SlideShare una empresa de Scribd logo
1 de 13
Descargar para leer sin conexión
ธนัช สุขวิมลเสรี (2549) “การขนส่งในเมืองอย่างยั่งยืน” โยธาสาร ปีที่ 18, ฉบับที่ 3 (พฤษภาคม–มิถุนายน 2549)
                              (ISSN 0858-0774)




                                   การขนส่งในเมืองอย่างยังยืน
                                                          ่
                                (Sustainable Urban Transportation)

                                                ธนัช สุขวิมลเสรี

        บทนา

                  ด้วยบทบาทที่สาคัญของการขนส่ง คือ การให้บริการหรือการอานวยความสะดวกในการ
        เคลื่อนย้ายคน หรือสินค้าจากสถานที่หนึ่งไปยังอีกสถานที่หนึ่งอย่างปลอดภัยและมีประสิทธิภาพ
        ดังนั้นการขนส่งจึงมีความสาคัญอย่างยิ่งต่อการพัฒนาประเทศทั้งในด้านสังคมและเศรษฐกิจ ใน
        เมืองส่วนใหญ่ การขนส่งเป็นตัวชี้นาการเจริญเติบโตของเมือง ก่อให้เกิดการใช้ประโยชน์ที่ดินใน
        รูปแบบต่างๆ ทว่าการพัฒนาการขนส่งในเมืองที่ผ่านมาในอดีต เป็นเพียงเพื่อตอบสนองความ
        ต้องการในการเดินทางและการขนส่งเท่านั้น โดยมิได้มีการวางแผนและคานึงถึงผลกระทบอื่นๆ ที่
        จะตามมา บทความนี้จะได้กล่าวถึงสถานการณ์การขนส่งในเมือง รวมถึงแนวทางการพัฒนาการ
        ขนส่งในเมืองอย่างยั่งยืน

        สถานการณ์การขนส่งในเมือง

        รถยนต์กาลังครองโลก
                    การครอบครองรถยนต์กลายเป็นเรื่องปกติไปในบรรดาประเทศที่พัฒนาแล้ว การดารงอยู่
        ของมนุษย์ในปัจจุบัน มีความผูกพันกับรถยนต์มากเสียจนกระทั่งว่าเราไม่สามารถจินตนาการได้
        ถึงชีวิตที่ปราศจากรถได้เลย เสรีภาพที่จะไปไหนก็ได้ในทุกที่และทุกเวลา กลายเป็นสิทธิที่ได้รับการ
        ยอมรับไปเสียแล้ว แผนที่ของเมืองได้แผ่ขยายออกไปมากขึ้น ในขณะที่เราได้รถยนต์มาช่วยย่น
        ระยะทางและเวลา เมืองที่ถูกสร้างขึ้นหลังจากที่มีการประดิษฐ์รถยนต์ขึ้นมา ล้วนแต่ได้รับการ
        ออกแบบเพื่ออานวยความสะดวกแก่รถยนต์และสร้างภาวะพึ่งพารถยนต์ในหมู่ชาวเมือง อย่างเช่น
        เมืองลอสแองเจลิส ในสหรัฐอเมริกา เมืองบราซิลเลีย ในบราซิล หรือเมืองมิลตัน เคนส์ ในอังกฤษ
        เป็นต้น การออกแบบเมืองให้มีความหนาแน่นน้อย เกิดจากการตั้งสมมติฐานว่า ผู้อยู่อาศัยจะมี
        รถยนต์เป็นของตัวเอง การเดินทางกลายเป็นส่วนหนึ่ งของชีวิตประจาวัน และต้องขับรถเป็นระยะ
2

ทางไกลทุกวัน เมืองในลักษณะนี้ ได้รับการออกแบบให้มีถนนที่ไม่จากัดความเร็ว เพื่ออานวยความ
สะดวกให้กับรถยนต์ ถนนมีพื้นที่กว้างขวางมากกว่าบาทวิถีอันจากัดเฉพาะให้คนเดินเสียอีก




Barter                                                Duparc (1972)
         ภาพที่ 1 การขนส่งในอดีต                        ภาพที่ 2 สภาพการจราจรในกรุงเทพมหานคร


ผู้สร้างมลพิษรายใหญ่
           ยนตรกรรมเป็ น ตั ว การท าให้ เ กิ ด มลพิ ษ ขนานใหญ่ ซึ่ ง ส่ ง ผลต่ อ สุ ข ภาพของมนุ ษ ย์
เช่นเดียวกับได้ทาลายต้นไม้และพืชผลต่างๆ นอกจากไนโตรเจนออกไซด์ ไฮโดรคาร์บอน และ
คาร์บอนมอนอกไซด์แล้ว รถยนต์ยังปล่อยก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ออกมาในปริมาณมหาศาลด้วย
น้ามันเชื้อเพลิง 1 ถัง มีส่วนทาให้เกิดก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ระหว่าง 120-180 กิโลกรัม รถตาม
ท้องถนนในทุกวันนี้ ทาให้เกิดก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ถึงร้อยละ 15 ของก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ที่
ถูกปล่อยออกมาทั่วโลก ความเข้มข้นของก๊าซไนโตรเจนออกไซด์ในอากาศมีเพิ่มมากขึ้น และมี
แนวโน้มจะสูงขึ้นต่อไป
           มลภาวะทางอากาศกาลังเลวร้ายลงทั่วโลก ในช่วงคริสต์ทศวรรษ 1980 การขยายตัว
ทางเศรษฐกิจ ทาให้จานวนผู้ครอบครองรถยนต์และการใช้รถยนต์เป็นพาหนะเพิ่มขึ้นอย่างมากใน
ประเทศกาลังพัฒนา ในปี ค.ศ.1992 มีการใช้รถยนต์เป็นพาหนะ 600 ล้านคันทั่วโลก จราจรที่
ติดขัดอย่างหนัก พร้อมกับหมอกควันจากท่อไอเสี ยรถยนต์ กลายเป็นลักษณะร่วมกันของเมือง
ต่างๆ ทั่วโลก
3




               http://www.eta.co.uk/
                                       ภาพที่ 3 มลภาวะที่เกิดจากรถยนต์


การขนส่งทางไกล
          การส่งเสริมการค้าเสรีในยุโรป ทาให้การขนส่งทางไกลระหว่างศูนย์กลางเมืองต่างๆ โดย
รถบรรทุกเพิ่มมากขึ้น เครื่องยนต์ดีเซลของรถบรรทุก เป็นตัวการทาให้เกิดก๊าซไนโตรเจนออกไซด์
และเขม่าควันอันมีส่วนทาให้เกิดมะเร็งในปอด แม้ว่าในปัจจุบันจะมีการออกกฎหมายบังคับให้
รถยนต์คันใหม่หลังปี ค.ศ.1993 ทุกคัน ต้องติดเครื่องกรองอากาศเสีย ทว่าการควบคุมควันไอเสีย
จากเครื่ อ งยนต์ ดี เ ซลก็ ยั ง ท าได้ ไ ม่ ม ากนั ก คณะท างานเฉพาะกิ จ ด้ า นสิ่ ง แวดล้ อ มของ
คณะกรรมาธิการสหภาพยุโรป ได้แถลงว่า การขนส่งถือเป็นปัจจัยสาคัญที่สุดประการหนึ่ง ที่ทาให้
เกิดความเสียหายต่อสิ่งแวดล้อมอย่างมาก แต่ในความเป็นจริง เจ้าของกิจการรถบรรทุกเหล่านี้
จ่ายเพียง 1 ใน 8 ของต้นทุนทางสัง คมและสิ่ง แวดล้อมที่เกิดเนื่องจากการขนส่ง ทางไกลด้วย
รถบรรทุก มลภาวะทางเสียง แรงสั่นสะเทือน อุบัติเหตุ และความต้องการถนนสาหรับวิ่งและที่จอด
รถ ยิ่งไปกว่านั้น ควันไอเสียที่ปล่อยออกมา ล้วนเป็นภาระที่สังคมและสิ่งแวดล้อมต้องแบกรับ
ทั้งสิ้น

ลอสแองเจลิส ถ้าไม่มีรถก็ไปไหนไม่ได้
          ลอสแองเจลิ ส เป็ น เมื อ งที่ มี ก ารขยายตั ว ออกตามเครื อ ข่ า ยรถไฟฟ้ า ภายหลั ง
สงครามโลกครั้งที่ 2 มีการสร้างเครือข่ายถนนสายหลัก ซึ่งมีความยาวรวมกันถึง 21,000 กิโลเมตร
และมีอยู่ 2,000 กิโลเมตร ซึ่งเป็นถนนที่ไม่จากัดความเร็ว สองในสามของการเดินทางที่นั่น เป็น
การเดินทางโดยรถยนต์ส่วนบุคคล คนจานวนน้อยที่อาศัยบริการรถขนส่งมวลชนที่จะต้องทนกับ
4

ความไร้ป ระสิ ทธิ ภ าพและความไม่ ส ะดวกสบาย รถที่วิ่ง ได้ โดยอาศัย น้ามั น ราคาถู กเป็น ตัว ที่
ควบคุมการออกแบบเมือง โดยทาให้เกิดการขยายเมืองออกไปอีกมาก

การเพิ่มขึ้นของต้นทุนพลังงานในเมือง
          การขนส่ ง ทางไกลเพื่ อ ขนส่ ง สิ น ค้ า ที่ จ าเป็ น มาสู่ เ มื อ ง อาจจะกลายเป็ น เรื่ อ งเหนื อ
จินตนาการ หากว่าน้ามันไม่ได้มีราคาถูก ในภาวะขาดแคลนน้ามัน เมืองต่างๆ โดยเฉพาะเมือง
ใหญ่ที่มีความหนาแน่นของประชากรน้อย อาจจะต้องกลายเป็นอัมพาต รถยนต์และการขนส่ง
สาธารณะได้มีอิทธิพลต่อการขยายตัวออกไปของเมือง ซึ่งจะทาให้มีการเดินทางเข้าออกจากแถบ
ชานเมืองเป็นประจา การประหยัดพลังงานจะเกิดขึ้นได้ หากมีการพร้อมใจกันหยุดใช้รถยนต์และ
หันมาใช้บริการขนส่งสาธารณะแทน เชื้อเพลิงเป็นสิ่งที่เผาไหม้และหมดไปในครั้งเดียว ถ้าเราเผา
มันไปในวันนี้ วันพรุ่ งเราจะไม่มี เชื้อเพลิง ใช้ อีก การพึ่งพิงแหล่ง พลังงานที่ใช้ แล้วหมดไปอย่าง
เหนียวแน่น ทาให้เมืองต้องเผชิญกับความเสี่ยงต่อการขาดแคลนพลังงานในอนาคตอย่างยิ่ง

