคิดทุกครั้งที่ใจคิด
ด้วยการใช้สติกาหนดรู้อาการเคลื่อนไหวของกายอันจะนาไปสู่
การพ้นทุกข์ พบกับความสะอาด สว่าง และสงบแห่งจิตใจต่อไป
กรรมฐานแนววิชชาธรรมกาย
 ผู้ให้กาเนิดกรรมฐานสายนี้คือ
พระมงคลเทพมุนี(สด จนฺทสาโร)
หรือหลวงพ่อวัดปากน้า ภาษีเจริญ
กรุงเทพฯ ท่านนากรรมฐานต่าง ๆ
มาประยุกต์ใช้ร่วมกันกล่าวคือใช้
อาโลกกสิณ อานาปานสติและ
พุทธานุสสติ
วิธีปฏิบัติ
 วิธีปฏิบัติในขั้นสมถภาวนา คือ ให้กาหนดบริกรรมนิมิต
เป็นเครื่องหมายดวงกลมใสขนาดเล็กประมาณเท่าดวงตาดา
(หรือขนาดเท่าที่พอนึกเห็นด้วยใจได้ชัดเจน) ให้ปรากฏขึ้นที่
ปากช่องจมูก(หญิงซ้าย-ชายขวา)ให้ใจอยู่ในดวงกลมใสนั้น คือ
นึกให้เห็นจุดเล็กใสศูนย์กลางดวงกลมใสตั้งอยู่ที่ปากช่องจมูก
(หญิงซ้าย-ชายขวา)พร้อมกับบริกรรมภาวนาตรงศูนย์กลางดวง
กลมใสนั้นว่า “สัมมาอะระหัง ๆ ๆ”
กรรมฐานสายอานาปานสติ
 กรรมฐานสายอานาปานสตินี้มีปฏิบัติแพร่หลายกัน
มากอีกแนวหนึ่งในประเทศไทย เนื่องจากเป็นกรรมฐานที่
ใช้อารมณ์หรืออุปกรณ์ที่มีอยู่ภายในตัวของแต่ละคนคือลม
หายใจซึ่งก่อให้เกิดผลดีต่อสุขภาพกายและสุขภาพจิตอย่าง
ยิ่ง อาจารย์ผู้สอนกรรมฐานที่มีชื่อเสียงในสายนี้มีหลาย
ท่านซึ่งส่วนใหญ่มีวิธีการปฏิบัติเป็นไปในแนวเดียวกัน ใน
ที่นี้จะยกเอาวิธีการปฏิบัติอานาปานสติของท่านพุทธทาส
ภิกขุแห่งสวนโมกขพลารามมากล่าว
วิธีการปฏิบัติ
 (๑) รู้จักลมหายใจยาว คือ ตั้งสติคอยเฝ้ าสังเกตลมหายใจยาว
ทุกครั้งที่หายใจเข้าและหายใจออกต่อเนื่องกันไปจนกว่าจะรู้สึก
ซึมซาบเข้าใจลมหายใจยาวเป็นอย่างดีว่าเป็นอย่างไร มีลักษณะ
อย่างไร และอิทธิพลแก่ร่างกายอย่างไร ลมหายใจยาวจึงเป็นสิ่ง
ที่ผู้ปฏิบัติจะต้องทาความเข้าใจจนคุ้นเคยให้ดีเป็นลาดับแรก
 (๒) รู้จักลมหายใจสั้น เมื่อทาความคุ้นเคยกับลมหายใจยาว
จากนั้นให้ตั้งสติคอยเฝ้ าสังเกตลมหายใจสั้นทุกครั้งที่หายใจเข้า
และหายใจออกอย่างต่อแนื่องจนกว่าจะรู้สึกซึมซาบเข้าใจลม
หายใจสั้นเป็นอย่างดีว่าเป็นอย่างไร มีลักษณะอย่างไร และ
อิทธิพลแก่ร่างกายอย่างไร
 (๓) รู้จักลมที่ปรุงแต่งกายทั้งหมด คือ กาหนดรู้กายสังขาร
หมายถึงลมหายใจที่คอยปรุงแต่งกายให้ขึ้นหรือลง ให้สงบระงับ
หรือให้กระวนกระวาย ในขั้นนี้ต้องกาหนดพิจารณาลมหายใจ
ละเอียดขึ้นว่าปรุงแต่งร่างกายอย่างไร ร่างกายเนื่องอยู่กับลม
หายใจอย่างไร จนสามารถมองเห็นวิธีการที่จะบังคับร่างกายได้
ตามใจชอบโดยวิธีการบังคับผ่านทางลมหายใจ เพราะลมหายใจ
เป็นเครื่องปรุงแต่งร่างกาย
 (๔) ทาลมหายใจให้ระงับลง ลมหายใจคือกายสังขารทาหน้าที่
ปรุงแต่งร่างกาย ถ้าผู้ปฏิบัติทาลมหายใจให้ระงับลง ละเอียดลง
ร่างกายก็จะสงบระงับลงด้วยเหมือนกัน
สรุปท้ายบท
 จากการได้ศึกษาประวัติและวิวัฒนาการของการปฏิบัติ
กรรมฐานผู้ศึกษาจะมองเห็นพัฒนการการปฏิบัติกรรมฐานใน
ยุคต่าง ๆ ตั้งแต่ก่อนพุทธกาลก็มีการปฏิบัติกรรมฐานเช่นกัน
โดยเฉพาะสมถกรรมฐานมีพัฒนาการเจริญก้าวหน้าจนถึงขั้น
สูงสุดคือได้สมาบัติ ๘ ยังขาดแต่วิปัสสนากรรมฐานเท่านั้น
 ต่อมาสมัยพุทธกาลเจ้าชายสิทธัตถะได้ออกแสวงหาทางหลุด
พ้นจากทุกข์ก็ทรงผ่านการปฏิบัติสมถกรรมฐานมาทุกขั้นตอน
รวมถึงการทรมานตนด้วยวิธีต่าง ๆ ในที่สุดก็ทรงค้นพบวิธีการตัด
ทาลายกิเลสได้เด็ดขาดคือวิปัสสนากรรมฐานและทรงทาการเผย
แผ่ทั้งสมถกรรมฐานและวิปัสสนากรรมฐานด้วยทรงเห็นว่าการนา
กรรมฐานทั้งสองมาปฏิบัติจะสนับสนุนเกื้อกูลกันดาเนินไปสู่ความ
ดับทุกข์ได้เร็วขึ้นหลังจากพุทธปรินิพพานแล้วเหล่าสาวกได้สืบต่อ
วิธีการปฏิบัติกรรมฐานกันมาอย่างไม่ขาดสายจนถึงสมัยปัจจุบัน
จบบทที่ ๑
ดาวน์โหลดไฟล์นี้ได้ที่
www.philosophychicchic.com
สนุกกับการเรียนรู้ปรัชญาและศาสนาแบบชิคๆ เคียงคู่รอยยิ้ม

