SlideShare una empresa de Scribd logo
1 de 11
Descargar para leer sin conexión
โรคไคลน์เฟลน์เตอร์ ซินโดรม
  ( Klinefelter's Syndrome )
ความผิดปกติทเกิดกับโครโมโซม Y
            ี่
       ความผิดปกติที่เกิดกับโครโมโซม Y โดยมีโครโมโซม Y เกินมาจากปกติ
 โครโมโซมเพศ จึงเป็นแบบ XYY จึงทาให้โครโมโซมในเซลล์ร่างกายเป็น 47
 โครโมโซมเป็นแบบ
      44+XYY
เรียกผู้ป่วยที่เป็นแบบนี้ว่า ซูเปอร์
เมน (Super men) ลักษณะ
ของผู้ป่วยในเพศชายจะมีรูปร่างสูงใหญ่
กว่าปกติ มีอารมณ์ร้าย โมโหง่าย บาง
รายมีจิตใจปกติ และไม่เป็นหมัน ดังรูป




                                            รูปแสดงลักษณะผู้ป่วยกลุ่มซูเปอร์เมน
ข้อควรทราบ
        ความผิดปกติทางพันธุกรรม เป็นสภาวะผิดปกติที่บุคคลนั้นได้รับการถ่ายทอด
 มากับยีนหรือโครโมโซม ความผิดปกติทางพันธุกรรมเหล่านี้มีสาเหตุเกิดมาจากการผ่า
 เหล่า หรือการเปลี่ยนแปลงภายในดีเอ็นเอของคน บางกรณีการผ่าเหล่าเกิดขึ้นขณะที่มี
 การสร้างเซลล์เพศในการแบ่งตัวระยะไมโอซิ ส กรณีอื่นๆ อาจเกิดได้จากการที่พ่อแม่
 ถ่ายทอดเซลล์ซึ่งเกิดการผ่าเหล่าอยู่แล้วในร่าง กายให้กับลูกๆ
กลุ่มอาการ ไคลน์เฟลน์เตอร์ (Klimefelter's syndrome)
          ปกติ แล้วเพศชายจะมีโครโมโซมเป็น XY แต่ผู้ที่มีความผิดปกติเป็นไคลน์เฟลเตอร์
ซินโดรม จะมีโครโมโซม X เกินมา 1 หรือ 2 โครโมโซม จึงมีโครโมโซมเพศเป็น XXY
หรือ XXXY ลักษณะอาการนอกจากอาจจะมีภาวะปัญญาอ่อนแล้วยังมีรูปร่างอ้อนแอ้นตัว
สูงชะลูด มีหน้าอกโต เป็นหมัน และยิ่งถ้ามีจานวนโคมโมโซม X มาก ก็จะยิ่งมีความรุนแรง
เพิ่มขึ้น
          ไคลน์เฟลเตอร์ ซินโดรม เป็น โรคทางพันธุกรรมที่พบได้บ่อยที่สุดโรคหนึ่ง พบได้
ประมาณ 1 ใน 500 ความผิดปกติ ได้แก่ พัฒนาการของลูกอัณฑะการสร้างตัวอสุจิลดลง
สร้างฮอร์โมนเพศชายลดน้อยลง อาการอาจแตกต่างกันได้บ้าง ส่วนใหญ่ที่พบคือ ลูกอัณฑะ
เล็กมาก เป็นหมัน แขนยาวขายาว เต้านมโตผิดปกติ ไม่มีความต้องการทางเพศ และ
สมรรถภาพทางเพศลดน้อยลงมาก
          ปัจจุบัน ยังไม่มีการรักษาเฉพาะ ในอนาคตอาจมีการนาวิธียีนบาบัดมาใช้ได้ ปัจจุบันมี
การให้ฮอร์โมนเทสโทสเตอโรน ซึ่งเป็นฮอร์โมนเพศชายเนื่องจากผู้ป่วยมีการสร้างฮอร์โมนได้
น้อย พบว่าช่วยให้อาการต่างๆ จากการขาดฮอร์โมนนี้ดีขึ้นได้บ้าง สาหรับปัญหาเรื่องเป็น
หมัน หรืออัณฑะไม่สามารถตรวจอสุจิได้นั้น เมื่อเข้าสู่วัยเจริญพันธุ์อาจต้องทาการตรวจเป็น
รายไป เนื่องจากยังมีโอกาสที่ผู้ป่วยบางรายสามารถสร้างอสุจิได้
อาการไคลเฟลน์เตอร์
      กลุ่มอาการไคลน์เฟลเตอร์ (Klinefelter's syndrome) เป็นความ
 ผิดปกติที่เกิดกับผู้ป่วยเพศชาย ลักษณะจะมีรูปร่างสูง หน้าอกโต เป็นหมัน และอาจมี
 ปัญญาอ่อนด้วย พบประมาณ 1.3 คน ต่อผู้ชาย 1000 คน สาเหตุเนืองจากมี       ่
 โครโมโซมผิดปกติคือ โครโมโซมเพศแบบ XXY ทาให้มีจานวนโครโมโซม 47
 โครโมโซม ซึ่งเกินกว่าคนปกติ 1โครโมโซม (ในบางกรณีผู้ป่วยทีเ่ ป็นโรคนี้อาจจะมี
 โครโมโซมถึง 48 โครโมโซมเพราะมีโครโมโซมเพศแบบ XXXY) มีลักษณะดังนี้ เช่น
 พัฒนาการของลูกอัณฑะการสร้างตัวอสุจิลดลง สร้างฮอร์โมนเพศชายลดน้อยลง อาการ
 อาจแตกต่างกันได้บ้าง ส่วนใหญ่ที่พบคือ ลูกอัณฑะเล็กมาก เป็นหมัน แขนยาวขายาว
 เต้านมโตผิดปกติ ไม่มีความต้องการทางเพศ และสมรรถภาพทางเพศลดน้อยลงมาก
 ปัจจุบันยังไม่มการรักษาเฉพาะ ในอนาคตอาจมีการนาวิธียีนบาบัดมาใช้ได้
                ี
ปัจจุบันมีการให้       ฮอร์โมนเทส
โทสเตอโรน             ซึงเป็นฮอร์โมนเพศชาย
                        ่
เนื่องจากผู้ป่วยมีการสร้างฮอร์โมนได้น้อย
พบว่าช่วยให้อาการต่างๆ จากการขาด
ฮอร์โมนนี้ดขึ้นได้บ้าง สาหรับปัญหาเรื่อง
              ี
เป็นหมัน หรืออัณฑะไม่สามารถตรวจอสุจิ
ได้นั้น เมือเข้าสู่วัยเจริญพันธุอาจต้องทา
                ่                 ์
การตรวจเป็นรายไป เนืองจากยังมีโอกาส
                            ่
ที่ผู้ป่วยบางรายสามารถสร้างอสุจิได้


