SlideShare a Scribd company logo
1 of 67
Download to read offline
รายงาน
         เรื่อง วัฒนธรรม 10 ประเทศในอาเซียน

      วิชา Is2 การสื่ อสารและการนาเสนอ (ว20292)
                       จัดทาโดย

              1.เด็กชาย เกิดพงศ์ เกิดมงคล

               2.เด็กชาย ณัฐพล บ่อพลอย

              3.เด็กชาย ธนวัฒน์ พรหมมา

                4.เด็กชาย พงษ์พชร์ สาระ
                               ั

              5.เด็กชาย วรวินท์ จินดารัตน์

            6.เด็กหญิง อรพรรณ ใหมละเอียด

                 ชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 2/4

                          เสนอ

                นาย ทรงศักดิ์ โพธิ์เอี่ยม

โรงเรี ยนเฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระศรี นคริ นทร์ กาญจนบุรี

      สานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 8
ข
                                                  คานา
        รายงานาทางวิชานี้มีชื่อเรื่ องว่า วัฒนธรรม 10 ประเทศในอาเซียน เป็ นส่ วนหนึ่ งของวิชา Is2 การ
สื่ อสารและการนาเสนอ (ว20292) จัดทาขึ้นเพื่อเป็ นความรู ้รอบตัวในด้านต่างๆ และจะมีประโยชน์มากในปี
2558 อาเซี ยน ซึ่ งจะได้ศึกษาอยูในรายงานทางวิชาการเล่มนี้ ซึ่ งจะแบ่งเป็ น 5 บทแต่ละบทก็ได้รู้เกี่ยวกับ
                                ่
                                                     ่
ประวัติอาเซี ยน ดอกไม้ประจาชาติ ชุดประจาชาติ สถานที่ทองเที่ยว และบทสรุ ป

        รายงานทางวิชาการเล่มนี้หวังว่าจะเป็ นประโยชน์ต่อคณะผูจดทาในกลุ่ม และสมาชิกในห้อง และผู้
                                                             ้ั
ที่สนใจศึกษาหาความรู ้ในด้านนี้ และที่สาคัญอย่างยิงคณะผูจดทากลุ่มนี้ก็หวังว่าจะประสบความสาเร็ จใน
                                                  ่     ้ั
การทารายงาน ได้คะแนนไนระดับดี และถ้าหากในรายงานทางวิชาการเล่มนี้มีขอผิดพลาดหรื อทาไม่ถูกต้อง
                                                                   ้
ก็ยนดีที่จะแก้ไขปรับปรุ งและยินดีขอคาปรึ กษา ครับ/ค่ะ
   ิ




                                                                  คณะผู้จัดทา

                                                         1.เด็กชาย เกิดพงศ์ เกิดมงคล เลขที่ 1

                                                        2.เด็กชาย ณัฐพล บ่อพลอย เลขที่ 4

                                                        3.เด็กชาย ธนวัฒน์ พรหมมา เลขที่ 5

                                                        4.เด็กชาย พงษ์พชร์ สาระ เลขที่ 9
                                                                       ั

                                                        5.เด็กชาย วรวินท์ จินดารัตน์ เลขที่ 11

                                                        6.เด็กหญิง อรพรรณ ใหมละเอียด เลขที่ 34

                                                                ชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 2/4
ก
                                                  สารบัญ

เรื่อง                                                                                    หน้ าที่

สารบัญ                                                                                          ก

คานา                                                                                            ข

สารบัญตาราง                                                                                     ค

สารบัญภาพ                                                                                       ง

บทที่ 1 ประวัติอาเซียน                                                                          1

บทนา ประวัติความเป็ นมาของอาเซียน                                                               1

ความร่ วมมือทางเศรษฐกิจของอาเซี ยนในระยะแรก                                                     2

ความร่ วมมือทางเศรษฐกิจอื่น ๆ ของอาเซียน                                                            3

วิวฒนาการความร่ วมมือทางเศรษฐกิจที่สาคัญของอาเซี ยนจนถึงแผนการเป็ นประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน
   ั                                                                                            4

ประเทศใน ACE                                                                                    6

วัตถุประสงค์ของการศึกษา                                                                             9

ประโยชน์ที่ได้จากการค้นคว้าในอาเซียน                                                                9

บทที่ 2 ดอกไม้ประจาชาติอาเซียน 10 ประเทศ                                                        10

บรู ไนดารุ สซาลาม (Brunei Darussalam) : ดอกซิมปอร์                                              10

ราชอาณาจักรกัมพูชา (Kingdom of Cambodia) : ดอกลาดวน                                             11

สาธารณรัฐอินโดนีเซีย (Republic of Indonesia) : ดอกกล้วยไม้ราตรี                                 12

สาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาว (The Lao People’s Democratic Republic of Lao PDR) : ดอกจาปาลาว   13
ก
ประเทศมาเลเซีย (Malaysia) : ดอกพู่ระหง                                             14

