SlideShare una empresa de Scribd logo
1 de 99
Descargar para leer sin conexión
การใช้
วิชาศึกษาทั่วไป ปีการศึกษา
1/2552
สํานักหอสมุดกลาง
มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ
EndNote คืออะไร ?
 Bibliography Software
 Personal Bibliographic
Managers (PBM)
 โปรแกรมจัดการบรรณานุกรมและการอ้างอิง
3
Endnote
Papyrus
ProCite
Reference Manager
RefWorks’ Direct Export Tool
ตัวอย่าง
โปรแกรมจัดการบรรณานุกรมและการอ้างอิง
เป็นที่นิยม
ซื้อหรือทดลองใช้โปรแกรมได้ที่ http://endnote.com
ลักษณะพิเศษของ EndNote
จัดเก็บบรรณานุกรมในรูปฐานข้อมูลได้ไม่ตํ่ากว่า
30,000 รายการต่อ 1 Library (แต่ละฐานข้อมูล
เรียกว่า Library มีนามสกุลเป็น .enl)
สร้างฐานข้อมูล (Library) ได้มากกว่า 1 ฐาน
สืบค้น แก้ไข เปลี่ยนแปลงข้อมูลในรายการ
บรรณานุกรมได้
6
Import จากฐานข้อมูลทรัพยากรสารสนเทศ
ห้องสมุดและฐานข้อมูลออนไลน์ต่าง ๆ ได้
เลือกรูปแบบบรรณานุกรม(Styles) ได้มากกว่า
1,000 รูปแบบ เช่น APA, MLA, Turabian,
Chicago เป็นต้น
ไม่มีปัญหาหากนําไปใช้กับโปรแกรมที่ต่าง
version กัน
ลักษณะพิเศษของ EndNote
ลักษณะพิเศษของ EndNote
เลือกประเภทสิ่งพิมพ์ที่จะสร้างบรรณานุกรม
(Reference types) ได้ เช่น Book, Journal
Article, Thesis, Report, Electronic Source
เป็นต้น
สามารถแทรกตารางและรูปภาพไว้ในรายการ
บรรณานุกรม
เชื่อมโยง PDF ไฟล์ได้
8
ขั้นตอนการใช้ Endnote
1. สร้างฐานข้อมูล (Library)
2. นําข้อมูลบรรณานุกรม
เข้าฐานข้อมูล
3. นําเสนอข้อมูลบรรณานุกรม
ในโปรแกรม Word
Download จาก
Library Catalog
Download จาก
Online Databases
พิมพ์ข้อมูลเข้า
9
ขั้นที่ 1
การสร้างฐานข้อมูล (Library)
10
สร้าง Library ใหม่
เมื่อเปิ ดโปรแกรมขึ้นมา
ต้องการเปิ ด
library ที่มีอยู่แล้ว
11
หรือ เลือกจากเมนู File
เลือก New เมื่อต้องการสร้าง Library ใหม่
เลือก Open เมื่อต้องการเปิ ด Library
ที่มีอยู่แล้ว
1. เลือกที่จัดเก็บ
2. ตั้งชื่อ Library
สกุลของ EndNote
3. บันทึก
หลังจากตั้งชื่อ Library
จะปรากฏหน้าจอของ Library
ที่รอการสร้างข้อมูลบรรณานุกรม
14
เลือกรูปแบบบรรณานุกรม
ที่ต้องการใช้
15
กําหนดรูปแบบ
บรรณานุกรม
ที่ต้องการ
1. เลือก
รูปแบบ
ที่ต้องการ
หรือเลือก
รูปแบบอื่น
3.
2.เลือก
รูปแบบ
ที่ต้องการ
16
ตัวอย่าง
Endnote Library
17
แสดงหน้าตาของบรรณานุกรมตาม
รูปแบบ SWU Thai ตามที่เลือกไว้
คลิก 1 ครั้งที่รายการใด
ด้านล่างจะแสดงบรรณานุกรม
ของรายการนั้น
ดับเบิ้ลคลิกที่รายการใด
จะแสดงข้อมูลทางบรรณานุกรม
ของรายการนั้นแก้ไขปรับปรุง
ข้อมูลต่างๆได้
รูปแบบบรรณานุกรมที่ใช้
สืบค้นฐานข้อมูลห้องสมุด
กรณีต้องการจัดกลุ่ม
รายการบรรณานุกรม
18
เมื่อดับเบิ้ลคลิกรายการจาก
หน้าที่แล้ว หน้าจอจะ
แสดงข้อมูล ทาง
บรรณานุกรมต่างๆ ของ
รายการนั้นๆ
ปรับเปลี่ยนแก้ไขได้
ตามต้องการ
ประเภทของวัสดุ
19
บทคัดย่อ
20
เชื่อมโยงไปยังข้อมูลบนอินเทอร์เน็ต
เชื่อมโยงไป file ต่างๆ ที่ต้องการแนบ
ไว้ เช่น PDF รูปภาพ เอกสารอื่นๆ