Más contenido relacionado

La actualidad más candente

ศาสนาพราหมณ์ ฮินดู
ศาสนาพราหมณ์ ฮินดูศาสนาพราหมณ์ ฮินดู
ศาสนาพราหมณ์ ฮินดูPadvee Academy
 
บทที่ 2 ปรัชญาคืออะไร
บทที่ 2 ปรัชญาคืออะไรบทที่ 2 ปรัชญาคืออะไร
บทที่ 2 ปรัชญาคืออะไรPadvee Academy
 
ปรัชญาเบื้องต้น บทที่ ๒ ความสัมพันธ์ระหว่างปรัชญา ศาสนา วิทยาศาสตร์
ปรัชญาเบื้องต้น บทที่ ๒ ความสัมพันธ์ระหว่างปรัชญา ศาสนา วิทยาศาสตร์ปรัชญาเบื้องต้น บทที่ ๒ ความสัมพันธ์ระหว่างปรัชญา ศาสนา วิทยาศาสตร์
ปรัชญาเบื้องต้น บทที่ ๒ ความสัมพันธ์ระหว่างปรัชญา ศาสนา วิทยาศาสตร์Padvee Academy
 
พระสงฆ์กับการเมือง
พระสงฆ์กับการเมืองพระสงฆ์กับการเมือง
พระสงฆ์กับการเมืองPadvee Academy
 
ปรัชญาทั่วไป ตอน ปรัชญาอินเดีย
ปรัชญาทั่วไป ตอน ปรัชญาอินเดียปรัชญาทั่วไป ตอน ปรัชญาอินเดีย
ปรัชญาทั่วไป ตอน ปรัชญาอินเดียPadvee Academy
 
ศาสนาเชน
ศาสนาเชนศาสนาเชน
ศาสนาเชนPadvee Academy
 
ปรัชญาเบื้องต้น บทที่ ๖ ปรัชญาตะวันออก
ปรัชญาเบื้องต้น บทที่ ๖ ปรัชญาตะวันออกปรัชญาเบื้องต้น บทที่ ๖ ปรัชญาตะวันออก
ปรัชญาเบื้องต้น บทที่ ๖ ปรัชญาตะวันออกPadvee Academy
 
วรรณกรรมทางพระพุทธศาสนาในสมัยล้านนา
วรรณกรรมทางพระพุทธศาสนาในสมัยล้านนาวรรณกรรมทางพระพุทธศาสนาในสมัยล้านนา
วรรณกรรมทางพระพุทธศาสนาในสมัยล้านนาพระอภิชัช ธมฺมโชโต
 
พระพุทธศาสนา
พระพุทธศาสนาพระพุทธศาสนา
พระพุทธศาสนาPadvee Academy
 
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับศาสนา
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับศาสนาความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับศาสนา
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับศาสนาPadvee Academy
 
ศาสนาเปรียบเทียบ
ศาสนาเปรียบเทียบศาสนาเปรียบเทียบ
ศาสนาเปรียบเทียบthnaporn999
 
วิชาพุทธปรัชญา : ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับพระพุทธศาสนาและปรัชญา
วิชาพุทธปรัชญา : ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับพระพุทธศาสนาและปรัชญาวิชาพุทธปรัชญา : ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับพระพุทธศาสนาและปรัชญา
วิชาพุทธปรัชญา : ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับพระพุทธศาสนาและปรัชญาPadvee Academy
 
ปรัชญาเบื้องต้น บทที่ ๔ ญาณวิทยา
ปรัชญาเบื้องต้น บทที่ ๔ ญาณวิทยาปรัชญาเบื้องต้น บทที่ ๔ ญาณวิทยา
ปรัชญาเบื้องต้น บทที่ ๔ ญาณวิทยาPadvee Academy
 
03ศาสนาเชน...ใหม่ 007
03ศาสนาเชน...ใหม่ 00703ศาสนาเชน...ใหม่ 007
03ศาสนาเชน...ใหม่ 007Dream'Es W.c.
 