สาธารณรัฐฟิ ลิปปิ นส์ (Republic of the Philippines) : ดอกพุดแก้ว                   15

สาธารณรัฐสิ งคโปร์ (The Republic of Singapore) : ดอกกล้วยไม้แวนด้า                 16

ราชอาณาจักรไทย (Kingdom of Thailand) : ดอกราชพฤกษ์                                 17

สาธารณรัฐสังคมนิยมเวียดนาม (The Socialist Republic of Vietnam) : ดอกบัว            18

สหภาพพม่า (Union of Myanmar) : ดอกประดู่                                           19

บทที่ 3 ชุดประจาชาติอาเซียน 10 ประเทศ

ชุดประจาชาติของประเทศมาเลเซีย                                                      21

ชุดประจาชาติของประเทศเวียดนาม                                                      23

ชุดประจาชาติของพม่า                                                                24

ชุดประจาชาติของประเทศบรู ไน                                                        25

ชุดประจาชาติของประเทศลาว                                                           26

ชุดประจาชาติของประเทศอินโดนีเซีย                                                   27

ชุดประจาชาติของประเทศฟิ ลิปปิ นส์                                                  29

ชุดประจาชาติของประเทศไทย                                                           30

ชุดประจาชาติของประเทศกัมพูชา                                                       32

ชุดประจาชาติประเทศสิ งคโปร์                                                        33

บทที่ 4 สถานที่น่าสนใจใน 10 ประเทศอาเซียน (Attraction of the 10 ASEAN countries)   34

ประเทศไทย                                                                          34

ประเทศลาว                                                                          37
ก
ประเทศมาเลเซีย       39

ประเทศพม่า           41

ประเทศสิ งคโปร์      43

ประเทศฟิ ลิปปิ นส์   45

ประเทศอินโดนีเซีย    47

ประเทศบรู ไน         49

ประเทศกัมพูชา        51

ประเทศเวียดนาม       53

บทที่ 5 บทสรุ ป      54

บทสรุ ป              55

บรรณานุกรม

ภาคผนวก
สารบัญภาพ

ภาพ                                                   หน้ า

บทที่ 1 ประวัติความเป็ นมา ASEAN

ภาพ 1.1 ประเทศใน ACE                                    6

บทที่ 2 ดอกไม้ ประจําชาติอาเซียน 10 ประเทศ

ภาพ 1.1 ดอกซิมปอร์                                     10

ภาพ 1.2 ดอกลาดวน                                       11

ภาพ 1.3 ดอกกล้วยไม้ราตรี                               12

ภาพ 1.4 ดอกจาปาลาว                                     13

             ่
ภาพ 1.5 ดอกพูระหง                                       14

ภาพ 1.6 ดอกพุดแก้ว                                      15

ภาพ 1.7 ดอกกล้วยไม้แวนด้า                               16

ภาพ 1.8 ดอกราชพฤกษ์                                     17

ภาพ 19 ดอกบัว                                           18

ภาพ 1.10 ดอกประดู่                                      19

บทที่ 3 ชุ ดประจําชาติอาเซียน 10 ประเทศ

ภาพ 1.1 ชุดประจาชาติอาเซียน 10 ประเทศ                   20

ภาพ 1.2 บาจู มลายู                                      21

ภาพ 1.3 บาจูกุรุง                                       22

ภาพ 1.4 อ่าวหญ่าย                                       23
ภาพ 1.5 ลองยี                                                                           24

ภาพ 1.6 บาจู มลายู และบาจูกุรุง                                                         25

ภาพ 1.7 ชุดประเทศลาว                                                                    26

ภาพ 1.8 เกบาย่า                                                                         27

ภาพ 1.9 เตลุก เบสคาพ                                                                    28

ภาพ 1.10 บารอง ตากาล็อก,บาลินตาวัก                                                      29

ภาพ 1.11 ชุดไทยพระราชนิยม และเสื้ อพระราชทาน                                            31

ภาพ 1.12 ซัมปอต                                                                         32

ภาพ 1.13 ชุดเกบาย่า                                                                     33

บทที่ 4 สถานทีน่าสนใจใน 10 ประเทศอาเซียน (Attraction of the 10 ASEAN countries)
              ่

ภาพ 1.1 เกาะเต่า, ภาพ 1.2 อุทยานแห่งชาติดอยอินทนนท์                                     34

ภาพ 1.3 พัทยา, ภาพ 1.4 หมู่เกาะพีพี                                                     35

ภาพ 1.5 หมู่เกาะสิ มิลน, ภาพ 1.6 วัดพระศรี รัตนศาสดาราม
                      ั                                                                 36


ภาพ 1.7 ตลาดมืด หลวงพระบาง, ภาพ 1.8 สุ ดยอดแห่งสถาปั ตยกรรมที่วดเชียงทอง
                                                               ั                        37