21
สรุปขั้นตอน
การสร้าง EndNote Library
1. เปิ ดโปรแกรม Endnote
2. จากหน้าต่างย่อยที่ปรากฏ เลือก Create a new library
หรือ เมนู File -- New
3. ตั้งชื่อ library (ควรตั้งเป็นภาษาอังกฤษ)
4. เลือกรูปแบบการเขียนบรรณานุกรมในช่อง Annotated โดยเลือก
จากรูปแบบที่มีอยู่ หรือ คลิก Select Another Style…เพื่อเลือก
รูปแบบอื่นๆ
22
ขั้นที่ 2
การนําข้อมูลบรรณานุกรม
เข้าฐานข้อมูล (Library)
23
ทําได้ 3 วิธี
ถ่ายโอนข้อมูลบรรณานุกรมจากฐานข้อมูล
ทรัพยากรสารสนเทศห้องสมุด
ถ่ายโอนข้อมูลบรรณานุกรมจากฐานข้อมูล
ออนไลน์
สร้างข้อมูลบรรณานุกรมขึ้นเองด้วยการ
พิมพ์ทีละรายการ
24
วิธีที่ 1
ถ่ายโอนข้อมูลบรรณานุกรมจาก
ฐานข้อมูลทรัพยากรสารสนเทศห้องสมุด
Downloading from library catalog
25
การเชื่อมต่อไปยัง Library Catalog
26
คลิกเลือกห้องสมุดที่ต้องการจาก Online Search
1
3
2
OPAC ของ มศว
SWUP ค้นทรัพยากรสารสนเทศทุกประเภท ยกเว้นบทความ
SWU Libraries_Index ค้นบทความวารสารภาษาไทย
27
หรือ ใช้เมนู Tool -- Online Search… แล้วเลือกห้องสมุดที่ต้องการ
28
ห้องสมุดที่สืบค้น
สืบค้น
จะปรากฏหน้าจอสําหรับสืบค้นที่ด้านล่าง
1. สืบค้น
2. กําหนด
จํานวนผล
ที่ต้องการ
29
จํานวนผลการสืบค้นที่พบ
กําหนด
จํานวน
รายการ
ที่ต้องการ
ให้แสดง
หน้าจอแสดงจํานวนผลการสืบค้น
30
หน้าจอแสดงรายการผลการสืบค้น
31
ข้อมูล
เข้ามาสู่
Library
ดับเบิ้ลคลิก
หากต้องการแก้ไขข้อมูล
32
สรุปขั้นตอน
การ Download ข้อมูลบรรณานุกรมจาก Library Catalog
1. เปิ ดโปรแกรม Endnote และเปิ ด Library ที่ต้องการเก็บข้อมูล
2. กําหนด Connection Files เพื่อเลือกห้องสมุดที่ต้องการสืบค้น โดย
คลิกห้องสมุดที่ต้องการหรือ More ที่ Online Search ซึ่งอยู่ที่
แถบเมนูด้านข้าง หรือ
เมนู Tools -- Online Search …
3. สืบค้นเรื่องที่ต้องการ
4. จัดเก็บรายการที่ต้องการ
33
วิธีที่ 2
ถ่ายโอนข้อมูลบรรณานุกรมจาก
ฐานข้อมูลออนไลน์
Downloading from online databases
34
มองหาคําว่า
“Export”
35
ตัวอย่างที่ 1Dowload จากฐานข้อมูล Proquest
คลิก Export
หลังเลือกเรื่องที่ต้องการ
36
คลิกเลือกข้อนี้
37
ข้อมูลที่เลือกไว้
จะได้รับการจัดเก็บใน Library
38
ตัวอย่างที่ 2 Download จากฐานข้อมูล H.W. Wison
คลิก
392. คลิกเพื่อส่งข้อมูล
1. คลิกเลือก
ข้อนี้
40
กรณีมีการ block
ให้คลิกขวา
เลือก Download File…
41
42
เลือก save ไว้ที่ใดก็ได้
43
1.
เลือก Import Filter
ในที่นี้คือ
WilsonWeb
2.
คลิก Choose
44
ข้อมูลเข้าสู่ Library
45
กรณีต้องการเก็บ PDF ด้วย
ในหน้ารายละเอียดของข้อมูล
คลิกขวาในหัวข้อ File Attachments
แล้วเลือก File Attachments…
-- Attach File…
46
เลือก PDF
ที่ save ไว้
47
ปรากฏการเชื่อมโยงสู่ PDF
48
สรุปขั้นตอน
การ Download ข้อมูลบรรณานุกรมจาก Online Databases
1. เปิ ดโปรแกรม Endnote และเปิ ด Library ที่ต้องการเก็บข้อมูล
2. สืบค้นข้อมูลจากฐานข้อมูลออนไลน์ที่ต้องการ
3. เลือกเรื่องที่ต้องการ แล้วคลิก Export เพื่อส่งข้อมูลเข้าไปยัง