ชีวิตและผลงานของพระพุทธโฆสาจารย์
ชีวิตและผลงานของพระพุทธโฆสาจารย์ชีวิตและผลงานของพระพุทธโฆสาจารย์
ชีวิตและผลงานของพระพุทธโฆสาจารย์Padvee Academy
 

La actualidad más candente (20)

ศาสนาพราหมณ์ ฮินดู
ศาสนาพราหมณ์ ฮินดูศาสนาพราหมณ์ ฮินดู
ศาสนาพราหมณ์ ฮินดู
 
บทที่ 2 ปรัชญาคืออะไร
บทที่ 2 ปรัชญาคืออะไรบทที่ 2 ปรัชญาคืออะไร
บทที่ 2 ปรัชญาคืออะไร
 
พัฒนาการความเป็นมาของพระไตรปิฎก
พัฒนาการความเป็นมาของพระไตรปิฎกพัฒนาการความเป็นมาของพระไตรปิฎก
พัฒนาการความเป็นมาของพระไตรปิฎก
 
พระไตรปิฎก
พระไตรปิฎกพระไตรปิฎก
พระไตรปิฎก
 
ปรัชญาเบื้องต้น บทที่ ๒ ความสัมพันธ์ระหว่างปรัชญา ศาสนา วิทยาศาสตร์
ปรัชญาเบื้องต้น บทที่ ๒ ความสัมพันธ์ระหว่างปรัชญา ศาสนา วิทยาศาสตร์ปรัชญาเบื้องต้น บทที่ ๒ ความสัมพันธ์ระหว่างปรัชญา ศาสนา วิทยาศาสตร์
ปรัชญาเบื้องต้น บทที่ ๒ ความสัมพันธ์ระหว่างปรัชญา ศาสนา วิทยาศาสตร์
 
การปกครองคณะสงฆ์
การปกครองคณะสงฆ์การปกครองคณะสงฆ์
การปกครองคณะสงฆ์
 
พระสงฆ์กับการเมือง
พระสงฆ์กับการเมืองพระสงฆ์กับการเมือง
พระสงฆ์กับการเมือง
 
ปรัชญาทั่วไป ตอน ปรัชญาอินเดีย
ปรัชญาทั่วไป ตอน ปรัชญาอินเดียปรัชญาทั่วไป ตอน ปรัชญาอินเดีย
ปรัชญาทั่วไป ตอน ปรัชญาอินเดีย
 
ศาสนาเชน
ศาสนาเชนศาสนาเชน
ศาสนาเชน
 
ปรัชญาเบื้องต้น บทที่ ๖ ปรัชญาตะวันออก
ปรัชญาเบื้องต้น บทที่ ๖ ปรัชญาตะวันออกปรัชญาเบื้องต้น บทที่ ๖ ปรัชญาตะวันออก
ปรัชญาเบื้องต้น บทที่ ๖ ปรัชญาตะวันออก
 
วรรณกรรมทางพระพุทธศาสนาในสมัยล้านนา
วรรณกรรมทางพระพุทธศาสนาในสมัยล้านนาวรรณกรรมทางพระพุทธศาสนาในสมัยล้านนา
วรรณกรรมทางพระพุทธศาสนาในสมัยล้านนา
 
จิตวิทยาในพระไตรปิฎก
จิตวิทยาในพระไตรปิฎก จิตวิทยาในพระไตรปิฎก
จิตวิทยาในพระไตรปิฎก
 
พระพุทธศาสนา
พระพุทธศาสนาพระพุทธศาสนา
พระพุทธศาสนา
 
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับศาสนา
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับศาสนาความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับศาสนา
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับศาสนา
 
ศาสนาเปรียบเทียบ
ศาสนาเปรียบเทียบศาสนาเปรียบเทียบ
ศาสนาเปรียบเทียบ
 
วิชาพุทธปรัชญา : ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับพระพุทธศาสนาและปรัชญา
วิชาพุทธปรัชญา : ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับพระพุทธศาสนาและปรัชญาวิชาพุทธปรัชญา : ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับพระพุทธศาสนาและปรัชญา
วิชาพุทธปรัชญา : ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับพระพุทธศาสนาและปรัชญา
 
กรรมฐาน (เอกสาร ๑)
กรรมฐาน (เอกสาร ๑)กรรมฐาน (เอกสาร ๑)
กรรมฐาน (เอกสาร ๑)
 
ปรัชญาเบื้องต้น บทที่ ๔ ญาณวิทยา
ปรัชญาเบื้องต้น บทที่ ๔ ญาณวิทยาปรัชญาเบื้องต้น บทที่ ๔ ญาณวิทยา
ปรัชญาเบื้องต้น บทที่ ๔ ญาณวิทยา
 
03ศาสนาเชน...ใหม่ 007
03ศาสนาเชน...ใหม่ 00703ศาสนาเชน...ใหม่ 007
03ศาสนาเชน...ใหม่ 007
 
ชีวิตและผลงานของพระพุทธโฆสาจารย์
ชีวิตและผลงานของพระพุทธโฆสาจารย์ชีวิตและผลงานของพระพุทธโฆสาจารย์
ชีวิตและผลงานของพระพุทธโฆสาจารย์
 

Destacado

!Ppt แนะนำวิธีนั่งสมาธิเบื้องต้น
!Ppt แนะนำวิธีนั่งสมาธิเบื้องต้น!Ppt แนะนำวิธีนั่งสมาธิเบื้องต้น
!Ppt แนะนำวิธีนั่งสมาธิเบื้องต้นbmcweb072
 
ธัมมานุปัสสนาสติปัฏฐาน
ธัมมานุปัสสนาสติปัฏฐานธัมมานุปัสสนาสติปัฏฐาน
ธัมมานุปัสสนาสติปัฏฐานAnchalee BuddhaBucha
 
ไอน์สไตน์ได้กล่าวถึงพระพุทธศาสนา
ไอน์สไตน์ได้กล่าวถึงพระพุทธศาสนาไอน์สไตน์ได้กล่าวถึงพระพุทธศาสนา
ไอน์สไตน์ได้กล่าวถึงพระพุทธศาสนาmocxx
 
สมาธิกับหลักวิทยาศาสตร์
สมาธิกับหลักวิทยาศาสตร์สมาธิกับหลักวิทยาศาสตร์
สมาธิกับหลักวิทยาศาสตร์Rath Saadying
 
พุทธปรัชญากับวิทยาศาสตร์
พุทธปรัชญากับวิทยาศาสตร์พุทธปรัชญากับวิทยาศาสตร์
พุทธปรัชญากับวิทยาศาสตร์บรรพต แคไธสง
 