ภาพ 1.9 ธรรมชาติ วังเวียง                                                               38

ภาพ 1.10 ตึกเปโตรนาส (Petronas Twin Tower) ,ภาพ 1.11 จัตุรัสเมอร์ เดก้า (Merdeka Square) 39

ภาพ 1.12 เกนติ้ง ไฮแลนด์ (Genting Highlands)                                            40

                    ้
ภาพ 1.13 เมืองย่างกุง, ภาพ 1.14 วัดมหากันดายงค์ ( Maha Gandayon Monastery )             41
ภาพ 1.15 วัดชเวนันดอ (Shwenandaw)                                                    42

ภาพ 1.16 ยูนิเวอร์แซล สตูดิโอ , ภาพ 1.17 เมอร์ไลออนหรื อสิ งโตทะเล                   43

ภาพ 1.18 น้ าพุแห่งความมังคัง
                         ่ ่                                                         44

ภาพ 1.19 Ocean Park, ภาพ 1.20 สวนไรซาล                                               45

ภาพ 1.21 ป้ อมซานติเอโก (Fort Santiago)                                              46
ภาพ 1.22 เกาะบาหลี (Bali) , ภาพ 1.23 เกาะกีลี (Gili Islands)                         47

ภาพ 1.24 ภูเขาไฟโบรโม (Mount Bromo) ,ภาพ 1.25 วัดพรัมบานัน (Prambanan Temple)        48

ภาพ 1.26 Kampong Ayer หรื อ Water Village ,ภาพ 1.27 Jame 'Asr มัสยิด Hassanil Bolkiah 49

ภาพ1.28 สนามเด็กเล่นสวน Jerudong                                                     50

ภาพ 1.29 เสี ยมราฐ ,ภาพ 1.30 วิหาร Preah                                             51


ภาพ 1.31 เจดียเ์ งิน , ภาพ 1.32 นครวัด                                               52


ภาพ 1.33 เดลต้าแม่น้ าโขง ,ภาพ 1.34 ฮอยอัน                                           53

ภาพ 1.35 ชาปา                                                                        54
ค
                                        สารบัญตาราง

เรื่อง                                                หน้ า

บทที่ 1 ประวัติ ASEAN

ตารางที่ 1.1 วิวฒนาการและการดาเนินการ
                ั                                       4
1

                              บทที่ 1 ประวัตความเป็ นมา ASEAN
                                            ิ

                                                 บทนา

ประวัติความเป็ นมา ASEAN

อาเซี ยน หรื อ สมาคมประชาชาติแห่งเอเชียตะวันออกเฉี ยงใต้ (Association of Southeast Asian Nations –
ASEAN) เกิดขึ้นเมื่อปี 2510 ในยุคแห่งการเผชิ ญหน้าทางการเมืองในเอเชียตะวันออกเฉี ยงใต้บนความ
แตกต่างทางเชื้ อชาติ ศาสนา วัฒนธรรม และประวัติศาสตร์ และมีนโยบายแข่งขันในการผลิต การส่ งออก
การตลาด การหาแหล่งทุนและเทคโนโลยี ทําให้การเจริ ญเติบโตขององค์กรเป็ นไปอย่างช้า ๆ ปฏิญญา
อาเซี ยนหรื อปฏิญญากรุ งเทพฯ ซึ่ งเป็ นปฏิญญาในการก่อตั้งอาเซี ยน ได้ระบุวตถุประสงค์ของการรวมตัวกัน
                                                                          ั
ดังนี้ เร่ งรัดความ เจริ ญก้าวหน้าทางเศรษฐกิจ สังคม และวัฒนธรรม ในภูมิภาคโดยอาศัย ความร่ วมมือ
ระหว่างกันส่ งเสริ ม พื้นฐานและเสถียรภาพ ในภูมิภาค โดยยึดหลักยุติธรรมและกฎเกณฑ์ของกฎบัติ
สหประชาชาติส่งเสริ มความร่ วมมือและความช่วยเหลือซึ่ งกันและกันในด้านต่างๆ ได้แก่ เศรษฐกิจ สังคม
วัฒนธรรม วิชาการ วิทยาศาสตร์ และการบริ หารช่วยเหลือซึ่ งกันและกันในรู ปของการฝึ กอบรม วิจย ในด้าน
                                                                                             ั
การศึกษา วิชาชีพ เทคนิค และการบริ หารร่ วมมือกันอย่างมีประสิ ทธิ ภาพมากขึ้นในด้านเกษตรกรรม
อุตสาหกรรม การขยายการค้า การศึกษา ปั ญหาการค้าโภคภัณฑ์ระหว่างประเทศ การปรับปรุ งสิ่ งอํานวย
ความสะดวก การขนส่ งและคมนาคม และการยกระดับมาตรฐานการครองชีพของประชาชนส่ งเสริ ม
                                                                                 ั
การศึกษาของเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ รักษาความร่ วมมือที่ใกล้ชิดและเป็ นประโยชน์กบองค์การระหว่าง
ประเทศและภูมิภาคที่มีวตถุประสงค์คล้ายคลึงกัน และหาแนวทางร่ วมมืออย่างใกล้ชิดระหว่างกันมากขึ้น
                             ั

