SlideShare una empresa de Scribd logo
1 de 22
Descargar para leer sin conexión
บทที่ 2
                         จํานวนและตัวเลข (8 ชั่วโมง)
       2.1 ระบบตัวเลขโรมัน                   (2 ชั่วโมง)
       2.2 ระบบตัวเลขฐานตาง ๆ               (4 ชั่วโมง)
       2.3 การเปลี่ยนฐานในระบบตัวเลข         (2 ชั่วโมง)

         เนื้อหาสาระของบทนี้ไดกลาวถึงประวัติคราว ๆ ของการใชจํานวน การบันทึกจํานวนของ
มนุษยในสมัยเริ่มแรก และใหความรูเกี่ยวกับระบบการเขียนตัวเลขแทนจํานวนในระบบฐานตาง ๆ ซึ่ง
เปนระบบที่ใชหลักและคาประจําหลัก สิ่งที่นาสนใจก็คือเราสามารถใชเลขโดดที่แตกตางกันไมก่ี
จํานวนมาเขียนแทนจํานวนทีตองการไดอยางไมจากัดจํานวน เชน ระบบตัวเลขฐานสิบ ใชเลขโดดสิบตัว
                              ่             ํ
คือ 0, 1, 2, 3, 4, 5, 6, 7, 8 และ 9 เขียนตัวเลขแทนจํานวนนับใด ๆ ก็ไดตามความตองการ
         การเปลี่ยนฐานของระบบตัวเลขฐานตาง ๆ ใชวิธีคํานวณผานระบบตัวเลขฐานสิบ เพราะเปนวิธี
การที่ไมยุงยากเหมือนวิธีอื่นและเหมาะสมกับการเรียนรูในระดับนี้

ผลการเรียนรูที่คาดหวังรายป
       1. อานและเขียนตัวเลขโรมันได
       2. บอกคาของเลขโดดในตัวเลขฐานตาง ๆ ที่กําหนดใหได
       3. เขียนตัวเลขที่กําหนดใหเปนตัวเลขฐานตาง ๆ ได
46


                              แนวทางในการจัดการเรียนรู
       ในการเริมบทเรียนนีครูควรสนทนาและใหความรูเ กียวกับตัวเลขทีใชแทนจํานวนในสมัยโบราณ
                ่          ้                         ่            ่
พอสังเขป ไมมีจุดประสงคที่จะประเมินผล

2.1 ระบบตัวเลขโรมัน (2 ชั่วโมง)
จุดประสงค
        นักเรียนสามารถอานและเขียนตัวเลขโรมันได

เอกสารแนะนําการจัดกิจกรรม               –

ขอเสนอแนะในการจัดกิจกรรมการเรียนการสอน
         1. การเขียนตัวเลขโรมันเมื่อใชหลักการลด นักเรียนมักสับสน ครูควรย้ําและชี้ใหเห็นตัวเลข
ที่ใชกบหลักการลดซึ่งใชเฉพาะคูตามที่กําหนดในหนังสือเรียนหนา 61 เทานั้นและครูควรเพิ่มโจทยให
       ั
นักเรียนฝกมากพอ
         2. วิธีเขียนตัวเลขโรมันแทนจํานวนในระบบตัวเลขฐานสิบ ครูควรย้ําใหนกเรียนเขียนจํานวน
                                                                                ั
ที่กําหนดใหในรูปกระจายตามหลัก ดังลักษณะคลายกับที่แสดงใหดูในตัวอยางที่ 1 หนา 61 ของ
หนังสือเรียนกอน แลวจึงเขียนตัวเลขโรมันแทนจํานวนนั้นทีละหลักโดยเขียนเรียงตอกัน
         3. ในหัวขอนีไมเนนการเขียนตัวเลขโรมันทีมคามาก ๆ และใชสญลักษณ “ – ” บนสัญลักษณ
                        ้                          ่ ี             ั
พื้นฐาน เชน V , X หรือ M ในบทเรียนเสนอไวเพื่อใหเห็นวา ในยุคนั้นมีตัวเลขที่ใชแทนจํานวนที่
มีคามากเหมือนกันแตก็มีขอจํากัด ทําใหระบบตัวเลขโรมันไมแพรหลาย ครูไมจําเปนตองใหนักเรียนฝก
เขียนตัวเลขที่ใชสัญลักษณนี้และไมควรนํามาประเมินผลดวย
         4. ครูอาจใหนักเรียนชวยกันนึกดูวาเคยเห็นตัวเลขโรมันปรากฏอยูที่ใดอีกบาง
         5. สําหรับปญหาชวนคิด “กรุงโรมของชาวโรมัน” มีไวเพื่อใหนักเรียนเห็นการใชตัวเลข
โรมันแทนจํานวนที่มีคามากซึ่งตองใชสัญลักษณ V , X หรือ M

2.2 ระบบตัวเลขฐานตาง ๆ (4 ชั่วโมง)
จุดประสงค นักเรียนสามารถ
        1. บอกเลขโดดที่ใชในระบบตัวเลขฐานตาง ๆ ที่กําหนดใหได
        2. บอกคาของเลขโดดในระบบตัวเลขฐานตาง ๆ ที่กําหนดใหได
        3. เขียนและอานตัวเลขในระบบตัวเลขฐานตาง ๆ ได
47

        4. เปลี่ยนตัวเลขในระบบตัวเลขฐานสิบเปนตัวเลขในระบบตัวเลขฐานที่กําหนดใหได
        5. เปลี่ยนตัวเลขในระบบตัวเลขฐานตาง ๆ เปนตัวเลขในระบบตัวเลขฐานสิบได

เอกสารแนะนําการจัดกิจกรรม                 กิจกรรมเสนอแนะ 2.2 ก – 2.2 ค

ขอเสนอแนะในการจัดกิจกรรมการเรียนการสอน
         1. ครูควรทบทวนความรูเกี่ยวกับระบบตัวเลขฐานสิบ ไดแก เลขโดด คาประจําหลัก และ
คาของเลขโดด โดยใชอุปกรณแสดงคาประจําหลักและตัวนับ หรือสาธิตการมัดกิ่งไมตามที่นักเรียนเคย
เรียนมาแลวในระดับประถมศึกษา และเมื่อทํากิจกรรมในหนังสือเรียนจบแลว ครูอาจใหนักเรียนทํา
กิจกรรมเสนอแนะ 2.2 ก เพื่อใหนกเรียนเห็นการประยุกตใชตัวเลขในระบบตัวเลขฐานสิบ
                                  ั
         2. การจัดกิจกรรมการเรียนการสอน ระบบตัวเลขฐานหา ครูควรสาธิตการนับสิ่งของทีละหา
เชน หาชิ้น หามัด หากอง ฯลฯ ซึ่งใชหลักเกณฑเดียวกันกับระบบตัวเลขฐานสิบ
         3. ครูอาจแนะนําวาตัวหนังสือแสดงฐานหาที่กํากับไว เชน 213หา นั้นในหนังสือเลมอื่นอาจ
เขียนเปน 2135 การจะเขียนแสดงฐานแบบใดแลวแตครูและนักเรียนจะตกลงกัน
         4. การเปลี่ยนตัวเลขในระบบฐานสิบเปนตัวเลขในระบบฐานหาที่นาเสนอในรูปตาราง ใชวิธี
                                                                            ํ
จัดจํานวนลงในชองตามคาประจําหลัก นักเรียนจะหาคําตอบไดงายโดยเขียนคาประจําหลักกํากับไว
เปนตัวเลขในระบบฐานสิบ เชน 54 ในหลักที่หา เขียน (625) กํากับไว เพราะจํานวนในระบบตัวเลข
ฐานสิบจะชวยใหจัดเลขโดดในระบบฐานหาลงในตารางไดเร็วขึ้น
             ครูอาจยกตัวอยางการเขียน 748 เปนตัวเลขในระบบฐานหาในหนังสือเรียนหนา 68 และ
อธิบายเพิ่มเติมใหเห็นเปนรูปธรรม โดยใหนักเรียนคิดวาถานําดินสอ 748 แทงมามัดเปนมัด มัดละ 5
แทง และทุกครั้งที่ครบ 5 มัด ใหมัดเปนมัดที่ใหญขึ้นเรื่อย ๆ ในที่นี้จะไดดินสอมัดที่ใหญที่สุดมี 625
แ ท ง ร อ ง ล ง ม า มี มั ด ล ะ 2 5 แ ท ง มั ด ล ะ 5 แ ท ง แ ล ะ เ ศ ษ อี ก 3 แ ท ง
             หาจํานวนมัดของดินสอแตละมัดที่มีจํานวนเทา ๆ กันแลวเขียนจํานวนมัดที่ไดในตารางที่
แสดงหลักและคาประจําหลัก ดังนี้

           จํานวนดินสอมี 748 แทง
จํานวนดินสอมัดละ 625 แทงมี 1 มัด เขียน 1 ในชองหลักที่หา  
       [เหลือดินสอ 748 – 625 = 123 แทง]
จํานวนดินสอมัดละ 125 แทงมี 0 มัด เขียน 0 ในชองหลักที่สี่
       [เหลือดินสอ 123 แทง]
48

จํานวนดินสอมัดละ         25 แทงมี        4   มัด เขียน 4 ในชองหลักที่สาม
       [เหลือดินสอ      123 – (4 × 25)    =   23 แทง]
จํานวนดินสอมัดละ          5 แทงมี        4   มัด เขียน 4 ในชองหลักที่สอง
       [เหลือดินสอ      23 – (4 × 5)      =    3 แทง]

         เหลือดินสอที่เปนเศษอีก 3 แทง            เขียน 3 ในชองหลักที่หนึ่ง ดังตาราง

หลักที่                   หก              หา          สี่       สาม          สอง         หนึ่ง
คาประจําหลัก             55               54          53         52           51          1
                        (3125)           (625)       (125)       (25)         (5)          1
เลขโดด                                     1           0          4            4           3

          จะได 748         =      (1 × 625) + ( 0 × 125) + (4 × 25) + (4 × 5) + (3 × 1)
          ดังนั้น 748       =      10443หา

       เมือพิจารณาคําตอบจากรูปการหารทีมแนวคิดสอดคลองกับการมัดดินสอซึงมัดเปนมัดละ 5 แทง
          ่                           ่ ี                            ่
25 แทง 125 แทง และ 625 แทง เชนเดียวกับในตารางดังนี้

แนวคิด
                5 748
                 5 149           เศษ 3 [ดินสอมัดละ 5 แทง จํานวน 149 มัด กับเศษ 3 แทง]
                  5 29           เศษ 4 [ดินสอมัดละ 25 แทง หรือ 5 × 5 จํานวน 29 มัด กับเศษอีก
                                        4 มัด มัดละ 5 แทง ]
                  5 5            เศษ 4 [ดินสอมัดละ 125 แทง หรือ 5 × 5× 5 จํานวน 5 มัด กับเศษ
                                        อีก 4 มัด มัดละ 25 แทง]
                     1           เศษ 0 [ดินสอมัดละ 625 แทง หรือ 5 × 5 × 5 × 5 จํานวน 1 มัด
                                        เศษ 0]
         ดังนั้น 748 = 10443หา

         ใหสังเกตวาคําตอบที่หาจากวิธีหารตองเขียนเลขโดดจากผลลัพธสุดทายและเศษของแตละขั้น
ยอนขึ้นไป โดยที่ผลลัพธจํานวนสุดทายคือ 1 มีเศษเปน 0 และมีตัวหารมากที่สดคือ 5 × 5 × 5 × 5
                                                                           ุ
หรือ 54 ซึ่งเปนคาประจําหลักที่มากที่สุด
         การหาคําตอบโดยใชการหารเปนวิธที่สะดวกและรวดเร็ว แตนักเรียนจะตองจําหลักการเขียน
                                           ี
เรียงเลขโดดเปนคําตอบใหถกตอง
                            ู
49

        5 . การสอนเรื่องระบบตัวเลขฐานสอง ครูอาจดําเนินกิจกรรมเหมือนกับการสอนระบบตัวเลข
ฐานหา และใชกิจกรรมเสนอแนะ 2.2 ข เพื่อเสริมความเขาใจและไดเห็นการนําระบบตัวเลขฐานสอง
ไปประยุกต เชน สรางเกมทายใจ ซึ่งครูอาจศึกษารายละเอียดของเกมนี้ไดจาก www.ipst.ac.th
        6. เพื่อตรวจสอบความเขาใจของนักเรียนเกี่ยวกับระบบตัวเลขฐานตาง ๆ ครูอาจใชคําถามให
นักเรียนสรุปหลักการเขียนตัวเลขแทนจํานวนในระบบตัวเลขฐานอื่น ๆ
        7. ครูอาจใหนกเรียนทํากิจกรรมเสนอแนะ 2.2 ค เพือฝกทักษะการเขียนตัวเลขในระบบตัวเลข
                      ั                                ่
ฐานแปดและฐานสิบสอง ครูควรสังเกตการหาคําตอบของนักเรียนวาใชการคํานวณหรือใชแบบรูป หรือ
ใชความคิดรวบยอดในลักษณะการมัดรวมสิ่งของตามระบบตัวเลขฐานนั้น ๆ


2.3 การเปลี่ยนฐานในระบบตัวเลข (2 ชั่วโมง)
จุดประสงค
       นักเรียนสามารถเปลี่ยนฐานในระบบตัวเลขฐานที่กําหนดใหเปนตัวเลขในระบบฐานอื่นได