ตัวอย่างวิทยานิพนธ์บทที่ 1-2 E-learning
ตัวอย่างวิทยานิพนธ์บทที่ 1-2 E-learningตัวอย่างวิทยานิพนธ์บทที่ 1-2 E-learning
ตัวอย่างวิทยานิพนธ์บทที่ 1-2 E-learningrubtumproject.com
 
การเลือกหัวข้อเรื่องและขั้นตอนวิทยานิพนธ์
การเลือกหัวข้อเรื่องและขั้นตอนวิทยานิพนธ์การเลือกหัวข้อเรื่องและขั้นตอนวิทยานิพนธ์
การเลือกหัวข้อเรื่องและขั้นตอนวิทยานิพนธ์Prachyanun Nilsook
 
ธรรมภาคปฏิบัติ บทที่ ๔ ลำดับขั้นตอนการปฏิบัิติวิปัสสนากรรมฐาน
ธรรมภาคปฏิบัติ บทที่ ๔ ลำดับขั้นตอนการปฏิบัิติวิปัสสนากรรมฐานธรรมภาคปฏิบัติ บทที่ ๔ ลำดับขั้นตอนการปฏิบัิติวิปัสสนากรรมฐาน
ธรรมภาคปฏิบัติ บทที่ ๔ ลำดับขั้นตอนการปฏิบัิติวิปัสสนากรรมฐานPadvee Academy
 
ธรรมภาคปฏิบัติ บทที่ ๓ การเจริญวิปัสสนากรรมฐานตามแนวสติปัฏฐาน ๔
ธรรมภาคปฏิบัติ บทที่ ๓ การเจริญวิปัสสนากรรมฐานตามแนวสติปัฏฐาน ๔ธรรมภาคปฏิบัติ บทที่ ๓ การเจริญวิปัสสนากรรมฐานตามแนวสติปัฏฐาน ๔
ธรรมภาคปฏิบัติ บทที่ ๓ การเจริญวิปัสสนากรรมฐานตามแนวสติปัฏฐาน ๔Padvee Academy
 

Destacado (13)

13 ฝึกสมาธิ ยืน เดิน นั่ง
13 ฝึกสมาธิ  ยืน เดิน นั่ง13 ฝึกสมาธิ  ยืน เดิน นั่ง
13 ฝึกสมาธิ ยืน เดิน นั่ง
 
๐๐๐ ๒๕๔ ธรรมภาคปฏิบัติ ๔
๐๐๐ ๒๕๔ ธรรมภาคปฏิบัติ ๔๐๐๐ ๒๕๔ ธรรมภาคปฏิบัติ ๔
๐๐๐ ๒๕๔ ธรรมภาคปฏิบัติ ๔
 
!Ppt แนะนำวิธีนั่งสมาธิเบื้องต้น
!Ppt แนะนำวิธีนั่งสมาธิเบื้องต้น!Ppt แนะนำวิธีนั่งสมาธิเบื้องต้น
!Ppt แนะนำวิธีนั่งสมาธิเบื้องต้น
 
ธัมมานุปัสสนาสติปัฏฐาน
ธัมมานุปัสสนาสติปัฏฐานธัมมานุปัสสนาสติปัฏฐาน
ธัมมานุปัสสนาสติปัฏฐาน
 
ไอน์สไตน์ได้กล่าวถึงพระพุทธศาสนา
ไอน์สไตน์ได้กล่าวถึงพระพุทธศาสนาไอน์สไตน์ได้กล่าวถึงพระพุทธศาสนา
ไอน์สไตน์ได้กล่าวถึงพระพุทธศาสนา
 
ปฏิจจสมุปบาท
ปฏิจจสมุปบาท ปฏิจจสมุปบาท
ปฏิจจสมุปบาท
 
สมาธิกับหลักวิทยาศาสตร์
สมาธิกับหลักวิทยาศาสตร์สมาธิกับหลักวิทยาศาสตร์
สมาธิกับหลักวิทยาศาสตร์
 
ธรรมภาคปฏิบัติ ๕
ธรรมภาคปฏิบัติ ๕ธรรมภาคปฏิบัติ ๕
ธรรมภาคปฏิบัติ ๕
 
พุทธปรัชญากับวิทยาศาสตร์
พุทธปรัชญากับวิทยาศาสตร์พุทธปรัชญากับวิทยาศาสตร์
พุทธปรัชญากับวิทยาศาสตร์
 
ตัวอย่างวิทยานิพนธ์บทที่ 1-2 E-learning
ตัวอย่างวิทยานิพนธ์บทที่ 1-2 E-learningตัวอย่างวิทยานิพนธ์บทที่ 1-2 E-learning
ตัวอย่างวิทยานิพนธ์บทที่ 1-2 E-learning
 
การเลือกหัวข้อเรื่องและขั้นตอนวิทยานิพนธ์
การเลือกหัวข้อเรื่องและขั้นตอนวิทยานิพนธ์การเลือกหัวข้อเรื่องและขั้นตอนวิทยานิพนธ์
การเลือกหัวข้อเรื่องและขั้นตอนวิทยานิพนธ์
 
ธรรมภาคปฏิบัติ บทที่ ๔ ลำดับขั้นตอนการปฏิบัิติวิปัสสนากรรมฐาน
ธรรมภาคปฏิบัติ บทที่ ๔ ลำดับขั้นตอนการปฏิบัิติวิปัสสนากรรมฐานธรรมภาคปฏิบัติ บทที่ ๔ ลำดับขั้นตอนการปฏิบัิติวิปัสสนากรรมฐาน
ธรรมภาคปฏิบัติ บทที่ ๔ ลำดับขั้นตอนการปฏิบัิติวิปัสสนากรรมฐาน
 