         ในช่วง 10 ปี แรกหลังจากการก่อตั้ง อาเซี ยนให้ความสําคัญต่อการจัดทํากรอบงานอย่างกว้างๆ และ
       ่
ยืดหยุนได้ เพื่อให้สอดรับกับ ความคิด เห็นอันหลากหลายของสมาชิก และเพื่อให้เป็ นรากฐานอันมันคง       ่
สําหรับจุดมุ่งหมายร่ วมกันต่อไป ดังนั้น แม้วาจะไม่ค่อยมีผลสําเร็ จ เป็ นรู ป ธรรมมากนัก แต่ก็เป็ นประโยชน์
                                             ่
ต่อการสานสัมพันธ์ในการทํางานร่ วมกันระหว่างรัฐบาลอาเซี ยน ทําให้เกิดค่านิยมที่ดี และวาง รากฐาน
ความ สําเร็ จในอนาคต ทิศทางในการดําเนินงานของอาเซี ยนเริ่ มชัดเจนขึ้นในปี 2520 เมื่อผูนาอาเซียน
                                                                                         ้ ํ
ประชุมสุ ดยอดครั้งแรก ณ เกาะบาหลี ประเทศอินโดนีเซี ย และได้ลงนามในปฏิญญาสมานฉันท์อาเซียน
(Declaration of ASEAN Concord) และสนธิ สัญญาไมตรี และ ความ ร่ วมมือในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้
(Treaty of Amity and Cooperation in Southeast Asia: TAC) ซึ่ งขยาย ความร่ วมมือทางเศรษฐกิจ ของ
อาเซี ยนไปอย่างกว้างขวาง ครอบคลุมถึงความร่ วมมือด้านโภคภัณฑ์พ้ืนฐานโดยเฉพาะอาหารและพลังงาน
การจัดตั้งอุตสาหกรรมขนาดใหญ่ การขยายการค้าระหว่างประเทศสมาชิก การจัดตั้งระบบสิ ทธิ พิเศษทาง
การค้าระยะยาว การปรับปรุ งการเข้าสู่ ตลาดนอกอาเซี ยน
2

ความร่ วมมือทางเศรษฐกิจของอาเซียนในระยะแรก

      อาเซี ยนตระหนักดีวา ความเจริ ญรุ่ งเรื องทางเศรษฐกิจเป็ นปั จจัยสําคัญในการรักษาสันติภาพ
                        ่
เสถียรภาพ และความมันคงของภูมิภาคดังนั้น นอกจากความร่ วมมือทางการเมือง สังคม การศึกษา และ
                     ่
วัฒนธรรม แล้วอาเซี ยนจึงมุ่งมันที่จะขยาย ความร่ วมมือทาง เศรษฐกิจระหว่าง กันมา โดยตลอดอีกด้วย
                              ่

        ในปี 2520 รัฐมนตรี ต่างประเทศอาเซี ยนได้ลงนามในความตกลงว่าด้วยสิ ทธิ พิเศษทางการค้าอาเซี ยน
หรื อ ASEAN PTA (Preferential Trading Arrangements: PTA) ซึ่งเป็ นการ ให้สิทธิพิเศษโดยสมัครใจ และ
แลกเปลี่ยนสิ นค้ากับสิ นค้า สิ ทธิ พิเศษส่ วนใหญ่เป็ น การลด ภาษี ศุลกากรขาเข้า และการผูกพันอัตราอากร
ขาเข้า ณ อัตราที่เรี ยกเก็บอยู่ หลังจากนั้นก็มีโครงการความร่ วมมือต่างๆ ตามมา โดยเฉพาะด้านอุตสาหกรรม
มีถึง 4 โครงการ ได้แก่ โครงการอุตสาหกรรมอาเซี ยน (ASEAN Industrial Project: AIP) ปี 2523 โครงการ
แบ่งผลิตทางอุตสาหกรรมอาเซี ยน (ASEAN Industrial Complementation: AIC) ปี 2524 โครงการร่ วม
ลงทุนด้านอุตสาหกรรมของอาเซียน (ASEAN Industrial Joint Ventures: AIJV) ปี 2526 โครงการแบ่งผลิต
ชิ้นส่ วนยานยนต์ (Brand-to-Brand Complementation: BBC) ปี 2532

