SlideShare una empresa de Scribd logo
1 de 7
Descargar para leer sin conexión
เอกสารประกอบการสอนเรื่อง จานวนและตัวเลข
           จานวน ( number ) เป็ นนามธรรมเพือบอกปริ มาณว่ามีมากหรื อน้อย เนื่องจากมนุษย์มีการใช้ภาษาที่
                                           ่
   ต่างกัน เพื่อ ความเข้าใจตรงกันในการบอกปริ มาณเดียวกันจึงมี การคิดสัญลักษณ์ ใช้แทนจานวนที่เรี ยกว่า
   ตัวเลข ( numeral ) ขึ้น ซึ่ งตัวเลขมีใช้กนตั้งแต่สมัยโบราณ ตัวเลขที่น่าสนใจได้แก่ ตัวเลขบาบิโลน ตัวเลข
                                            ั
      ิ                                       ั             ั
   อียปต์ ตัวเลขโรมัน และตัวเลขฮินดู ในปั จจุบนตัวเลขที่ใช้กนอย่างแพร่ หลายที่สุดจนเป็ นสากลคือ ตัวเลข
   ฮินดูอารบิก ส่วนตัวเลขไทยหรื อเลขโรมันมีใช้บางบางโอกาส
                                               ้

           ตัวเลขบาบิโลน

           เป็ นสัญลักษณ์ที่มีลกษณะคล้ายรู ปลิ่ม (
                               ั                       ) แทนจานวนดังนี้

                           แทนจานวน หนึ่ง และ           แทนจานวน สิบ

           ส่วน            แทน จานวนสอง                   แทน จานวนสาม                    แทนจานวนสี่ ฯลฯ

   ชาวบาบิโลนเป็ นผูเ้ ริ่ มต้นแนวคิดเกี่ยวกับค่าประจาหลัก คือ ใช้สญลักษณ์ตวเดียวกันแทนจานวนที่ตางกัน
                                                                   ั       ั                    ่
                  ่ ั
   ทั้งนี้ข้ ึนอยูกบตาแหน่งของตัวเลขนั้นๆ

           สัญลักษณ์        อาจหมายถึง

           สัญลักษณ์        อาจหมายถึง

   ตัวอย่างเช่น

                   อาจหมายถึง 10 + 1 ซึ่ งเท่ากับ 11 หรื อ 600 + 60 ซึ่งเท่ากับ 660 หรื ออื่นๆ


           ตัวเลขอียิปต์

           ชาวอียปต์เป็ นชาติที่เจริ ญรุ่ งเรื องทางด้านศิลปวิทยาการ รู ้จกใช้ภาพเป็ นสัญลักษณ์แทนจานวน ดังนี้
                 ิ                                                        ั


ตัวเลขอียปต์
         ิ
         ขีดหรื อเสา รู ปเกือกม้า รู ปม้วนกระดาษ รู ปดอกบัว รู ปนิ้วกาลังชี้ รู ปปลา รู ปคนกาลังตกใจ
แทนจานวน    หนึ่ง         สิบ         หนึ่งร้อย    หนึ่งพัน    หนึ่งหมื่น หนึ่งแสน        หนึ่งล้าน
การเขียนตัวเลขอียปต์แทนจานวน ใช้วธีเขียนตัวเลขเรี ยงกันซึ่งจะเรี ยงอย่างไรก็ได้ แล้วนาค่ามา
                        ิ               ิ
บวกกัน เช่น

                                 แทนจานวน         หนึ่งร้อยสามสิบสอง

                                 แทนจานวน         สองพันสองร้อย สิบ

                                 แทนจานวน         หนึ่งล้านหนึ่งแสนสามหมื่น


       ตัวเลขโรมัน

       ชาวโรมันนาตัวหนังสือกรี กมาดัดแปลงเป็ นตัวเลขโรมัน ซึ่งมีสญลักษณ์พ้นฐานเจ็ดตัว ดังนี้
                                                                 ั        ื

         ตัวเลขโรมัน             I          V         X          L       C          D         M
         ตัวเลขฮินดูอารบิก       1          5         10         50     100        500       1000

       วิธีการเขียนตัวเลขโรมันแทนจานวน

       1. หลักการเพิม คือ เขียนตัวเลขเรี ยงกันตามลาดับจากค่ามากไปหาค่าน้อย แล้วนาค่าตัวเลขแต่ละ
                    ่
ตัวมาบวกกัน เช่น