ธรรมภาคปฏิบัติ บทที่ ๓ การเจริญวิปัสสนากรรมฐานตามแนวสติปัฏฐาน ๔
ธรรมภาคปฏิบัติ บทที่ ๓ การเจริญวิปัสสนากรรมฐานตามแนวสติปัฏฐาน ๔ธรรมภาคปฏิบัติ บทที่ ๓ การเจริญวิปัสสนากรรมฐานตามแนวสติปัฏฐาน ๔
ธรรมภาคปฏิบัติ บทที่ ๓ การเจริญวิปัสสนากรรมฐานตามแนวสติปัฏฐาน ๔
 

Similar a ธรรมะภาคปฏิบัติ : ประวัติและวิวัฒนาการของการปฏิบัติกรรมฐาน

013แนวคิดการจัดการเรียนรู้ตามแนววิถีพุทธ วัดไร่ขิง
013แนวคิดการจัดการเรียนรู้ตามแนววิถีพุทธ  วัดไร่ขิง013แนวคิดการจัดการเรียนรู้ตามแนววิถีพุทธ  วัดไร่ขิง
013แนวคิดการจัดการเรียนรู้ตามแนววิถีพุทธ วัดไร่ขิงniralai
 
1 บทนำ - 9 มนต์ เพื่อความก้าวหน้า โดย ท่าน ว. วชิรเมธี
1 บทนำ - 9 มนต์ เพื่อความก้าวหน้า โดย ท่าน ว. วชิรเมธี1 บทนำ - 9 มนต์ เพื่อความก้าวหน้า โดย ท่าน ว. วชิรเมธี
1 บทนำ - 9 มนต์ เพื่อความก้าวหน้า โดย ท่าน ว. วชิรเมธีPanuwat Beforetwo
 
1 อริยวินัย ฉบับพิมพ์ครั้งที่ 10 ariyavinaya10th
1 อริยวินัย ฉบับพิมพ์ครั้งที่ 10  ariyavinaya10th1 อริยวินัย ฉบับพิมพ์ครั้งที่ 10  ariyavinaya10th
1 อริยวินัย ฉบับพิมพ์ครั้งที่ 10 ariyavinaya10thTongsamut vorasan
 
1 อริยวินัย ฉบับพิมพ์ครั้งที่ 10 ariyavinaya10th
1 อริยวินัย ฉบับพิมพ์ครั้งที่ 10  ariyavinaya10th1 อริยวินัย ฉบับพิมพ์ครั้งที่ 10  ariyavinaya10th
1 อริยวินัย ฉบับพิมพ์ครั้งที่ 10 ariyavinaya10thTongsamut vorasan
 
หลักการหรือคำสอนแห่งพระพุทธศาสนา
หลักการหรือคำสอนแห่งพระพุทธศาสนาหลักการหรือคำสอนแห่งพระพุทธศาสนา
หลักการหรือคำสอนแห่งพระพุทธศาสนาNew Nan
 
พุทธศาสนากับโหราศาสตร์
พุทธศาสนากับโหราศาสตร์พุทธศาสนากับโหราศาสตร์
พุทธศาสนากับโหราศาสตร์PhusitSudhammo
 
พุทธวิธีในการสอน พระพรหมคุณาภรณ์(ป.อ.ปยุตฺโต)
พุทธวิธีในการสอน พระพรหมคุณาภรณ์(ป.อ.ปยุตฺโต) พุทธวิธีในการสอน พระพรหมคุณาภรณ์(ป.อ.ปยุตฺโต)
พุทธวิธีในการสอน พระพรหมคุณาภรณ์(ป.อ.ปยุตฺโต) niralai
 
วิเคราะห์การเรียนการสอนวิชาการพัฒนาจิต
วิเคราะห์การเรียนการสอนวิชาการพัฒนาจิตวิเคราะห์การเรียนการสอนวิชาการพัฒนาจิต
วิเคราะห์การเรียนการสอนวิชาการพัฒนาจิตAmu P Thaiying
 
รายวิชาสังคมศึกษาพื้นฐาน รหัสวิชา ส 21101
รายวิชาสังคมศึกษาพื้นฐาน รหัสวิชา ส 21101รายวิชาสังคมศึกษาพื้นฐาน รหัสวิชา ส 21101
รายวิชาสังคมศึกษาพื้นฐาน รหัสวิชา ส 21101spk906
 
2014-07-04 การบริหารงานแนวพุทธ
2014-07-04 การบริหารงานแนวพุทธ2014-07-04 การบริหารงานแนวพุทธ
2014-07-04 การบริหารงานแนวพุทธNopporn Thepsithar
 
จริยศาสตร์ประเมินบทที่222 3-ปี
จริยศาสตร์ประเมินบทที่222 3-ปีจริยศาสตร์ประเมินบทที่222 3-ปี
จริยศาสตร์ประเมินบทที่222 3-ปีPa'rig Prig
 
หน่วยการเรียนรู้ที่ 4 เรื่อง วิวัฒนาการ
หน่วยการเรียนรู้ที่ 4 เรื่อง วิวัฒนาการหน่วยการเรียนรู้ที่ 4 เรื่อง วิวัฒนาการ
หน่วยการเรียนรู้ที่ 4 เรื่อง วิวัฒนาการWichai Likitponrak
 
Projectm6 2-2554
Projectm6 2-2554Projectm6 2-2554
Projectm6 2-2554Net'Net Zii
 

Similar a ธรรมะภาคปฏิบัติ : ประวัติและวิวัฒนาการของการปฏิบัติกรรมฐาน (20)

013แนวคิดการจัดการเรียนรู้ตามแนววิถีพุทธ วัดไร่ขิง
013แนวคิดการจัดการเรียนรู้ตามแนววิถีพุทธ  วัดไร่ขิง013แนวคิดการจัดการเรียนรู้ตามแนววิถีพุทธ  วัดไร่ขิง
013แนวคิดการจัดการเรียนรู้ตามแนววิถีพุทธ วัดไร่ขิง
 