       จนกระทังปี 2533องค์ประกอบสําคัญของเขตการค้าเสรี อาเซี ยนหรื ออาฟตาเริ่ มปรากฏให้เห็นเป็ นครั้ง
                  ่
แรก เมื่อรัฐมนตรี เศรษฐกิจ อาเซียนไดตกลงใช้อตราภาษีพิเศษที่เท่ากันสําหรับสิ นค้าอุตสาหกรรมบางชนิด
                                                ั
รวมทั้งซี เมนต์ ปุ๋ ย และเยือกระดาษ อย่างไรก็ตาม โครงการความร่ วมมือทางเศรษฐกิจเกือบทั้งหมดของ
                            ่
อาเซี ยนก่อน การจัดตั้งอาฟตาไม่ประสบความสําเร็ จเท่าที่ควร ซึ่ งอาจเกิดจากปั จจัย ดังนี้ สมาชิกอาเซี ยนไม่
                                                           ่
มีความสัมพันธ์ใกล้ชิด ทั้งด้านการเมืองและเศรษฐกิจ แม้จะอยูในภูมิภาคเดียวกัน การรวมตัวเกิด จากการ
คุกคาม ความมันคงจากภายนอก มิใช่จากสํานึกแห่งความเป็ น ภูมิภาคเดียวกันแต่ละประเทศ อยูระหว่างการ
                ่                                                                              ่
พัฒนา อุตสาหกรรมภายในประเทศ จึงมองกันเป็ นคู่แข่งการส่ งออก และเห็นว่าภายนอกภูมิภาค คือ แหล่ง
เงินทุนและเทคโนโลยี โครงสร้างองค์กรอ่อนแอ สํานัก เลขาธิ การอาเซี ยน มีงบประมาณจํากัด ไม่มีอานาจ      ํ
และความเป็ นอิสระเพียงพอที่จะกําหนดความร่ วมมือทางเศรษฐกิจ

อาฟตา : ความสาเร็จครั้งสาคัญของอาเซียน

      อาเซี ยนได้พยายามศึกษาหาแนวทางและมาตรการที่จะขยายการค้าระหว่างกันให้มากยิงขึ้น          ่
โดยเฉพาะ การเปิ ดเสรี ทางการค้าระหว่างกัน โดยใช้อตราภาษีพิเศษที่เท่ากัน (Common Effective
                                                    ั
Preferential Tariff: CEPT) สําหรับสิ นค้าของอาเซียน ที่ประชุมสุ ดยอดอาเซี ยน ครั้งที่ 4 เมื่อเดือนมกราคม
2535 ณ ประเทศ สิ งคโปร์ จึงได้มีมติเห็นชอบข้อเสนอของไทย โดยนายกรัฐมนตรี อานันท์ ปันยารชุน ใน
3

การเริ่ มจัดตั้งเขตการค้าเสรี อาเซี ยน (ASEAN Free Trade Area: AFTA) ตามกรอบความตกลงแม่บทว่าด้วย
การขยายความร่ วมมือทางเศรษฐกิจของอาเซี ยน (Framework Agreement on Enhancing ASEAN Economic
Cooperation) และความตกลงว่าด้วยการใช้อตราภาษีพิเศษที่เท่ากันสําหรับเขตการค้าเสรี อาเซี ยน
                                             ั
[Agreement on the Common Effective Preferential Tariff (CEPT) Scheme for the ASEAN Free Trade
Area (AFTA)]

      ประเทศสมาชิกอาเซียนซึ่ งได้ร่วมก่อตั้งอาฟตาขึ้นในขณะนั้น มีเพียง 6 ประเทศ ได้แก่ บรู ไน ดารุ สซา
ลาม อินโดนีเซีย มาเลเซีย ฟิ ลิปปิ นส์ สิ งคโปร์ และไทย ต่อมาภายหลังอาเซี ยนได้ขยายจํานวนสมาชิกเป็ น
10 ประเทศ โดยเวียดนามเข้าเป็ นสมาชิกอาเซียนลําดับที่ 7 ในปี 2538 ลาวและพม่า เป็ นสมาชิกลําดับที่ 8
และ 9 ในปี 2540 และกัมพูชาเป็ นสมาชิกลําดับที่ 10 ในปี 2542 อาเซี ยนจึงเป็ นกลุ่มเศรษฐกิจที่มีขนาดใหญ่
กลุ่มหนึ่งของโลกมีประชากรรวมกันกว่า 500 ล้านคน