เอกสารแนะนําการจัดกิจกรรม            –

ขอเสนอแนะในการจัดกิจกรรมการเรียนการสอน
        1. ในหัวขอนี้เสนอใหสอนการเปลี่ยนฐานในระบบตัวเลขฐานที่กําหนดจากฐานหนึ่งไปยังอีก
ฐานหนึ่งโดยคํานวณผานระบบตัวเลขฐานสิบ เพื่อไมใหมีความยุงยากมากเกินไปสําหรับนักเรียน
        2. แบบฝกหัด 2.3 ขอ 7 – ขอ 10 ตองการใหหาคําตอบโดยใชความรูสกเชิงจํานวน ไม
                                                                          ึ
ตองการใหคํานวณจริง ๆ ครูควรถามถึงเหตุผลของคําตอบที่ไดในขอที่ไมตองคํานวณจริง ๆ ดวย
50

                             คําตอบแบบฝกหัดและคําตอบปญหา
                                   คําตอบแบบฝกหัด 2.1
1.
         1)    XI                               2) XXVIII
         3)   CXXVI                             4) CXL
         5)   CCCXIX                            6) CDL
         7)   DCCXLIX                           8) MCMLXXXIII
         9)   MMDXXVI                           10) MMMDCCCXCI
2.
         1)   124                               2) 965
         3)   211                               4) 1,040
         5)   2,441                             6) 1,993
         7)   262                               8) 444
         9)   545                               10) 3,974
3.
         1) XV              XVI         XVII          XVIII       XIX        XX
         2) XL              XLI         XLII          XLIII       XLIV       XLV
            XLVI            XLVII       XLVIII        XLIX        L
         3) CCCXCV          CCCXCVI     CCCXCVII      CCCXCVIII   CCCXCIX    CD
         4) MCCXXXIX        MCCXL       MCCXLI        MCCXLII     MCCXLIII   MCCXLIV


                       คําตอบปญหาชวนคิด “กรุงโรมของชาวโรมัน”
1.   ค.ศ. ปจจุบน บวกดวย 752
                ั
2.   ค.ศ. ปจจุบน ลบดวย 75
                  ั
3.   45,000 คน
4.   1,518 ไร
     แนวคิด         1 เอเคอรประมาณ 4,046.85 ตารางเมตร
                    1,600 ตารางเมตร เทากับ 1 ไร
                    จะได 1 เอเคอรประมาณ 2.53 ไร
                    ดังนั้น 600 เอเคอรประมาณ 1,518 ไร
51

                                  คําตอบแบบฝกหัด 2.2 ก
1.
     1) 5                                      2) 50
     3) 5                                      4) 5
     5) 50                                     6) 5,000
2.
     1)   21 = (2 × 101) + (1× 1)
     2)   336 = (3 × 102) + (3 × 101) + (6 × 1)
     3)   4073 = (4 × 103) + (7 × 101) + (3 × 1)
     4)   10180 = (1 × 104) + (1 × 102) + (8 × 101) + (0 × 1)
3.
     1)   403
     2)   2,070
     3)   7,403
     4)   50,609
     5)   75,700
     6)   5,028,070
     7)   205,008

                                 คําตอบแบบฝกหัด 2.2 ข
1.
     1) 15                                     2) 75
     3) 75                                     4) 375
2.
     1) 6                                      2) 98
     3) 230                                    4) 450
3.
     1)   401หา = (4 × 52) + (0 × 51) + (1 × 1)
     2)   4432หา = (4 × 53) + (4 × 52) + (3 × 51) + (2 × 1)
     3)   20433หา = (2 × 54) + (4 × 52) + (3 × 51) + (3 × 1)
     4)   31020หา = (3 × 54) + (1 × 53) + (2 × 51) + (0 × 1)
52

4.
       1) 111                                2) 399
       3) 852                                4) 2,540

5.
       1) 1044หา                            2) 10021หา
       3) 11422หา                           4) 13413หา
       5) 44210หา                           6) 114142หา


                                คําตอบปญหา “รูหรือไม”
1. 5 จํานวน
   แนวคิด เลขโดดที่สามารถอยูในหลักที่หนึ่งมีได 5 ตัวคือ 0, 1, 2, 3 และ 4
2. 20 จํานวน
   แนวคิด เลขโดดที่สามารถอยูในหลักที่หนึ่งมีได 5 ตัวคือ 0, 1, 2, 3 และ 4
              เลขโดดที่สามารถอยูในหลักที่สองมีได 4 ตัวคือ 1, 2, 3 และ 4
              จึงสามารถนําเลขโดดมาสรางจํานวนได 4 × 5 = 20 จํานวน
3. 100 จํานวน
   แนวคิด เลขโดดที่สามารถอยูในหลักที่หนึ่งมีได 5 ตัวคือ 0, 1, 2, 3 และ 4
              เลขโดดที่สามารถอยูในหลักที่สองมีได 5 ตัวคือ 0, 1, 2, 3 และ 4
              เลขโดดที่สามารถอยูในหลักที่สามมีได 4 ตัวคือ 1, 2, 3 และ 4
              จึงสามารถนําเลขโดดมาสรางจํานวนได 4 × 5 × 5 = 100 จํานวน


                                 คําตอบแบบฝกหัด 2.2 ค
1.
       1) 4                                  2) 8
       3) 4                                  4) 32
2.
       1) 3                                  2) 4
       3) 8                                  4) 24
53

3.
        1)   1101สอง = (1 × 23) + (1 × 22) + (0 × 21) + (1 × 1)
        2)   10110สอง = (1 × 24) + (0 × 23) + (1 × 22) + (1 × 21) + (0 × 1)
        3)   101001สอง = (1 × 25) + (1 × 23) + (1 × 1)
        4)   110000สอง = (1 × 25) + (1 × 24) + (0 × 23) + (0 × 22) + (0 × 21) + (0 × 1)
4.
        1) 11                                     2) 17
        3) 24                                     4) 46
5.
        1) 10011สอง                            2) 100100สอง
        3) 1000110สอง                          4) 10010110สอง
        5) 11010110สอง                         6) 100101100สอง
6. ใชเปนรหัสในเครื่องคอมพิวเตอรและเครื่องมือเครื่องใชในระบบดิจิตอล

                                       คําตอบปญหา “คิด”
     นพถึงโรงเรียนเวลา 8.05 นาฬิกา
     แนวคิด นพตื่นนอนเวลา 7 นาฬิกา
                 ใชเวลาอาบน้ําและแตงตัว               30 นาที
                 ใชเวลารับประทานอาหาร                  20 นาที
                 ใชเวลาเดินทางไปถึงโรงเรียน            15 นาที
                 ใชเวลารวม                             65 นาที
                 นพถึงโรงเรียนเวลา                      8.05 นาฬิกา

                                     คําตอบแบบฝกหัด 2.2 ง
1.
       1) A = 10 , B = 11 × 123                2) A = 10 × 124 , B = 11 × 122
       3) A = 10 × 124 , B = 11 × 123          4) A = 10 × 123 , B = 11 × 124
2. 205,776
3.
       1) B3Aสิบสอง = (B × 122) + (3 × 121) + (A × 1)
       2) AA97สิบสอง = (A × 123) + (A × 122) + (9 × 121) + (7 × 1)
54

       3) 9A0B8สิบสอง = (9 × 124) + (A × 123) + (0 × 122 ) + (B × 121) + (8 × 1)
       4) 5A3B20สิบสอง = (5 × 125) + (A × 124) + (3 × 123) + (B × 122) + (2 × 121) + (0 × 1)
4.
       1) 743                                  2) 13,632
       3) 209,081                              4) 228,226
5.
       1) 699สิบสอง                            2) 10B5สิบสอง
       3) 3A2Bสิบสอง                           4) BA00สิบสอง
6.     การนับสินคาหรือสิ่งของที่มีหนวยเปนโหลและกุรุส
       ตัวอยาง       กระดุม 12 เม็ดเทากับ 1 โหล
                      กระดุม 12 โหลเทากับ 1 กุรุส

                                    คําตอบแบบฝกหัด 2.3
1.
       1) 102หา                               2) 211440หา
       3) 22242หา                             4) 23330หา
2.
      1) 41สิบสอง                            2) 190Bสิบสอง
      3) 9686สิบสอง                          4) 3926Aสิบสอง
3. สามตัว ไดแก 0, 1 และ 2
4. แปดตัว ไดแก 0, 1, 2, 3, 4, 5, 6 และ 7
5.
      1) 1122สาม = (1 × 33) + (1 × 32) + (2 × 31) + (2 × 1)
      2) 2100สาม = (2 × 33) + (1 × 32) + (0 × 31) + (0 × 1)
      3) 7504แปด = (7 × 83) + (5 × 82) + (0 × 81) + (4 × 1)
      4) 16520แปด = (1 × 84) + (6 × 83) + (5 × 82) + (2 × 81) + (0 × 1)
6. 42207แปด
7.
      1) =                                   2) <
      3) >                                   4) <
8. นายมั่นอายุมากกวานายบุญ 16 ป
55

9. 247810เกา , 247810สิบเอ็ด , 247810สิบสอง
10. 4 ที่อยูใน 2438สิบสอง มีคามากที่สุด

                                คําตอบปญหา “จํานวนอะไรเอย”
    จํานวนที่ตองการคือ 639
    แนวคิด อาจใชการวิเคราะหดังนี้
                 เนื่องจากเลขโดดในหลักรอยเปน 2 เทาของเลขโดดในหลักสิบและมีคา
    มากกวา 500
                 ดังนั้น เลขโดดในหลักรอยตองเปนจํานวนคู คือ 6 หรือ 8 และเลขโดดใน
    หลักสิบเปน 3 หรือ 4
    เนื่องจากเลขโดดในหลักหนวยเปนสามเทาของเลขโดดในหลักสิบ ถาเลขโดดในหลักสิบเปน
    4 แลว 3 × 4 = 12 ซึ่งไมเปนเลขโดด
    ดังนั้น เลขโดดในหลักสิบตองเปน 3 และเลขโดดในหลักหนวยตองเปน 3 × 3 = 9
    นั่นคือ 639 เปนจํานวนที่ตองการ
56




กิจกรรมเสนอแนะและคําตอบ
57

                                   กิจกรรมเสนอแนะ 2.2 ก

                                            ถอดรหัส


       กิจกรรมนี้ตองการใหเห็นการนําความรูคณิตศาสตรไปประยุกตเปนเกมและเชื่อมโยงกับ
                  
ภาษาอังกฤษ


สื่ออุปกรณ     ใบกิจกรรม “ถอดรหัส”

แนวการจัดกิจกรรม
             1. ครูนาสนทนาในเรืองการสือสาร สือความหมายของมนุษยทใชภาษาแตกตางกันและการสือสาร
                    ํ            ่     ่       ่                   ี่                       ่
โดยใชส่ออื่น ๆ เชน รหัสมือ รหัสธง เครื่องหมายจราจร ฯลฯ รหัสตาง ๆ ที่ตกลงใชอาจใชเฉพาะกลุม
           ื
หรือใชในระดับสากลที่ผูรับและผูสงจะเขาใจกัน
             2. ครูแจกใบกิจกรรม “ถอดรหัส” ใหนกเรียนศึกษาและปฏิบตกจกรรม ใหครูสงเกตดูวา
                                                    ั                  ัิิ               ั      
นักเรียนสามารถถอดรหัสตัวเลขในกิจกรรมขอ 1 ไดหรือไม ถาไมไดใหครูช้แนะี
             3. ครูสุมตัวแทนนักเรียนออกมาอธิบายถึงการสรางรหัส A1 และรหัส A3
             4. ใหนักเรียนนําเสนอคําตอบของกิจกรรมขอ 3
             5. ในการทํากิจกรรมขอ 4 ของนักเรียน ครูอาจใหนกเรียนจับคูกนระหวางนักเรียนที่นั่ง
                                                                 ั           ั
ขางหนากับขางหลัง และคอยสังเกตวาการสงขอความที่แทนดวยรหัสตัวเลขของนักเรียนนั้นมีการ
กําหนด คําไข ไวทใดทีหนึงในกระดาษทีสงรหัส เพือใหเพือนทราบวารหัสตัวเลขนันสรางจากรหัสใด
                          ี่ ่ ่           ่         ่     ่                     ้
เชน A7 หรือ 7 หรือไม เพื่อใหเห็นความจําเปนของการนําเสนอขอมูลอยางครบถวน ครูอาจใชคําถาม
ชี้นําวาถาไมกําหนด คําไข ไปให เพื่อนจะถอดรหัสไดหรือไม
             6. ครูอาจสุมตัวแทนนักเรียนออกมานําเสนอขอความที่ตัวเองสงไปใหเพื่อนและขอความที่ได
รับจากเพื่อน
58

                                       ใบกิจกรรม

                                         ถอดรหัส

ใหนกเรียนทํากิจกรรมตอไปนี้
    ั
        1. ใหนักเรียนศึกษารหัส A1 และรหัส A3 ขางลางนี้และลองคาดเดาดูวาจะตองถอดขอความ
จากตัวเลขเปนตัวอักษรไดอยางไร จึงจะไดขอความของรหัส A1 และรหัส A3 เปนขอความเดียวกัน

รหัส A1
 A B C D E F G H I J K L M N O P Q R S T U V W X Y Z
 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11 12 13 14 15 16 17 18 19 20 21 22 23 24 25 26

รหัสที่สง             25 15 21        1 18 5        22 5 18 25          11 9 14 4

ถอดรหัสลับนี้ไดขอความ ……………………………………………………………………………



รหัส A3
 A B C D E F G H I J K L M N O P Q R S T U V W X Y Z
 3 4 5 6 7 8 9 10 11 12 13 14 15 16 17 18 19 20 21 22 23 24 25 26 1 2

รหัสที่สง             1 17 23        3 20 7        24 7 20 1          13 11 16 6

ถอดรหัสลับนี้ไดขอความ ……………………………………………………………………………

         2. รหัส A1 และรหัส A3 มีสวนตางกันอยางไรบาง จงอธิบาย
            ……………………………………………………………………………………………….
            ……………………………………………………………………………………………….
            ……………………………………………………………………………………………….
         3. ใหนักเรียนสรางรหัส A5 และเขียนรหัสตัวเลขเพื่อแทนขอความ
            “I CAN NOT MEET YOU. I HAVE GOT A SORE THROAT.”
59

4. ใหนกเรียนสงรหัสตัวเลขแทนขอความที่ตองการใหเพื่อนในชั้นเรียน 1 คน พรอมรอรับ
       ั
   คําตอบดวย ใหจดบันทึกขอความที่สงและที่ไดรับในชองวางขางลางนี้
   ขอความที่สง ……………………………………………………………………………….
   ……………………………………………………………………………………………….
   ……………………………………………………………………………………………….
   ขอความที่ไดรับ …………………………………………………………………………….
   ……………………………………………………………………………………………….
   ……………………………………………………………………………………………….
60

                            คําตอบกิจกรรมเสนอแนะ “ถอดรหัส”
1. YOU ARE VERY KIND
2. รหัส A1 จะกําหนดตัวเลข 1 แทน A และจับคูตัวอักษรกับตัวเลขเปนคู ๆ ตามลําดับจนถึง 26
   ซึ่งจับคูกับ Z
   รหัส A3 จะกําหนดตัวเลข 3 แทน A และจับคูตัวอักษรกับตัวเลขเปนคู ๆ ตามลําดับจนถึง 26
   ซึ่งจับคูกับ X แลวกลับมาใช 1 จับคูกับ y และ 2 จับคูกับ z

3.