               VI       แทน 5 + 1                          หรื อ 6

               XVII     แทน 10 + 5 + 2                     หรื อ 17

               CLXXV    แทน 100+ 50 + 10 + 10 +5 หรื อ 175

       2. หลักการลด คือ เขียนตัวเลขที่มีค่าน้อยกว่าไว้ขางหน้าตัวเลขที่มีค่ามากกว่า แล้วนาค่าตัวเลขทั้ง
                                                       ้
                   ั
สองมาลบกัน ซึ่งใช้กบจานวนที่มีตวเลข 4 และ 9 เท่านั้น
                               ั

       การเขียนตัวเลขโดยใช้หลักการลด มีเงื่อนไข ดังนี้

       2.1 ตัวเลขที่ใช้เป็ นตัวลบ ได้แก่ I , X และ C เท่านั้น
่
        2.2 ตัวเลขที่อยูหน้าของ X หรื อ V ได้แก่ I เพียงตัวเดียว

             เช่น         IV แทน          4

                          IX แทน          9

                        ่ ้
        2.3 ตัวเลขที่อยูขางหน้าของ L หรื อ C ได้แก่ X เพียงตัวเดียว

             เช่น         XL แทน          40

                          XC แทน          90

                        ่ ้
        2.4 ตัวเลขที่อยูขางหน้าของ D หรื อ M ได้แก่ C เพียงตัวเดียว

             เช่น         CD แทน          400

                          CM แทน          900

        จานวน 499 เขียนเป็ น 400 + 90 + 9 ซึ่งเท่ากับ CD + XC + IX ซึ่งแทนด้วย CDXCIX

        จานวน 944 เขียนเป็ น 900 + 40 + 4 ซึ่งเท่ากับ CM + XL + IV ซึ่งแทนด้วย CMXLIV

        ในระบบตัวเลขโรมันยังมีสญลักษณ์แทนจานวนที่มีค่ามากๆ โดยใช้เครื่ องหมาย – บนสัญลักษณ์
                               ั
พืนฐานเพียงหกตัว ดังนี้
 ้

                แทน 5,000                         แทน 10,000                      แทน 50,000

                แทน 100,000                       แทน 500,000                     แทน 1,000,000


        ระบบตัวเลขฐานต่ างๆ

        1. ตัวเลขฐานสิบ ใช้เลขโดดสิบตัว คือ 0, 1, 2, ... , 9       เป็ นสัญลักษณ์บอกปริ มาณ เช่น 842

        2. ตัวเลขฐานห้า ใช้เลขโดดห้าตัว คือ 0, 1, 2, 3, 4          เป็ นสัญลักษณ์บอกปริ มาณเช่น 1345

        3. ตัวเลขฐานสอง ใช้เลขโดดสองตัว คือ 0, 1                   เป็ นสัญลักษณ์บอกปริ มาณเช่น 10112
4. ตัวเลขฐานสิบสอง ใช้เลขโดดสิบสองตัว คือ 0, 1, 2, 3, 4, 5, 6, 7, 8, 9, A, B
      เป็ นสัญลักษณ์บอกปริ มาณซึ่ง A แทน สิบ และ B แทน สิบเอ็ด เช่น 2A7B12

   ตารางแสดงหลัก และค่าประจาหลักในระบบตัวเลขฐานต่างๆ

            หลักที่                 ...     เจ็ด    หก      ห้า      สี่   สาม สอง หนึ่ง
ค่าประจาหลักตัวเลขฐานสิบ            ...
ค่าประจาหลักตัวเลขฐานห้า            ...
ค่าประจาหลักตัวเลขฐานสอง            ...
ค่าประจาหลักตัวเลขฐานสิบสอง         ...


                                          ่
   การเขียนจานวนในระบบตัวเลขฐานต่างๆให้อยูในระบบตัวเลขฐานสิบ ใช้หลัก การกระจาย

                                                  ่
   ตัวอย่ าง จงเขียน 1345 , 11012 และ 2BA12 ให้อยูในระบบตัวเลขฐานสิบ

           วิธีทา    1345




                     11012




                     2BA12
่
       การเขียนจานวนในระบบตัวเลขฐานสิบให้อยูในระบบตัวเลขฐานต่างๆ ใช้หลักการหารสั้นโดย
จานวนที่เป็ นตัวหาร คือ ตัวเลขฐานต่างๆที่ตองการ
                                          ้