ความร่ วมมือทางเศรษฐกิจอื่น ๆ ของอาเซียน

       เพียงเวลาไม่ถึง 10 ปี หลังจากการจัดตั้งอาฟตาในปี 2536 ความร่ วมมือทางเศรษฐกิจอาเซี ยนได้มีการ
ขยายตัวทั้งในเชิงลึกและเชิงกว้าง ในเชิงลึก เช่น ปี 2537 – เร่ งรัดการจัดตั้งอาฟตาจาก 15 ปี เป็ น 10 ปี นํา
สิ นค้าซึ่ งเดิมยกเว้นลดภาษีชวคราวเข้ามาลดภาษี ขยายขอบเขตสิ นค้าที่ตองลดภาษีให้ครอบคลุมสิ นค้า
                              ั่                                        ้
เกษตรไม่แปรรู ป ขยายขอบเขตความร่ วมมืออาเซี ยนไปสู่ ดานการขนส่ งและสื่ อสาร สาธารณูปโภค บริ การ
                                                          ้
และทรัพย์สินทางปัญญา ปี 2538 - เร่ งรัดอาฟตาโดยขยายรายการสิ นค้าที่จะลดภาษีเหลือร้อยละ 0-5 ในปี
2543 และให้มีรายการ ที่ลดภาษีเหลือร้อยละ 0 ให้มากที่สุด และให้เริ่ มเปิ ดการเจรจาเพื่อเปิ ดเสรี บริ การ ให้
พิจารณาการจัดตั้งเขตการลงทุนอาเซี ยน และให้มีโครงการความร่ วมมือด้านอุตสาหกรรม เพื่อเสริ มสร้าง
อุตสาหกรรมที่ใช้เทคโนโลยีเป็ นพื้นฐานและสร้างมูลค่าเพิ่มโดยเน้นการให้สิทธิ ประโยชน์ส่วนลดภาษี
เหลือร้อยละ 0-5 ปี 2542 – ประกาศให้อาฟตาเป็ นเขตการค้าเสรี ที่แท้จริ ง โดยจะลดภาษีสินค้าทุกรายการลง
เหลือร้อยละ 0 ในปี 2553 และ 2558 สําหรับสมาชิกเดิมและสมาชิกใหม่ ตามลําดับ

       การขยายความร่ วมมือทางเศรษฐกิจในเชิงกว้างของอาเซี ยนอื่น ๆ นอกจากอาฟตา เช่น นอกจากความ
ร่ วมมือทางเศรษฐกิจการค้าดังที่กล่าวข้างต้น อาเซียนได้ขยายความร่ วมมือครอบคลุมสาขาต่างๆ อย่าง
กว้างขวาง อาทิ การคลัง เทคโนโลยีและการสื่ อสาร โทรคมนาคม เกษตรและป่ าไม้ การ ขนส่ ง พลังงาน แร่
ธาตุ และการท่องเที่ยว
4

วิวฒนาการความร่ วมมือทางเศรษฐกิจทีสาคัญของอาเซียนจนถึงแผนการเป็ นประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน
   ั                              ่

      อาเซี ยนมีการเจริ ญเติบโตอย่างค่อยเป็ นค่อยไป ให้ความสําคัญต่อการจัดทํากรอบงานอย่างกว้างๆ
          ่
และยืดหยุนได้ เพื่อให้สอดรับกับความคิดเห็นอันหลากหลายของสมาชิก และเพื่อให้เป็ นรากฐานอันมันคง ่
สําหรับจุดมุ่งหมายร่ วมกันต่อไป รวมทั้งทําให้เกิดค่านิยมที่ดี และวางรากฐานความสําเร็ จในอนาคต

      อาเซี ยนตระหนักดีวา ความเจริ ญรุ่ งเรื องทางเศรษฐกิจเป็ นปั จจัยสําคัญในการรักษาสันติภาพ
                         ่
เสถียรภาพ และความมันคงของภูมิภาค ดังนั้น นอกจากความร่ วมมือทางการเมือง สังคม การศึกษาและ
                     ่
วัฒนธรรมแล้ว อาเซี ยนจึงมุ่งมันที่จะขยายความร่ วมมือทางเศรษฐกิจระหว่างกันมาโดยตลอด โดยมี
                              ่
วิวฒนาการที่สาคัญ ดังนี้
   ั          ํ

                              ตารางที่ 1.1 วิวฒนาการและการดาเนินการ
                                              ั