                                              โครโมโซมเพศแบบ XXXY
ลักษณะของกลุ่มอาการไคลน์เฟลเตอร์
2.       โครโมโซม X เกินมาจากปกติ พบได้ทั้งในเพศหญิงและเพศชาย มีดังนี้
     2.1 ในเพศหญิง โครโมโซมเพศ เป็น XXX หรือ XXXX จึงทาให้โครโมโซมใน
     เซลล์ร่างกายเป็น 47 โครโมโซม หรือ 48 โครโมโซม ดังนันโครโมโซมจึงเป็นแบบ
                                                         ้
      44+XXX หรือ 44+XXXX
     เรียกผู้ป่วยทีเ่ ป็นแบบนี้ว่า ซูเปอร์ฟีเมล (Super female) ลักษณะของผู้ป่วย
     ในเพศหญิงทั่วไปดูปกติ สติปัญญาต่ากว่าระดับปกติ ลูกทีเ่ กิดมาจากแม่ที่มีโครโมโซม
     แบบนีอาจมีความผิดปกติเช่นเดียวกับแม่
            ้
2.2 ในเพศชาย โครโมโซมเพศเป็น
XXY หรือ XXXY จึงทาให้มีโครโมโซมใน
เซลล์ร่างกายเป็น 47 โครโมโซม หรือ 48
โครโมโซม ดังนั้นโครโมโซมจึงเป็นแบบ
  44+XXY หรือ 44+XXXY
เรียกผู้ป่วยแบบนี้ว่า กลุ่มอาการไคลน์เฟลเตอร์
(Klinefelter's                syndrome)
ลักษณะของผู้ป่วยในเพศชายมีลกษณะคล้ายเพศ
                               ั
หญิง สะโพกพาย หน้าอกโต จะสูงมากกว่าชาย
ปกติ ลูกอัณฑะเล็ก ไม่มอสุจิ จึงทาให้เป็นหมัน ดัง
                        ี
รูป
                                                   รูปแสดงลักษณะกลุ่มอาการไคลน์เฟลเตอร์
แหล่งอ้างอิง
http://www.maceducation.com/eknowledge/2432209100/02.htm


http://www.clinicrak.com/article/disarticle.php?no=245

http://www.thaigoodview.com/library/contest2551/science03/53/2/heredi
  ty/topic05_04.html
สมาชิกกลุ่ม
               นางสาวเกวลิน บารุงศิลป์ เลขที่ 3
               นางสาวเกศินี แต้มสาระ เลขที่ 23
              นางสาวนันทนา มาสพเหมาะ เลขที่ 8
                นางสาวมัทนา วนพงษ์ เลขที่ 11
               นายพงศธร หวลสวาสดิ์ เลขที่ 14
                 นายรุ่งเรือง แก้วมณี เลขที่ 15
                ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6/1