รหัส A5
 A B C D E F G H I                    J K L M N O P Q R S T U V W X Y Z
 5 6 7 8 9 10 11 12 13 14 15 16 17 18 19 20 21 22 23 24 25 26 1 2 3 4


เมื่อสงเปนรหัสจะไดขอความดังนี้
             13 7 5 18             18 19 24       17 9 9 24      3 19 25
             13 12 5 26 9             11 19 24      5     23 19 22 9     24 12 22 19 5 24
61

                                  กิจกรรมเสนอแนะ 2.2 ข

                                           ทายวันเกิด


        กิจกรรมนี้ตองการใหนักเรียนไดเห็นตัวอยางการนําความรูเกี่ยวกับระบบตัวเลขฐานสองมาใช
สรางเกม ไดพัฒนาความรูสึกเชิงจํานวนและความคิดริเริ่มสรางสรรค


สื่ออุปกรณ    บัตรสําหรับทายวันเกิด 3 บัตร

แนวการจัดกิจกรรม
        1. ครูสรางบัตรทายวันเกิดโดยกําหนดหมายเลข 1 ถึง 7 แทนวันในหนึ่งสัปดาห โดยให
หมายเลข
                       1 แทนวันอาทิตย                2 แทนวันจันทร
                       3 แทนวันอังคาร                 4 แทนวันพุธ
                       5 แทนวันพฤหัสบดี               6 แทนวันศุกร
                       7 แทนวันเสาร
              เพื่อเปนขอมูลในการทายวันเกิดใหครูเขียนคาประจําหลักของเลขฐานสองหลังบัตรทั้งสาม
ไวกอนดังนี้
                          บัตรที่ 1  เขียน 1          แทนคาประจําหลักที่หนึ่ง
                          บัตรที่ 2  เขียน 2          แทนคาประจําหลักที่สอง
                          บัตรที่ 3  เขียน 4          แทนคาประจําหลักที่สาม
        2. ครูบอกขอตกลงและเงื่อนไขในการทายวันเกิดแลวชูบัตรทั้งสามใหนักเรียนสังเกตวาแตละ
บัตรจะมีหมายเลขกําหนดไวตางกัน ดังนี้

               1       3                  2        3                  4       5
               5       7                  6        7                  6       7
               บัตรที่ 1                   บัตรที่ 2                   บัตรที่ 3
62

         3. ครูสาธิตการทายวันเกิดนักเรียน 1 คน โดยทํากิจกรรมตามลําดับดังนี้
             1) ครูชูบัตรที่ 1 ถึงบัตรที่ 3 ทีละหนึ่งใบ ใหนักเรียนบอกวามีหมายเลขที่แทนวันเกิด
                  ของนักเรียนอยูในบัตรใดบาง
             2) ครูทายวันเกิดของนักเรียน โดยพิจารณาจากผลบวกของจํานวนที่อยูหลังบัตร
             ตัวอยาง        สมมติวานักเรียนเกิดวันพฤหัสบดี ซึ่งตรงกับหมายเลข 5
             ขั้นที่ 1 ครูชูบัตรที่ 1 ใหนักเรียนดู
                         นักเรียนตอบวา “มี”
             ขั้นที่ 2 ครูชูบัตรที่ 2 ใหนักเรียนดู
                         นักเรียนตอบวา “ไมมี”
             ขั้นที่ 3 ครูชูบัตรที่ 3 ใหนักเรียนดู
                         นักเรียนตอบวา “มี”
         ครูทายวันเกิดของนักเรียนไดโดยหาผลบวกของคาประจําหลักที่แอบจดบันทึกไวขางหลังบัตร
เฉพาะบัตรที่นกเรียนตอบวา “มี”
                ั
         จากตัวอยางจะไดเทากับ 1 + 4 = 5 (จากบัตรที่ 1 และบัตรที่ 3)
         ครูทายไดวานักเรียนคนนั้นเกิดวันพฤหัสบดี
         4. ครูควรทายวันเกิดนักเรียนคนอื่นๆ อีก 3 – 4 คน เพื่อดูวามีนักเรียนคนใดสังเกตและคน
พบวิธการหาคําตอบไดบาง ถาไมมีใหครูเฉลย
       ี
         5. ครูอาจใหนกเรียนลองทายวันเกิดของเพือนๆ ดูบางหรือครูใชคาถามเพือตรวจสอบความเขาใจ
                         ั                          ่                  ํ     ่
ดังนี้
             1) ถานักเรียนทายวันเกิดเพื่อนและเพื่อนตอบวาวันเกิดของเขาอยูในบัตรที่ 1 และบัตรที่ 2
                  นักเรียนคนนั้นเกิดวันอะไร
             2) ถาเพื่อนตอบวามีวันเกิดของเขาอยูในบัตรที่ 3 ใบเดียว เพื่อนคนนี้เกิดวันอะไร
         6. ครูแบงกลุมนักเรียนเปนกลุมละ 3 – 4 คน ใหชวยกันศึกษาวิธีการสรางบัตรทายวันเกิด
ของครูและนําเสนอหนาชั้นเรียนแลวใหชวยกันสรุปใหไดคําตอบดังตอไปนี้


         ตัวเลขฐานสิบ             1       2          3      4       5        6       7

         ตัวเลขฐานสอง            01       10         11   100      101      110     111
63

บัตรที่ 1   เขียนตัวเลขฐานสิบที่ตรงกับตัวเลขฐานสองซึ่งมี 1 อยูในหลักที่ 1 ไดแก 01, 11, 101
            และ 111 จึงเขียน 1, 3, 5 และ 7 ลงในบัตร
บัตรที่ 2   เขียนตัวเลขฐานสิบที่ตรงกับตัวเลขฐานสองซึ่งมี 1 อยูในหลักที่ 2 ไดแก 10, 11, 110
            และ 111 จึงเขียน 2, 3, 6 และ 7 ลงในบัตร
บัตรที่ 3   เขียนตัวเลขฐานสิบที่ตรงกับตัวเลขฐานสองซึ่งมี 1 อยูในหลักที่ 3 ไดแก 100, 101, 110
            และ 111 จึงเขียน 4, 5, 6 และ 7 ลงในบัตร

          7. ครูยกตัวอยางเพื่ออธิบายใหนักเรียนทราบวา จากวิธีทําบัตรดังกลาวและคําตอบที่บอกวา
จํานวนที่ตองการทายนั้นอยูในบัตรใดบาง จะทําใหเราสามารถหาตัวเลขฐานสองที่แทนจํานวนที่ตองการ
ทายนั้นได และเมื่อเปลี่ยนตัวเลขฐานสองนั้นเปนตัวเลขฐานสิบก็จะไดคําตอบที่ตองการ ดังตัวอยาง
             ถานักเรียนบอกวาวันเกิดของเขาอยูในบัตรที่ 1 และบัตรที่ 3 แสดงวาตัวเลขฐานสองที่จะ
เปนคําตอบที่ตองการนั้นมีตัวเลข 1 อยูในหลักที่ 1 และหลักที่ 3 สวนหลักที่สองเปน 0 ในที่นี้จะได
ตัวเลขฐานสองเปน 101 และเมื่อเปลี่ยนเปนตัวเลขฐานสิบจะได
                        101 = 1(22) + (0 × 21) + (1×1)
                                  = 4+0+1
                                  = 5
             ดังนั้นวันเกิดของนักเรียนคนนี้จึงเปนวันพฤหัสบดี
          8. ครูอาจใหนักเรียนชวยกันสรางบัตรทายจํานวน 1 ถึง 15 หรือสรางบัตรทายวันที่เกิด หรือ
สรา งบั ต รทายดาราที่นัก เรี ย นชื่น ชอบเปน งานกลุมนอกเวลา และใหนําเสนอผลงานบนปายนิเทศ
อาจแนะนําใหไปใชทายเลนกับเพื่อนๆ หรือนองๆ
64

                                     กิจกรรมเสนอแนะ 2.2 ค

                           จํานวนในระบบตัวเลขฐานแปดและฐานสิบสอง



       กิจกรรมนี้ตองการเสริมความเขาใจเกี่ยวกับการเขียนจํานวนในระบบตัวเลขฐานตาง ๆ


1. จงเขียนจํานวนในระบบตัวเลขฐานแปดเรียงตามลําดับจาก 0แปด ถึง 310แปด
2. จงเขียนจํานวนในระบบตัวเลขฐานสิบสอง เรียงตามลําดับจาก 0สิบสอง ถึง 148สิบสอง
3. การหาคําตอบในขอ 1 และขอ 2 ขางตน นักเรียนมีวิธีหาจํานวนเหลานั้นอยางไรจึงจะสะดวกและ
   รวดเร็ว


            คําตอบกิจกรรม “จํานวนในระบบตัวเลขฐานแปดและฐานสิบสอง”

1. เขียนตัวเลขในระบบตัวเลขฐานแปดแทนจํานวน 08 ถึง 3108 เรียงลําดับไดดังนี้
   (เขียนตัวเลขแถวละแปดจํานวน)

           08        18         28        38          48     58     68        78
           108      118        128        138        148    158    168       178
           208      218        228        238        248    258    268       278
           308      318        328        338        348    358    368       378
           408      418        428        438        448    458    468       478

           508      518        528        538        548    558    568       578
           608      618        628        638        648    658    668       678
           708      718        728        738        748    758    768       778
          1008      1018       1028      1038        1048   1058   1068      1078
          1108      1118       1128      1138        1148   1158   1168      1178
65

           1208     1218          1228         1238         1248     1258          1268      1278
           1308     1318          1328         1338         1348     1358          136       1378
           1408     1418          1428         1438         1448     1458          1468      1478
           1508     1518          1528         1538         1548     1558          1568      1578
           1608     1618          1628         1638         1648     1658          1668      1678
           1708     1718          1728         1738         1748     1758          1768      1778
           2008     2018          2028         2038         2048     2058          2068      2078
           2108     2118          2128         2138         2148     2158          2168      2178
           2208     2218          2228         2238         2248     2258          2268      2278
           2308     2318          2328         2338         2348     2358          2368      2378
           2408     2418          2428         2438         2448     2458          2468      2478
           2508     2518          2528         2538         2548     2558          2568      2578
           2608     2618          2628         2638         2648     2658          2668      2678
           2708     2718          2728         2738         2748     2758          2768      2778
           3008     3018          3028         3038         3048     3058          3068      3078
           3108


2. เขียนตัวเลขในระบบตัวเลขฐานสิบสองแทนจํานวน 012 ถึง 14812 เรียงลําดับไดดังนี้
   (เขียนตัวเลขแถวละสิบสองจํานวน)

    012    112     212     312           412     512        612    712      812       912     A12   B12
   1012    1112   1212     1312      1412       1512        1612   1712     1812      1912   1A12   1B12
   2012    2112   2212     2312      2412       2512        2612   2712     2812      2912   2A12   2B12
   3012    3112   3212     3312      3412       3512        3612   3712     3812      3912   3A12   3B12
   4012    4112   4212     4312      4412       4512        4612   4712     4812      4912   4A12   4B12
66