Library ที่ต้องการ
49
การจัดการการแสดงผลของข้อมูล
50
การ จัดรูปแบบการแสดงผล
51
Edit Preferences
จัดรูปแบบการแสดงผล เช่น
รูปแบบอักษร
ประเภทวัสดุ
ข้อมูลที่ต้องการให้ปรากฏ
ฯลฯ
52
เลือก Preferences ในเมนู Edit
53
หน้าต่าง EndNote Preferences
เมนูสําหรับ
เลือกรายการ
54
เมนูที่ใช้บ่อย
กําหนดรูปแบบอักษร
กําหนดประเภทของวัสดุ
กําหนดข้อมูลที่ต้องการให้แสดง
55
กําหนดชนิดและขนาดอักษร
ในส่วนต่างๆ
56
กําหนดในกรณีพิมพ์ข้อมูลเอง
โดยข้อมูลส่วนใหญ่เป็น
วัสดุประเภทเดียวกัน
57
ตั้งชื่อใหม่
เองได้
เลือกรายการ
ที่ต้องการ
ให้แสดง
58
แสดงชื่อ Column ตามที่กําหนดไว้
59
การแสดงรายการทั้งหมดที่มีใน Library
60
เมนู Reference
เลือก
Show All References
61แสดงรายการข้อมูลทั้งหมดที่มี
62
การเรียงลําดับข้อมูลตามอักษร
63
วิธีที่ 1 เมนู Tools – Sort Library…
64
เลือกคลิก
ในรายการ
ที่ต้องการ
จัดเรียง
65
วิธีที่ 2 คลิกที่หัว Column ที่ต้องการเรียง
เรียงตามลําดับจาก
A-Z ก-ฮ
66
การค้นหาข้อมูลที่ต้องการ
67
เมนู Tools
เลือก Search Library…
68
สืบค้นข้อมูลที่ต้องการ
69
แสดงข้อมูลที่สืบค้น
70
การตรวจสอบข้อมูลที่ซํ้ากัน
71
เมนู References
เลือก Find Duplicates
72
แสดงรายการที่ซํ้ากัน
73
วิธีที่ 3
สร้างข้อมูลบรรณานุกรมขึ้นเอง
ด้วยการพิมพ์ทีละรายการ
74
เมนู References
เลือก New Reference
75
หรือ คลิกที่นี่
76
แสดงหน้า
สําหรับกรอกข้อมูล
เลือกประเภทวัสดุ
77
กรอกรายละเอียด
ในแต่ละหัวข้อ
คลิกปิ ด
เมื่อกรอก
รายละเอียด
เรียบร้อย
และ save
ข้อมูลแล้ว
78
ข้อมูลที่พิมพ์ เข้าสู่ Library
79
การพิมพ์ข้อมูล
1. ผู้แต่ง
- ปภาดา, น้อยคํายาง
- หากมีมากกว่า 1 คน ให้พิมพ์บรรทัดละชื่อ
- หากมีมากกว่า 3 คน ให้พิมพ์แค่ 4 ชื่อเท่านั้น
2. ท้ายข้อมูลต้องไม่มีเครื่องหมายใดๆ หรือเว้นวรรค
80
ตัวอย่าง โครงสร้างข้อมูลบรรณานุกรมหลักๆ ที่ควรมี
สําหรับวัสดุแต่ละประเภท
Book (หนังสือทั่วไป) :
Author = ชื่อผู้แต่ง เช่น อรชร, คิดดี
Year = ปีพิมพ์ เช่น 2552
Title = ชื่อหนังสือ เช่น การแต่งสวน
City = สถานที่พิมพ์ เช่น กรุงเทพฯ
Publisher = สํานักพิมพ์ เช่น อัมรินทร์
Edition = ครั้งที่พิมพ์ เช่น พิมพ์ครั้งที่ 3
81
Journal Article (บทความวารสาร) :
Author = ชื่อผู้แต่ง เช่น ปรีชา, จารณ
Year = ปี, วัน เดือน หรือ ปี, เดือน วัน(กรณีเป็นภาษาอังกฤษ)
เช่น 2552, 29 มีนาคม
Title = ชื่อบทความ เช่น วัยรุ่นไทยกับการใช้อินเทอร์เน็ต
Journal = ชื่อวารสาร เช่น โดมทัศน์
Volume = ปีที่ เช่น 5
Issue = ฉบับที่ เช่น 2
Pages = เลขหน้า เช่น 45-32
82
Thesis (ปริญญานิพนธ์) :
Author = ชื่อผู้แต่ง เช่น พรพรรณ, ลีลาวดี
Year = ปีพิมพ์ เช่น 2552
Title = ชื่อเรื่อง เช่น พฤติกรรมการใช้อินเทอร์เน็ตของวัยรุ่น
City = สถานที่พิมพ์ เช่น กรุงเทพฯ
University = มหาวิทยาลัย เช่น บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัย
ศรีนครินทรวิโรฒ
Thesis Type = ชื่อปริญญาบัตร (วิชาเอก)