                                                 ่
       ตัวอย่ าง จงเขียน 49 , 512 และ 3275 ให้อยูในระบบตัวเลขฐานสอง , ห้า และสิบสองตามลาดับ

                                     ่
               วิธีทา เขียน 49 ให้อยูในระบบตัวเลขฐานสอง


                                       เศษ 1

                                       เศษ 0

                                       เศษ 0

                                       เศษ 0

                                       เศษ 1


          49 =         1100012


                                       ่
                       เขียน 512 ให้อยูในระบบตัวเลขฐานห้า


                                       เศษ 2

                                       เศษ 2

                                       เศษ 0

          512 =        40225
่
                        เขียน 3275 ให้อยูในระบบตัวเลขฐานสิบสอง


                                       เศษ B

                                       เศษ 8

                                       เศษ A

         3275 =         1A8B12

       การเปลี่ยนฐานที่กาหนดให้เป็ นฐานอื่น และฐานทั้งคู่ไม่ใช่ฐานสิบ ทาได้โดยเปลี่ยนตัวเลขที่
กาหนดให้เป็ นตัวเลขในระบบตัวเลขฐานสิบก่อน

                                    ่
       ตัวอย่ าง จงเขียน 3245 ให้อยูในระบบตัวเลขฐานสอง

               วิธีทา    3245




               เปลี่ยน 89 ให้เป็ นตัวเลขในระบบตัวเลขฐานสอง


                                       เศษ 1

                                       เศษ 0

                                       เศษ 0

                                       เศษ 1

                                       เศษ 1

                                       เศษ 0

         3245 =         10110012
่
ตัวอย่ าง จงเขียน 1301205 ให้อยูในระบบตัวเลขฐานสิ บสอง

       วิธีทา       1301205




       เปลี่ยน 5035 ให้เป็ นตัวเลขในระบบตัวเลขฐานสิบสอง


                                เศษ 7

                                เศษ B

                                เศษ A

  1301205       =      2AB712

Más contenido relacionado

La actualidad más candente

สรุปสาระสำคัญทฤษฎีกราฟเบื้องต้น
สรุปสาระสำคัญทฤษฎีกราฟเบื้องต้นสรุปสาระสำคัญทฤษฎีกราฟเบื้องต้น
สรุปสาระสำคัญทฤษฎีกราฟเบื้องต้นพัน พัน
 
ตัวแปร ชนิดข้อมูล ตัวดำเนินการ นิพจน์ และค่าคงที่
ตัวแปร ชนิดข้อมูล ตัวดำเนินการ นิพจน์ และค่าคงที่ตัวแปร ชนิดข้อมูล ตัวดำเนินการ นิพจน์ และค่าคงที่
ตัวแปร ชนิดข้อมูล ตัวดำเนินการ นิพจน์ และค่าคงที่ปณพล ดาดวง
 
ทฤษฎีกราฟเบื้องต้น
ทฤษฎีกราฟเบื้องต้นทฤษฎีกราฟเบื้องต้น
ทฤษฎีกราฟเบื้องต้นพัน พัน
 
สมบัติของเลขยกกำลัง
สมบัติของเลขยกกำลังสมบัติของเลขยกกำลัง
สมบัติของเลขยกกำลังyingsinee
 
การแก้สมการหลายตัวแปรโดย Excel
การแก้สมการหลายตัวแปรโดย Excelการแก้สมการหลายตัวแปรโดย Excel
การแก้สมการหลายตัวแปรโดย Excelพัน พัน
 

La actualidad más candente (8)

58210401119
5821040111958210401119
58210401119
 
สรุปสาระสำคัญทฤษฎีกราฟเบื้องต้น
สรุปสาระสำคัญทฤษฎีกราฟเบื้องต้นสรุปสาระสำคัญทฤษฎีกราฟเบื้องต้น
สรุปสาระสำคัญทฤษฎีกราฟเบื้องต้น
 
ตัวแปร ชนิดข้อมูล ตัวดำเนินการ นิพจน์ และค่าคงที่
ตัวแปร ชนิดข้อมูล ตัวดำเนินการ นิพจน์ และค่าคงที่ตัวแปร ชนิดข้อมูล ตัวดำเนินการ นิพจน์ และค่าคงที่
ตัวแปร ชนิดข้อมูล ตัวดำเนินการ นิพจน์ และค่าคงที่
 