          “ทั่วโลกมี การผลิ ตรถมากกว่า 1 คันในทุกวินาที หลัง จากนอนหลับไปทั้ง คืน พอตื่น
          ขึ้นมา คุณจะพบว่ามีการผลิตรถยนต์ ไว้รอท่าคุณอยู่แล้ว 30,000 คัน ในปี ค.ศ.1989
          สถิติการผลิตรถยนต์ของโลกได้เพิ่มขึ้นสูงสุดที่ 35 ล้านคันต่อปี”
                                                   กรีนพีซ ประเทศอังกฤษ, Mad Car Disease

แนวทางการพัฒนาการขนส่งในเมืองอย่างยั่งยืน

           ตามความเห็นของสหภาพสากลเพื่อการอนุรักษ์ธรรมชาติ “การพัฒนาที่ยั่งยืน จะพัฒนา
คุณภาพชีวิตของมนุษย์ในขอบเขตที่โลกสามารถจะรองรับได้ ” สิ่งนี้เป็นหนึ่งในนิยามที่สาคัญที่สุด
ในการดารงอยู่อย่างยั่งยืน เป็นที่ชัดเจนว่าการใช้ทรัพยากรที่ใช้แล้วหมดไปอย่างเช่น เชื้อเพลิง ใน
ขนานใหญ่ เป็นการทาลายขอบเขตที่ธรรมชาติจะรองรับได้ การพัฒนาการขนส่งในเมืองอย่าง
ยั่งยืน จาเป็นต้องครอบคลุมในสิ่งต่อไปนี้ ได้แก่ ความสามารถในการเข้าถึง (Accessibility) ความ
เสมอภาคทางสังคม (Social Equity) ความยั่งยืนทางนิเวศวิทยา (Ecological Sustainability)
สุขภาพและความปลอดภัย (Health and Safety) การมีส่วนร่วมของประชาชน (Public
Participation) ความประหยัด (Economy) สารสนเทศ (Information) และการสนับสนุน
(Advocacy) โดยจะขอยกตัวอย่างแนวความคิดซึ่งเป็นที่ยอมรับ ดังต่อไปนี้
5

ความยั่งยืนด้านพลังงาน
           เมืองในยุคใหม่สามารถลดความต้องการพลังงานที่ใช้แล้วหมดไปได้ ด้วยการปรับปรุ ง
ประสิทธิภาพในการใช้และการนาระบบพลังงานจากธรรมชาติมาใช้ เพื่อจะทาให้เมืองเกิดความ
ยั่งยืน จาเป็นที่จะต้องพิจารณาเกี่ยวกับระบบการขนส่ง การพึ่งพารถยนต์ส่วนตัวกาลังเพิ่มภาระ
อันหนักหน่วงให้กับสิ่งแวดล้อมในเมืองและธรรมชาติโดยรอบ รถยนต์ได้ให้อิสรภาพแก่คนจานวน
หนึ่ง แต่เป็นการเบียดเบียนคนเป็นจานวนมาก เนื่องจากการเพิ่มขึ้นของอันตรายที่เกิดขึ้นบนท้อง
ถนน และการบริการขนส่งสาธารณะต้องถูกตัดทอนลงไป ดังนั้นจะต้องมีนโยบายด้านการขนส่งที่
ไม่ส่งเสริมให้ใช้รถยนต์เป็นอาจิณ และประสิทธิภาพในการใช้เชื้อเพลิงจะมีมาก ในที่ที่มีการดาเนิน
ระบบขนส่งสาธารณะอย่างมีประสิทธิภาพ

ประสิทธิภาพของเชื้อเพลิงในการขนส่งและความหนาแน่นของเมือง
           ประชาชนจานวน 100 คนที่โดยสารรถประจาทาง ใช้เนื้อที่ถนนเพียง 40 ตารางเมตร
ตรงกันข้ามกับประชาชน 100 คน ในรถยนต์ส่วนบุคคล ซึ่งจะใช้เนื้อที่ประมาณ 2,000 ตารางเมตร
การเปรียบเทียบนี้ชี้ให้เห็นข้อเท็จจริงคือ รถและความต้องการพื้นที่ถนน ได้กลายเป็นตัวกาหนด
รูปร่ างของเมื อ งในยุค ใหม่ แต่ กระนั้น รถก็ ยัง ไม่ ส ามารถแก้ไ ขปัญ หาการเดิน ทางให้ กับคนได้
ในขณะที่ภาวะรถติดได้กลายเป็นส่วนหนึ่งในชีวิตประจาวันไปแล้ว การใช้พลังงานในการขนส่ง
อย่างมีประสิทธิภ าพ เป็นสิ่ งจ าเป็นอย่างยิ่ง ในการลดปัญหามลภาวะในเมือง แลปริมาณการ
บริโภคเชื้ อเพลิ ง ในเมื อ ง เกี่ ยวข้อ งกับลั กษณะการวางผัง เส้นทางการเดินรถ และระยะทางที่
ประชาชนต้องใช้ในการเดินทาง รวมทั้งรูปแบบของการเดินทางที่ใช้ด้วย โดยทั่วไป เมืองต่างๆ ใน
ยุโรปและญี่ปุ่น สามารถประหยัดเชื้อเพลิงในการขนส่งได้มากกว่าเมืองในอเมริกาเหนือ เนื่องจาก
รูปแบบการใช้ประโยชน์ที่ดินอย่างหนาแน่น และระบบการขนส่งสาธารณะที่ดีกว่าในเมืองทั้งสอง
แห่ง ตัวอย่างเช่น ในกรุงโตเกียว มีผู้เดินทางไปทางานด้วยรถยนต์เพียงร้อยละ 15 เมื่อเทียบกับ
ในลอสแองเจลิส ซึ่งมีถึงร้อยละ 90




          GTZ Thailand
           ภาพที่ 4 การเปรียบเทียบการใช้รถยนต์ส่วนบุคคล และการขนส่งสาธารณะ
6




           Bangkok Post
                     ภาพที่ 5 สภาพการจราจรที่แออัดในกรุงเทพมหานคร

การวางผังเมืองให้เกิดความใกล้ชิดกัน
              การยกเลิกการแบ่งโซนในเมือง จะช่วยลดระยะทางของการเดินทางประจาวันในเมืองลง
ได้ เราจะต้องสร้างเมือง “ย่อย” ขึ้นมา ซึ่งจะรวมเอาที่ทางานและบ้านของคนมาไว้ด้วยกันให้มาก
ขึ้น ความคิ ดอีกกระแสหนึ่ง ที่ ควบคู่ กันมากับความคิ ดนี้คือ การสร้างเมื องที่มี ความหนาแน่ น
เพิ่มขึ้น ซึ่งเชื่อว่าจะช่วยลดระยะทางที่คนต้องใช้ในการเดินทางลง เมืองต่างๆ ในทวีปอเมริกาเหนือ
เช่น พอร์ตแลนด์ และโอเรกอน การวางผังเมืองที่ค่อนข้างหนาแน่น ได้พิสูจน์ให้เห็นแล้วว่าจะทาให้
การลงทุนในกิจการขนส่งสาธารณะได้ผลตอบแทนคุ้มค่า ร้อยละ 43 ของประชากรในเมืองนี้ ใช้รถ
ประจาทางและระบบรถไฟขนาดเล็ก เพื่อการเดินทางประจาวัน ซึ่งนับว่ามากกว่าเมืองอื่นๆ ใน
ทวีปเดียวกัน

ถนนน้อย รถก็น้อย
             ทั่วโลกในยุคอุตสาหกรรมนี้ การตอบสนองความต้องการด้านพื้นผิวจราจรที่เพิ่มมากขึ้น
มีวิธีเดียวคือ การสร้างถนนมากขึ้นอย่างไม่จบสิ้น แต่ยิ่งสร้างถนนเพิ่มขึ้นเท่าใด ก็ยิ่งถูกถมจนเต็ม
ด้วยรถเร็วขึ้นเท่านั้น ปริมาณจราจรมี แต่จ ะเพิ่ม มากขึ้น ตราบที่การใช้ รถยนต์ส่วนบุคคลยัง มี
ค่าใช้จ่ายที่ถูกกว่า และยังสะดวกมากกว่า ในรัฐ แคลิฟอร์เนีย ซึ่งมีถนนอยู่ทุกแห่ง การจราจรที่
ติดขัดอย่างชะงักงัน ยังเป็นสิ่ งที่เกิดขึ้นอยู่ทั่วไป เนื่องจากร้อยละ 90 ของประชากรใช้ รถยนต์
ส่วนตัวในการเดินทาง ในลอสแองเจลิส พื้นที่ 2 ใน 3 ของเมืองถูกสร้างเป็นถนนและที่จอดรถ
ดัง นั้นจึ ง ควรมี ม าตรการเพื่อเปลี่ ย นวิ ถีการดารงชี วิ ตให้ลดการพึ่ง พารถยนต์ล ง อาทิเ ช่ น การ
ให้บริการขนส่งสาธารณะที่มีราคาพอสมควร การจัดสิ่งอานวยความสะดวกในที่จอดรถประจาทาง
หรือรถราง รวมทั้งการอานวยความสะดวกแก่ผู้ใช้รถจักรยาน เป็นต้น
7