  5012    5112   5212   5312   5412   5512        5612   5712   5812   5912   5A12   5B12
  6012    6112   6212   6312   6412   6512        6612   6712   6812   6912   6A12   6B12
  7112    7112   7212   7312   7412   7512        7612   7712   7812   7912   7A12   7B12
  8012    8112   8212   8312   8412   8512        8612   8712   8812   8912   8A12   8B12
  9012    9112   9212   9312   9412   9512        9612   9712   9812   9912   9A12   9B12
  A012    A112   A212   A312   A412   A512        A612   A712   A812   A912   AA12 AB12
  B012    B112   B212   B312   B412   B512        B612   B712   B812   B912 BA12 BB12
  10012   10112 10212 10312 10412 10512 10612 10712 10812 10912 10A12 10B12
  11012   11112 11212 11312 11412 11512 11612 11712 11812 11912 11A12 11B12
  12012   12112 12212 12312 12412 12512 12612 12712 12812 12912 12A12 12B12
  13012   13112 13212 13312 13412 13512 13612 13712 13812 13912 13A12 13B12
  14012   14112 14212   14312 14412 14512         14612 14712 14812


3. นักเรียนอาจมีวิธีเขียน เชน
       1) เขียนจํานวนเหลานั้นโดยอาศัยความคิดรวบยอดในลักษณะเลียนแบบการมัดรวมสิ่งของใน
           ระบบตัวเลขฐานหาตามหนังสือเรียน
       2) เขียนจํานวนนั้นโดยอาศัยแบบรูป ดังตัวอยางคําตอบขางตนที่เขียนตัวเลขแถวละแปด
           จํานวนและสิบสองจํานวนตามลําดับ

Más contenido relacionado

La actualidad más candente

ใบงานเรื่องปริมาตรทรงสี่เหลี่ยมมุมฉาก
ใบงานเรื่องปริมาตรทรงสี่เหลี่ยมมุมฉากใบงานเรื่องปริมาตรทรงสี่เหลี่ยมมุมฉาก
ใบงานเรื่องปริมาตรทรงสี่เหลี่ยมมุมฉากวรรณิภา ไกรสุข
 
ข้อสอบคณิตศาสตร์ ม.3 เทอม 1 ชุดที่ 2
ข้อสอบคณิตศาสตร์ ม.3 เทอม 1 ชุดที่ 2ข้อสอบคณิตศาสตร์ ม.3 เทอม 1 ชุดที่ 2
ข้อสอบคณิตศาสตร์ ม.3 เทอม 1 ชุดที่ 2คุณครูพี่อั๋น
 
ข้อสอบคณิตศาสตร์ ม.1 เทอม 2 ชุดที่ 1
ข้อสอบคณิตศาสตร์ ม.1 เทอม 2 ชุดที่ 1ข้อสอบคณิตศาสตร์ ม.1 เทอม 2 ชุดที่ 1
ข้อสอบคณิตศาสตร์ ม.1 เทอม 2 ชุดที่ 1คุณครูพี่อั๋น
 
(คู่มือ)หนังสือเรียนสสวท คณิตศาสตร์เพิ่มเติม ม.1 ล.1
(คู่มือ)หนังสือเรียนสสวท คณิตศาสตร์เพิ่มเติม ม.1 ล.1 (คู่มือ)หนังสือเรียนสสวท คณิตศาสตร์เพิ่มเติม ม.1 ล.1
(คู่มือ)หนังสือเรียนสสวท คณิตศาสตร์เพิ่มเติม ม.1 ล.1 KruPa Jggdd
 
3.โจทย์ปัญหาร้อยละ
3.โจทย์ปัญหาร้อยละ3.โจทย์ปัญหาร้อยละ
3.โจทย์ปัญหาร้อยละApirak Potpipit
 
คณิตศาสตร์ ม.3 พาราโบลา
คณิตศาสตร์ ม.3 พาราโบลาคณิตศาสตร์ ม.3 พาราโบลา
คณิตศาสตร์ ม.3 พาราโบลาพัน พัน
 
หน่วยที่ 4-การบวก ลบ คูณ หารระคน ป.2.doc
หน่วยที่ 4-การบวก ลบ คูณ หารระคน ป.2.docหน่วยที่ 4-การบวก ลบ คูณ หารระคน ป.2.doc
หน่วยที่ 4-การบวก ลบ คูณ หารระคน ป.2.docamppbbird
 
ใบความรู้ เรื่องสถิติ
ใบความรู้ เรื่องสถิติใบความรู้ เรื่องสถิติ
ใบความรู้ เรื่องสถิติพัน พัน
 
ข้อสอบคณิตศาสตร์ ม.2 เทอม 2 ชุดที่ 2
ข้อสอบคณิตศาสตร์ ม.2 เทอม 2 ชุดที่ 2ข้อสอบคณิตศาสตร์ ม.2 เทอม 2 ชุดที่ 2
ข้อสอบคณิตศาสตร์ ม.2 เทอม 2 ชุดที่ 2คุณครูพี่อั๋น
 
โครงงานคณิตศาสตร์กับวิถีชีวิตชาวนา
โครงงานคณิตศาสตร์กับวิถีชีวิตชาวนาโครงงานคณิตศาสตร์กับวิถีชีวิตชาวนา
โครงงานคณิตศาสตร์กับวิถีชีวิตชาวนาจักรพงษ์ แผ่นทอง
 
แบบทดสอบ พร้อมเฉลย ความสัมพันธ์และฟังก์ชัน
แบบทดสอบ พร้อมเฉลย ความสัมพันธ์และฟังก์ชันแบบทดสอบ พร้อมเฉลย ความสัมพันธ์และฟังก์ชัน
แบบทดสอบ พร้อมเฉลย ความสัมพันธ์และฟังก์ชันphaephae
 
แบบฝึกทักษะคณิตศาสตร์ เรื่องการหาร เล่ม 1
แบบฝึกทักษะคณิตศาสตร์ เรื่องการหาร เล่ม 1แบบฝึกทักษะคณิตศาสตร์ เรื่องการหาร เล่ม 1
แบบฝึกทักษะคณิตศาสตร์ เรื่องการหาร เล่ม 1ยัยบ๊อง จอมแสบ
 
ตารางฟังก์ชันตรีโกณมิติ
ตารางฟังก์ชันตรีโกณมิติตารางฟังก์ชันตรีโกณมิติ
ตารางฟังก์ชันตรีโกณมิติAon Narinchoti
 
4ใบความรู้ เรื่องพื้นฐานทางเรขาคณิต
4ใบความรู้ เรื่องพื้นฐานทางเรขาคณิต4ใบความรู้ เรื่องพื้นฐานทางเรขาคณิต
4ใบความรู้ เรื่องพื้นฐานทางเรขาคณิตkanjana2536
 
แบบฝึกทักษะวิชาวิทยาศาสตร์ป.1สิ่งมีชีวิต
แบบฝึกทักษะวิชาวิทยาศาสตร์ป.1สิ่งมีชีวิตแบบฝึกทักษะวิชาวิทยาศาสตร์ป.1สิ่งมีชีวิต
แบบฝึกทักษะวิชาวิทยาศาสตร์ป.1สิ่งมีชีวิตsripayom
 
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้แบบเพื่อนคู่คิด เล่มที่ 4 โจทย์ปัญหาการบวกเศษส่วน
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้แบบเพื่อนคู่คิด เล่มที่ 4 โจทย์ปัญหาการบวกเศษส่วนชุดกิจกรรมการเรียนรู้แบบเพื่อนคู่คิด เล่มที่ 4 โจทย์ปัญหาการบวกเศษส่วน
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้แบบเพื่อนคู่คิด เล่มที่ 4 โจทย์ปัญหาการบวกเศษส่วนKanlayaratKotaboot
 
โครงสร้างคณิตศาสตร์ เพิ่มเติม ม.ต้น
โครงสร้างคณิตศาสตร์ เพิ่มเติม ม.ต้นโครงสร้างคณิตศาสตร์ เพิ่มเติม ม.ต้น
โครงสร้างคณิตศาสตร์ เพิ่มเติม ม.ต้นInmylove Nupad
 
แบบฝึกหัดการวัดตำแหน่งของข้อมูล (สถิติ)
แบบฝึกหัดการวัดตำแหน่งของข้อมูล (สถิติ)แบบฝึกหัดการวัดตำแหน่งของข้อมูล (สถิติ)
แบบฝึกหัดการวัดตำแหน่งของข้อมูล (สถิติ)Math and Brain @Bangbon3
 

La actualidad más candente (20)

ใบงานเรื่องปริมาตรทรงสี่เหลี่ยมมุมฉาก
ใบงานเรื่องปริมาตรทรงสี่เหลี่ยมมุมฉากใบงานเรื่องปริมาตรทรงสี่เหลี่ยมมุมฉาก
ใบงานเรื่องปริมาตรทรงสี่เหลี่ยมมุมฉาก
 
ข้อสอบคณิตศาสตร์ ม.3 เทอม 1 ชุดที่ 2
ข้อสอบคณิตศาสตร์ ม.3 เทอม 1 ชุดที่ 2ข้อสอบคณิตศาสตร์ ม.3 เทอม 1 ชุดที่ 2
ข้อสอบคณิตศาสตร์ ม.3 เทอม 1 ชุดที่ 2
 
ข้อสอบคณิตศาสตร์ ม.1 เทอม 2 ชุดที่ 1
ข้อสอบคณิตศาสตร์ ม.1 เทอม 2 ชุดที่ 1ข้อสอบคณิตศาสตร์ ม.1 เทอม 2 ชุดที่ 1
ข้อสอบคณิตศาสตร์ ม.1 เทอม 2 ชุดที่ 1
 
(คู่มือ)หนังสือเรียนสสวท คณิตศาสตร์เพิ่มเติม ม.1 ล.1
(คู่มือ)หนังสือเรียนสสวท คณิตศาสตร์เพิ่มเติม ม.1 ล.1 (คู่มือ)หนังสือเรียนสสวท คณิตศาสตร์เพิ่มเติม ม.1 ล.1
(คู่มือ)หนังสือเรียนสสวท คณิตศาสตร์เพิ่มเติม ม.1 ล.1
 
3.โจทย์ปัญหาร้อยละ
3.โจทย์ปัญหาร้อยละ3.โจทย์ปัญหาร้อยละ
3.โจทย์ปัญหาร้อยละ
 
คณิตศาสตร์ ม.3 พาราโบลา
คณิตศาสตร์ ม.3 พาราโบลาคณิตศาสตร์ ม.3 พาราโบลา
คณิตศาสตร์ ม.3 พาราโบลา
 
หน่วยที่ 4-การบวก ลบ คูณ หารระคน ป.2.doc
หน่วยที่ 4-การบวก ลบ คูณ หารระคน ป.2.docหน่วยที่ 4-การบวก ลบ คูณ หารระคน ป.2.doc
หน่วยที่ 4-การบวก ลบ คูณ หารระคน ป.2.doc
 
ใบความรู้ เรื่องสถิติ
ใบความรู้ เรื่องสถิติใบความรู้ เรื่องสถิติ
ใบความรู้ เรื่องสถิติ
 
ข้อสอบคณิตศาสตร์ ม.2 เทอม 2 ชุดที่ 2
ข้อสอบคณิตศาสตร์ ม.2 เทอม 2 ชุดที่ 2ข้อสอบคณิตศาสตร์ ม.2 เทอม 2 ชุดที่ 2
ข้อสอบคณิตศาสตร์ ม.2 เทอม 2 ชุดที่ 2
 
G6 Maths Circle
G6 Maths CircleG6 Maths Circle
G6 Maths Circle
 
โครงงานคณิตศาสตร์กับวิถีชีวิตชาวนา
โครงงานคณิตศาสตร์กับวิถีชีวิตชาวนาโครงงานคณิตศาสตร์กับวิถีชีวิตชาวนา
โครงงานคณิตศาสตร์กับวิถีชีวิตชาวนา
 
แบบทดสอบ พร้อมเฉลย ความสัมพันธ์และฟังก์ชัน
แบบทดสอบ พร้อมเฉลย ความสัมพันธ์และฟังก์ชันแบบทดสอบ พร้อมเฉลย ความสัมพันธ์และฟังก์ชัน
แบบทดสอบ พร้อมเฉลย ความสัมพันธ์และฟังก์ชัน
 
แบบฝึกทักษะคณิตศาสตร์ เรื่องการหาร เล่ม 1
แบบฝึกทักษะคณิตศาสตร์ เรื่องการหาร เล่ม 1แบบฝึกทักษะคณิตศาสตร์ เรื่องการหาร เล่ม 1
แบบฝึกทักษะคณิตศาสตร์ เรื่องการหาร เล่ม 1
 
ตารางฟังก์ชันตรีโกณมิติ
ตารางฟังก์ชันตรีโกณมิติตารางฟังก์ชันตรีโกณมิติ
ตารางฟังก์ชันตรีโกณมิติ
 
ชุดการสอนที่ 3 มุมภายนอกกับมุมภายใน
ชุดการสอนที่ 3  มุมภายนอกกับมุมภายในชุดการสอนที่ 3  มุมภายนอกกับมุมภายใน
ชุดการสอนที่ 3 มุมภายนอกกับมุมภายใน
 
4ใบความรู้ เรื่องพื้นฐานทางเรขาคณิต
4ใบความรู้ เรื่องพื้นฐานทางเรขาคณิต4ใบความรู้ เรื่องพื้นฐานทางเรขาคณิต
4ใบความรู้ เรื่องพื้นฐานทางเรขาคณิต
 
แบบฝึกทักษะวิชาวิทยาศาสตร์ป.1สิ่งมีชีวิต
แบบฝึกทักษะวิชาวิทยาศาสตร์ป.1สิ่งมีชีวิตแบบฝึกทักษะวิชาวิทยาศาสตร์ป.1สิ่งมีชีวิต
แบบฝึกทักษะวิชาวิทยาศาสตร์ป.1สิ่งมีชีวิต
 