ทฤษฎีกราฟเบื้องต้น
ทฤษฎีกราฟเบื้องต้นทฤษฎีกราฟเบื้องต้น
ทฤษฎีกราฟเบื้องต้น
 
สมบัติของเลขยกกำลัง
สมบัติของเลขยกกำลังสมบัติของเลขยกกำลัง
สมบัติของเลขยกกำลัง
 
Linklist
LinklistLinklist
Linklist
 
Numbers
NumbersNumbers
Numbers
 
การแก้สมการหลายตัวแปรโดย Excel
การแก้สมการหลายตัวแปรโดย Excelการแก้สมการหลายตัวแปรโดย Excel
การแก้สมการหลายตัวแปรโดย Excel
 

Similar a Number

ระบบตัวเลขโรมัน
ระบบตัวเลขโรมันระบบตัวเลขโรมัน
ระบบตัวเลขโรมันkruyafkk
 
ระบบตัวเลขโรมัน
ระบบตัวเลขโรมันระบบตัวเลขโรมัน
ระบบตัวเลขโรมันkruyafkk
 
bit byte
bit bytebit byte
bit bytepaween
 
ใบความรู้ที่ 5
ใบความรู้ที่  5ใบความรู้ที่  5
ใบความรู้ที่ 5SubLt Masu
 
ตัวเลขไทย
ตัวเลขไทยตัวเลขไทย
ตัวเลขไทยjittrenuch
 
ตัวเลขไทย
ตัวเลขไทยตัวเลขไทย
ตัวเลขไทยjittrenuch
 

Similar a Number (9)

ระบบตัวเลขโรมัน
ระบบตัวเลขโรมันระบบตัวเลขโรมัน
ระบบตัวเลขโรมัน
 
ระบบตัวเลขโรมัน
ระบบตัวเลขโรมันระบบตัวเลขโรมัน
ระบบตัวเลขโรมัน
 
bit byte
bit bytebit byte
bit byte
 
ใบความรู้ที่ 5
ใบความรู้ที่  5ใบความรู้ที่  5
ใบความรู้ที่ 5
 
เลขฐาน
เลขฐานเลขฐาน
เลขฐาน
 
บทนำ
บทนำบทนำ
บทนำ
 
01
0101
01
 
ตัวเลขไทย
ตัวเลขไทยตัวเลขไทย
ตัวเลขไทย
 
ตัวเลขไทย
ตัวเลขไทยตัวเลขไทย
ตัวเลขไทย
 

Más de Preecha Yeednoi

Más de Preecha Yeednoi (7)