การควบคุมกระแสจราจร
          การใช้มาตรการควบคุมกระแสจราจรในพื้นที่ชั้นในของเมืองที่มีปริมาณรถยนต์หนาแน่น
จะมีประสิทธิภาพในการช่วยลดปัญหาจราจร ในประเทศเนเธอร์แลนด์ ระบบ “Woonerven” ได้
เปลี่ยนให้ถนนหลายสายสามารถทาหน้าที่เป็นศูนย์กลางทางสังคมแบบดั้งเดิมได้ การทาทางลาด
เนินชะลอความเร็ว การทาถนนให้แคบ หรือการปลูกต้นไม้ ล้วนทาให้เกิ ดการชะลอตัวของกระแส
จราจร และกระตุ้นให้คนใช้รถน้อยลง วัตถุประสงค์ก็เพื่อลดระดับความเร็วของการจราจรให้เหลือ
เพียงเท่ากับคนเดิน เพื่อช่วยให้การข้ามถนนได้อย่างปลอดภัย และสามารถใช้เป็นสนามเด็กเล่นได้
อีกทางหนึ่ง มาตรการดังกล่าวช่วยให้เกิดการพบปะสังสรรค์กันระหว่ างประชาชนที่อยู่ฝั่งตรงข้าม
ถนนมากขึ้น และช่วยทาให้ความรู้สึกของการอยู่ร่วมกันแบบชุมชนกลับคืนมาด้วย ความสาเร็จใน
การทดลองของชาวดั ตช์ และเยอรมั น เกี่ ยวกั บการควบคุม กระแสจราจร เป็นผลให้ มี การน า
ความคิดนี้ไปปรับใช้ในเมืองอื่นๆ ทั่วโลก




                  http://www.cyburbia.org/gallery/
                                     ภาพที่ 6 ระบบ Woonerven


ขึ้นจักรยานดีกว่า
            ปริมาณรถจักรยานมีจานวนมากกว่ารถยนต์ถึงสองเท่า หรือประมาณ 800 ล้านคันทั่ว
โลก จักรยานและรถสามล้อถีบ เป็นรูปแบบการขนส่งที่พบเห็นมากที่สุดตามเมืองหลายแห่งใน
ประเทศกาลังพัฒนา อย่างไรก็ตาม ในเมืองที่มีการใช้รถยนต์เป็นส่วนใหญ่ อาจเป็นเรื่องที่อันตราย
ต่อผู้ใช้รถจักรยาน ผู้บริหารเมืองที่มองการณ์ไกล ได้พยายามจัดให้มีทางสาหรับรถจักรยานมาก
ขึ้น เพื่อลดปริมาณจราจร และการขับขี่รถจักรยานปลอดภัยมากขึ้น ในเมืองที่ตั้งอยู่บนพื้นที่ราบ
เช่น อัมสเตอร์ดัม และอ็อกซฟอร์ด จานวนผู้ใช้รถจักรยานมีเพิ่มมากขึ้น ในเนเธอร์แลนด์ มีผู้ใช้
รถจักรยานเป็นพาหนะ 1 ใน 3 ของการเดินทาง ในเดนมาร์ก เยอรมนี และญี่ปุ่น ได้มีการจัดสร้าง
สิ่ ง อ านวยความสะดวกส าหรั บผู้ เ ดิ น ทางจะสามารถนารถจั กรยานขึ้น ไปจอดในสถานี ข นส่ ง
สาธารณะได้ด้วย
8




                        Whitelegg, J. (1993)
                   ภาพที่ 7 แนวคิดของการใช้รถจักรยาน เพื่อลดการพึ่งพารถยนต์




                         www.transportcanada.org
                        ภาพที่ 8 สถานที่ซึ่งจัดไว้สาหรับจอดรถจักรยานของ
                                 สถานีขนส่งสาธารณะ ในเมืองออตตาวา
                                 ประเทศแคนาดา


เคอร์ริติบา สถานีรถบนดิน
           เมืองเคอร์ริติบา (Curitiba) ประเทศบราซิล เป็นเมืองที่มีความก้าวหน้าในการจัดระบบ
ขนส่งสาธารณะในเมือง โดยมีระบบ “สถานีรถบนดิน“ ที่พิเศษ โดยเป็นระบบเครือข่ายรถประจา
ทางที่รวดเร็วและมีประสิทธิภาพมากเสียจนไม่มีความจาเป็นจะต้องใช้ระบบขนส่งใต้ดิน รัฐได้
ดาเนินการสร้างช่องทางด่วนพิเศษสาหรับรถประจาทาง เพื่อจะได้ไม่ถูกกีดขวางโดยการจราจร
ป้ายรถจะห่างกันประมาณ 400 เมตร เพื่ออานวยความสะดวกแก่ผู้โดยสาร รวมทั้งระบบการเก็บ
เงิน ยังช่วยให้ผู้โดยสารสามารถจ่ายเงินโดยสารล่วงหน้าได้ เป็นการลดระยะเวลาในการขึ้นรถทาง
หนึ่ง ประชาชนส่วนใหญ่ ใช้บริการขนส่งสาธารณะของเมืองเป็นประจาทุกวัน เนื่องจากความ
รวดเร็วและราคาค่าโดยสารที่ถูกกว่าเมืองอื่นๆ ในประเทศ นอกจากนี้ทางเทศบาลยังได้จัดสร้าง
9

ทางรถจักรยานตามพื้นที่ต่างๆ รวมถึงการหามาตรการควบคุมกระแสการจราจรในถนนบางสาย
แม้ ว่าเมื องแห่งนี้จะมีอัตราการครอบครองรถยนต์สูง คือ รถยนต์ 1 คันต่อประชากร 5 คน แต่
ประชาชนที่นี่กลับใช้รถยนต์น้อยกว่าเมืองอื่นๆ ในประเทศ




                   http://www.lightrailnow.org/facts/fa_00013.htm
                 ภาพที่ 9 Bus Rapid Transit System ในเมืองเคอร์ริติบา ประเทศบราซิล


          นครนิวยอร์กได้จับตามองระบบสถานีรถบนดินของกรุงเคอร์ริติบาอย่างใกล้ชิด ทั้งนี้เพื่อ
หวังจะปรับปรุงเส้นทางรถประจาทางของตนเองให้มีประสิทธิภาพมากขึ้น เครือข่ายของรถประจา
ทางที่ให้ความรวดเร็ว จะช่วยให้การเชื่อมโยงระหว่างระบบขนส่งรูปแบบอื่นๆ ในเขตนครหลวงดี
ยิ่งขึ้น


รายงานการขนส่งและสิ่งแวดล้อมปี ค.ศ.2005
         ในขณะที่สหภาพยุโรปกาลังมุ่งหวังที่จะมีนโยบายร่วมในด้านพลังงานของยุโรป แต่ก็ไม่
ละเลยการส่ ง เสริ ม การใช้ พ ลั ง งานอย่ า งมี ป ระสิ ท ธิ ภ าพและนโยบายการขนส่ ง อย่ า งยั่ ง ยื น
โดยเฉพาะอย่างยิ่ง ความเกี่ยวโยงระหว่างนโยบายการขนส่งและการรักษาสิ่งแวดล้อม European
Environment Agency (EEA) ได้จัดทารายงานวิจัยเรื่อง Transport and Environment 2005:
Facing a Dilemma ซึ่งเปิดเผยว่าภาคการขนส่งเป็นเรื่องท้าทายสาหรับสหภาพยุโรป เนื่องจาก
การเติบโตของภาคขนส่งนี้ส่งผลเสียต่อสิ่งแวดล้อมและสุขภาพเพิ่มขึ้น แม้ภาคการขนส่งมีความ
พยายามที่จะเพิ่มประสิทธิภาพการใช้พลังงานอย่างมากตลอดหลายปีที่ผ่านมา แต่ก็ยังประสบ
ปัญหา “การดารงสภาพการสัญจรอย่างคล่องตัวโดยสร้างผลกระทบน้อยที่สุด ” สหภาพยุโรป
รับทราบปัญหาเกี่ยวกับการใช้พลังงานในภาคการขนส่งมาหลายปี และพยายามแก้ปัญหาโดย
การกาหนดนโยบาย แต่ก็มีความคืบหน้าช้ามาก คณะกรรมาธิการสหภาพยุโรปจึงจัดเตรียม
ข้อเสนอให้ภาคการขนส่งบรรจุอยู่ในแผน Emissions Trading Scheme (ETS) และยังระบุให้
10

“การขนส่ ง อย่ า งยั่ ง ยื น ” เป็ น หนึ่ ง ในความส าคั ญ เร่ ง ด่ ว นในยุ ท ธศาสตร์   Sustainable
Development Strategy (SDS) ด้วย
           ข้อสรุปบางประการจากรายงานวิจัย มีดังนี้
           1) ปริมาณการขนส่งสินค้าเติบโตไปในทางเดียวกับ GDP
           2) ปริมาณการขนส่งผู้โดยสารเพิ่มขึ้นตามการเติบโตของเศรษฐกิจ
           3) การปล่อยก๊าซเรือนกระจกกาลังเพิ่มสูงขึ้น
           4) แม้ว่าโดยทั่วไปการขนส่งจะสร้างมลพิษน้อยลง แต่ปริมาณการขนส่งที่มากขึ้น
กลับทาให้คุณภาพอากาศและสุขภาพแย่ลง
           5) แม้ว่ากาลังมีการพัฒนาทางเลือกใหม่และพลังงานที่สะอาดขึ้ น (เช่น Biofuels) แต่
ยังมีปริมาณน้อย
           6) การพัฒนาเทคโนโลยีใหม่สามารถลดการใช้พลังงานและการปล่อยมลพิษ แต่ควรมี
ความพยายามในการลดก๊าซเรือนกระจกเพิ่มมากขึ้นกว่าเดิม
           7) ปริม าณก๊า ซเรือนกระจกที่ปล่ อยออกมาจากภาคการขนส่ง ของยุโรประหว่างปี
1990-2002 เพิ่มขึ้นร้อยละ 22
           8) ไอร์แลนด์มีการปล่อยก๊าซเรือนกระจกจากภาคขนส่ง (ไม่ รวมการบินและการ
เดินเรือ) เพิ่มขึ้นร้อยละ 130 ขณะที่เยอรมันปล่อยก๊าซเรือนกระจกเพิ่มขึ้นเพียงร้อยละ 5
           9) ระดับปริมาณโอโซน (อากาศพิษที่ทาปฏิกิริยากับแสงแดด) ปัจจุบันมากเกินกว่า
ระดับที่คาดการณ์ไว้สาหรับปี ค.ศ.2010
           10) ประมาณการว่าในยุโรปจะมีผู้เสียชีวิตก่อนวัยอันควร อันเนื่องมาจากมลภาวะทาง
อากาศจานวน 370,000 คนต่อปี
           ด้านคณะกรรมาธิการสหภาพยุโรปนั้น กาลังดาเนินการจัดทาแผนปฏิบัติการ (Action
Plan) ของการใช้พลังงานอย่างมีประสิทธิภาพ ในด้านการขนส่งทางรถนั้นมีข้อเสนอ อาทิเช่น การ
ดาเนินมาตรการทางภาษีเพื่อสนับสนุนยานพาหนะที่ใช้พลังงานสะอาด ก า ร ก ร ะ ตุ้ น ใ ห้
ผู้บริหารในประเทศและระดับชาติใช้ยานยนต์ที่ประหยัดพลังงานและลดมลพิษเพื่อสร้างตลาด
ให้แก่ผู้ผลิตยานพาหนะประเภทนี้ การใช้มาตรการห้ามยานพาหนะที่สร้างมลพิษสูงและสิ้นเปลือง
น้ามันเข้าในเขตใจกลางเมือง ตลอดจนนาการรับรองมาตรฐานด้านเทคนิคมาใช้รับรองรถที่สร้าง
มลพิษน้อย