เช่น ปริญญานิพนธ์ กศ.ม. (การบริหารการศึกษา)
Research Notes= ถ่ายสําเนา หรือ อัดสําเนา
83
Web page หรือ ข้อมูลออนไลน์ต่างๆ :
นอกจากข้อมูลรายการบรรณานุกรมต่างๆ ตามวัสดุแต่ละ
ประเภทแล้ว จะต้องเพิ่ม
Access Date = วันเดือนปี ที่สืบค้น
(หากเป็นภาษาอังกฤษ ใช้
เดือน วัน, ปี) เช่น 29 มีนาคม 2552 หรือ March
29, 2009 URL = ที่อยู่ของวัสดุบนเว็บไซต์ เช่น
http://lib.swu.ac.th/news/san71.pdf
84
สรุปขั้นตอน
การสร้างฐานข้อมูลบรรณานุกรมด้วยการพิมพ์
1. เปิ ดโปรแกรม Endnote และเปิ ด Library ที่ต้องการเก็บข้อมูล
2. คลิกเมนู References -- New Reference
3. เลือกประเภทของวัสดุที่ Reference type
4. พิมพ์ข้อมูลตามหัวข้อต่างๆ
5. Save ข้อมูลที่เมนู File แล้วคลิกปิ ดหน้าต่างนี้ ที่เครื่องหมาย 
6. ข้อมูลที่พิมพ์จะเข้าสู่ Library
7. ทําตามขั้นตอนตั้งแต่ต้นใหม่ หากต้องการสร้างรายการต่อไป
85
ขั้นที่ 3
การนําเสนอข้อมูลบรรณานุกรมใน
โปรแกรมไมโครซอฟต์เวิร์ด
86
มี 2 วิธี
วิธีที่ 1 ทําบรรณานุกรม
วิธีที่ 2 การอ้างอิงในเนื้อหา
87
วิธีที่ 1 ทําบรรณานุกรม
88
1. เลือกข้อมูลที่
ต้องการพร้อมเลือก
รูปแบบของ
บรรณานุกรม
ให้สอดคล้องกัน
2. คลิกขวาเลือก
Copy Formatted
3. คลิกเปิ ด Word
89
ในหน้าเอกสารของ Word
คลิกขวาใน
ตําแหน่งที่ต้องการ
เลือก Paste
90
แสดงรายการบรรณานุกรมที่ Copy มา
*เพื่อให้ได้รูปแบบที่ถูกต้อง ควรแก้ไขจาก EndNote ให้เรียบร้อยก่อน
91
วิธีที่ 2 การอ้างอิงในเนื้อหา
92
2. คลิกขวา
เลือก
Copy
Formatted
1. เลือกข้อมูลที่
ต้องการพร้อมเลือก
รูปแบบของ
บรรณานุกรม
ให้สอดคล้องกัน
3. คลิกเปิ ด Word
93
ในหน้าเอกสารของ Word วาง Cursor ในตําแหน่งที่ต้องการ
คลิกที่เครื่องหมาย ที่ Toolbar
94
หรือหลังวาง cursor
แล้วไปที่เมนู Tools
เลือก EndNote X2
และ Insert Selected
Citation(s)
95
แทรกข้อมูลในเนื้อหา (ต้องเติมเลขหน้าเอง)
พร้อมบรรณานุกรมข้างล่าง
96
สรุปขั้นตอน
การนําเสนอข้อมูลบรรณานุกรมในโปรแกรมไมโครซอฟต์เวิร์ด
1. การทําบรรณานุกรม
1.1 เลือกรายการบรรณานุกรมที่ต้องการจาก Library
1.2 คลิกขวา เลือก Copy Formatted
1.3 มาที่หน้าเอกสารของ Word วาง cursor ในตําแหน่งที่ต้องการ
1.4 คลิกขวา เลือก Paste หรือไปที่เมนู Edit แล้วเลือก Paste
97
สรุปขั้นตอน
การนําเสนอข้อมูลบรรณานุกรมในโปรแกรมไมโครซอฟต์เวิร์ด
2. การอ้างอิงในเนื้อหา
2.1 เลือกรายการบรรณานุกรมที่ต้องการจาก Library
2.2 คลิกขวา เลือก Copy Formatted
2.3 มาที่หน้าเอกสารของ Word วาง cursor ในตําแหน่งที่ต้องการ
2.4 คลิกเครื่องหมาย บน Toolbar
หรือ
เมนู Tools -- Endnote X2 -- Insert Selected Citation(s)
98
คําถาม & คําตอบ
สวัสดี
สํานักหอสมุดกลาง มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ
อ้างอิงจาก
อรทัย วารีสอาด. (2552). เอกสารประกอบการอบรมการใช้โปรแกรม
EndNote สําหรับบรรณารักษ์วิชาชีพ. กรุงเทพฯ: ภาควิชาบรรณารักษ์-
ศาสตร์และสารสนเทศศาสตร์ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ.