Más contenido relacionado

La actualidad más candente

Taxonomy(อนุกรมวิทฐาน)
Taxonomy(อนุกรมวิทฐาน)Taxonomy(อนุกรมวิทฐาน)
Taxonomy(อนุกรมวิทฐาน)firstnarak
 
ความหลากหลายทางชีวภาพ
ความหลากหลายทางชีวภาพความหลากหลายทางชีวภาพ
ความหลากหลายทางชีวภาพPinutchaya Nakchumroon
 
พันธุกรรมและความหลากหลาย
พันธุกรรมและความหลากหลายพันธุกรรมและความหลากหลาย
พันธุกรรมและความหลากหลายThanyamon Chat.
 
แบบทดสอบกลางภาคเรียน วิทย์ 5 (ออกตามตัวชี้วัด)
แบบทดสอบกลางภาคเรียน วิทย์ 5 (ออกตามตัวชี้วัด)แบบทดสอบกลางภาคเรียน วิทย์ 5 (ออกตามตัวชี้วัด)
แบบทดสอบกลางภาคเรียน วิทย์ 5 (ออกตามตัวชี้วัด)dnavaroj
 
ไอโซโทป ไอโซโทน
ไอโซโทป ไอโซโทนไอโซโทป ไอโซโทน
ไอโซโทป ไอโซโทนkrupatcharee
 
แบบทดสอบวิวัฒน
แบบทดสอบวิวัฒนแบบทดสอบวิวัฒน
แบบทดสอบวิวัฒนWichai Likitponrak
 
แบบทดสอบก่อนเรียนหน่วยระบบนิเวศ
แบบทดสอบก่อนเรียนหน่วยระบบนิเวศแบบทดสอบก่อนเรียนหน่วยระบบนิเวศ
แบบทดสอบก่อนเรียนหน่วยระบบนิเวศkrupornpana55
 
บทที่ 16 ยีนและโครโมโซม
บทที่  16  ยีนและโครโมโซมบทที่  16  ยีนและโครโมโซม
บทที่ 16 ยีนและโครโมโซมPinutchaya Nakchumroon
 
พันธุกรรมพื้นฐาน
พันธุกรรมพื้นฐานพันธุกรรมพื้นฐาน
พันธุกรรมพื้นฐานWichai Likitponrak
 
ข้อสอบกลางภาค ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2553 ชั้น ม.6
ข้อสอบกลางภาค ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2553 ชั้น ม.6ข้อสอบกลางภาค ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2553 ชั้น ม.6
ข้อสอบกลางภาค ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2553 ชั้น ม.6Nattapong Boonpong
 
พันธุศาสตร์ประชากร
พันธุศาสตร์ประชากรพันธุศาสตร์ประชากร
พันธุศาสตร์ประชากรWan Ngamwongwan
 
บทที่ 1 พันธุกรรมกับหมู่เลือด
บทที่ 1 พันธุกรรมกับหมู่เลือดบทที่ 1 พันธุกรรมกับหมู่เลือด
บทที่ 1 พันธุกรรมกับหมู่เลือดPinutchaya Nakchumroon
 
3พันธุศาสตร์ประชากร
3พันธุศาสตร์ประชากร3พันธุศาสตร์ประชากร
3พันธุศาสตร์ประชากรWan Ngamwongwan
 
ใบงานที่ 13 การแบ่งเซลล์แบบไมโทซิส
ใบงานที่ 13 การแบ่งเซลล์แบบไมโทซิสใบงานที่ 13 การแบ่งเซลล์แบบไมโทซิส
ใบงานที่ 13 การแบ่งเซลล์แบบไมโทซิสAomiko Wipaporn
 
บทที่ 23 มนุษย์กับความยั่งยืนของสิ่งแวดล้อม
บทที่ 23 มนุษย์กับความยั่งยืนของสิ่งแวดล้อมบทที่ 23 มนุษย์กับความยั่งยืนของสิ่งแวดล้อม
บทที่ 23 มนุษย์กับความยั่งยืนของสิ่งแวดล้อมฟลุ๊ค ลำพูน
 
พันธุกรรมเพิ่ม
พันธุกรรมเพิ่มพันธุกรรมเพิ่ม
พันธุกรรมเพิ่มWichai Likitponrak
 
แบบทดสอบ วิทยาศาสตร์ 2 ชั้น ม.1 ชุดที่ 1
แบบทดสอบ วิทยาศาสตร์ 2 ชั้น ม.1 ชุดที่ 1แบบทดสอบ วิทยาศาสตร์ 2 ชั้น ม.1 ชุดที่ 1
แบบทดสอบ วิทยาศาสตร์ 2 ชั้น ม.1 ชุดที่ 1dnavaroj
 