       สาหรับประเทศสมาชิก ได้ให้ความสาคัญแก่การประหยัดพลังงานในภาคการขนส่งว่า
สามารถนาแผนงานออกใช้ในระดับของการปฏิบัติได้อย่างกว้างขวาง เช่น กระตุ้นการใช้การขนส่ง
สาธารณะและการเพิ่มประสิทธิภาพของเชื้อเพลิง เป็นต้น
11

การขนส่งสาธารณะที่ปลอดมลพิษ
          คณะกรรมาธิ การสหภาพยุโรป ได้เผยผลการทดลองซึ่ งใหญ่ที่สุดในโลกในการใช้รถ
ประจาทางขับเคลื่อนด้วยเซลเชื้อเพลิงไฮโดรเจน และประกาศริเริ่มในการใช้พลังงานไฮโดรเจนใน
ที่ประชุม Clean Urban Transport for Europe (CUTE) ที่เมืองฮัมบูร์ก (Hamburg) ประเทศ
เยอรมนี เมื่อวันที่ 11 พฤษภาคม ค.ศ.2006

         ตั้งแต่กลางปี ค.ศ.2003 จนถึงปัจจุบัน รถประจาทาง 27 คันในโครงการ CUTE ได้
ทดลองวิ่งเป็นระยะทางมากกว่า 1 ล้านกิโลเมตรและขนคนมากกว่า 4 ล้านคนโดยไม่ปล่อยไอเสีย
และไม่มีอุบัติเหตุระหว่างการทดลองวิ่ง คณะกรรมาธิการสหภาพยุโรปจึงประกาศริเริ่มการใช้
พลังงานไฮโดรเจนเพื่อการขนส่ง ซึ่งจะประกอบด้วยการใช้ยานพาหนะพลังไฮโดรเจนจานวน 200
คันและการสร้างโครงสร้างพื้นฐานของสถานีเติมเชื้อเพลิง

          รถประจาทางที่ทดลองนั้น ใช้ไฮโดรเจนเป็นเชื้อเพลิงให้แก่เซลเชื้อเพลิงซึ่งเป็นอุปกรณ์
ทางเคมีและไฟฟ้าที่ใช้ออกซิเจนจากอากาศรวมกับไฮโดรเจนเพื่อผลิตไฟฟ้าที่จะขับเคลื่อนมอเตอร์
ไฟฟ้าโดยไม่มีไอเสียเลย ความสาเร็จของโครงการ CUTE ประกอบด้วยการออกแบบ การก่อสร้าง
และดาเนินงานโครงข่ายการผลิตไฮโดรเจนและสถานีเติมเชื้ อเพลิงจานวน 9 แห่ง การผลิตและ
การใช้ไฮโดรเจนจานวนมากกว่า 192 ตัน ซึ่ง 100 ตันนั้นผลิตมาจากแหล่งกาเนิดที่นากลับมาใช้
ใหม่ได้ การเติมเชื้อเพลิงอย่างปลอดภัยเกือบ 9000 ครั้ง และรถประจาทางสามารถพร้อมใช้งานได้
มากกว่าร้อยละ 90

          โครงการอื่นๆ ต่อไป จะอยู่ภายใต้ความคิดริเริ่มที่ชื่อว่า “Hydrogen for Transport” ซึ่ง
จะนายานพาหนะพลังไฮโดรเจนประมาณ 200 คันวิ่งบนท้องถนน ความคิดริเริ่มนี้เป็นการร่วมทุน
ระหว่างภาครัฐและเอกชนมูลค่า 105 ล้านยูโร ซึ่งคณะกรรมาธิการสหภาพยุโรปร่วมลงทุนด้วย 48
ล้านยูโร “Hydrogen for Transport” ประกอบด้วย 3 โครงการคือ HyFLEET: CUTE, ZERO
REGIO และ HyCHAIN: MINITRANS

             HyFLEET: CUTE จะใช้รถประจาทางพลังงานไฮโดรเจนเกือบ 50 คันวิ่งใน 3 ทวีป คือรถ
จานวน 34 คัน จะทดลองวิ่งในเมือง Amsterdam, Beijing (China), Barcelona, London,
Luxemburg, Madrid, Perth (Western Australia) และ Reykjavik (Iceland) ขณะที่อีก 14 คัน
ซึ่งใช้เครื่องยนต์ที่มีการสันดาปภายใน (Internal Combustion Engine, ICE) จะทาการวิ่งใน
Berlin โครงการจะตรวจสอบการพัฒนารถประจาทางรุ่นใหม่ซึ่งมีประสิทธิภาพสูงขึ้นในเทคโนโลยี
ทังสองแบบ
   ้
12


          ZERO REGIO จะมีการทดลองใช้รถยนต์โดยสารที่ใช้เซลเชื้อเพลิงจานวน 8 คัน ทดลอง
วิ่งใน Frankfurt และ Mantova
          HyCHAIN: MINITRANS จะใช้ยานพาหนะขนาดเล็กจานวน 158 คัน (รถมินิแวน รถมินิ
บัส สกู๊ตเตอร์ จั กรยาน และรถเข็นคนพิการ) ในประเทศฝรั่งเศส เยอรมั น สเปน และอิตาลี
ยานพาหนะชนิดต่างๆ เหล่านี้เป็นตัวแทนของรถต่างๆ และเป็นจุดเริ่มต้นของพลังไฮโดรเจนและ
เซลเชื้อเพลิง




                     http://www.fuel-cell-bus-club.com/
                               ภาพที่ 10 Fuel Cell Bus ในเมือง Madrid




                            http://www.zeroregio.com/front_content.php
                                       ภาพที่ 11 ZERO REGIO


เอกสารอ้างอิง

การขนส่งสาธารณะที่ปลอดมลพิษ โดย คณะผู้แทนไทยประจาประชาคมยุโรป.
           http://news.thaieurope.net/content/view/1236/65/.
เฮอร์เบิร์ต จิราเดต์. ทาเมืองให้น่าอยู่: วิสัยทัศน์ ยุทธศาสตร์ และความหวังสาหรับเมืองที่ยั่งยืน.
13

          แปลโดย พิภพ อุดมอิทธิพงศ์. พิมพ์ครั้งที่ 2. กรุงเทพมหานคร: มูลนิธิโกมลคีมทอง,
          2546.
รายงานการขนส่งและสิ่งแวดล้อมปี 2005 โดยคณะผู้แทนไทยประจาประชาคมยุโรป.
          http://news.thaieurope.net/content/view/1076/65/.
Curitiba's "Bus Rapid Transit" – How Applicable to Los Angeles and Other U.S. Cities?
          Report by Darrell Clarke. http://www.lightrailnow.org/facts/fa_00013.htm.
Cyburbia: The Planning Portal. http://www.cyburbia.org/gallery/.
Environmental Transport Association Trust (ETA). http://www.eta.co.uk/.
Fuel Cell Bus Club. http://www.fuel-cell-bus-club.com/.
Tram in Amsterdam. http://mesh.typepad.com/photos/europe_may_2004/img_2149.html.
Whitelegg, J. 1993. Time Pollution. The Ecologist 23 (4): 131-134.
Willkommen bei ZERO REGIO!. http://www.zeroregio.com/front_content.php.

Más contenido relacionado

Similar a 868 file1

World Think Tank Monitors l ตุลาคม 2559
World Think Tank Monitors l ตุลาคม 2559World Think Tank Monitors l ตุลาคม 2559
World Think Tank Monitors l ตุลาคม 2559Klangpanya
 
ระบบ BRT กับสุขภาวะคนเมือง
ระบบ BRT กับสุขภาวะคนเมืองระบบ BRT กับสุขภาวะคนเมือง
ระบบ BRT กับสุขภาวะคนเมืองFURD_RSU
 
การบริหารจัดการเมืองสีเขียวของจีน
การบริหารจัดการเมืองสีเขียวของจีนการบริหารจัดการเมืองสีเขียวของจีน
การบริหารจัดการเมืองสีเขียวของจีนFURD_RSU
 
นโยบายสาธารณะเพื่อการพัฒนาเมืองอย่างเหมาะสมและมีสุขภาวะ
นโยบายสาธารณะเพื่อการพัฒนาเมืองอย่างเหมาะสมและมีสุขภาวะนโยบายสาธารณะเพื่อการพัฒนาเมืองอย่างเหมาะสมและมีสุขภาวะ
นโยบายสาธารณะเพื่อการพัฒนาเมืองอย่างเหมาะสมและมีสุขภาวะFURD_RSU
 
กรอบคิดการพัฒนาเมืองอย่างยั่งยืน
กรอบคิดการพัฒนาเมืองอย่างยั่งยืน  กรอบคิดการพัฒนาเมืองอย่างยั่งยืน
กรอบคิดการพัฒนาเมืองอย่างยั่งยืน FURD_RSU
 
การจัดการการท่องเที่ยวในภูมิภาคอาเซียนและจีน
การจัดการการท่องเที่ยวในภูมิภาคอาเซียนและจีนการจัดการการท่องเที่ยวในภูมิภาคอาเซียนและจีน
การจัดการการท่องเที่ยวในภูมิภาคอาเซียนและจีนDr.Choen Krainara
 
ตัวอย่างแผนธุรกิจการทำBts bus
ตัวอย่างแผนธุรกิจการทำBts busตัวอย่างแผนธุรกิจการทำBts bus
ตัวอย่างแผนธุรกิจการทำBts busNattakorn Sunkdon
 
BusThai Digest
BusThai DigestBusThai Digest
BusThai Digestchampoo13
 
Presentation Bus Thai Digest
Presentation Bus Thai DigestPresentation Bus Thai Digest
Presentation Bus Thai Digestchampoo13
 

Similar a 868 file1 (15)