Más contenido relacionado

La actualidad más candente

End note x2 by pathumtip
End note x2  by pathumtipEnd note x2  by pathumtip
End note x2 by pathumtip
yunhooppa
 
Abi inform complete 2014
Abi inform complete 2014Abi inform complete 2014
Abi inform complete 2014
MuchCha XPoom
 

La actualidad más candente (14)

Pqdt global 2014
Pqdt global 2014Pqdt global 2014
Pqdt global 2014
 
Web of science 2014
Web of science 2014Web of science 2014
Web of science 2014
 
คู่มือ EndnoteX5
คู่มือ EndnoteX5 คู่มือ EndnoteX5
คู่มือ EndnoteX5
 
Iel
IelIel
Iel
 
Iel
IelIel
Iel
 
งานประชุม
งานประชุมงานประชุม
งานประชุม
 
End note x2 by pathumtip
End note x2  by pathumtipEnd note x2  by pathumtip
End note x2 by pathumtip
 
Abi inform complete 2014
Abi inform complete 2014Abi inform complete 2014
Abi inform complete 2014
 
งานคอม#2
งานคอม#2งานคอม#2
งานคอม#2
 
Library 2.0
Library 2.0Library 2.0
Library 2.0
 
Acm
AcmAcm
Acm
 
53011220044
5301122004453011220044
53011220044
 
Ucofthailand
UcofthailandUcofthailand
Ucofthailand
 
20110102 ทำรายงานอย่างมีคุณภาพด้วย zotero ตอนที่ 1
20110102 ทำรายงานอย่างมีคุณภาพด้วย zotero ตอนที่ 120110102 ทำรายงานอย่างมีคุณภาพด้วย zotero ตอนที่ 1
20110102 ทำรายงานอย่างมีคุณภาพด้วย zotero ตอนที่ 1
 