วิทยาศาสตร์พื้นฐาน ม1เทอม2
วิทยาศาสตร์พื้นฐาน ม1เทอม2วิทยาศาสตร์พื้นฐาน ม1เทอม2
วิทยาศาสตร์พื้นฐาน ม1เทอม2dnavaroj
 
พืชใบเลี้ยงเดี่ยวและพืชใบเลี้ยงคู่
พืชใบเลี้ยงเดี่ยวและพืชใบเลี้ยงคู่พืชใบเลี้ยงเดี่ยวและพืชใบเลี้ยงคู่
พืชใบเลี้ยงเดี่ยวและพืชใบเลี้ยงคู่Benjapron Seesukong
 

La actualidad más candente (20)

Taxonomy(อนุกรมวิทฐาน)
Taxonomy(อนุกรมวิทฐาน)Taxonomy(อนุกรมวิทฐาน)
Taxonomy(อนุกรมวิทฐาน)
 
ความหลากหลายทางชีวภาพ
ความหลากหลายทางชีวภาพความหลากหลายทางชีวภาพ
ความหลากหลายทางชีวภาพ
 
เทคโนโลยีชีวภาพ (Biotechnology)
เทคโนโลยีชีวภาพ (Biotechnology)เทคโนโลยีชีวภาพ (Biotechnology)
เทคโนโลยีชีวภาพ (Biotechnology)
 
พันธุกรรมและความหลากหลาย
พันธุกรรมและความหลากหลายพันธุกรรมและความหลากหลาย
พันธุกรรมและความหลากหลาย
 
แบบทดสอบกลางภาคเรียน วิทย์ 5 (ออกตามตัวชี้วัด)
แบบทดสอบกลางภาคเรียน วิทย์ 5 (ออกตามตัวชี้วัด)แบบทดสอบกลางภาคเรียน วิทย์ 5 (ออกตามตัวชี้วัด)
แบบทดสอบกลางภาคเรียน วิทย์ 5 (ออกตามตัวชี้วัด)
 
ไอโซโทป ไอโซโทน
ไอโซโทป ไอโซโทนไอโซโทป ไอโซโทน
ไอโซโทป ไอโซโทน
 
แบบทดสอบวิวัฒน
แบบทดสอบวิวัฒนแบบทดสอบวิวัฒน
แบบทดสอบวิวัฒน
 
แบบทดสอบก่อนเรียนหน่วยระบบนิเวศ
แบบทดสอบก่อนเรียนหน่วยระบบนิเวศแบบทดสอบก่อนเรียนหน่วยระบบนิเวศ
แบบทดสอบก่อนเรียนหน่วยระบบนิเวศ
 
บทที่ 16 ยีนและโครโมโซม
บทที่  16  ยีนและโครโมโซมบทที่  16  ยีนและโครโมโซม
บทที่ 16 ยีนและโครโมโซม
 
พันธุกรรมพื้นฐาน
พันธุกรรมพื้นฐานพันธุกรรมพื้นฐาน
พันธุกรรมพื้นฐาน
 
ข้อสอบกลางภาค ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2553 ชั้น ม.6
ข้อสอบกลางภาค ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2553 ชั้น ม.6ข้อสอบกลางภาค ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2553 ชั้น ม.6
ข้อสอบกลางภาค ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2553 ชั้น ม.6
 
พันธุศาสตร์ประชากร
พันธุศาสตร์ประชากรพันธุศาสตร์ประชากร
พันธุศาสตร์ประชากร
 
บทที่ 1 พันธุกรรมกับหมู่เลือด
บทที่ 1 พันธุกรรมกับหมู่เลือดบทที่ 1 พันธุกรรมกับหมู่เลือด
บทที่ 1 พันธุกรรมกับหมู่เลือด
 
3พันธุศาสตร์ประชากร
3พันธุศาสตร์ประชากร3พันธุศาสตร์ประชากร
3พันธุศาสตร์ประชากร
 
ใบงานที่ 13 การแบ่งเซลล์แบบไมโทซิส
ใบงานที่ 13 การแบ่งเซลล์แบบไมโทซิสใบงานที่ 13 การแบ่งเซลล์แบบไมโทซิส
ใบงานที่ 13 การแบ่งเซลล์แบบไมโทซิส
 
บทที่ 23 มนุษย์กับความยั่งยืนของสิ่งแวดล้อม
บทที่ 23 มนุษย์กับความยั่งยืนของสิ่งแวดล้อมบทที่ 23 มนุษย์กับความยั่งยืนของสิ่งแวดล้อม
บทที่ 23 มนุษย์กับความยั่งยืนของสิ่งแวดล้อม
 