World Think Tank Monitors l ตุลาคม 2559
World Think Tank Monitors l ตุลาคม 2559World Think Tank Monitors l ตุลาคม 2559
World Think Tank Monitors l ตุลาคม 2559
 
ระบบ BRT กับสุขภาวะคนเมือง
ระบบ BRT กับสุขภาวะคนเมืองระบบ BRT กับสุขภาวะคนเมือง
ระบบ BRT กับสุขภาวะคนเมือง
 
การบริหารจัดการเมืองสีเขียวของจีน
การบริหารจัดการเมืองสีเขียวของจีนการบริหารจัดการเมืองสีเขียวของจีน
การบริหารจัดการเมืองสีเขียวของจีน
 
นโยบายสาธารณะเพื่อการพัฒนาเมืองอย่างเหมาะสมและมีสุขภาวะ
นโยบายสาธารณะเพื่อการพัฒนาเมืองอย่างเหมาะสมและมีสุขภาวะนโยบายสาธารณะเพื่อการพัฒนาเมืองอย่างเหมาะสมและมีสุขภาวะ
นโยบายสาธารณะเพื่อการพัฒนาเมืองอย่างเหมาะสมและมีสุขภาวะ
 
2560 project แฟรงเซฟ
2560 project แฟรงเซฟ2560 project แฟรงเซฟ
2560 project แฟรงเซฟ
 
2560 project แอพพลิเคชัน Smart CHIANGMAI
2560 project แอพพลิเคชัน Smart CHIANGMAI2560 project แอพพลิเคชัน Smart CHIANGMAI
2560 project แอพพลิเคชัน Smart CHIANGMAI
 
2560 project แฟรงเซฟ ใหม่
2560 project แฟรงเซฟ ใหม่2560 project แฟรงเซฟ ใหม่
2560 project แฟรงเซฟ ใหม่
 
2560 project แอพพลิเคชัน Smart CHIANGMAI
2560 project แอพพลิเคชัน Smart CHIANGMAI 2560 project แอพพลิเคชัน Smart CHIANGMAI
2560 project แอพพลิเคชัน Smart CHIANGMAI
 
High speed-train Final concept
High speed-train Final conceptHigh speed-train Final concept
High speed-train Final concept
 
กรอบคิดการพัฒนาเมืองอย่างยั่งยืน
กรอบคิดการพัฒนาเมืองอย่างยั่งยืน  กรอบคิดการพัฒนาเมืองอย่างยั่งยืน
กรอบคิดการพัฒนาเมืองอย่างยั่งยืน
 
การจัดการการท่องเที่ยวในภูมิภาคอาเซียนและจีน
การจัดการการท่องเที่ยวในภูมิภาคอาเซียนและจีนการจัดการการท่องเที่ยวในภูมิภาคอาเซียนและจีน
การจัดการการท่องเที่ยวในภูมิภาคอาเซียนและจีน
 
MOT Roadshow
MOT RoadshowMOT Roadshow
MOT Roadshow
 
ตัวอย่างแผนธุรกิจการทำBts bus
ตัวอย่างแผนธุรกิจการทำBts busตัวอย่างแผนธุรกิจการทำBts bus
ตัวอย่างแผนธุรกิจการทำBts bus
 
BusThai Digest
BusThai DigestBusThai Digest
BusThai Digest
 
Presentation Bus Thai Digest
Presentation Bus Thai DigestPresentation Bus Thai Digest
Presentation Bus Thai Digest
 