Add m1-1-chapter1
Add m1-1-chapter1Add m1-1-chapter1
Add m1-1-chapter1
 
เลขโรมัน
เลขโรมันเลขโรมัน
เลขโรมัน
 
Emaj001
Emaj001Emaj001
Emaj001
 
Emaj001
Emaj001Emaj001
Emaj001
 
2 1 แบบรูป
2 1 แบบรูป2 1 แบบรูป
2 1 แบบรูป
 
5.3แบบรูป2
5.3แบบรูป25.3แบบรูป2
5.3แบบรูป2
 
ระบบเลขฐาน
ระบบเลขฐานระบบเลขฐาน
ระบบเลขฐาน
 

Number

  • 1. เอกสารประกอบการสอนเรื่อง จานวนและตัวเลข จานวน ( number ) เป็ นนามธรรมเพือบอกปริ มาณว่ามีมากหรื อน้อย เนื่องจากมนุษย์มีการใช้ภาษาที่ ่ ต่างกัน เพื่อ ความเข้าใจตรงกันในการบอกปริ มาณเดียวกันจึงมี การคิดสัญลักษณ์ ใช้แทนจานวนที่เรี ยกว่า ตัวเลข ( numeral ) ขึ้น ซึ่ งตัวเลขมีใช้กนตั้งแต่สมัยโบราณ ตัวเลขที่น่าสนใจได้แก่ ตัวเลขบาบิโลน ตัวเลข ั ิ ั ั อียปต์ ตัวเลขโรมัน และตัวเลขฮินดู ในปั จจุบนตัวเลขที่ใช้กนอย่างแพร่ หลายที่สุดจนเป็ นสากลคือ ตัวเลข ฮินดูอารบิก ส่วนตัวเลขไทยหรื อเลขโรมันมีใช้บางบางโอกาส ้ ตัวเลขบาบิโลน เป็ นสัญลักษณ์ที่มีลกษณะคล้ายรู ปลิ่ม ( ั ) แทนจานวนดังนี้ แทนจานวน หนึ่ง และ แทนจานวน สิบ ส่วน แทน จานวนสอง แทน จานวนสาม แทนจานวนสี่ ฯลฯ ชาวบาบิโลนเป็ นผูเ้ ริ่ มต้นแนวคิดเกี่ยวกับค่าประจาหลัก คือ ใช้สญลักษณ์ตวเดียวกันแทนจานวนที่ตางกัน ั ั ่ ่ ั ทั้งนี้ข้ ึนอยูกบตาแหน่งของตัวเลขนั้นๆ สัญลักษณ์ อาจหมายถึง สัญลักษณ์ อาจหมายถึง ตัวอย่างเช่น อาจหมายถึง 10 + 1 ซึ่ งเท่ากับ 11 หรื อ 600 + 60 ซึ่งเท่ากับ 660 หรื ออื่นๆ ตัวเลขอียิปต์ ชาวอียปต์เป็ นชาติที่เจริ ญรุ่ งเรื องทางด้านศิลปวิทยาการ รู ้จกใช้ภาพเป็ นสัญลักษณ์แทนจานวน ดังนี้ ิ ั ตัวเลขอียปต์ ิ ขีดหรื อเสา รู ปเกือกม้า รู ปม้วนกระดาษ รู ปดอกบัว รู ปนิ้วกาลังชี้ รู ปปลา รู ปคนกาลังตกใจ แทนจานวน หนึ่ง สิบ หนึ่งร้อย หนึ่งพัน หนึ่งหมื่น หนึ่งแสน หนึ่งล้าน
  • 2. การเขียนตัวเลขอียปต์แทนจานวน ใช้วธีเขียนตัวเลขเรี ยงกันซึ่งจะเรี ยงอย่างไรก็ได้ แล้วนาค่ามา ิ ิ บวกกัน เช่น แทนจานวน หนึ่งร้อยสามสิบสอง แทนจานวน สองพันสองร้อย สิบ แทนจานวน หนึ่งล้านหนึ่งแสนสามหมื่น ตัวเลขโรมัน ชาวโรมันนาตัวหนังสือกรี กมาดัดแปลงเป็ นตัวเลขโรมัน ซึ่งมีสญลักษณ์พ้นฐานเจ็ดตัว ดังนี้ ั ื ตัวเลขโรมัน I V X L C D M ตัวเลขฮินดูอารบิก 1 5 10 50 100 500 1000 วิธีการเขียนตัวเลขโรมันแทนจานวน 1. หลักการเพิม คือ เขียนตัวเลขเรี ยงกันตามลาดับจากค่ามากไปหาค่าน้อย แล้วนาค่าตัวเลขแต่ละ ่ ตัวมาบวกกัน เช่น VI แทน 5 + 1 หรื อ 6 XVII แทน 10 + 5 + 2 หรื อ 17 CLXXV แทน 100+ 50 + 10 + 10 +5 หรื อ 175 2. หลักการลด คือ เขียนตัวเลขที่มีค่าน้อยกว่าไว้ขางหน้าตัวเลขที่มีค่ามากกว่า แล้วนาค่าตัวเลขทั้ง ้ ั สองมาลบกัน ซึ่งใช้กบจานวนที่มีตวเลข 4 และ 9 เท่านั้น ั การเขียนตัวเลขโดยใช้หลักการลด มีเงื่อนไข ดังนี้ 2.1 ตัวเลขที่ใช้เป็ นตัวลบ ได้แก่ I , X และ C เท่านั้น