พันธุกรรมเพิ่ม
พันธุกรรมเพิ่มพันธุกรรมเพิ่ม
พันธุกรรมเพิ่ม
 
แบบทดสอบ วิทยาศาสตร์ 2 ชั้น ม.1 ชุดที่ 1
แบบทดสอบ วิทยาศาสตร์ 2 ชั้น ม.1 ชุดที่ 1แบบทดสอบ วิทยาศาสตร์ 2 ชั้น ม.1 ชุดที่ 1
แบบทดสอบ วิทยาศาสตร์ 2 ชั้น ม.1 ชุดที่ 1
 
วิทยาศาสตร์พื้นฐาน ม1เทอม2
วิทยาศาสตร์พื้นฐาน ม1เทอม2วิทยาศาสตร์พื้นฐาน ม1เทอม2
วิทยาศาสตร์พื้นฐาน ม1เทอม2
 
พืชใบเลี้ยงเดี่ยวและพืชใบเลี้ยงคู่
พืชใบเลี้ยงเดี่ยวและพืชใบเลี้ยงคู่พืชใบเลี้ยงเดี่ยวและพืชใบเลี้ยงคู่
พืชใบเลี้ยงเดี่ยวและพืชใบเลี้ยงคู่
 

Destacado

โรคไคลน์เฟลเตอร์ ซินโดรม
โรคไคลน์เฟลเตอร์ ซินโดรมโรคไคลน์เฟลเตอร์ ซินโดรม
โรคไคลน์เฟลเตอร์ ซินโดรมRoongroeng
 
ยีนและโครโมโซม ม.6/2 กลุ่มที่2 โรงเรียนมัธยมวัดใหม่กรงทองในพระราชูปถัมภ์ฯ
ยีนและโครโมโซม ม.6/2 กลุ่มที่2 โรงเรียนมัธยมวัดใหม่กรงทองในพระราชูปถัมภ์ฯยีนและโครโมโซม ม.6/2 กลุ่มที่2 โรงเรียนมัธยมวัดใหม่กรงทองในพระราชูปถัมภ์ฯ
ยีนและโครโมโซม ม.6/2 กลุ่มที่2 โรงเรียนมัธยมวัดใหม่กรงทองในพระราชูปถัมภ์ฯroom62group2
 
พราเดอร์ วิลลี่ ซินโดรม
พราเดอร์ วิลลี่ ซินโดรมพราเดอร์ วิลลี่ ซินโดรม
พราเดอร์ วิลลี่ ซินโดรมpias002
 
บฝ.การกำหนดเพศและยีนที่เกี่ยวเนื่องกับเพศ
บฝ.การกำหนดเพศและยีนที่เกี่ยวเนื่องกับเพศบฝ.การกำหนดเพศและยีนที่เกี่ยวเนื่องกับเพศ
บฝ.การกำหนดเพศและยีนที่เกี่ยวเนื่องกับเพศMaikeed Tawun
 

Destacado (9)

โรคไคลน์เฟลเตอร์ ซินโดรม
โรคไคลน์เฟลเตอร์ ซินโดรมโรคไคลน์เฟลเตอร์ ซินโดรม
โรคไคลน์เฟลเตอร์ ซินโดรม
 
5555555
55555555555555
5555555
 
ยีนและโครโมโซม ม.6/2 กลุ่มที่2 โรงเรียนมัธยมวัดใหม่กรงทองในพระราชูปถัมภ์ฯ
ยีนและโครโมโซม ม.6/2 กลุ่มที่2 โรงเรียนมัธยมวัดใหม่กรงทองในพระราชูปถัมภ์ฯยีนและโครโมโซม ม.6/2 กลุ่มที่2 โรงเรียนมัธยมวัดใหม่กรงทองในพระราชูปถัมภ์ฯ
ยีนและโครโมโซม ม.6/2 กลุ่มที่2 โรงเรียนมัธยมวัดใหม่กรงทองในพระราชูปถัมภ์ฯ
 
โรคทางพันธุกรรม
โรคทางพันธุกรรมโรคทางพันธุกรรม
โรคทางพันธุกรรม
 
พราเดอร์ วิลลี่ ซินโดรม
พราเดอร์ วิลลี่ ซินโดรมพราเดอร์ วิลลี่ ซินโดรม
พราเดอร์ วิลลี่ ซินโดรม
 
Moyamoya Disease
Moyamoya DiseaseMoyamoya Disease
Moyamoya Disease
 
3 gen 2 76
3 gen 2 763 gen 2 76
3 gen 2 76
 
Cancer cycle
Cancer cycle Cancer cycle
Cancer cycle
 
บฝ.การกำหนดเพศและยีนที่เกี่ยวเนื่องกับเพศ
บฝ.การกำหนดเพศและยีนที่เกี่ยวเนื่องกับเพศบฝ.การกำหนดเพศและยีนที่เกี่ยวเนื่องกับเพศ
บฝ.การกำหนดเพศและยีนที่เกี่ยวเนื่องกับเพศ
 