868 file1

  • 1. ธนัช สุขวิมลเสรี (2549) “การขนส่งในเมืองอย่างยั่งยืน” โยธาสาร ปีที่ 18, ฉบับที่ 3 (พฤษภาคม–มิถุนายน 2549) (ISSN 0858-0774) การขนส่งในเมืองอย่างยังยืน ่ (Sustainable Urban Transportation) ธนัช สุขวิมลเสรี บทนา ด้วยบทบาทที่สาคัญของการขนส่ง คือ การให้บริการหรือการอานวยความสะดวกในการ เคลื่อนย้ายคน หรือสินค้าจากสถานที่หนึ่งไปยังอีกสถานที่หนึ่งอย่างปลอดภัยและมีประสิทธิภาพ ดังนั้นการขนส่งจึงมีความสาคัญอย่างยิ่งต่อการพัฒนาประเทศทั้งในด้านสังคมและเศรษฐกิจ ใน เมืองส่วนใหญ่ การขนส่งเป็นตัวชี้นาการเจริญเติบโตของเมือง ก่อให้เกิดการใช้ประโยชน์ที่ดินใน รูปแบบต่างๆ ทว่าการพัฒนาการขนส่งในเมืองที่ผ่านมาในอดีต เป็นเพียงเพื่อตอบสนองความ ต้องการในการเดินทางและการขนส่งเท่านั้น โดยมิได้มีการวางแผนและคานึงถึงผลกระทบอื่นๆ ที่ จะตามมา บทความนี้จะได้กล่าวถึงสถานการณ์การขนส่งในเมือง รวมถึงแนวทางการพัฒนาการ ขนส่งในเมืองอย่างยั่งยืน สถานการณ์การขนส่งในเมือง รถยนต์กาลังครองโลก การครอบครองรถยนต์กลายเป็นเรื่องปกติไปในบรรดาประเทศที่พัฒนาแล้ว การดารงอยู่ ของมนุษย์ในปัจจุบัน มีความผูกพันกับรถยนต์มากเสียจนกระทั่งว่าเราไม่สามารถจินตนาการได้ ถึงชีวิตที่ปราศจากรถได้เลย เสรีภาพที่จะไปไหนก็ได้ในทุกที่และทุกเวลา กลายเป็นสิทธิที่ได้รับการ ยอมรับไปเสียแล้ว แผนที่ของเมืองได้แผ่ขยายออกไปมากขึ้น ในขณะที่เราได้รถยนต์มาช่วยย่น ระยะทางและเวลา เมืองที่ถูกสร้างขึ้นหลังจากที่มีการประดิษฐ์รถยนต์ขึ้นมา ล้วนแต่ได้รับการ ออกแบบเพื่ออานวยความสะดวกแก่รถยนต์และสร้างภาวะพึ่งพารถยนต์ในหมู่ชาวเมือง อย่างเช่น เมืองลอสแองเจลิส ในสหรัฐอเมริกา เมืองบราซิลเลีย ในบราซิล หรือเมืองมิลตัน เคนส์ ในอังกฤษ เป็นต้น การออกแบบเมืองให้มีความหนาแน่นน้อย เกิดจากการตั้งสมมติฐานว่า ผู้อยู่อาศัยจะมี รถยนต์เป็นของตัวเอง การเดินทางกลายเป็นส่วนหนึ่ งของชีวิตประจาวัน และต้องขับรถเป็นระยะ
  • 2. 2 ทางไกลทุกวัน เมืองในลักษณะนี้ ได้รับการออกแบบให้มีถนนที่ไม่จากัดความเร็ว เพื่ออานวยความ สะดวกให้กับรถยนต์ ถนนมีพื้นที่กว้างขวางมากกว่าบาทวิถีอันจากัดเฉพาะให้คนเดินเสียอีก Barter Duparc (1972) ภาพที่ 1 การขนส่งในอดีต ภาพที่ 2 สภาพการจราจรในกรุงเทพมหานคร ผู้สร้างมลพิษรายใหญ่ ยนตรกรรมเป็ น ตั ว การท าให้ เ กิ ด มลพิ ษ ขนานใหญ่ ซึ่ ง ส่ ง ผลต่ อ สุ ข ภาพของมนุ ษ ย์ เช่นเดียวกับได้ทาลายต้นไม้และพืชผลต่างๆ นอกจากไนโตรเจนออกไซด์ ไฮโดรคาร์บอน และ คาร์บอนมอนอกไซด์แล้ว รถยนต์ยังปล่อยก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ออกมาในปริมาณมหาศาลด้วย น้ามันเชื้อเพลิง 1 ถัง มีส่วนทาให้เกิดก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ระหว่าง 120-180 กิโลกรัม รถตาม ท้องถนนในทุกวันนี้ ทาให้เกิดก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ถึงร้อยละ 15 ของก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ที่ ถูกปล่อยออกมาทั่วโลก ความเข้มข้นของก๊าซไนโตรเจนออกไซด์ในอากาศมีเพิ่มมากขึ้น และมี แนวโน้มจะสูงขึ้นต่อไป มลภาวะทางอากาศกาลังเลวร้ายลงทั่วโลก ในช่วงคริสต์ทศวรรษ 1980 การขยายตัว ทางเศรษฐกิจ ทาให้จานวนผู้ครอบครองรถยนต์และการใช้รถยนต์เป็นพาหนะเพิ่มขึ้นอย่างมากใน ประเทศกาลังพัฒนา ในปี ค.ศ.1992 มีการใช้รถยนต์เป็นพาหนะ 600 ล้านคันทั่วโลก จราจรที่ ติดขัดอย่างหนัก พร้อมกับหมอกควันจากท่อไอเสี ยรถยนต์ กลายเป็นลักษณะร่วมกันของเมือง ต่างๆ ทั่วโลก
  • 3. 3 http://www.eta.co.uk/ ภาพที่ 3 มลภาวะที่เกิดจากรถยนต์ การขนส่งทางไกล การส่งเสริมการค้าเสรีในยุโรป ทาให้การขนส่งทางไกลระหว่างศูนย์กลางเมืองต่างๆ โดย รถบรรทุกเพิ่มมากขึ้น เครื่องยนต์ดีเซลของรถบรรทุก เป็นตัวการทาให้เกิดก๊าซไนโตรเจนออกไซด์ และเขม่าควันอันมีส่วนทาให้เกิดมะเร็งในปอด แม้ว่าในปัจจุบันจะมีการออกกฎหมายบังคับให้ รถยนต์คันใหม่หลังปี ค.ศ.1993 ทุกคัน ต้องติดเครื่องกรองอากาศเสีย ทว่าการควบคุมควันไอเสีย จากเครื่ อ งยนต์ ดี เ ซลก็ ยั ง ท าได้ ไ ม่ ม ากนั ก คณะท างานเฉพาะกิ จ ด้ า นสิ่ ง แวดล้ อ มของ คณะกรรมาธิการสหภาพยุโรป ได้แถลงว่า การขนส่งถือเป็นปัจจัยสาคัญที่สุดประการหนึ่ง ที่ทาให้ เกิดความเสียหายต่อสิ่งแวดล้อมอย่างมาก แต่ในความเป็นจริง เจ้าของกิจการรถบรรทุกเหล่านี้ จ่ายเพียง 1 ใน 8 ของต้นทุนทางสัง คมและสิ่ง แวดล้อมที่เกิดเนื่องจากการขนส่ง ทางไกลด้วย รถบรรทุก มลภาวะทางเสียง แรงสั่นสะเทือน อุบัติเหตุ และความต้องการถนนสาหรับวิ่งและที่จอด รถ ยิ่งไปกว่านั้น ควันไอเสียที่ปล่อยออกมา ล้วนเป็นภาระที่สังคมและสิ่งแวดล้อมต้องแบกรับ ทั้งสิ้น ลอสแองเจลิส ถ้าไม่มีรถก็ไปไหนไม่ได้ ลอสแองเจลิ ส เป็ น เมื อ งที่ มี ก ารขยายตั ว ออกตามเครื อ ข่ า ยรถไฟฟ้ า ภายหลั ง สงครามโลกครั้งที่ 2 มีการสร้างเครือข่ายถนนสายหลัก ซึ่งมีความยาวรวมกันถึง 21,000 กิโลเมตร และมีอยู่ 2,000 กิโลเมตร ซึ่งเป็นถนนที่ไม่จากัดความเร็ว สองในสามของการเดินทางที่นั่น เป็น การเดินทางโดยรถยนต์ส่วนบุคคล คนจานวนน้อยที่อาศัยบริการรถขนส่งมวลชนที่จะต้องทนกับ
  • 4. 4 ความไร้ป ระสิ ทธิ ภ าพและความไม่ ส ะดวกสบาย รถที่วิ่ง ได้ โดยอาศัย น้ามั น ราคาถู กเป็น ตัว ที่ ควบคุมการออกแบบเมือง โดยทาให้เกิดการขยายเมืองออกไปอีกมาก การเพิ่มขึ้นของต้นทุนพลังงานในเมือง การขนส่ ง ทางไกลเพื่ อ ขนส่ ง สิ น ค้ า ที่ จ าเป็ น มาสู่ เ มื อ ง อาจจะกลายเป็ น เรื่ อ งเหนื อ จินตนาการ หากว่าน้ามันไม่ได้มีราคาถูก ในภาวะขาดแคลนน้ามัน เมืองต่างๆ โดยเฉพาะเมือง ใหญ่ที่มีความหนาแน่นของประชากรน้อย อาจจะต้องกลายเป็นอัมพาต รถยนต์และการขนส่ง สาธารณะได้มีอิทธิพลต่อการขยายตัวออกไปของเมือง ซึ่งจะทาให้มีการเดินทางเข้าออกจากแถบ ชานเมืองเป็นประจา การประหยัดพลังงานจะเกิดขึ้นได้ หากมีการพร้อมใจกันหยุดใช้รถยนต์และ หันมาใช้บริการขนส่งสาธารณะแทน เชื้อเพลิงเป็นสิ่งที่เผาไหม้และหมดไปในครั้งเดียว ถ้าเราเผา มันไปในวันนี้ วันพรุ่ งเราจะไม่มี เชื้อเพลิง ใช้ อีก การพึ่งพิงแหล่ง พลังงานที่ใช้ แล้วหมดไปอย่าง เหนียวแน่น ทาให้เมืองต้องเผชิญกับความเสี่ยงต่อการขาดแคลนพลังงานในอนาคตอย่างยิ่ง “ทั่วโลกมี การผลิ ตรถมากกว่า 1 คันในทุกวินาที หลัง จากนอนหลับไปทั้ง คืน พอตื่น ขึ้นมา คุณจะพบว่ามีการผลิตรถยนต์ ไว้รอท่าคุณอยู่แล้ว 30,000 คัน ในปี ค.ศ.1989 สถิติการผลิตรถยนต์ของโลกได้เพิ่มขึ้นสูงสุดที่ 35 ล้านคันต่อปี” กรีนพีซ ประเทศอังกฤษ, Mad Car Disease แนวทางการพัฒนาการขนส่งในเมืองอย่างยั่งยืน ตามความเห็นของสหภาพสากลเพื่อการอนุรักษ์ธรรมชาติ “การพัฒนาที่ยั่งยืน จะพัฒนา คุณภาพชีวิตของมนุษย์ในขอบเขตที่โลกสามารถจะรองรับได้ ” สิ่งนี้เป็นหนึ่งในนิยามที่สาคัญที่สุด ในการดารงอยู่อย่างยั่งยืน เป็นที่ชัดเจนว่าการใช้ทรัพยากรที่ใช้แล้วหมดไปอย่างเช่น เชื้อเพลิง ใน ขนานใหญ่ เป็นการทาลายขอบเขตที่ธรรมชาติจะรองรับได้ การพัฒนาการขนส่งในเมืองอย่าง ยั่งยืน จาเป็นต้องครอบคลุมในสิ่งต่อไปนี้ ได้แก่ ความสามารถในการเข้าถึง (Accessibility) ความ เสมอภาคทางสังคม (Social Equity) ความยั่งยืนทางนิเวศวิทยา (Ecological Sustainability) สุขภาพและความปลอดภัย (Health and Safety) การมีส่วนร่วมของประชาชน (Public Participation) ความประหยัด (Economy) สารสนเทศ (Information) และการสนับสนุน (Advocacy) โดยจะขอยกตัวอย่างแนวความคิดซึ่งเป็นที่ยอมรับ ดังต่อไปนี้