    ปี พ.ศ./คศ.                               วิวฒนาการและการดาเนินการ
                                                 ั
                    การพัฒนาเขตการค้าเสรี อาเซี ยน หรื ออาฟต้า (ASEAN Free Trade Area: AFTA) เพื่อ
   2535 (1992)      ส่ งเสริ มการขยายตัวทางการค้าโดยการเร่ งลดภาษีสินค้าและยกเลิกมาตรการที่ไม่ใช่
                    ภาษีภายในอาเซียน
                    ริ เริ่ มความร่ วมมือด้านการค้าบริ การของอาเซี ยน โดยจัดทําความตกลงว่าด้วยการค้า
   2538 (1995)      บริ การของอาเซียน (ASEAN Framework Agreement on Service: AFAS) เพื่อ
                    เสริ มสร้างความสามารถในการเป็ นผูให้บริ การในภูมิภาค
                                                           ้
                    การจัดตั้งเขตการลงทุนอาเซี ยน (ASEAN Investment Area: AIA) เพื่อให้อาเซียนเป็ น
   2538 (1995)
                    แหล่งดึงดูดการลงทุนทั้งจากภายในและภายนอกอาเซี ยน
                    กําหนดวิสัยทัศน์อาเซี ยน 2020 (ASEAN Vision 2020) เป้ าหมายในด้านเศรษฐกิจของ
   2540 (1997)      อาเซี ยน คือ สร้างอาเซี ยนให้เป็ นกลุ่มเศรษฐกิจที่มนคง มังคัง และมีความสามารถใน
                                                                       ั่    ่ ่
                    การแข่งขันสู ง มีการเคลื่อนย้ายสิ นค้า บริ การและการลงทุน รวมทั้งเงินทุนอย่างเสรี
                    จัดทําแผนปฏิบติการฮานอย (Hanoi Plan of Action: HPA) เพื่อเป็ นแผนปฏิบติการให้
                                  ั                                                      ั
   2541 (1998)
                    บรรลุวสัยทัศน์อาเซียน ระยะเวลา 6 ปี (2543 - 2547)
                           ิ
                    ประกาศความคิดริ เริ่ มเพื่อการรวมกลุ่มของอาเซี ยน (Initiative for ASEAN
   2543 (2000)      Integration: IAI) เพื่อให้ความช่วยเหลือแก่สมาชิกใหม่ของอาเซี ยนในการปรับตัว
                    รวมกลุ่มเศรษฐกิจของอาเซี ยนได้ตามกํา หนดเวลาอย่างมีประสิ ทธิ ภาพ
5

              จัดทําแผนงานการรวมกลุ่มของอาเซี ยน (Roadmap for Integration of ASEAN: RIA)
              ประกอบด้วยแนวทางขั้นตอน และกรอบเวลา ในการดําเนินการให้เป็ นไปตาม
2544 (2001)   วิสัยทัศน์อาเซียน รวมทั้งให้ศึกษาเรื่ องความสามารถในการแข่งขันของอาเซี ยน
              (ASEAN Competitiveness Study) เพื่อเสริ มสร้างความสามารถในการแข่งขันและ
              เร่ งรัดการรวมกลุ่มของอาเซี ยน
              ในการประชุมสุ ดยอดผูนาอาเซียน (ASEAN Summit) ครั้งที่ 8 ณ กรุ งพนมเปญ
                                      ้ ํ
              ประเทศกัมพูชา ผูนาอาเซี ยนได้เห็นชอบให้อาเซี ยนกําหนดทิศทางการดําเนินงานให้
                                 ้ ํ
2545 (2002)
              แน่ชดเพื่อนําไปสู่ การเป็ นประชาคมเศรษฐกิจอาเซี ยน(ASEAN Economic
                  ั
              Community: AEC)
              ผูนาอาเซียนประกาศแถลงการณ์ Bali Concord II เห็นชอบที่จะจัดตั้งประชาคม
                ้ ํ
2546 (2003)   อาเซียน (ASEAN Community) ซึ่งประกอบด้วย 3 เสาหลัก ได้แก่ความมันคง
                                                                               ่
              เศรษฐกิจ สังคมและวัฒนธรรม ภายในปี ค.ศ. 2000
              ผูนาอาเซี ยนได้ลงนามในกรอบความตกลงว่าด้วยการรวมกลุ่มสาขาสําคัญของ
                ้ ํ
              อาเซียน และรัฐมนตรี เศรษฐกิจอาเซี ยนได้ลงนามในพิธีสารรายฉบับ รวม 11 ฉบับ ซึ่ง
              มี Roadmap เพื่อการรวมกลุ่มสาขาสําคัญเป็ นภาคผนวก โดยมีวตถุประสงค์เพื่อนําร่ อง
                                                                           ั
2547 (2004)   การรวมกลุ่มทางเศรษฐกิจใน 11 สาขาสําคัญก่อน ได้แก่ เกษตร ประมง ผลิตภัณฑ์ไม้
              ผลิตภัณฑ์ยาง สิ่ งทอและเครื่ องนุ่งห่ม ยานยนต์ อิเลคทรอนิกส์ สุ ขภาพ เทคโนโลยี
              สารสนเทศ การท่องเที่ยว การบิน และต่อมาได้เพิ่มสาขาที่ 12 คือสาขาโลจิสติกส์
              เจ้าหน้าที่อาวุโสด้านเศรษฐกิจอาเซี ยนพิจารณาทบทวน ปรับปรุ งแผนงานการ
2548 (2005)   รวมกลุ่มสาขาสําคัญของอาเซี ยนในระยะที่ 2 เพื่อปรับปรุ งมาตรการต่างๆ ให้มี
              ประสิ ทธิภาพและรวมข้อเสนอของภาคเอกชน
              รัฐมนตรี เศรษฐกิจอาเซี ยนลงนามในกรอบความตกลงว่าด้วยการรวมกลุ่มสาขาสําคัญ
2549 (2006)
              ของอาเซี ยนและพิธีสารว่าด้วยการรวมกลุ่มสาขาสําคัญ (ฉบับแก้ไข)
                                                      ่
              - ผูนาอาเซี ยนได้ลงนามในปฏิญญาเซบูวาด้วยการเร่ งรัดการจัดตั้งประชาคมเศรษฐกิจ
                  ้ ํ
              อาเซียนภายในปี ค.ศ. 2015 และเพื่อเร่ งรัดเป้ าหมายการจัดตั้งประชาคมอาเซี ยนให้เร็ ว
                                      ํ
              ขึ้นอีก 5 ปี จากเดิมที่กาหนดไว้ในปี 2020
2550 (2007)
                                                        ่
              - ผูนาอาเซี ยนได้ลงนามในปฏิญญาเซบูวาด้วยแผนแม่บทสําหรับกฎบัตรอาเซี ยน เพื่อ
                   ้ ํ
              สร้างนิติฐานะให้อาเซียนและปรับปรุ งกลไก/กระบวนการดําเนินงานภายในอาเซียน
              เพื่อรองรับการเป็ นประชาคมอาเซี ยน
6