  • 3. 2.2 ตัวเลขที่อยูหน้าของ X หรื อ V ได้แก่ I เพียงตัวเดียว เช่น IV แทน 4 IX แทน 9 ่ ้ 2.3 ตัวเลขที่อยูขางหน้าของ L หรื อ C ได้แก่ X เพียงตัวเดียว เช่น XL แทน 40 XC แทน 90 ่ ้ 2.4 ตัวเลขที่อยูขางหน้าของ D หรื อ M ได้แก่ C เพียงตัวเดียว เช่น CD แทน 400 CM แทน 900 จานวน 499 เขียนเป็ น 400 + 90 + 9 ซึ่งเท่ากับ CD + XC + IX ซึ่งแทนด้วย CDXCIX จานวน 944 เขียนเป็ น 900 + 40 + 4 ซึ่งเท่ากับ CM + XL + IV ซึ่งแทนด้วย CMXLIV ในระบบตัวเลขโรมันยังมีสญลักษณ์แทนจานวนที่มีค่ามากๆ โดยใช้เครื่ องหมาย – บนสัญลักษณ์ ั พืนฐานเพียงหกตัว ดังนี้ ้ แทน 5,000 แทน 10,000 แทน 50,000 แทน 100,000 แทน 500,000 แทน 1,000,000 ระบบตัวเลขฐานต่ างๆ 1. ตัวเลขฐานสิบ ใช้เลขโดดสิบตัว คือ 0, 1, 2, ... , 9 เป็ นสัญลักษณ์บอกปริ มาณ เช่น 842 2. ตัวเลขฐานห้า ใช้เลขโดดห้าตัว คือ 0, 1, 2, 3, 4 เป็ นสัญลักษณ์บอกปริ มาณเช่น 1345 3. ตัวเลขฐานสอง ใช้เลขโดดสองตัว คือ 0, 1 เป็ นสัญลักษณ์บอกปริ มาณเช่น 10112
  • 4. 4. ตัวเลขฐานสิบสอง ใช้เลขโดดสิบสองตัว คือ 0, 1, 2, 3, 4, 5, 6, 7, 8, 9, A, B เป็ นสัญลักษณ์บอกปริ มาณซึ่ง A แทน สิบ และ B แทน สิบเอ็ด เช่น 2A7B12 ตารางแสดงหลัก และค่าประจาหลักในระบบตัวเลขฐานต่างๆ หลักที่ ... เจ็ด หก ห้า สี่ สาม สอง หนึ่ง ค่าประจาหลักตัวเลขฐานสิบ ... ค่าประจาหลักตัวเลขฐานห้า ... ค่าประจาหลักตัวเลขฐานสอง ... ค่าประจาหลักตัวเลขฐานสิบสอง ... ่ การเขียนจานวนในระบบตัวเลขฐานต่างๆให้อยูในระบบตัวเลขฐานสิบ ใช้หลัก การกระจาย ่ ตัวอย่ าง จงเขียน 1345 , 11012 และ 2BA12 ให้อยูในระบบตัวเลขฐานสิบ วิธีทา 1345 11012 2BA12
  • 5. การเขียนจานวนในระบบตัวเลขฐานสิบให้อยูในระบบตัวเลขฐานต่างๆ ใช้หลักการหารสั้นโดย จานวนที่เป็ นตัวหาร คือ ตัวเลขฐานต่างๆที่ตองการ ้ ่ ตัวอย่ าง จงเขียน 49 , 512 และ 3275 ให้อยูในระบบตัวเลขฐานสอง , ห้า และสิบสองตามลาดับ ่ วิธีทา เขียน 49 ให้อยูในระบบตัวเลขฐานสอง เศษ 1 เศษ 0 เศษ 0 เศษ 0 เศษ 1 49 = 1100012 ่ เขียน 512 ให้อยูในระบบตัวเลขฐานห้า เศษ 2 เศษ 2 เศษ 0 512 = 40225
  • 6. เขียน 3275 ให้อยูในระบบตัวเลขฐานสิบสอง เศษ B เศษ 8 เศษ A 3275 = 1A8B12 การเปลี่ยนฐานที่กาหนดให้เป็ นฐานอื่น และฐานทั้งคู่ไม่ใช่ฐานสิบ ทาได้โดยเปลี่ยนตัวเลขที่ กาหนดให้เป็ นตัวเลขในระบบตัวเลขฐานสิบก่อน ่ ตัวอย่ าง จงเขียน 3245 ให้อยูในระบบตัวเลขฐานสอง วิธีทา 3245 เปลี่ยน 89 ให้เป็ นตัวเลขในระบบตัวเลขฐานสอง เศษ 1 เศษ 0 เศษ 0 เศษ 1 เศษ 1 เศษ 0 3245 = 10110012
  • 7. ่ ตัวอย่ าง จงเขียน 1301205 ให้อยูในระบบตัวเลขฐานสิ บสอง วิธีทา 1301205 เปลี่ยน 5035 ให้เป็ นตัวเลขในระบบตัวเลขฐานสิบสอง เศษ 7 เศษ B เศษ A 1301205 = 2AB712