  • 5. 5 ความยั่งยืนด้านพลังงาน เมืองในยุคใหม่สามารถลดความต้องการพลังงานที่ใช้แล้วหมดไปได้ ด้วยการปรับปรุ ง ประสิทธิภาพในการใช้และการนาระบบพลังงานจากธรรมชาติมาใช้ เพื่อจะทาให้เมืองเกิดความ ยั่งยืน จาเป็นที่จะต้องพิจารณาเกี่ยวกับระบบการขนส่ง การพึ่งพารถยนต์ส่วนตัวกาลังเพิ่มภาระ อันหนักหน่วงให้กับสิ่งแวดล้อมในเมืองและธรรมชาติโดยรอบ รถยนต์ได้ให้อิสรภาพแก่คนจานวน หนึ่ง แต่เป็นการเบียดเบียนคนเป็นจานวนมาก เนื่องจากการเพิ่มขึ้นของอันตรายที่เกิดขึ้นบนท้อง ถนน และการบริการขนส่งสาธารณะต้องถูกตัดทอนลงไป ดังนั้นจะต้องมีนโยบายด้านการขนส่งที่ ไม่ส่งเสริมให้ใช้รถยนต์เป็นอาจิณ และประสิทธิภาพในการใช้เชื้อเพลิงจะมีมาก ในที่ที่มีการดาเนิน ระบบขนส่งสาธารณะอย่างมีประสิทธิภาพ ประสิทธิภาพของเชื้อเพลิงในการขนส่งและความหนาแน่นของเมือง ประชาชนจานวน 100 คนที่โดยสารรถประจาทาง ใช้เนื้อที่ถนนเพียง 40 ตารางเมตร ตรงกันข้ามกับประชาชน 100 คน ในรถยนต์ส่วนบุคคล ซึ่งจะใช้เนื้อที่ประมาณ 2,000 ตารางเมตร การเปรียบเทียบนี้ชี้ให้เห็นข้อเท็จจริงคือ รถและความต้องการพื้นที่ถนน ได้กลายเป็นตัวกาหนด รูปร่ างของเมื อ งในยุค ใหม่ แต่ กระนั้น รถก็ ยัง ไม่ ส ามารถแก้ไ ขปัญ หาการเดิน ทางให้ กับคนได้ ในขณะที่ภาวะรถติดได้กลายเป็นส่วนหนึ่งในชีวิตประจาวันไปแล้ว การใช้พลังงานในการขนส่ง อย่างมีประสิทธิภ าพ เป็นสิ่ งจ าเป็นอย่างยิ่ง ในการลดปัญหามลภาวะในเมือง แลปริมาณการ บริโภคเชื้ อเพลิ ง ในเมื อ ง เกี่ ยวข้อ งกับลั กษณะการวางผัง เส้นทางการเดินรถ และระยะทางที่ ประชาชนต้องใช้ในการเดินทาง รวมทั้งรูปแบบของการเดินทางที่ใช้ด้วย โดยทั่วไป เมืองต่างๆ ใน ยุโรปและญี่ปุ่น สามารถประหยัดเชื้อเพลิงในการขนส่งได้มากกว่าเมืองในอเมริกาเหนือ เนื่องจาก รูปแบบการใช้ประโยชน์ที่ดินอย่างหนาแน่น และระบบการขนส่งสาธารณะที่ดีกว่าในเมืองทั้งสอง แห่ง ตัวอย่างเช่น ในกรุงโตเกียว มีผู้เดินทางไปทางานด้วยรถยนต์เพียงร้อยละ 15 เมื่อเทียบกับ ในลอสแองเจลิส ซึ่งมีถึงร้อยละ 90 GTZ Thailand ภาพที่ 4 การเปรียบเทียบการใช้รถยนต์ส่วนบุคคล และการขนส่งสาธารณะ
  • 6. 6 Bangkok Post ภาพที่ 5 สภาพการจราจรที่แออัดในกรุงเทพมหานคร การวางผังเมืองให้เกิดความใกล้ชิดกัน การยกเลิกการแบ่งโซนในเมือง จะช่วยลดระยะทางของการเดินทางประจาวันในเมืองลง ได้ เราจะต้องสร้างเมือง “ย่อย” ขึ้นมา ซึ่งจะรวมเอาที่ทางานและบ้านของคนมาไว้ด้วยกันให้มาก ขึ้น ความคิ ดอีกกระแสหนึ่ง ที่ ควบคู่ กันมากับความคิ ดนี้คือ การสร้างเมื องที่มี ความหนาแน่ น เพิ่มขึ้น ซึ่งเชื่อว่าจะช่วยลดระยะทางที่คนต้องใช้ในการเดินทางลง เมืองต่างๆ ในทวีปอเมริกาเหนือ เช่น พอร์ตแลนด์ และโอเรกอน การวางผังเมืองที่ค่อนข้างหนาแน่น ได้พิสูจน์ให้เห็นแล้วว่าจะทาให้ การลงทุนในกิจการขนส่งสาธารณะได้ผลตอบแทนคุ้มค่า ร้อยละ 43 ของประชากรในเมืองนี้ ใช้รถ ประจาทางและระบบรถไฟขนาดเล็ก เพื่อการเดินทางประจาวัน ซึ่งนับว่ามากกว่าเมืองอื่นๆ ใน ทวีปเดียวกัน ถนนน้อย รถก็น้อย ทั่วโลกในยุคอุตสาหกรรมนี้ การตอบสนองความต้องการด้านพื้นผิวจราจรที่เพิ่มมากขึ้น มีวิธีเดียวคือ การสร้างถนนมากขึ้นอย่างไม่จบสิ้น แต่ยิ่งสร้างถนนเพิ่มขึ้นเท่าใด ก็ยิ่งถูกถมจนเต็ม ด้วยรถเร็วขึ้นเท่านั้น ปริมาณจราจรมี แต่จ ะเพิ่ม มากขึ้น ตราบที่การใช้ รถยนต์ส่วนบุคคลยัง มี ค่าใช้จ่ายที่ถูกกว่า และยังสะดวกมากกว่า ในรัฐ แคลิฟอร์เนีย ซึ่งมีถนนอยู่ทุกแห่ง การจราจรที่ ติดขัดอย่างชะงักงัน ยังเป็นสิ่ งที่เกิดขึ้นอยู่ทั่วไป เนื่องจากร้อยละ 90 ของประชากรใช้ รถยนต์ ส่วนตัวในการเดินทาง ในลอสแองเจลิส พื้นที่ 2 ใน 3 ของเมืองถูกสร้างเป็นถนนและที่จอดรถ ดัง นั้นจึ ง ควรมี ม าตรการเพื่อเปลี่ ย นวิ ถีการดารงชี วิ ตให้ลดการพึ่ง พารถยนต์ล ง อาทิเ ช่ น การ ให้บริการขนส่งสาธารณะที่มีราคาพอสมควร การจัดสิ่งอานวยความสะดวกในที่จอดรถประจาทาง หรือรถราง รวมทั้งการอานวยความสะดวกแก่ผู้ใช้รถจักรยาน เป็นต้น
  • 7. 7 การควบคุมกระแสจราจร การใช้มาตรการควบคุมกระแสจราจรในพื้นที่ชั้นในของเมืองที่มีปริมาณรถยนต์หนาแน่น จะมีประสิทธิภาพในการช่วยลดปัญหาจราจร ในประเทศเนเธอร์แลนด์ ระบบ “Woonerven” ได้ เปลี่ยนให้ถนนหลายสายสามารถทาหน้าที่เป็นศูนย์กลางทางสังคมแบบดั้งเดิมได้ การทาทางลาด เนินชะลอความเร็ว การทาถนนให้แคบ หรือการปลูกต้นไม้ ล้วนทาให้เกิ ดการชะลอตัวของกระแส จราจร และกระตุ้นให้คนใช้รถน้อยลง วัตถุประสงค์ก็เพื่อลดระดับความเร็วของการจราจรให้เหลือ เพียงเท่ากับคนเดิน เพื่อช่วยให้การข้ามถนนได้อย่างปลอดภัย และสามารถใช้เป็นสนามเด็กเล่นได้ อีกทางหนึ่ง มาตรการดังกล่าวช่วยให้เกิดการพบปะสังสรรค์กันระหว่ างประชาชนที่อยู่ฝั่งตรงข้าม ถนนมากขึ้น และช่วยทาให้ความรู้สึกของการอยู่ร่วมกันแบบชุมชนกลับคืนมาด้วย ความสาเร็จใน การทดลองของชาวดั ตช์ และเยอรมั น เกี่ ยวกั บการควบคุม กระแสจราจร เป็นผลให้ มี การน า ความคิดนี้ไปปรับใช้ในเมืองอื่นๆ ทั่วโลก http://www.cyburbia.org/gallery/ ภาพที่ 6 ระบบ Woonerven ขึ้นจักรยานดีกว่า ปริมาณรถจักรยานมีจานวนมากกว่ารถยนต์ถึงสองเท่า หรือประมาณ 800 ล้านคันทั่ว โลก จักรยานและรถสามล้อถีบ เป็นรูปแบบการขนส่งที่พบเห็นมากที่สุดตามเมืองหลายแห่งใน ประเทศกาลังพัฒนา อย่างไรก็ตาม ในเมืองที่มีการใช้รถยนต์เป็นส่วนใหญ่ อาจเป็นเรื่องที่อันตราย ต่อผู้ใช้รถจักรยาน ผู้บริหารเมืองที่มองการณ์ไกล ได้พยายามจัดให้มีทางสาหรับรถจักรยานมาก ขึ้น เพื่อลดปริมาณจราจร และการขับขี่รถจักรยานปลอดภัยมากขึ้น ในเมืองที่ตั้งอยู่บนพื้นที่ราบ เช่น อัมสเตอร์ดัม และอ็อกซฟอร์ด จานวนผู้ใช้รถจักรยานมีเพิ่มมากขึ้น ในเนเธอร์แลนด์ มีผู้ใช้ รถจักรยานเป็นพาหนะ 1 ใน 3 ของการเดินทาง ในเดนมาร์ก เยอรมนี และญี่ปุ่น ได้มีการจัดสร้าง สิ่ ง อ านวยความสะดวกส าหรั บผู้ เ ดิ น ทางจะสามารถนารถจั กรยานขึ้น ไปจอดในสถานี ข นส่ ง สาธารณะได้ด้วย
  • 8. 8 Whitelegg, J. (1993) ภาพที่ 7 แนวคิดของการใช้รถจักรยาน เพื่อลดการพึ่งพารถยนต์ www.transportcanada.org ภาพที่ 8 สถานที่ซึ่งจัดไว้สาหรับจอดรถจักรยานของ สถานีขนส่งสาธารณะ ในเมืองออตตาวา ประเทศแคนาดา เคอร์ริติบา สถานีรถบนดิน เมืองเคอร์ริติบา (Curitiba) ประเทศบราซิล เป็นเมืองที่มีความก้าวหน้าในการจัดระบบ ขนส่งสาธารณะในเมือง โดยมีระบบ “สถานีรถบนดิน“ ที่พิเศษ โดยเป็นระบบเครือข่ายรถประจา ทางที่รวดเร็วและมีประสิทธิภาพมากเสียจนไม่มีความจาเป็นจะต้องใช้ระบบขนส่งใต้ดิน รัฐได้ ดาเนินการสร้างช่องทางด่วนพิเศษสาหรับรถประจาทาง เพื่อจะได้ไม่ถูกกีดขวางโดยการจราจร ป้ายรถจะห่างกันประมาณ 400 เมตร เพื่ออานวยความสะดวกแก่ผู้โดยสาร รวมทั้งระบบการเก็บ เงิน ยังช่วยให้ผู้โดยสารสามารถจ่ายเงินโดยสารล่วงหน้าได้ เป็นการลดระยะเวลาในการขึ้นรถทาง หนึ่ง ประชาชนส่วนใหญ่ ใช้บริการขนส่งสาธารณะของเมืองเป็นประจาทุกวัน เนื่องจากความ รวดเร็วและราคาค่าโดยสารที่ถูกกว่าเมืองอื่นๆ ในประเทศ นอกจากนี้ทางเทศบาลยังได้จัดสร้าง