สังคมศึกษา ปลาย
สังคมศึกษา ปลายสังคมศึกษา ปลาย
สังคมศึกษา ปลาย
 
อังกฤษ ปลาย
อังกฤษ ปลายอังกฤษ ปลาย
อังกฤษ ปลาย
 
รายละเอียดวิชาพระไตรปิฎกศึกษ1
รายละเอียดวิชาพระไตรปิฎกศึกษ1รายละเอียดวิชาพระไตรปิฎกศึกษ1
รายละเอียดวิชาพระไตรปิฎกศึกษ1
 
1 บทนำ - 9 มนต์ เพื่อความก้าวหน้า โดย ท่าน ว. วชิรเมธี
1 บทนำ - 9 มนต์ เพื่อความก้าวหน้า โดย ท่าน ว. วชิรเมธี1 บทนำ - 9 มนต์ เพื่อความก้าวหน้า โดย ท่าน ว. วชิรเมธี
1 บทนำ - 9 มนต์ เพื่อความก้าวหน้า โดย ท่าน ว. วชิรเมธี
 
1 อริยวินัย ฉบับพิมพ์ครั้งที่ 10 ariyavinaya10th
1 อริยวินัย ฉบับพิมพ์ครั้งที่ 10  ariyavinaya10th1 อริยวินัย ฉบับพิมพ์ครั้งที่ 10  ariyavinaya10th
1 อริยวินัย ฉบับพิมพ์ครั้งที่ 10 ariyavinaya10th
 
1 อริยวินัย ฉบับพิมพ์ครั้งที่ 10 ariyavinaya10th
1 อริยวินัย ฉบับพิมพ์ครั้งที่ 10  ariyavinaya10th1 อริยวินัย ฉบับพิมพ์ครั้งที่ 10  ariyavinaya10th
1 อริยวินัย ฉบับพิมพ์ครั้งที่ 10 ariyavinaya10th
 
หลักการหรือคำสอนแห่งพระพุทธศาสนา
หลักการหรือคำสอนแห่งพระพุทธศาสนาหลักการหรือคำสอนแห่งพระพุทธศาสนา
หลักการหรือคำสอนแห่งพระพุทธศาสนา
 
9 mantra
9 mantra9 mantra
9 mantra
 
พุทธศาสนากับโหราศาสตร์
พุทธศาสนากับโหราศาสตร์พุทธศาสนากับโหราศาสตร์
พุทธศาสนากับโหราศาสตร์
 
พุทธวิธีในการสอน พระพรหมคุณาภรณ์(ป.อ.ปยุตฺโต)
พุทธวิธีในการสอน พระพรหมคุณาภรณ์(ป.อ.ปยุตฺโต) พุทธวิธีในการสอน พระพรหมคุณาภรณ์(ป.อ.ปยุตฺโต)
พุทธวิธีในการสอน พระพรหมคุณาภรณ์(ป.อ.ปยุตฺโต)
 
วิเคราะห์การเรียนการสอนวิชาการพัฒนาจิต
วิเคราะห์การเรียนการสอนวิชาการพัฒนาจิตวิเคราะห์การเรียนการสอนวิชาการพัฒนาจิต
วิเคราะห์การเรียนการสอนวิชาการพัฒนาจิต
 
001
001001
001
 
รายวิชาสังคมศึกษาพื้นฐาน รหัสวิชา ส 21101
รายวิชาสังคมศึกษาพื้นฐาน รหัสวิชา ส 21101รายวิชาสังคมศึกษาพื้นฐาน รหัสวิชา ส 21101
รายวิชาสังคมศึกษาพื้นฐาน รหัสวิชา ส 21101
 
2014-07-04 การบริหารงานแนวพุทธ
2014-07-04 การบริหารงานแนวพุทธ2014-07-04 การบริหารงานแนวพุทธ
2014-07-04 การบริหารงานแนวพุทธ
 
จริยศาสตร์ประเมินบทที่222 3-ปี
จริยศาสตร์ประเมินบทที่222 3-ปีจริยศาสตร์ประเมินบทที่222 3-ปี
จริยศาสตร์ประเมินบทที่222 3-ปี
 
หน่วยการเรียนรู้ที่ 4 เรื่อง วิวัฒนาการ
หน่วยการเรียนรู้ที่ 4 เรื่อง วิวัฒนาการหน่วยการเรียนรู้ที่ 4 เรื่อง วิวัฒนาการ
หน่วยการเรียนรู้ที่ 4 เรื่อง วิวัฒนาการ
 
ไตรสิกขา
ไตรสิกขาไตรสิกขา
ไตรสิกขา
 
Projectm6 2-2554
Projectm6 2-2554Projectm6 2-2554
Projectm6 2-2554
 
Projectm6 2-2554
Projectm6 2-2554Projectm6 2-2554
Projectm6 2-2554
 

Más de Padvee Academy

หนังสือสอนใช้ WordPress สำหรับผู้เริ่มต้น [ฉบับ E-book]
หนังสือสอนใช้ WordPress สำหรับผู้เริ่มต้น [ฉบับ E-book]หนังสือสอนใช้ WordPress สำหรับผู้เริ่มต้น [ฉบับ E-book]
หนังสือสอนใช้ WordPress สำหรับผู้เริ่มต้น [ฉบับ E-book]Padvee Academy
 
Onpage stucture checklist
Onpage stucture checklist Onpage stucture checklist
Onpage stucture checklist Padvee Academy
 
ปรัชญาอัตถิภาวนิยมของ ฌอง ปอล ซาร์ต (Jean paul sartre)
ปรัชญาอัตถิภาวนิยมของ ฌอง ปอล ซาร์ต (Jean paul sartre)ปรัชญาอัตถิภาวนิยมของ ฌอง ปอล ซาร์ต (Jean paul sartre)
ปรัชญาอัตถิภาวนิยมของ ฌอง ปอล ซาร์ต (Jean paul sartre)Padvee Academy
 