Similar a โรคไคลน์เฟลเตอร์ ซินโดรม

ภัสราภรณ์
ภัสราภรณ์ภัสราภรณ์
ภัสราภรณ์passaraporn
 
โรคทางพันธุกรรม
โรคทางพันธุกรรมโรคทางพันธุกรรม
โรคทางพันธุกรรมqwertyuio00
 
โรคทางพันธุกรรม
โรคทางพันธุกรรมโรคทางพันธุกรรม
โรคทางพันธุกรรมfainaja
 
พันธุกรรม
พันธุกรรมพันธุกรรม
พันธุกรรมkruyaippk
 
โรคทางพันธุกรรม
โรคทางพันธุกรรมโรคทางพันธุกรรม
โรคทางพันธุกรรมRoongroeng
 
ชีทสรุประบบสืบพันธุ์และการเจริญ 2011
ชีทสรุประบบสืบพันธุ์และการเจริญ 2011ชีทสรุประบบสืบพันธุ์และการเจริญ 2011
ชีทสรุประบบสืบพันธุ์และการเจริญ 2011Namthip Theangtrong
 
สรุปความรู้
สรุปความรู้สรุปความรู้
สรุปความรู้Jiraporn
 
สรุปความรู้
สรุปความรู้สรุปความรู้
สรุปความรู้Jiraporn
 
โรคขาดโปรตีน1
โรคขาดโปรตีน1โรคขาดโปรตีน1
โรคขาดโปรตีน1tanyapornrattanapan
 
โรคขาดโปรตีน1
โรคขาดโปรตีน1โรคขาดโปรตีน1
โรคขาดโปรตีน1tanyapornrattanapan
 
ระบบสืบพันธุ์คน
ระบบสืบพันธุ์คนระบบสืบพันธุ์คน
ระบบสืบพันธุ์คนNok Tiwung
 
บทที่-5-การสืบพันธุ์.ppt
บทที่-5-การสืบพันธุ์.pptบทที่-5-การสืบพันธุ์.ppt
บทที่-5-การสืบพันธุ์.pptrathachokharaluya
 
ระบบสืบพันธุ์
ระบบสืบพันธุ์ระบบสืบพันธุ์
ระบบสืบพันธุ์ssuser48f3f3
 

Similar a โรคไคลน์เฟลเตอร์ ซินโดรม (20)

ภัสราภรณ์
ภัสราภรณ์ภัสราภรณ์
ภัสราภรณ์
 
โรคทางพันธุกรรม
โรคทางพันธุกรรมโรคทางพันธุกรรม
โรคทางพันธุกรรม
 
ยีนและโครโมโซม
ยีนและโครโมโซมยีนและโครโมโซม
ยีนและโครโมโซม
 
โรคทางพันธุกรรม
โรคทางพันธุกรรมโรคทางพันธุกรรม
โรคทางพันธุกรรม
 
พันธุกรรม
พันธุกรรมพันธุกรรม
พันธุกรรม
 
โรคทางพันธุกรรม
โรคทางพันธุกรรมโรคทางพันธุกรรม
โรคทางพันธุกรรม
 
ชีทสรุประบบสืบพันธุ์และการเจริญ 2011
ชีทสรุประบบสืบพันธุ์และการเจริญ 2011ชีทสรุประบบสืบพันธุ์และการเจริญ 2011
ชีทสรุประบบสืบพันธุ์และการเจริญ 2011
 
Gene2003
Gene2003Gene2003
Gene2003
 
สรุปความรู้
สรุปความรู้สรุปความรู้
สรุปความรู้
 
สรุปความรู้
สรุปความรู้สรุปความรู้
สรุปความรู้
 
Genetics
GeneticsGenetics
Genetics
 
pantugam
pantugampantugam
pantugam
 
เอ๊ะ
เอ๊ะเอ๊ะ
เอ๊ะ
 
โรคขาดโปรตีน1
โรคขาดโปรตีน1โรคขาดโปรตีน1
โรคขาดโปรตีน1
 
โรคขาดโปรตีน1
โรคขาดโปรตีน1โรคขาดโปรตีน1
โรคขาดโปรตีน1
 
การสืบพันธ์
การสืบพันธ์การสืบพันธ์
การสืบพันธ์
 
ระบบสืบพันธุ์คน
ระบบสืบพันธุ์คนระบบสืบพันธุ์คน
ระบบสืบพันธุ์คน
 
กลุ่ม 1
กลุ่ม 1กลุ่ม 1
กลุ่ม 1
 
บทที่-5-การสืบพันธุ์.ppt
บทที่-5-การสืบพันธุ์.pptบทที่-5-การสืบพันธุ์.ppt
บทที่-5-การสืบพันธุ์.ppt
 