  • 9. 9 ทางรถจักรยานตามพื้นที่ต่างๆ รวมถึงการหามาตรการควบคุมกระแสการจราจรในถนนบางสาย แม้ ว่าเมื องแห่งนี้จะมีอัตราการครอบครองรถยนต์สูง คือ รถยนต์ 1 คันต่อประชากร 5 คน แต่ ประชาชนที่นี่กลับใช้รถยนต์น้อยกว่าเมืองอื่นๆ ในประเทศ http://www.lightrailnow.org/facts/fa_00013.htm ภาพที่ 9 Bus Rapid Transit System ในเมืองเคอร์ริติบา ประเทศบราซิล นครนิวยอร์กได้จับตามองระบบสถานีรถบนดินของกรุงเคอร์ริติบาอย่างใกล้ชิด ทั้งนี้เพื่อ หวังจะปรับปรุงเส้นทางรถประจาทางของตนเองให้มีประสิทธิภาพมากขึ้น เครือข่ายของรถประจา ทางที่ให้ความรวดเร็ว จะช่วยให้การเชื่อมโยงระหว่างระบบขนส่งรูปแบบอื่นๆ ในเขตนครหลวงดี ยิ่งขึ้น รายงานการขนส่งและสิ่งแวดล้อมปี ค.ศ.2005 ในขณะที่สหภาพยุโรปกาลังมุ่งหวังที่จะมีนโยบายร่วมในด้านพลังงานของยุโรป แต่ก็ไม่ ละเลยการส่ ง เสริ ม การใช้ พ ลั ง งานอย่ า งมี ป ระสิ ท ธิ ภ าพและนโยบายการขนส่ ง อย่ า งยั่ ง ยื น โดยเฉพาะอย่างยิ่ง ความเกี่ยวโยงระหว่างนโยบายการขนส่งและการรักษาสิ่งแวดล้อม European Environment Agency (EEA) ได้จัดทารายงานวิจัยเรื่อง Transport and Environment 2005: Facing a Dilemma ซึ่งเปิดเผยว่าภาคการขนส่งเป็นเรื่องท้าทายสาหรับสหภาพยุโรป เนื่องจาก การเติบโตของภาคขนส่งนี้ส่งผลเสียต่อสิ่งแวดล้อมและสุขภาพเพิ่มขึ้น แม้ภาคการขนส่งมีความ พยายามที่จะเพิ่มประสิทธิภาพการใช้พลังงานอย่างมากตลอดหลายปีที่ผ่านมา แต่ก็ยังประสบ ปัญหา “การดารงสภาพการสัญจรอย่างคล่องตัวโดยสร้างผลกระทบน้อยที่สุด ” สหภาพยุโรป รับทราบปัญหาเกี่ยวกับการใช้พลังงานในภาคการขนส่งมาหลายปี และพยายามแก้ปัญหาโดย การกาหนดนโยบาย แต่ก็มีความคืบหน้าช้ามาก คณะกรรมาธิการสหภาพยุโรปจึงจัดเตรียม ข้อเสนอให้ภาคการขนส่งบรรจุอยู่ในแผน Emissions Trading Scheme (ETS) และยังระบุให้
  • 10. 10 “การขนส่ ง อย่ า งยั่ ง ยื น ” เป็ น หนึ่ ง ในความส าคั ญ เร่ ง ด่ ว นในยุ ท ธศาสตร์ Sustainable Development Strategy (SDS) ด้วย ข้อสรุปบางประการจากรายงานวิจัย มีดังนี้ 1) ปริมาณการขนส่งสินค้าเติบโตไปในทางเดียวกับ GDP 2) ปริมาณการขนส่งผู้โดยสารเพิ่มขึ้นตามการเติบโตของเศรษฐกิจ 3) การปล่อยก๊าซเรือนกระจกกาลังเพิ่มสูงขึ้น 4) แม้ว่าโดยทั่วไปการขนส่งจะสร้างมลพิษน้อยลง แต่ปริมาณการขนส่งที่มากขึ้น กลับทาให้คุณภาพอากาศและสุขภาพแย่ลง 5) แม้ว่ากาลังมีการพัฒนาทางเลือกใหม่และพลังงานที่สะอาดขึ้ น (เช่น Biofuels) แต่ ยังมีปริมาณน้อย 6) การพัฒนาเทคโนโลยีใหม่สามารถลดการใช้พลังงานและการปล่อยมลพิษ แต่ควรมี ความพยายามในการลดก๊าซเรือนกระจกเพิ่มมากขึ้นกว่าเดิม 7) ปริม าณก๊า ซเรือนกระจกที่ปล่ อยออกมาจากภาคการขนส่ง ของยุโรประหว่างปี 1990-2002 เพิ่มขึ้นร้อยละ 22 8) ไอร์แลนด์มีการปล่อยก๊าซเรือนกระจกจากภาคขนส่ง (ไม่ รวมการบินและการ เดินเรือ) เพิ่มขึ้นร้อยละ 130 ขณะที่เยอรมันปล่อยก๊าซเรือนกระจกเพิ่มขึ้นเพียงร้อยละ 5 9) ระดับปริมาณโอโซน (อากาศพิษที่ทาปฏิกิริยากับแสงแดด) ปัจจุบันมากเกินกว่า ระดับที่คาดการณ์ไว้สาหรับปี ค.ศ.2010 10) ประมาณการว่าในยุโรปจะมีผู้เสียชีวิตก่อนวัยอันควร อันเนื่องมาจากมลภาวะทาง อากาศจานวน 370,000 คนต่อปี ด้านคณะกรรมาธิการสหภาพยุโรปนั้น กาลังดาเนินการจัดทาแผนปฏิบัติการ (Action Plan) ของการใช้พลังงานอย่างมีประสิทธิภาพ ในด้านการขนส่งทางรถนั้นมีข้อเสนอ อาทิเช่น การ ดาเนินมาตรการทางภาษีเพื่อสนับสนุนยานพาหนะที่ใช้พลังงานสะอาด ก า ร ก ร ะ ตุ้ น ใ ห้ ผู้บริหารในประเทศและระดับชาติใช้ยานยนต์ที่ประหยัดพลังงานและลดมลพิษเพื่อสร้างตลาด ให้แก่ผู้ผลิตยานพาหนะประเภทนี้ การใช้มาตรการห้ามยานพาหนะที่สร้างมลพิษสูงและสิ้นเปลือง น้ามันเข้าในเขตใจกลางเมือง ตลอดจนนาการรับรองมาตรฐานด้านเทคนิคมาใช้รับรองรถที่สร้าง มลพิษน้อย สาหรับประเทศสมาชิก ได้ให้ความสาคัญแก่การประหยัดพลังงานในภาคการขนส่งว่า สามารถนาแผนงานออกใช้ในระดับของการปฏิบัติได้อย่างกว้างขวาง เช่น กระตุ้นการใช้การขนส่ง สาธารณะและการเพิ่มประสิทธิภาพของเชื้อเพลิง เป็นต้น
  • 11. 11 การขนส่งสาธารณะที่ปลอดมลพิษ คณะกรรมาธิ การสหภาพยุโรป ได้เผยผลการทดลองซึ่ งใหญ่ที่สุดในโลกในการใช้รถ ประจาทางขับเคลื่อนด้วยเซลเชื้อเพลิงไฮโดรเจน และประกาศริเริ่มในการใช้พลังงานไฮโดรเจนใน ที่ประชุม Clean Urban Transport for Europe (CUTE) ที่เมืองฮัมบูร์ก (Hamburg) ประเทศ เยอรมนี เมื่อวันที่ 11 พฤษภาคม ค.ศ.2006 ตั้งแต่กลางปี ค.ศ.2003 จนถึงปัจจุบัน รถประจาทาง 27 คันในโครงการ CUTE ได้ ทดลองวิ่งเป็นระยะทางมากกว่า 1 ล้านกิโลเมตรและขนคนมากกว่า 4 ล้านคนโดยไม่ปล่อยไอเสีย และไม่มีอุบัติเหตุระหว่างการทดลองวิ่ง คณะกรรมาธิการสหภาพยุโรปจึงประกาศริเริ่มการใช้ พลังงานไฮโดรเจนเพื่อการขนส่ง ซึ่งจะประกอบด้วยการใช้ยานพาหนะพลังไฮโดรเจนจานวน 200 คันและการสร้างโครงสร้างพื้นฐานของสถานีเติมเชื้อเพลิง รถประจาทางที่ทดลองนั้น ใช้ไฮโดรเจนเป็นเชื้อเพลิงให้แก่เซลเชื้อเพลิงซึ่งเป็นอุปกรณ์ ทางเคมีและไฟฟ้าที่ใช้ออกซิเจนจากอากาศรวมกับไฮโดรเจนเพื่อผลิตไฟฟ้าที่จะขับเคลื่อนมอเตอร์ ไฟฟ้าโดยไม่มีไอเสียเลย ความสาเร็จของโครงการ CUTE ประกอบด้วยการออกแบบ การก่อสร้าง และดาเนินงานโครงข่ายการผลิตไฮโดรเจนและสถานีเติมเชื้ อเพลิงจานวน 9 แห่ง การผลิตและ การใช้ไฮโดรเจนจานวนมากกว่า 192 ตัน ซึ่ง 100 ตันนั้นผลิตมาจากแหล่งกาเนิดที่นากลับมาใช้ ใหม่ได้ การเติมเชื้อเพลิงอย่างปลอดภัยเกือบ 9000 ครั้ง และรถประจาทางสามารถพร้อมใช้งานได้ มากกว่าร้อยละ 90 โครงการอื่นๆ ต่อไป จะอยู่ภายใต้ความคิดริเริ่มที่ชื่อว่า “Hydrogen for Transport” ซึ่ง จะนายานพาหนะพลังไฮโดรเจนประมาณ 200 คันวิ่งบนท้องถนน ความคิดริเริ่มนี้เป็นการร่วมทุน ระหว่างภาครัฐและเอกชนมูลค่า 105 ล้านยูโร ซึ่งคณะกรรมาธิการสหภาพยุโรปร่วมลงทุนด้วย 48 ล้านยูโร “Hydrogen for Transport” ประกอบด้วย 3 โครงการคือ HyFLEET: CUTE, ZERO REGIO และ HyCHAIN: MINITRANS HyFLEET: CUTE จะใช้รถประจาทางพลังงานไฮโดรเจนเกือบ 50 คันวิ่งใน 3 ทวีป คือรถ จานวน 34 คัน จะทดลองวิ่งในเมือง Amsterdam, Beijing (China), Barcelona, London, Luxemburg, Madrid, Perth (Western Australia) และ Reykjavik (Iceland) ขณะที่อีก 14 คัน ซึ่งใช้เครื่องยนต์ที่มีการสันดาปภายใน (Internal Combustion Engine, ICE) จะทาการวิ่งใน Berlin โครงการจะตรวจสอบการพัฒนารถประจาทางรุ่นใหม่ซึ่งมีประสิทธิภาพสูงขึ้นในเทคโนโลยี ทังสองแบบ ้
  • 12. 12 ZERO REGIO จะมีการทดลองใช้รถยนต์โดยสารที่ใช้เซลเชื้อเพลิงจานวน 8 คัน ทดลอง วิ่งใน Frankfurt และ Mantova HyCHAIN: MINITRANS จะใช้ยานพาหนะขนาดเล็กจานวน 158 คัน (รถมินิแวน รถมินิ บัส สกู๊ตเตอร์ จั กรยาน และรถเข็นคนพิการ) ในประเทศฝรั่งเศส เยอรมั น สเปน และอิตาลี ยานพาหนะชนิดต่างๆ เหล่านี้เป็นตัวแทนของรถต่างๆ และเป็นจุดเริ่มต้นของพลังไฮโดรเจนและ เซลเชื้อเพลิง http://www.fuel-cell-bus-club.com/ ภาพที่ 10 Fuel Cell Bus ในเมือง Madrid http://www.zeroregio.com/front_content.php ภาพที่ 11 ZERO REGIO เอกสารอ้างอิง การขนส่งสาธารณะที่ปลอดมลพิษ โดย คณะผู้แทนไทยประจาประชาคมยุโรป. http://news.thaieurope.net/content/view/1236/65/. เฮอร์เบิร์ต จิราเดต์. ทาเมืองให้น่าอยู่: วิสัยทัศน์ ยุทธศาสตร์ และความหวังสาหรับเมืองที่ยั่งยืน.
  • 13. 13 แปลโดย พิภพ อุดมอิทธิพงศ์. พิมพ์ครั้งที่ 2. กรุงเทพมหานคร: มูลนิธิโกมลคีมทอง, 2546. รายงานการขนส่งและสิ่งแวดล้อมปี 2005 โดยคณะผู้แทนไทยประจาประชาคมยุโรป. http://news.thaieurope.net/content/view/1076/65/. Curitiba's "Bus Rapid Transit" – How Applicable to Los Angeles and Other U.S. Cities? Report by Darrell Clarke. http://www.lightrailnow.org/facts/fa_00013.htm. Cyburbia: The Planning Portal. http://www.cyburbia.org/gallery/. Environmental Transport Association Trust (ETA). http://www.eta.co.uk/. Fuel Cell Bus Club. http://www.fuel-cell-bus-club.com/. Tram in Amsterdam. http://mesh.typepad.com/photos/europe_may_2004/img_2149.html. Whitelegg, J. 1993. Time Pollution. The Ecologist 23 (4): 131-134. Willkommen bei ZERO REGIO!. http://www.zeroregio.com/front_content.php.