ปรัชญากับวิถีชีวิต
ปรัชญากับวิถีชีวิตปรัชญากับวิถีชีวิต
ปรัชญากับวิถีชีวิตPadvee Academy
 
ปรัชญาทั่วไป ตอน ทำความรู้จักกับปรัชญา
ปรัชญาทั่วไป ตอน ทำความรู้จักกับปรัชญาปรัชญาทั่วไป ตอน ทำความรู้จักกับปรัชญา
ปรัชญาทั่วไป ตอน ทำความรู้จักกับปรัชญาPadvee Academy
 
5 ขั้นตอนที่ต้องรู้ก่อนทำเว็บไซต์
5 ขั้นตอนที่ต้องรู้ก่อนทำเว็บไซต์5 ขั้นตอนที่ต้องรู้ก่อนทำเว็บไซต์
5 ขั้นตอนที่ต้องรู้ก่อนทำเว็บไซต์Padvee Academy
 
สรุปเนื้อหา ปรัชญาเบื้องต้น ตอน โทมัส ฮอบส์ (Thomas hobbes)
สรุปเนื้อหา ปรัชญาเบื้องต้น ตอน โทมัส  ฮอบส์ (Thomas hobbes)สรุปเนื้อหา ปรัชญาเบื้องต้น ตอน โทมัส  ฮอบส์ (Thomas hobbes)
สรุปเนื้อหา ปรัชญาเบื้องต้น ตอน โทมัส ฮอบส์ (Thomas hobbes)Padvee Academy
 
วิเคราะห์ปรัชญาขงจื๊อ
วิเคราะห์ปรัชญาขงจื๊อวิเคราะห์ปรัชญาขงจื๊อ
วิเคราะห์ปรัชญาขงจื๊อPadvee Academy
 
ปรัชญาหยางจื๊อ (Yang tzu)
ปรัชญาหยางจื๊อ (Yang  tzu)ปรัชญาหยางจื๊อ (Yang  tzu)
ปรัชญาหยางจื๊อ (Yang tzu)Padvee Academy
 
พระพุทธศาสนาวัชรยาน Vajrayana Buddhism
พระพุทธศาสนาวัชรยาน Vajrayana Buddhismพระพุทธศาสนาวัชรยาน Vajrayana Buddhism
พระพุทธศาสนาวัชรยาน Vajrayana BuddhismPadvee Academy
 
พุทธศาสนามหายาน นิกายสุขาวดี | Pure Land Buddhism
พุทธศาสนามหายาน นิกายสุขาวดี | Pure Land Buddhismพุทธศาสนามหายาน นิกายสุขาวดี | Pure Land Buddhism
พุทธศาสนามหายาน นิกายสุขาวดี | Pure Land BuddhismPadvee Academy
 
Timeline : history of philosophy
Timeline : history of philosophyTimeline : history of philosophy
Timeline : history of philosophyPadvee Academy
 
Timeline : A History of Eastern Philosophy
Timeline : A History of Eastern PhilosophyTimeline : A History of Eastern Philosophy
Timeline : A History of Eastern PhilosophyPadvee Academy
 
รูปภาพ Infographic สรุปแนวคิดที่สำคัญทาง จริยศาสตร์
รูปภาพ Infographic สรุปแนวคิดที่สำคัญทาง จริยศาสตร์รูปภาพ Infographic สรุปแนวคิดที่สำคัญทาง จริยศาสตร์
รูปภาพ Infographic สรุปแนวคิดที่สำคัญทาง จริยศาสตร์Padvee Academy
 
เทพเจ้ากรีกและโรมัน (The greek and roman gods Infographic)
เทพเจ้ากรีกและโรมัน (The greek and roman gods Infographic)เทพเจ้ากรีกและโรมัน (The greek and roman gods Infographic)
เทพเจ้ากรีกและโรมัน (The greek and roman gods Infographic)Padvee Academy
 
ศิลปะแห่งความรัก
ศิลปะแห่งความรักศิลปะแห่งความรัก
ศิลปะแห่งความรักPadvee Academy
 
ความฉลาดทางอารมณ์และการพัฒนาจิตใจ
ความฉลาดทางอารมณ์และการพัฒนาจิตใจความฉลาดทางอารมณ์และการพัฒนาจิตใจ
ความฉลาดทางอารมณ์และการพัฒนาจิตใจPadvee Academy
 
รากฐานแห่งอภิปรัชญาของศีลธรรม โดย ค้านท์ (Kants groundwork of the metaphysics...
รากฐานแห่งอภิปรัชญาของศีลธรรม โดย ค้านท์ (Kants groundwork of the metaphysics...รากฐานแห่งอภิปรัชญาของศีลธรรม โดย ค้านท์ (Kants groundwork of the metaphysics...
รากฐานแห่งอภิปรัชญาของศีลธรรม โดย ค้านท์ (Kants groundwork of the metaphysics...Padvee Academy
 
สัทธรรมปุณฑริกสูตร (The Lotus of The True Law)
สัทธรรมปุณฑริกสูตร (The Lotus of The True Law)สัทธรรมปุณฑริกสูตร (The Lotus of The True Law)
สัทธรรมปุณฑริกสูตร (The Lotus of The True Law)Padvee Academy
 
ธรรมนิเทศ Dhamma Communication
ธรรมนิเทศ Dhamma Communicationธรรมนิเทศ Dhamma Communication
ธรรมนิเทศ Dhamma CommunicationPadvee Academy
 

Más de Padvee Academy (20)

หนังสือสอนใช้ WordPress สำหรับผู้เริ่มต้น [ฉบับ E-book]
หนังสือสอนใช้ WordPress สำหรับผู้เริ่มต้น [ฉบับ E-book]หนังสือสอนใช้ WordPress สำหรับผู้เริ่มต้น [ฉบับ E-book]
หนังสือสอนใช้ WordPress สำหรับผู้เริ่มต้น [ฉบับ E-book]
 