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้แบบเพื่อนคู่คิด เล่มที่ 4 โจทย์ปัญหาการบวกเศษส่วน
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้แบบเพื่อนคู่คิด เล่มที่ 4 โจทย์ปัญหาการบวกเศษส่วนชุดกิจกรรมการเรียนรู้แบบเพื่อนคู่คิด เล่มที่ 4 โจทย์ปัญหาการบวกเศษส่วน
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้แบบเพื่อนคู่คิด เล่มที่ 4 โจทย์ปัญหาการบวกเศษส่วน
 
โครงสร้างคณิตศาสตร์ เพิ่มเติม ม.ต้น
โครงสร้างคณิตศาสตร์ เพิ่มเติม ม.ต้นโครงสร้างคณิตศาสตร์ เพิ่มเติม ม.ต้น
โครงสร้างคณิตศาสตร์ เพิ่มเติม ม.ต้น
 
แบบฝึกหัดการวัดตำแหน่งของข้อมูล (สถิติ)
แบบฝึกหัดการวัดตำแหน่งของข้อมูล (สถิติ)แบบฝึกหัดการวัดตำแหน่งของข้อมูล (สถิติ)
แบบฝึกหัดการวัดตำแหน่งของข้อมูล (สถิติ)
 

Destacado

แบบฝึกหัด ตัวเลขโรมัน
แบบฝึกหัด ตัวเลขโรมันแบบฝึกหัด ตัวเลขโรมัน
แบบฝึกหัด ตัวเลขโรมันkroojaja
 
จำนวนและตัวเลข(เลขโรมัน)
จำนวนและตัวเลข(เลขโรมัน)จำนวนและตัวเลข(เลขโรมัน)
จำนวนและตัวเลข(เลขโรมัน)kroojaja
 
เลขโรมัน
เลขโรมันเลขโรมัน
เลขโรมันG'Gee Parisa
 
บทที่ 5 ความเท่ากันทุกประการ
บทที่ 5 ความเท่ากันทุกประการบทที่ 5 ความเท่ากันทุกประการ
บทที่ 5 ความเท่ากันทุกประการsawed kodnara
 
ระบบตัวเลขโรมัน
ระบบตัวเลขโรมันระบบตัวเลขโรมัน
ระบบตัวเลขโรมันkruyafkk
 
บทที่ 2 จำนวนและตัวเลข
บทที่ 2 จำนวนและตัวเลขบทที่ 2 จำนวนและตัวเลข
บทที่ 2 จำนวนและตัวเลขsawed kodnara
 
(คู่มือ)หนังสือเรียนสสวท คณิตศาสตร์เพิ่มเติม ม.1 ล.2
(คู่มือ)หนังสือเรียนสสวท คณิตศาสตร์เพิ่มเติม ม.1 ล.2 (คู่มือ)หนังสือเรียนสสวท คณิตศาสตร์เพิ่มเติม ม.1 ล.2
(คู่มือ)หนังสือเรียนสสวท คณิตศาสตร์เพิ่มเติม ม.1 ล.2 KruPa Jggdd
 
แนวข้อสอบเข้า ม.4 วิชาคณิตศาสตร์โรงเรียนมหิดลฯและโรงเรียนจุฬาภรณ์ฯ
แนวข้อสอบเข้า ม.4 วิชาคณิตศาสตร์โรงเรียนมหิดลฯและโรงเรียนจุฬาภรณ์ฯ แนวข้อสอบเข้า ม.4 วิชาคณิตศาสตร์โรงเรียนมหิดลฯและโรงเรียนจุฬาภรณ์ฯ
แนวข้อสอบเข้า ม.4 วิชาคณิตศาสตร์โรงเรียนมหิดลฯและโรงเรียนจุฬาภรณ์ฯ sawed kodnara
 
การหาเลขฐานต่างๆ
การหาเลขฐานต่างๆการหาเลขฐานต่างๆ
การหาเลขฐานต่างๆNoii Kittiya
 
วรรณคดีและวรรณกรรม ความหมาย
วรรณคดีและวรรณกรรม ความหมายวรรณคดีและวรรณกรรม ความหมาย
วรรณคดีและวรรณกรรม ความหมายchontee55
 
เลขฐานและการแปลงเลขฐาน
เลขฐานและการแปลงเลขฐานเลขฐานและการแปลงเลขฐาน
เลขฐานและการแปลงเลขฐานAE Mct
 
เส้นขนาน ม.2
เส้นขนาน ม.2เส้นขนาน ม.2
เส้นขนาน ม.2KruGift Girlz
 
การแปลงเลขฐานต่างๆ
การแปลงเลขฐานต่างๆการแปลงเลขฐานต่างๆ
การแปลงเลขฐานต่างๆsiripaporn
 
คณิตศาสตร์
คณิตศาสตร์คณิตศาสตร์
คณิตศาสตร์guestd205c5
 

Destacado (20)

แบบฝึกหัด ตัวเลขโรมัน
แบบฝึกหัด ตัวเลขโรมันแบบฝึกหัด ตัวเลขโรมัน
แบบฝึกหัด ตัวเลขโรมัน
 
จำนวนและตัวเลข(เลขโรมัน)
จำนวนและตัวเลข(เลขโรมัน)จำนวนและตัวเลข(เลขโรมัน)
จำนวนและตัวเลข(เลขโรมัน)
 
เลขโรมัน
เลขโรมันเลขโรมัน
เลขโรมัน
 
บทที่ 5 ความเท่ากันทุกประการ
บทที่ 5 ความเท่ากันทุกประการบทที่ 5 ความเท่ากันทุกประการ
บทที่ 5 ความเท่ากันทุกประการ
 
Unit2
Unit2Unit2
Unit2
 
ระบบตัวเลขโรมัน
ระบบตัวเลขโรมันระบบตัวเลขโรมัน
ระบบตัวเลขโรมัน
 
บทที่ 2 จำนวนและตัวเลข
บทที่ 2 จำนวนและตัวเลขบทที่ 2 จำนวนและตัวเลข
บทที่ 2 จำนวนและตัวเลข
 
(คู่มือ)หนังสือเรียนสสวท คณิตศาสตร์เพิ่มเติม ม.1 ล.2
(คู่มือ)หนังสือเรียนสสวท คณิตศาสตร์เพิ่มเติม ม.1 ล.2 (คู่มือ)หนังสือเรียนสสวท คณิตศาสตร์เพิ่มเติม ม.1 ล.2
(คู่มือ)หนังสือเรียนสสวท คณิตศาสตร์เพิ่มเติม ม.1 ล.2
 
แนวข้อสอบเข้า ม.4 วิชาคณิตศาสตร์โรงเรียนมหิดลฯและโรงเรียนจุฬาภรณ์ฯ
แนวข้อสอบเข้า ม.4 วิชาคณิตศาสตร์โรงเรียนมหิดลฯและโรงเรียนจุฬาภรณ์ฯ แนวข้อสอบเข้า ม.4 วิชาคณิตศาสตร์โรงเรียนมหิดลฯและโรงเรียนจุฬาภรณ์ฯ
แนวข้อสอบเข้า ม.4 วิชาคณิตศาสตร์โรงเรียนมหิดลฯและโรงเรียนจุฬาภรณ์ฯ
 
การหาเลขฐานต่างๆ
การหาเลขฐานต่างๆการหาเลขฐานต่างๆ
การหาเลขฐานต่างๆ
 
Numerals
NumeralsNumerals
Numerals
 
การประดิษฐ์แผนที่ดาว
การประดิษฐ์แผนที่ดาวการประดิษฐ์แผนที่ดาว
การประดิษฐ์แผนที่ดาว
 
ระบบเลขฐาน
ระบบเลขฐานระบบเลขฐาน
ระบบเลขฐาน
 
วรรณคดีและวรรณกรรม ความหมาย
วรรณคดีและวรรณกรรม ความหมายวรรณคดีและวรรณกรรม ความหมาย
วรรณคดีและวรรณกรรม ความหมาย
 
เลขฐานและการแปลงเลขฐาน
เลขฐานและการแปลงเลขฐานเลขฐานและการแปลงเลขฐาน
เลขฐานและการแปลงเลขฐาน
 
Roman test50 ms
Roman test50 msRoman test50 ms
Roman test50 ms
 
13 จำนวนจริง บทนำ
13 จำนวนจริง บทนำ13 จำนวนจริง บทนำ
13 จำนวนจริง บทนำ
 
เส้นขนาน ม.2
เส้นขนาน ม.2เส้นขนาน ม.2
เส้นขนาน ม.2
 
การแปลงเลขฐานต่างๆ
การแปลงเลขฐานต่างๆการแปลงเลขฐานต่างๆ
การแปลงเลขฐานต่างๆ
 
คณิตศาสตร์
คณิตศาสตร์คณิตศาสตร์
คณิตศาสตร์
 

Similar a เลขโรมัน

แผนการเรียนรู้1
แผนการเรียนรู้1แผนการเรียนรู้1
แผนการเรียนรู้1Yoon Yoon
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1
แผนการจัดการเรียนรู้ที่  1แผนการจัดการเรียนรู้ที่  1
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1tongcuteboy
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1
แผนการจัดการเรียนรู้ที่  1แผนการจัดการเรียนรู้ที่  1
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1tongcuteboy
 
เล่ม 1 ความหมายของเลขยกำลัง
เล่ม 1 ความหมายของเลขยกำลังเล่ม 1 ความหมายของเลขยกำลัง
เล่ม 1 ความหมายของเลขยกำลังSuphot Chaichana
 
ข้อสอบ O net คณิต ป.3 ชุด 1
ข้อสอบ O net คณิต ป.3 ชุด 1ข้อสอบ O net คณิต ป.3 ชุด 1
ข้อสอบ O net คณิต ป.3 ชุด 1Manas Panjai
 
ข้อสอบ O-net-คณิต-ป.3-ชุด-1
ข้อสอบ O-net-คณิต-ป.3-ชุด-1ข้อสอบ O-net-คณิต-ป.3-ชุด-1
ข้อสอบ O-net-คณิต-ป.3-ชุด-1Tangkwa Dong
 
ลำดับเลขคณิต
ลำดับเลขคณิตลำดับเลขคณิต
ลำดับเลขคณิตaoynattaya
 
Pre o net คณิตศาสตร์ ม3
Pre o net คณิตศาสตร์ ม3Pre o net คณิตศาสตร์ ม3
Pre o net คณิตศาสตร์ ม3Kasemsan Saensin
 
สื่อคณิตประกวด
สื่อคณิตประกวดสื่อคณิตประกวด
สื่อคณิตประกวดmaneewaan
 

Similar a เลขโรมัน (20)

Add m1-1-chapter2
Add m1-1-chapter2Add m1-1-chapter2
Add m1-1-chapter2
 
แผนการเรียนรู้1
แผนการเรียนรู้1แผนการเรียนรู้1
แผนการเรียนรู้1
 
Answer
AnswerAnswer
Answer
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1
แผนการจัดการเรียนรู้ที่  1แผนการจัดการเรียนรู้ที่  1
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1
แผนการจัดการเรียนรู้ที่  1แผนการจัดการเรียนรู้ที่  1
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1
 
Counting theorem2
Counting theorem2Counting theorem2
Counting theorem2
 
เล่ม 1 ความหมายของเลขยกำลัง
เล่ม 1 ความหมายของเลขยกำลังเล่ม 1 ความหมายของเลขยกำลัง
เล่ม 1 ความหมายของเลขยกำลัง
 
Unit2
Unit2Unit2
Unit2
 
ข้อสอบ O net คณิต ป.3 ชุด 1
ข้อสอบ O net คณิต ป.3 ชุด 1ข้อสอบ O net คณิต ป.3 ชุด 1
ข้อสอบ O net คณิต ป.3 ชุด 1
 
ข้อสอบ O-net-คณิต-ป.3-ชุด-1
ข้อสอบ O-net-คณิต-ป.3-ชุด-1ข้อสอบ O-net-คณิต-ป.3-ชุด-1
ข้อสอบ O-net-คณิต-ป.3-ชุด-1
 
นวัตกรรมเลขยกกำลังชุดที่ 1
นวัตกรรมเลขยกกำลังชุดที่ 1นวัตกรรมเลขยกกำลังชุดที่ 1
นวัตกรรมเลขยกกำลังชุดที่ 1
 
Add m1-1-chapter3
Add m1-1-chapter3Add m1-1-chapter3
Add m1-1-chapter3
 
Unit3
Unit3Unit3
Unit3
 
ลำดับเลขคณิต
ลำดับเลขคณิตลำดับเลขคณิต
ลำดับเลขคณิต
 
Pre o net คณิตศาสตร์ ม3
Pre o net คณิตศาสตร์ ม3Pre o net คณิตศาสตร์ ม3
Pre o net คณิตศาสตร์ ม3
 
สื่อคณิตประกวด
สื่อคณิตประกวดสื่อคณิตประกวด
สื่อคณิตประกวด
 
Unit3
Unit3Unit3
Unit3
 
Basic m4-1-chapter4
Basic m4-1-chapter4Basic m4-1-chapter4
Basic m4-1-chapter4
 
Analyze o net-math-m3_2
Analyze o net-math-m3_2Analyze o net-math-m3_2
Analyze o net-math-m3_2
 
Unit4
Unit4Unit4
Unit4
 

Más de Preecha Yeednoi

Más de Preecha Yeednoi (8)