Similar a Endnote For SWU141

การสำรวจและรวบรวม Internet Reference Resources
การสำรวจและรวบรวม Internet Reference Resourcesการสำรวจและรวบรวม Internet Reference Resources
การสำรวจและรวบรวม Internet Reference Resources
Srion Janeprapapong
 
53011220049
5301122004953011220049
53011220049
zapzaax2
 
53011220049
5301122004953011220049
53011220049
zapzaax2
 
53011220049
5301122004953011220049
53011220049
zapzaax2
 
บทที่ 7 เครื่องมือการเข้าถึงสารสนเทศ
บทที่ 7 เครื่องมือการเข้าถึงสารสนเทศบทที่ 7 เครื่องมือการเข้าถึงสารสนเทศ
บทที่ 7 เครื่องมือการเข้าถึงสารสนเทศ
Beauso English
 
Ppt1ความเรียงขั้นสูง
Ppt1ความเรียงขั้นสูงPpt1ความเรียงขั้นสูง
Ppt1ความเรียงขั้นสูง
Attaporn Saranoppakun
 
[Thai] Bibliography database
[Thai] Bibliography database[Thai] Bibliography database
[Thai] Bibliography database
Joy sarinubia
 
Sprinkerlink new
Sprinkerlink newSprinkerlink new
Sprinkerlink new
libser515
 
Abi inform complete 2014
Abi inform complete 2014Abi inform complete 2014
Abi inform complete 2014
maethaya
 
Sprinkerlink new
Sprinkerlink newSprinkerlink new
Sprinkerlink new
sunshine515
 
Proquest Dissertations & Theses
Proquest Dissertations & Theses Proquest Dissertations & Theses
Proquest Dissertations & Theses
Gritiga Soonthorn
 

Similar a Endnote For SWU141 (20)

End notex4
End notex4End notex4
End notex4
 
การจัดการสารสนเทศด้วยโปรแกรมจัดการรายการบรรณานุกรม Zotero และมาตรฐานเอกสารดิจ...
การจัดการสารสนเทศด้วยโปรแกรมจัดการรายการบรรณานุกรม Zotero และมาตรฐานเอกสารดิจ...การจัดการสารสนเทศด้วยโปรแกรมจัดการรายการบรรณานุกรม Zotero และมาตรฐานเอกสารดิจ...
การจัดการสารสนเทศด้วยโปรแกรมจัดการรายการบรรณานุกรม Zotero และมาตรฐานเอกสารดิจ...
 
Abi inform complete
Abi inform completeAbi inform complete
Abi inform complete
 
การสำรวจและรวบรวม Internet Reference Resources
การสำรวจและรวบรวม Internet Reference Resourcesการสำรวจและรวบรวม Internet Reference Resources
การสำรวจและรวบรวม Internet Reference Resources
 
53011220049
5301122004953011220049
53011220049
 
53011220049
5301122004953011220049
53011220049
 
53011220049
5301122004953011220049
53011220049
 
Ppt2
Ppt2Ppt2
Ppt2
 
บทที่ 7 เครื่องมือการเข้าถึงสารสนเทศ
บทที่ 7 เครื่องมือการเข้าถึงสารสนเทศบทที่ 7 เครื่องมือการเข้าถึงสารสนเทศ
บทที่ 7 เครื่องมือการเข้าถึงสารสนเทศ
 
Ppt1ความเรียงขั้นสูง
Ppt1ความเรียงขั้นสูงPpt1ความเรียงขั้นสูง
Ppt1ความเรียงขั้นสูง
 
[Thai] Bibliography database
[Thai] Bibliography database[Thai] Bibliography database
[Thai] Bibliography database
 
Iel
IelIel
Iel
 
Sprinkerlink new
Sprinkerlink newSprinkerlink new
Sprinkerlink new
 
Abi inform complete 2014
Abi inform complete 2014Abi inform complete 2014
Abi inform complete 2014
 
Acm digital library
Acm digital libraryAcm digital library
Acm digital library
 
End note web
End note webEnd note web
End note web
 
Sprinkerlink new
Sprinkerlink newSprinkerlink new
Sprinkerlink new
 
Proquest Dissertations & Theses
Proquest Dissertations & Theses Proquest Dissertations & Theses
Proquest Dissertations & Theses
 
Iel
IelIel
Iel
 
Iel
IelIel
Iel
 

Endnote For SWU141