ระบบสืบพันธุ์
ระบบสืบพันธุ์ระบบสืบพันธุ์
ระบบสืบพันธุ์
 

โรคไคลน์เฟลเตอร์ ซินโดรม

  • 2. ความผิดปกติทเกิดกับโครโมโซม Y ี่ ความผิดปกติที่เกิดกับโครโมโซม Y โดยมีโครโมโซม Y เกินมาจากปกติ โครโมโซมเพศ จึงเป็นแบบ XYY จึงทาให้โครโมโซมในเซลล์ร่างกายเป็น 47 โครโมโซมเป็นแบบ 44+XYY
  • 3. เรียกผู้ป่วยที่เป็นแบบนี้ว่า ซูเปอร์ เมน (Super men) ลักษณะ ของผู้ป่วยในเพศชายจะมีรูปร่างสูงใหญ่ กว่าปกติ มีอารมณ์ร้าย โมโหง่าย บาง รายมีจิตใจปกติ และไม่เป็นหมัน ดังรูป รูปแสดงลักษณะผู้ป่วยกลุ่มซูเปอร์เมน
  • 4. ข้อควรทราบ ความผิดปกติทางพันธุกรรม เป็นสภาวะผิดปกติที่บุคคลนั้นได้รับการถ่ายทอด มากับยีนหรือโครโมโซม ความผิดปกติทางพันธุกรรมเหล่านี้มีสาเหตุเกิดมาจากการผ่า เหล่า หรือการเปลี่ยนแปลงภายในดีเอ็นเอของคน บางกรณีการผ่าเหล่าเกิดขึ้นขณะที่มี การสร้างเซลล์เพศในการแบ่งตัวระยะไมโอซิ ส กรณีอื่นๆ อาจเกิดได้จากการที่พ่อแม่ ถ่ายทอดเซลล์ซึ่งเกิดการผ่าเหล่าอยู่แล้วในร่าง กายให้กับลูกๆ
  • 5. กลุ่มอาการ ไคลน์เฟลน์เตอร์ (Klimefelter's syndrome) ปกติ แล้วเพศชายจะมีโครโมโซมเป็น XY แต่ผู้ที่มีความผิดปกติเป็นไคลน์เฟลเตอร์ ซินโดรม จะมีโครโมโซม X เกินมา 1 หรือ 2 โครโมโซม จึงมีโครโมโซมเพศเป็น XXY หรือ XXXY ลักษณะอาการนอกจากอาจจะมีภาวะปัญญาอ่อนแล้วยังมีรูปร่างอ้อนแอ้นตัว สูงชะลูด มีหน้าอกโต เป็นหมัน และยิ่งถ้ามีจานวนโคมโมโซม X มาก ก็จะยิ่งมีความรุนแรง เพิ่มขึ้น ไคลน์เฟลเตอร์ ซินโดรม เป็น โรคทางพันธุกรรมที่พบได้บ่อยที่สุดโรคหนึ่ง พบได้ ประมาณ 1 ใน 500 ความผิดปกติ ได้แก่ พัฒนาการของลูกอัณฑะการสร้างตัวอสุจิลดลง สร้างฮอร์โมนเพศชายลดน้อยลง อาการอาจแตกต่างกันได้บ้าง ส่วนใหญ่ที่พบคือ ลูกอัณฑะ เล็กมาก เป็นหมัน แขนยาวขายาว เต้านมโตผิดปกติ ไม่มีความต้องการทางเพศ และ สมรรถภาพทางเพศลดน้อยลงมาก ปัจจุบัน ยังไม่มีการรักษาเฉพาะ ในอนาคตอาจมีการนาวิธียีนบาบัดมาใช้ได้ ปัจจุบันมี การให้ฮอร์โมนเทสโทสเตอโรน ซึ่งเป็นฮอร์โมนเพศชายเนื่องจากผู้ป่วยมีการสร้างฮอร์โมนได้ น้อย พบว่าช่วยให้อาการต่างๆ จากการขาดฮอร์โมนนี้ดีขึ้นได้บ้าง สาหรับปัญหาเรื่องเป็น หมัน หรืออัณฑะไม่สามารถตรวจอสุจิได้นั้น เมื่อเข้าสู่วัยเจริญพันธุ์อาจต้องทาการตรวจเป็น รายไป เนื่องจากยังมีโอกาสที่ผู้ป่วยบางรายสามารถสร้างอสุจิได้