Add m1-1-chapter1
Add m1-1-chapter1Add m1-1-chapter1
Add m1-1-chapter1
 
Number
NumberNumber
Number
 
Emaj001
Emaj001Emaj001
Emaj001
 
Emaj001
Emaj001Emaj001
Emaj001
 
2 1 แบบรูป
2 1 แบบรูป2 1 แบบรูป
2 1 แบบรูป
 
5.3แบบรูป2
5.3แบบรูป25.3แบบรูป2
5.3แบบรูป2
 
เลขฐาน
เลขฐานเลขฐาน
เลขฐาน
 
ระบบเลขฐาน
ระบบเลขฐานระบบเลขฐาน
ระบบเลขฐาน
 

เลขโรมัน

  • 1. บทที่ 2 จํานวนและตัวเลข (8 ชั่วโมง) 2.1 ระบบตัวเลขโรมัน (2 ชั่วโมง) 2.2 ระบบตัวเลขฐานตาง ๆ (4 ชั่วโมง) 2.3 การเปลี่ยนฐานในระบบตัวเลข (2 ชั่วโมง) เนื้อหาสาระของบทนี้ไดกลาวถึงประวัติคราว ๆ ของการใชจํานวน การบันทึกจํานวนของ มนุษยในสมัยเริ่มแรก และใหความรูเกี่ยวกับระบบการเขียนตัวเลขแทนจํานวนในระบบฐานตาง ๆ ซึ่ง เปนระบบที่ใชหลักและคาประจําหลัก สิ่งที่นาสนใจก็คือเราสามารถใชเลขโดดที่แตกตางกันไมก่ี จํานวนมาเขียนแทนจํานวนทีตองการไดอยางไมจากัดจํานวน เชน ระบบตัวเลขฐานสิบ ใชเลขโดดสิบตัว ่ ํ คือ 0, 1, 2, 3, 4, 5, 6, 7, 8 และ 9 เขียนตัวเลขแทนจํานวนนับใด ๆ ก็ไดตามความตองการ การเปลี่ยนฐานของระบบตัวเลขฐานตาง ๆ ใชวิธีคํานวณผานระบบตัวเลขฐานสิบ เพราะเปนวิธี การที่ไมยุงยากเหมือนวิธีอื่นและเหมาะสมกับการเรียนรูในระดับนี้ ผลการเรียนรูที่คาดหวังรายป 1. อานและเขียนตัวเลขโรมันได 2. บอกคาของเลขโดดในตัวเลขฐานตาง ๆ ที่กําหนดใหได 3. เขียนตัวเลขที่กําหนดใหเปนตัวเลขฐานตาง ๆ ได
  • 2. 46 แนวทางในการจัดการเรียนรู ในการเริมบทเรียนนีครูควรสนทนาและใหความรูเ กียวกับตัวเลขทีใชแทนจํานวนในสมัยโบราณ ่ ้ ่ ่ พอสังเขป ไมมีจุดประสงคที่จะประเมินผล 2.1 ระบบตัวเลขโรมัน (2 ชั่วโมง) จุดประสงค นักเรียนสามารถอานและเขียนตัวเลขโรมันได เอกสารแนะนําการจัดกิจกรรม – ขอเสนอแนะในการจัดกิจกรรมการเรียนการสอน 1. การเขียนตัวเลขโรมันเมื่อใชหลักการลด นักเรียนมักสับสน ครูควรย้ําและชี้ใหเห็นตัวเลข ที่ใชกบหลักการลดซึ่งใชเฉพาะคูตามที่กําหนดในหนังสือเรียนหนา 61 เทานั้นและครูควรเพิ่มโจทยให ั นักเรียนฝกมากพอ 2. วิธีเขียนตัวเลขโรมันแทนจํานวนในระบบตัวเลขฐานสิบ ครูควรย้ําใหนกเรียนเขียนจํานวน ั ที่กําหนดใหในรูปกระจายตามหลัก ดังลักษณะคลายกับที่แสดงใหดูในตัวอยางที่ 1 หนา 61 ของ หนังสือเรียนกอน แลวจึงเขียนตัวเลขโรมันแทนจํานวนนั้นทีละหลักโดยเขียนเรียงตอกัน 3. ในหัวขอนีไมเนนการเขียนตัวเลขโรมันทีมคามาก ๆ และใชสญลักษณ “ – ” บนสัญลักษณ ้ ่ ี ั พื้นฐาน เชน V , X หรือ M ในบทเรียนเสนอไวเพื่อใหเห็นวา ในยุคนั้นมีตัวเลขที่ใชแทนจํานวนที่ มีคามากเหมือนกันแตก็มีขอจํากัด ทําใหระบบตัวเลขโรมันไมแพรหลาย ครูไมจําเปนตองใหนักเรียนฝก เขียนตัวเลขที่ใชสัญลักษณนี้และไมควรนํามาประเมินผลดวย 4. ครูอาจใหนักเรียนชวยกันนึกดูวาเคยเห็นตัวเลขโรมันปรากฏอยูที่ใดอีกบาง 5. สําหรับปญหาชวนคิด “กรุงโรมของชาวโรมัน” มีไวเพื่อใหนักเรียนเห็นการใชตัวเลข โรมันแทนจํานวนที่มีคามากซึ่งตองใชสัญลักษณ V , X หรือ M 2.2 ระบบตัวเลขฐานตาง ๆ (4 ชั่วโมง) จุดประสงค นักเรียนสามารถ 1. บอกเลขโดดที่ใชในระบบตัวเลขฐานตาง ๆ ที่กําหนดใหได 2. บอกคาของเลขโดดในระบบตัวเลขฐานตาง ๆ ที่กําหนดใหได 3. เขียนและอานตัวเลขในระบบตัวเลขฐานตาง ๆ ได
  • 3. 47 4. เปลี่ยนตัวเลขในระบบตัวเลขฐานสิบเปนตัวเลขในระบบตัวเลขฐานที่กําหนดใหได 5. เปลี่ยนตัวเลขในระบบตัวเลขฐานตาง ๆ เปนตัวเลขในระบบตัวเลขฐานสิบได เอกสารแนะนําการจัดกิจกรรม กิจกรรมเสนอแนะ 2.2 ก – 2.2 ค ขอเสนอแนะในการจัดกิจกรรมการเรียนการสอน 1. ครูควรทบทวนความรูเกี่ยวกับระบบตัวเลขฐานสิบ ไดแก เลขโดด คาประจําหลัก และ คาของเลขโดด โดยใชอุปกรณแสดงคาประจําหลักและตัวนับ หรือสาธิตการมัดกิ่งไมตามที่นักเรียนเคย เรียนมาแลวในระดับประถมศึกษา และเมื่อทํากิจกรรมในหนังสือเรียนจบแลว ครูอาจใหนักเรียนทํา กิจกรรมเสนอแนะ 2.2 ก เพื่อใหนกเรียนเห็นการประยุกตใชตัวเลขในระบบตัวเลขฐานสิบ ั 2. การจัดกิจกรรมการเรียนการสอน ระบบตัวเลขฐานหา ครูควรสาธิตการนับสิ่งของทีละหา เชน หาชิ้น หามัด หากอง ฯลฯ ซึ่งใชหลักเกณฑเดียวกันกับระบบตัวเลขฐานสิบ 3. ครูอาจแนะนําวาตัวหนังสือแสดงฐานหาที่กํากับไว เชน 213หา นั้นในหนังสือเลมอื่นอาจ เขียนเปน 2135 การจะเขียนแสดงฐานแบบใดแลวแตครูและนักเรียนจะตกลงกัน 4. การเปลี่ยนตัวเลขในระบบฐานสิบเปนตัวเลขในระบบฐานหาที่นาเสนอในรูปตาราง ใชวิธี ํ จัดจํานวนลงในชองตามคาประจําหลัก นักเรียนจะหาคําตอบไดงายโดยเขียนคาประจําหลักกํากับไว เปนตัวเลขในระบบฐานสิบ เชน 54 ในหลักที่หา เขียน (625) กํากับไว เพราะจํานวนในระบบตัวเลข ฐานสิบจะชวยใหจัดเลขโดดในระบบฐานหาลงในตารางไดเร็วขึ้น ครูอาจยกตัวอยางการเขียน 748 เปนตัวเลขในระบบฐานหาในหนังสือเรียนหนา 68 และ อธิบายเพิ่มเติมใหเห็นเปนรูปธรรม โดยใหนักเรียนคิดวาถานําดินสอ 748 แทงมามัดเปนมัด มัดละ 5 แทง และทุกครั้งที่ครบ 5 มัด ใหมัดเปนมัดที่ใหญขึ้นเรื่อย ๆ ในที่นี้จะไดดินสอมัดที่ใหญที่สุดมี 625 แ ท ง ร อ ง ล ง ม า มี มั ด ล ะ 2 5 แ ท ง มั ด ล ะ 5 แ ท ง แ ล ะ เ ศ ษ อี ก 3 แ ท ง หาจํานวนมัดของดินสอแตละมัดที่มีจํานวนเทา ๆ กันแลวเขียนจํานวนมัดที่ไดในตารางที่ แสดงหลักและคาประจําหลัก ดังนี้ จํานวนดินสอมี 748 แทง จํานวนดินสอมัดละ 625 แทงมี 1 มัด เขียน 1 ในชองหลักที่หา  [เหลือดินสอ 748 – 625 = 123 แทง] จํานวนดินสอมัดละ 125 แทงมี 0 มัด เขียน 0 ในชองหลักที่สี่ [เหลือดินสอ 123 แทง]
  • 4. 48 จํานวนดินสอมัดละ 25 แทงมี 4 มัด เขียน 4 ในชองหลักที่สาม [เหลือดินสอ 123 – (4 × 25) = 23 แทง] จํานวนดินสอมัดละ 5 แทงมี 4 มัด เขียน 4 ในชองหลักที่สอง [เหลือดินสอ 23 – (4 × 5) = 3 แทง] เหลือดินสอที่เปนเศษอีก 3 แทง เขียน 3 ในชองหลักที่หนึ่ง ดังตาราง หลักที่ หก หา สี่ สาม สอง หนึ่ง คาประจําหลัก 55 54 53 52 51 1 (3125) (625) (125) (25) (5) 1 เลขโดด 1 0 4 4 3 จะได 748 = (1 × 625) + ( 0 × 125) + (4 × 25) + (4 × 5) + (3 × 1) ดังนั้น 748 = 10443หา เมือพิจารณาคําตอบจากรูปการหารทีมแนวคิดสอดคลองกับการมัดดินสอซึงมัดเปนมัดละ 5 แทง ่ ่ ี ่ 25 แทง 125 แทง และ 625 แทง เชนเดียวกับในตารางดังนี้ แนวคิด 5 748 5 149 เศษ 3 [ดินสอมัดละ 5 แทง จํานวน 149 มัด กับเศษ 3 แทง] 5 29 เศษ 4 [ดินสอมัดละ 25 แทง หรือ 5 × 5 จํานวน 29 มัด กับเศษอีก 4 มัด มัดละ 5 แทง ] 5 5 เศษ 4 [ดินสอมัดละ 125 แทง หรือ 5 × 5× 5 จํานวน 5 มัด กับเศษ อีก 4 มัด มัดละ 25 แทง] 1 เศษ 0 [ดินสอมัดละ 625 แทง หรือ 5 × 5 × 5 × 5 จํานวน 1 มัด เศษ 0] ดังนั้น 748 = 10443หา ใหสังเกตวาคําตอบที่หาจากวิธีหารตองเขียนเลขโดดจากผลลัพธสุดทายและเศษของแตละขั้น ยอนขึ้นไป โดยที่ผลลัพธจํานวนสุดทายคือ 1 มีเศษเปน 0 และมีตัวหารมากที่สดคือ 5 × 5 × 5 × 5 ุ หรือ 54 ซึ่งเปนคาประจําหลักที่มากที่สุด การหาคําตอบโดยใชการหารเปนวิธที่สะดวกและรวดเร็ว แตนักเรียนจะตองจําหลักการเขียน ี เรียงเลขโดดเปนคําตอบใหถกตอง ู
  • 5. 49 5 . การสอนเรื่องระบบตัวเลขฐานสอง ครูอาจดําเนินกิจกรรมเหมือนกับการสอนระบบตัวเลข ฐานหา และใชกิจกรรมเสนอแนะ 2.2 ข เพื่อเสริมความเขาใจและไดเห็นการนําระบบตัวเลขฐานสอง ไปประยุกต เชน สรางเกมทายใจ ซึ่งครูอาจศึกษารายละเอียดของเกมนี้ไดจาก www.ipst.ac.th 6. เพื่อตรวจสอบความเขาใจของนักเรียนเกี่ยวกับระบบตัวเลขฐานตาง ๆ ครูอาจใชคําถามให นักเรียนสรุปหลักการเขียนตัวเลขแทนจํานวนในระบบตัวเลขฐานอื่น ๆ 7. ครูอาจใหนกเรียนทํากิจกรรมเสนอแนะ 2.2 ค เพือฝกทักษะการเขียนตัวเลขในระบบตัวเลข ั ่ ฐานแปดและฐานสิบสอง ครูควรสังเกตการหาคําตอบของนักเรียนวาใชการคํานวณหรือใชแบบรูป หรือ ใชความคิดรวบยอดในลักษณะการมัดรวมสิ่งของตามระบบตัวเลขฐานนั้น ๆ 2.3 การเปลี่ยนฐานในระบบตัวเลข (2 ชั่วโมง) จุดประสงค นักเรียนสามารถเปลี่ยนฐานในระบบตัวเลขฐานที่กําหนดใหเปนตัวเลขในระบบฐานอื่นได เอกสารแนะนําการจัดกิจกรรม – ขอเสนอแนะในการจัดกิจกรรมการเรียนการสอน 1. ในหัวขอนี้เสนอใหสอนการเปลี่ยนฐานในระบบตัวเลขฐานที่กําหนดจากฐานหนึ่งไปยังอีก ฐานหนึ่งโดยคํานวณผานระบบตัวเลขฐานสิบ เพื่อไมใหมีความยุงยากมากเกินไปสําหรับนักเรียน 2. แบบฝกหัด 2.3 ขอ 7 – ขอ 10 ตองการใหหาคําตอบโดยใชความรูสกเชิงจํานวน ไม ึ ตองการใหคํานวณจริง ๆ ครูควรถามถึงเหตุผลของคําตอบที่ไดในขอที่ไมตองคํานวณจริง ๆ ดวย