Onpage stucture checklist
Onpage stucture checklist Onpage stucture checklist
Onpage stucture checklist
 
ปรัชญาอัตถิภาวนิยมของ ฌอง ปอล ซาร์ต (Jean paul sartre)
ปรัชญาอัตถิภาวนิยมของ ฌอง ปอล ซาร์ต (Jean paul sartre)ปรัชญาอัตถิภาวนิยมของ ฌอง ปอล ซาร์ต (Jean paul sartre)
ปรัชญาอัตถิภาวนิยมของ ฌอง ปอล ซาร์ต (Jean paul sartre)
 
ปรัชญากับวิถีชีวิต
ปรัชญากับวิถีชีวิตปรัชญากับวิถีชีวิต
ปรัชญากับวิถีชีวิต
 
ปรัชญาทั่วไป ตอน ทำความรู้จักกับปรัชญา
ปรัชญาทั่วไป ตอน ทำความรู้จักกับปรัชญาปรัชญาทั่วไป ตอน ทำความรู้จักกับปรัชญา
ปรัชญาทั่วไป ตอน ทำความรู้จักกับปรัชญา
 
5 ขั้นตอนที่ต้องรู้ก่อนทำเว็บไซต์
5 ขั้นตอนที่ต้องรู้ก่อนทำเว็บไซต์5 ขั้นตอนที่ต้องรู้ก่อนทำเว็บไซต์
5 ขั้นตอนที่ต้องรู้ก่อนทำเว็บไซต์
 
สรุปเนื้อหา ปรัชญาเบื้องต้น ตอน โทมัส ฮอบส์ (Thomas hobbes)
สรุปเนื้อหา ปรัชญาเบื้องต้น ตอน โทมัส  ฮอบส์ (Thomas hobbes)สรุปเนื้อหา ปรัชญาเบื้องต้น ตอน โทมัส  ฮอบส์ (Thomas hobbes)
สรุปเนื้อหา ปรัชญาเบื้องต้น ตอน โทมัส ฮอบส์ (Thomas hobbes)
 
วิเคราะห์ปรัชญาขงจื๊อ
วิเคราะห์ปรัชญาขงจื๊อวิเคราะห์ปรัชญาขงจื๊อ
วิเคราะห์ปรัชญาขงจื๊อ
 
ปรัชญาหยางจื๊อ (Yang tzu)
ปรัชญาหยางจื๊อ (Yang  tzu)ปรัชญาหยางจื๊อ (Yang  tzu)
ปรัชญาหยางจื๊อ (Yang tzu)
 
พระพุทธศาสนาวัชรยาน Vajrayana Buddhism
พระพุทธศาสนาวัชรยาน Vajrayana Buddhismพระพุทธศาสนาวัชรยาน Vajrayana Buddhism
พระพุทธศาสนาวัชรยาน Vajrayana Buddhism
 
พุทธศาสนามหายาน นิกายสุขาวดี | Pure Land Buddhism
พุทธศาสนามหายาน นิกายสุขาวดี | Pure Land Buddhismพุทธศาสนามหายาน นิกายสุขาวดี | Pure Land Buddhism
พุทธศาสนามหายาน นิกายสุขาวดี | Pure Land Buddhism
 
Timeline : history of philosophy
Timeline : history of philosophyTimeline : history of philosophy
Timeline : history of philosophy
 
Timeline : A History of Eastern Philosophy
Timeline : A History of Eastern PhilosophyTimeline : A History of Eastern Philosophy
Timeline : A History of Eastern Philosophy
 
รูปภาพ Infographic สรุปแนวคิดที่สำคัญทาง จริยศาสตร์
รูปภาพ Infographic สรุปแนวคิดที่สำคัญทาง จริยศาสตร์รูปภาพ Infographic สรุปแนวคิดที่สำคัญทาง จริยศาสตร์
รูปภาพ Infographic สรุปแนวคิดที่สำคัญทาง จริยศาสตร์
 
เทพเจ้ากรีกและโรมัน (The greek and roman gods Infographic)
เทพเจ้ากรีกและโรมัน (The greek and roman gods Infographic)เทพเจ้ากรีกและโรมัน (The greek and roman gods Infographic)
เทพเจ้ากรีกและโรมัน (The greek and roman gods Infographic)
 
ศิลปะแห่งความรัก
ศิลปะแห่งความรักศิลปะแห่งความรัก
ศิลปะแห่งความรัก
 
ความฉลาดทางอารมณ์และการพัฒนาจิตใจ
ความฉลาดทางอารมณ์และการพัฒนาจิตใจความฉลาดทางอารมณ์และการพัฒนาจิตใจ
ความฉลาดทางอารมณ์และการพัฒนาจิตใจ
 
รากฐานแห่งอภิปรัชญาของศีลธรรม โดย ค้านท์ (Kants groundwork of the metaphysics...
รากฐานแห่งอภิปรัชญาของศีลธรรม โดย ค้านท์ (Kants groundwork of the metaphysics...รากฐานแห่งอภิปรัชญาของศีลธรรม โดย ค้านท์ (Kants groundwork of the metaphysics...
รากฐานแห่งอภิปรัชญาของศีลธรรม โดย ค้านท์ (Kants groundwork of the metaphysics...
 
สัทธรรมปุณฑริกสูตร (The Lotus of The True Law)
สัทธรรมปุณฑริกสูตร (The Lotus of The True Law)สัทธรรมปุณฑริกสูตร (The Lotus of The True Law)
สัทธรรมปุณฑริกสูตร (The Lotus of The True Law)
 
ธรรมนิเทศ Dhamma Communication
ธรรมนิเทศ Dhamma Communicationธรรมนิเทศ Dhamma Communication
ธรรมนิเทศ Dhamma Communication
 

ธรรมะภาคปฏิบัติ : ประวัติและวิวัฒนาการของการปฏิบัติกรรมฐาน