  • 6. อาการไคลเฟลน์เตอร์ กลุ่มอาการไคลน์เฟลเตอร์ (Klinefelter's syndrome) เป็นความ ผิดปกติที่เกิดกับผู้ป่วยเพศชาย ลักษณะจะมีรูปร่างสูง หน้าอกโต เป็นหมัน และอาจมี ปัญญาอ่อนด้วย พบประมาณ 1.3 คน ต่อผู้ชาย 1000 คน สาเหตุเนืองจากมี ่ โครโมโซมผิดปกติคือ โครโมโซมเพศแบบ XXY ทาให้มีจานวนโครโมโซม 47 โครโมโซม ซึ่งเกินกว่าคนปกติ 1โครโมโซม (ในบางกรณีผู้ป่วยทีเ่ ป็นโรคนี้อาจจะมี โครโมโซมถึง 48 โครโมโซมเพราะมีโครโมโซมเพศแบบ XXXY) มีลักษณะดังนี้ เช่น พัฒนาการของลูกอัณฑะการสร้างตัวอสุจิลดลง สร้างฮอร์โมนเพศชายลดน้อยลง อาการ อาจแตกต่างกันได้บ้าง ส่วนใหญ่ที่พบคือ ลูกอัณฑะเล็กมาก เป็นหมัน แขนยาวขายาว เต้านมโตผิดปกติ ไม่มีความต้องการทางเพศ และสมรรถภาพทางเพศลดน้อยลงมาก ปัจจุบันยังไม่มการรักษาเฉพาะ ในอนาคตอาจมีการนาวิธียีนบาบัดมาใช้ได้ ี
  • 7. ปัจจุบันมีการให้ ฮอร์โมนเทส โทสเตอโรน ซึงเป็นฮอร์โมนเพศชาย ่ เนื่องจากผู้ป่วยมีการสร้างฮอร์โมนได้น้อย พบว่าช่วยให้อาการต่างๆ จากการขาด ฮอร์โมนนี้ดขึ้นได้บ้าง สาหรับปัญหาเรื่อง ี เป็นหมัน หรืออัณฑะไม่สามารถตรวจอสุจิ ได้นั้น เมือเข้าสู่วัยเจริญพันธุอาจต้องทา ่ ์ การตรวจเป็นรายไป เนืองจากยังมีโอกาส ่ ที่ผู้ป่วยบางรายสามารถสร้างอสุจิได้ โครโมโซมเพศแบบ XXXY
  • 8. ลักษณะของกลุ่มอาการไคลน์เฟลเตอร์ 2. โครโมโซม X เกินมาจากปกติ พบได้ทั้งในเพศหญิงและเพศชาย มีดังนี้ 2.1 ในเพศหญิง โครโมโซมเพศ เป็น XXX หรือ XXXX จึงทาให้โครโมโซมใน เซลล์ร่างกายเป็น 47 โครโมโซม หรือ 48 โครโมโซม ดังนันโครโมโซมจึงเป็นแบบ ้ 44+XXX หรือ 44+XXXX เรียกผู้ป่วยทีเ่ ป็นแบบนี้ว่า ซูเปอร์ฟีเมล (Super female) ลักษณะของผู้ป่วย ในเพศหญิงทั่วไปดูปกติ สติปัญญาต่ากว่าระดับปกติ ลูกทีเ่ กิดมาจากแม่ที่มีโครโมโซม แบบนีอาจมีความผิดปกติเช่นเดียวกับแม่ ้
  • 9. 2.2 ในเพศชาย โครโมโซมเพศเป็น XXY หรือ XXXY จึงทาให้มีโครโมโซมใน เซลล์ร่างกายเป็น 47 โครโมโซม หรือ 48 โครโมโซม ดังนั้นโครโมโซมจึงเป็นแบบ 44+XXY หรือ 44+XXXY เรียกผู้ป่วยแบบนี้ว่า กลุ่มอาการไคลน์เฟลเตอร์ (Klinefelter's syndrome) ลักษณะของผู้ป่วยในเพศชายมีลกษณะคล้ายเพศ ั หญิง สะโพกพาย หน้าอกโต จะสูงมากกว่าชาย ปกติ ลูกอัณฑะเล็ก ไม่มอสุจิ จึงทาให้เป็นหมัน ดัง ี รูป รูปแสดงลักษณะกลุ่มอาการไคลน์เฟลเตอร์
  • 11. สมาชิกกลุ่ม นางสาวเกวลิน บารุงศิลป์ เลขที่ 3 นางสาวเกศินี แต้มสาระ เลขที่ 23 นางสาวนันทนา มาสพเหมาะ เลขที่ 8 นางสาวมัทนา วนพงษ์ เลขที่ 11 นายพงศธร หวลสวาสดิ์ เลขที่ 14 นายรุ่งเรือง แก้วมณี เลขที่ 15 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6/1