  • 6. 50 คําตอบแบบฝกหัดและคําตอบปญหา คําตอบแบบฝกหัด 2.1 1. 1) XI 2) XXVIII 3) CXXVI 4) CXL 5) CCCXIX 6) CDL 7) DCCXLIX 8) MCMLXXXIII 9) MMDXXVI 10) MMMDCCCXCI 2. 1) 124 2) 965 3) 211 4) 1,040 5) 2,441 6) 1,993 7) 262 8) 444 9) 545 10) 3,974 3. 1) XV XVI XVII XVIII XIX XX 2) XL XLI XLII XLIII XLIV XLV XLVI XLVII XLVIII XLIX L 3) CCCXCV CCCXCVI CCCXCVII CCCXCVIII CCCXCIX CD 4) MCCXXXIX MCCXL MCCXLI MCCXLII MCCXLIII MCCXLIV คําตอบปญหาชวนคิด “กรุงโรมของชาวโรมัน” 1. ค.ศ. ปจจุบน บวกดวย 752 ั 2. ค.ศ. ปจจุบน ลบดวย 75 ั 3. 45,000 คน 4. 1,518 ไร แนวคิด 1 เอเคอรประมาณ 4,046.85 ตารางเมตร 1,600 ตารางเมตร เทากับ 1 ไร จะได 1 เอเคอรประมาณ 2.53 ไร ดังนั้น 600 เอเคอรประมาณ 1,518 ไร
  • 7. 51 คําตอบแบบฝกหัด 2.2 ก 1. 1) 5 2) 50 3) 5 4) 5 5) 50 6) 5,000 2. 1) 21 = (2 × 101) + (1× 1) 2) 336 = (3 × 102) + (3 × 101) + (6 × 1) 3) 4073 = (4 × 103) + (7 × 101) + (3 × 1) 4) 10180 = (1 × 104) + (1 × 102) + (8 × 101) + (0 × 1) 3. 1) 403 2) 2,070 3) 7,403 4) 50,609 5) 75,700 6) 5,028,070 7) 205,008 คําตอบแบบฝกหัด 2.2 ข 1. 1) 15 2) 75 3) 75 4) 375 2. 1) 6 2) 98 3) 230 4) 450 3. 1) 401หา = (4 × 52) + (0 × 51) + (1 × 1) 2) 4432หา = (4 × 53) + (4 × 52) + (3 × 51) + (2 × 1) 3) 20433หา = (2 × 54) + (4 × 52) + (3 × 51) + (3 × 1) 4) 31020หา = (3 × 54) + (1 × 53) + (2 × 51) + (0 × 1)
  • 8. 52 4. 1) 111 2) 399 3) 852 4) 2,540 5. 1) 1044หา 2) 10021หา 3) 11422หา 4) 13413หา 5) 44210หา 6) 114142หา คําตอบปญหา “รูหรือไม” 1. 5 จํานวน แนวคิด เลขโดดที่สามารถอยูในหลักที่หนึ่งมีได 5 ตัวคือ 0, 1, 2, 3 และ 4 2. 20 จํานวน แนวคิด เลขโดดที่สามารถอยูในหลักที่หนึ่งมีได 5 ตัวคือ 0, 1, 2, 3 และ 4 เลขโดดที่สามารถอยูในหลักที่สองมีได 4 ตัวคือ 1, 2, 3 และ 4 จึงสามารถนําเลขโดดมาสรางจํานวนได 4 × 5 = 20 จํานวน 3. 100 จํานวน แนวคิด เลขโดดที่สามารถอยูในหลักที่หนึ่งมีได 5 ตัวคือ 0, 1, 2, 3 และ 4 เลขโดดที่สามารถอยูในหลักที่สองมีได 5 ตัวคือ 0, 1, 2, 3 และ 4 เลขโดดที่สามารถอยูในหลักที่สามมีได 4 ตัวคือ 1, 2, 3 และ 4 จึงสามารถนําเลขโดดมาสรางจํานวนได 4 × 5 × 5 = 100 จํานวน คําตอบแบบฝกหัด 2.2 ค 1. 1) 4 2) 8 3) 4 4) 32 2. 1) 3 2) 4 3) 8 4) 24
  • 9. 53 3. 1) 1101สอง = (1 × 23) + (1 × 22) + (0 × 21) + (1 × 1) 2) 10110สอง = (1 × 24) + (0 × 23) + (1 × 22) + (1 × 21) + (0 × 1) 3) 101001สอง = (1 × 25) + (1 × 23) + (1 × 1) 4) 110000สอง = (1 × 25) + (1 × 24) + (0 × 23) + (0 × 22) + (0 × 21) + (0 × 1) 4. 1) 11 2) 17 3) 24 4) 46 5. 1) 10011สอง 2) 100100สอง 3) 1000110สอง 4) 10010110สอง 5) 11010110สอง 6) 100101100สอง 6. ใชเปนรหัสในเครื่องคอมพิวเตอรและเครื่องมือเครื่องใชในระบบดิจิตอล คําตอบปญหา “คิด” นพถึงโรงเรียนเวลา 8.05 นาฬิกา แนวคิด นพตื่นนอนเวลา 7 นาฬิกา ใชเวลาอาบน้ําและแตงตัว 30 นาที ใชเวลารับประทานอาหาร 20 นาที ใชเวลาเดินทางไปถึงโรงเรียน 15 นาที ใชเวลารวม 65 นาที นพถึงโรงเรียนเวลา 8.05 นาฬิกา คําตอบแบบฝกหัด 2.2 ง 1. 1) A = 10 , B = 11 × 123 2) A = 10 × 124 , B = 11 × 122 3) A = 10 × 124 , B = 11 × 123 4) A = 10 × 123 , B = 11 × 124 2. 205,776 3. 1) B3Aสิบสอง = (B × 122) + (3 × 121) + (A × 1) 2) AA97สิบสอง = (A × 123) + (A × 122) + (9 × 121) + (7 × 1)
  • 10. 54 3) 9A0B8สิบสอง = (9 × 124) + (A × 123) + (0 × 122 ) + (B × 121) + (8 × 1) 4) 5A3B20สิบสอง = (5 × 125) + (A × 124) + (3 × 123) + (B × 122) + (2 × 121) + (0 × 1) 4. 1) 743 2) 13,632 3) 209,081 4) 228,226 5. 1) 699สิบสอง 2) 10B5สิบสอง 3) 3A2Bสิบสอง 4) BA00สิบสอง 6. การนับสินคาหรือสิ่งของที่มีหนวยเปนโหลและกุรุส ตัวอยาง กระดุม 12 เม็ดเทากับ 1 โหล กระดุม 12 โหลเทากับ 1 กุรุส คําตอบแบบฝกหัด 2.3 1. 1) 102หา 2) 211440หา 3) 22242หา 4) 23330หา 2. 1) 41สิบสอง 2) 190Bสิบสอง 3) 9686สิบสอง 4) 3926Aสิบสอง 3. สามตัว ไดแก 0, 1 และ 2 4. แปดตัว ไดแก 0, 1, 2, 3, 4, 5, 6 และ 7 5. 1) 1122สาม = (1 × 33) + (1 × 32) + (2 × 31) + (2 × 1) 2) 2100สาม = (2 × 33) + (1 × 32) + (0 × 31) + (0 × 1) 3) 7504แปด = (7 × 83) + (5 × 82) + (0 × 81) + (4 × 1) 4) 16520แปด = (1 × 84) + (6 × 83) + (5 × 82) + (2 × 81) + (0 × 1) 6. 42207แปด 7. 1) = 2) < 3) > 4) < 8. นายมั่นอายุมากกวานายบุญ 16 ป
  • 11. 55 9. 247810เกา , 247810สิบเอ็ด , 247810สิบสอง 10. 4 ที่อยูใน 2438สิบสอง มีคามากที่สุด คําตอบปญหา “จํานวนอะไรเอย” จํานวนที่ตองการคือ 639 แนวคิด อาจใชการวิเคราะหดังนี้ เนื่องจากเลขโดดในหลักรอยเปน 2 เทาของเลขโดดในหลักสิบและมีคา มากกวา 500 ดังนั้น เลขโดดในหลักรอยตองเปนจํานวนคู คือ 6 หรือ 8 และเลขโดดใน หลักสิบเปน 3 หรือ 4 เนื่องจากเลขโดดในหลักหนวยเปนสามเทาของเลขโดดในหลักสิบ ถาเลขโดดในหลักสิบเปน 4 แลว 3 × 4 = 12 ซึ่งไมเปนเลขโดด ดังนั้น เลขโดดในหลักสิบตองเปน 3 และเลขโดดในหลักหนวยตองเปน 3 × 3 = 9 นั่นคือ 639 เปนจํานวนที่ตองการ
  • 13. 57 กิจกรรมเสนอแนะ 2.2 ก ถอดรหัส กิจกรรมนี้ตองการใหเห็นการนําความรูคณิตศาสตรไปประยุกตเปนเกมและเชื่อมโยงกับ  ภาษาอังกฤษ สื่ออุปกรณ ใบกิจกรรม “ถอดรหัส” แนวการจัดกิจกรรม 1. ครูนาสนทนาในเรืองการสือสาร สือความหมายของมนุษยทใชภาษาแตกตางกันและการสือสาร ํ ่ ่ ่ ี่ ่ โดยใชส่ออื่น ๆ เชน รหัสมือ รหัสธง เครื่องหมายจราจร ฯลฯ รหัสตาง ๆ ที่ตกลงใชอาจใชเฉพาะกลุม ื หรือใชในระดับสากลที่ผูรับและผูสงจะเขาใจกัน 2. ครูแจกใบกิจกรรม “ถอดรหัส” ใหนกเรียนศึกษาและปฏิบตกจกรรม ใหครูสงเกตดูวา ั ัิิ ั  นักเรียนสามารถถอดรหัสตัวเลขในกิจกรรมขอ 1 ไดหรือไม ถาไมไดใหครูช้แนะี 3. ครูสุมตัวแทนนักเรียนออกมาอธิบายถึงการสรางรหัส A1 และรหัส A3 4. ใหนักเรียนนําเสนอคําตอบของกิจกรรมขอ 3 5. ในการทํากิจกรรมขอ 4 ของนักเรียน ครูอาจใหนกเรียนจับคูกนระหวางนักเรียนที่นั่ง ั ั ขางหนากับขางหลัง และคอยสังเกตวาการสงขอความที่แทนดวยรหัสตัวเลขของนักเรียนนั้นมีการ กําหนด คําไข ไวทใดทีหนึงในกระดาษทีสงรหัส เพือใหเพือนทราบวารหัสตัวเลขนันสรางจากรหัสใด ี่ ่ ่ ่  ่ ่ ้ เชน A7 หรือ 7 หรือไม เพื่อใหเห็นความจําเปนของการนําเสนอขอมูลอยางครบถวน ครูอาจใชคําถาม ชี้นําวาถาไมกําหนด คําไข ไปให เพื่อนจะถอดรหัสไดหรือไม 6. ครูอาจสุมตัวแทนนักเรียนออกมานําเสนอขอความที่ตัวเองสงไปใหเพื่อนและขอความที่ได รับจากเพื่อน
  • 14. 58 ใบกิจกรรม ถอดรหัส ใหนกเรียนทํากิจกรรมตอไปนี้ ั 1. ใหนักเรียนศึกษารหัส A1 และรหัส A3 ขางลางนี้และลองคาดเดาดูวาจะตองถอดขอความ จากตัวเลขเปนตัวอักษรไดอยางไร จึงจะไดขอความของรหัส A1 และรหัส A3 เปนขอความเดียวกัน รหัส A1 A B C D E F G H I J K L M N O P Q R S T U V W X Y Z 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11 12 13 14 15 16 17 18 19 20 21 22 23 24 25 26 รหัสที่สง 25 15 21 1 18 5 22 5 18 25 11 9 14 4 ถอดรหัสลับนี้ไดขอความ …………………………………………………………………………… รหัส A3 A B C D E F G H I J K L M N O P Q R S T U V W X Y Z 3 4 5 6 7 8 9 10 11 12 13 14 15 16 17 18 19 20 21 22 23 24 25 26 1 2 รหัสที่สง 1 17 23 3 20 7 24 7 20 1 13 11 16 6 ถอดรหัสลับนี้ไดขอความ …………………………………………………………………………… 2. รหัส A1 และรหัส A3 มีสวนตางกันอยางไรบาง จงอธิบาย ………………………………………………………………………………………………. ………………………………………………………………………………………………. ………………………………………………………………………………………………. 3. ใหนักเรียนสรางรหัส A5 และเขียนรหัสตัวเลขเพื่อแทนขอความ “I CAN NOT MEET YOU. I HAVE GOT A SORE THROAT.”
  • 15. 59 4. ใหนกเรียนสงรหัสตัวเลขแทนขอความที่ตองการใหเพื่อนในชั้นเรียน 1 คน พรอมรอรับ ั คําตอบดวย ใหจดบันทึกขอความที่สงและที่ไดรับในชองวางขางลางนี้ ขอความที่สง ………………………………………………………………………………. ………………………………………………………………………………………………. ………………………………………………………………………………………………. ขอความที่ไดรับ ……………………………………………………………………………. ………………………………………………………………………………………………. ……………………………………………………………………………………………….
  • 16. 60 คําตอบกิจกรรมเสนอแนะ “ถอดรหัส” 1. YOU ARE VERY KIND 2. รหัส A1 จะกําหนดตัวเลข 1 แทน A และจับคูตัวอักษรกับตัวเลขเปนคู ๆ ตามลําดับจนถึง 26 ซึ่งจับคูกับ Z รหัส A3 จะกําหนดตัวเลข 3 แทน A และจับคูตัวอักษรกับตัวเลขเปนคู ๆ ตามลําดับจนถึง 26 ซึ่งจับคูกับ X แลวกลับมาใช 1 จับคูกับ y และ 2 จับคูกับ z 3. รหัส A5 A B C D E F G H I J K L M N O P Q R S T U V W X Y Z 5 6 7 8 9 10 11 12 13 14 15 16 17 18 19 20 21 22 23 24 25 26 1 2 3 4 เมื่อสงเปนรหัสจะไดขอความดังนี้ 13 7 5 18 18 19 24 17 9 9 24 3 19 25 13 12 5 26 9 11 19 24 5 23 19 22 9 24 12 22 19 5 24
  • 17. 61 กิจกรรมเสนอแนะ 2.2 ข ทายวันเกิด กิจกรรมนี้ตองการใหนักเรียนไดเห็นตัวอยางการนําความรูเกี่ยวกับระบบตัวเลขฐานสองมาใช สรางเกม ไดพัฒนาความรูสึกเชิงจํานวนและความคิดริเริ่มสรางสรรค สื่ออุปกรณ บัตรสําหรับทายวันเกิด 3 บัตร แนวการจัดกิจกรรม 1. ครูสรางบัตรทายวันเกิดโดยกําหนดหมายเลข 1 ถึง 7 แทนวันในหนึ่งสัปดาห โดยให หมายเลข 1 แทนวันอาทิตย 2 แทนวันจันทร 3 แทนวันอังคาร 4 แทนวันพุธ 5 แทนวันพฤหัสบดี 6 แทนวันศุกร 7 แทนวันเสาร เพื่อเปนขอมูลในการทายวันเกิดใหครูเขียนคาประจําหลักของเลขฐานสองหลังบัตรทั้งสาม ไวกอนดังนี้ บัตรที่ 1 เขียน 1 แทนคาประจําหลักที่หนึ่ง บัตรที่ 2 เขียน 2 แทนคาประจําหลักที่สอง บัตรที่ 3 เขียน 4 แทนคาประจําหลักที่สาม 2. ครูบอกขอตกลงและเงื่อนไขในการทายวันเกิดแลวชูบัตรทั้งสามใหนักเรียนสังเกตวาแตละ บัตรจะมีหมายเลขกําหนดไวตางกัน ดังนี้ 1 3 2 3 4 5 5 7 6 7 6 7 บัตรที่ 1 บัตรที่ 2 บัตรที่ 3
  • 18. 62 3. ครูสาธิตการทายวันเกิดนักเรียน 1 คน โดยทํากิจกรรมตามลําดับดังนี้ 1) ครูชูบัตรที่ 1 ถึงบัตรที่ 3 ทีละหนึ่งใบ ใหนักเรียนบอกวามีหมายเลขที่แทนวันเกิด ของนักเรียนอยูในบัตรใดบาง 2) ครูทายวันเกิดของนักเรียน โดยพิจารณาจากผลบวกของจํานวนที่อยูหลังบัตร ตัวอยาง สมมติวานักเรียนเกิดวันพฤหัสบดี ซึ่งตรงกับหมายเลข 5 ขั้นที่ 1 ครูชูบัตรที่ 1 ใหนักเรียนดู นักเรียนตอบวา “มี” ขั้นที่ 2 ครูชูบัตรที่ 2 ใหนักเรียนดู นักเรียนตอบวา “ไมมี” ขั้นที่ 3 ครูชูบัตรที่ 3 ใหนักเรียนดู นักเรียนตอบวา “มี” ครูทายวันเกิดของนักเรียนไดโดยหาผลบวกของคาประจําหลักที่แอบจดบันทึกไวขางหลังบัตร เฉพาะบัตรที่นกเรียนตอบวา “มี” ั จากตัวอยางจะไดเทากับ 1 + 4 = 5 (จากบัตรที่ 1 และบัตรที่ 3) ครูทายไดวานักเรียนคนนั้นเกิดวันพฤหัสบดี 4. ครูควรทายวันเกิดนักเรียนคนอื่นๆ อีก 3 – 4 คน เพื่อดูวามีนักเรียนคนใดสังเกตและคน พบวิธการหาคําตอบไดบาง ถาไมมีใหครูเฉลย ี 5. ครูอาจใหนกเรียนลองทายวันเกิดของเพือนๆ ดูบางหรือครูใชคาถามเพือตรวจสอบความเขาใจ ั ่  ํ ่ ดังนี้ 1) ถานักเรียนทายวันเกิดเพื่อนและเพื่อนตอบวาวันเกิดของเขาอยูในบัตรที่ 1 และบัตรที่ 2 นักเรียนคนนั้นเกิดวันอะไร 2) ถาเพื่อนตอบวามีวันเกิดของเขาอยูในบัตรที่ 3 ใบเดียว เพื่อนคนนี้เกิดวันอะไร 6. ครูแบงกลุมนักเรียนเปนกลุมละ 3 – 4 คน ใหชวยกันศึกษาวิธีการสรางบัตรทายวันเกิด ของครูและนําเสนอหนาชั้นเรียนแลวใหชวยกันสรุปใหไดคําตอบดังตอไปนี้ ตัวเลขฐานสิบ 1 2 3 4 5 6 7 ตัวเลขฐานสอง 01 10 11 100 101 110 111
  • 19. 63 บัตรที่ 1 เขียนตัวเลขฐานสิบที่ตรงกับตัวเลขฐานสองซึ่งมี 1 อยูในหลักที่ 1 ไดแก 01, 11, 101 และ 111 จึงเขียน 1, 3, 5 และ 7 ลงในบัตร บัตรที่ 2 เขียนตัวเลขฐานสิบที่ตรงกับตัวเลขฐานสองซึ่งมี 1 อยูในหลักที่ 2 ไดแก 10, 11, 110 และ 111 จึงเขียน 2, 3, 6 และ 7 ลงในบัตร บัตรที่ 3 เขียนตัวเลขฐานสิบที่ตรงกับตัวเลขฐานสองซึ่งมี 1 อยูในหลักที่ 3 ไดแก 100, 101, 110 และ 111 จึงเขียน 4, 5, 6 และ 7 ลงในบัตร 7. ครูยกตัวอยางเพื่ออธิบายใหนักเรียนทราบวา จากวิธีทําบัตรดังกลาวและคําตอบที่บอกวา จํานวนที่ตองการทายนั้นอยูในบัตรใดบาง จะทําใหเราสามารถหาตัวเลขฐานสองที่แทนจํานวนที่ตองการ ทายนั้นได และเมื่อเปลี่ยนตัวเลขฐานสองนั้นเปนตัวเลขฐานสิบก็จะไดคําตอบที่ตองการ ดังตัวอยาง ถานักเรียนบอกวาวันเกิดของเขาอยูในบัตรที่ 1 และบัตรที่ 3 แสดงวาตัวเลขฐานสองที่จะ เปนคําตอบที่ตองการนั้นมีตัวเลข 1 อยูในหลักที่ 1 และหลักที่ 3 สวนหลักที่สองเปน 0 ในที่นี้จะได ตัวเลขฐานสองเปน 101 และเมื่อเปลี่ยนเปนตัวเลขฐานสิบจะได 101 = 1(22) + (0 × 21) + (1×1) = 4+0+1 = 5 ดังนั้นวันเกิดของนักเรียนคนนี้จึงเปนวันพฤหัสบดี 8. ครูอาจใหนักเรียนชวยกันสรางบัตรทายจํานวน 1 ถึง 15 หรือสรางบัตรทายวันที่เกิด หรือ สรา งบั ต รทายดาราที่นัก เรี ย นชื่น ชอบเปน งานกลุมนอกเวลา และใหนําเสนอผลงานบนปายนิเทศ อาจแนะนําใหไปใชทายเลนกับเพื่อนๆ หรือนองๆ
  • 20. 64 กิจกรรมเสนอแนะ 2.2 ค จํานวนในระบบตัวเลขฐานแปดและฐานสิบสอง กิจกรรมนี้ตองการเสริมความเขาใจเกี่ยวกับการเขียนจํานวนในระบบตัวเลขฐานตาง ๆ 1. จงเขียนจํานวนในระบบตัวเลขฐานแปดเรียงตามลําดับจาก 0แปด ถึง 310แปด 2. จงเขียนจํานวนในระบบตัวเลขฐานสิบสอง เรียงตามลําดับจาก 0สิบสอง ถึง 148สิบสอง 3. การหาคําตอบในขอ 1 และขอ 2 ขางตน นักเรียนมีวิธีหาจํานวนเหลานั้นอยางไรจึงจะสะดวกและ รวดเร็ว คําตอบกิจกรรม “จํานวนในระบบตัวเลขฐานแปดและฐานสิบสอง” 1. เขียนตัวเลขในระบบตัวเลขฐานแปดแทนจํานวน 08 ถึง 3108 เรียงลําดับไดดังนี้ (เขียนตัวเลขแถวละแปดจํานวน) 08 18 28 38 48 58 68 78 108 118 128 138 148 158 168 178 208 218 228 238 248 258 268 278 308 318 328 338 348 358 368 378 408 418 428 438 448 458 468 478 508 518 528 538 548 558 568 578 608 618 628 638 648 658 668 678 708 718 728 738 748 758 768 778 1008 1018 1028 1038 1048 1058 1068 1078 1108 1118 1128 1138 1148 1158 1168 1178
  • 21. 65 1208 1218 1228 1238 1248 1258 1268 1278 1308 1318 1328 1338 1348 1358 136 1378 1408 1418 1428 1438 1448 1458 1468 1478 1508 1518 1528 1538 1548 1558 1568 1578 1608 1618 1628 1638 1648 1658 1668 1678 1708 1718 1728 1738 1748 1758 1768 1778 2008 2018 2028 2038 2048 2058 2068 2078 2108 2118 2128 2138 2148 2158 2168 2178 2208 2218 2228 2238 2248 2258 2268 2278 2308 2318 2328 2338 2348 2358 2368 2378 2408 2418 2428 2438 2448 2458 2468 2478 2508 2518 2528 2538 2548 2558 2568 2578 2608 2618 2628 2638 2648 2658 2668 2678 2708 2718 2728 2738 2748 2758 2768 2778 3008 3018 3028 3038 3048 3058 3068 3078 3108 2. เขียนตัวเลขในระบบตัวเลขฐานสิบสองแทนจํานวน 012 ถึง 14812 เรียงลําดับไดดังนี้ (เขียนตัวเลขแถวละสิบสองจํานวน) 012 112 212 312 412 512 612 712 812 912 A12 B12 1012 1112 1212 1312 1412 1512 1612 1712 1812 1912 1A12 1B12 2012 2112 2212 2312 2412 2512 2612 2712 2812 2912 2A12 2B12 3012 3112 3212 3312 3412 3512 3612 3712 3812 3912 3A12 3B12 4012 4112 4212 4312 4412 4512 4612 4712 4812 4912 4A12 4B12
  • 22. 66 5012 5112 5212 5312 5412 5512 5612 5712 5812 5912 5A12 5B12 6012 6112 6212 6312 6412 6512 6612 6712 6812 6912 6A12 6B12 7112 7112 7212 7312 7412 7512 7612 7712 7812 7912 7A12 7B12 8012 8112 8212 8312 8412 8512 8612 8712 8812 8912 8A12 8B12 9012 9112 9212 9312 9412 9512 9612 9712 9812 9912 9A12 9B12 A012 A112 A212 A312 A412 A512 A612 A712 A812 A912 AA12 AB12 B012 B112 B212 B312 B412 B512 B612 B712 B812 B912 BA12 BB12 10012 10112 10212 10312 10412 10512 10612 10712 10812 10912 10A12 10B12 11012 11112 11212 11312 11412 11512 11612 11712 11812 11912 11A12 11B12 12012 12112 12212 12312 12412 12512 12612 12712 12812 12912 12A12 12B12 13012 13112 13212 13312 13412 13512 13612 13712 13812 13912 13A12 13B12 14012 14112 14212 14312 14412 14512 14612 14712 14812 3. นักเรียนอาจมีวิธีเขียน เชน 1) เขียนจํานวนเหลานั้นโดยอาศัยความคิดรวบยอดในลักษณะเลียนแบบการมัดรวมสิ่งของใน ระบบตัวเลขฐานหาตามหนังสือเรียน 2) เขียนจํานวนนั้นโดยอาศัยแบบรูป ดังตัวอยางคําตอบขางตนที่เขียนตัวเลขแถวละแปด จํานวนและสิบสองจํานวนตามลําดับ