                                         ประเทศใน ACE
      ปัจจุบนประเทศสมาชิกอาเซียน รวม 10 ประเทศได้แก่ ไทย พม่า มาเลเซี ย อินโดนีเซี ย ฟิ ลิปปิ นส์
            ั
สิ งคโปร์ เวียดนาม ลาว กัมพูชา บรู ไน




                                        ภาพ 1.1 ประเทศใน ACE

                                           ประวัติอาเซียน
                               บรู ไน ดารุ สซาลาม (Brunei Darussalam)
เมืองหลวง : บันดาร์ เสรี เบกาวัน
ภาษา : ภาษามาเลย์ เป็ นภาษาราชการ รองลงมาเป็ นอังกฤษและจีน
ประชากร : ประกอบด้วย มาเลย์ 66%, จีน11%,อื่นๆ 23%
นับถือศาสนา : อิสลาม 67%, พุธ 13%, คริ สต์ 10%
ระบบการปกครอง : ระบอบสมบูรณาญาสิ ทธิราชย์

                                        กัมพูชา (Cambodia)
เมืองหลวง : กรุ งพนมเปญ
ภาษา : ภาษาเขมร เป็ นภาษาราชการ รองลงมาเป็ นอังกฤษ, ฝรั่งเศส, เวียดนามและจีน
ประชากร : ประกอบด้วย ชาวเขมร 94%, จีน 4%,อื่นๆ 2%
นับถือศาสนา : พุทธ(เถรวาท) เป็ นหลัก
ระบบการปกครอง : ประชาธิปไตยแบบรัฐสภา โดยมีพระมหากษัตย์เป็ นประมุขภายใต้รัฐธรรมนูญ
7

                                          อินโดนีเซีย (Indonesia)
เมืองหลวง : จาการ์ตา
ภาษา : ภาษาอินโดนีเซีย เป็ นภาษาราชการ
ประชากร : ประกอบด้วย ชนพื้นเมืองหลายกลุ่ม มีภาษามากกว่า 583 ภาษา ร้อยละ 61 อาศัยอยูบนเกาะชวา
                                                                                   ่
นับถือศาสนา : อิสลาม 87%, คริ สต์ 10%
ระบบการปกครอง : ประชาธิปไตยที่มีประธานาธิปดีเป็ นประมุข และหัวหน้าฝ่ ายบริ หาร4.ลาว (Laos)
เมืองหลวง : นครหลวงเวียงจันทร์
ภาษา : ภาษาลาว เป็ นภาษาราชการ
ประชากร : ประกอบด้วย ชาวลาวลุ่ม 68%, ลาวเทิง 22%, ลาวสู ง 9% รวมประมาณ 68 ชนเผ่า
นับถือศาสนา : 75% นับถือพุทธ, นับถือผี 16%
ระบบการปกครอง : สังคมนิ ยมคอมมิวนิสต์ (ทางการลาวใช้คาว่า ระบบประชาธิ ปไตยประชาชน)
                                                    ํ

                                      มาเลเซีย (Malaysia)
เมืองหลวง : กรุ งกัวลาลัมเปอร์
ภาษา : ภาษามาเลย์ เป็ นภาษาราชการ รองลงมาเป็ นอังกฤษและจีน
ประชากร : ประกอบด้วย มาเลย์ 40%, จีน33%, อินเดีย 10%, ชนพื้นเมืองเกาะบอร์ เนียว 10%
นับถือศาสนา : อิสลาม 60%, พุธ 19%, คริ สต์ 11%
ระบบการปกครอง : ประชาธิปไตยในระบบรัฐสภา

                         พม่ า (Myanmar)เมืองหลวง : เนปี ดอ (Naypyidaw)
ภาษา : ภาษาพม่า เป็ นภาษาราชการ
ประชากร : ประกอบด้วยเผ่าพันธุ์ 135 มี 8 เชื้อชาติหลักๆ 8 กลุ่ม คือ พม่า 68%, ไทยใหญ่ 8%, กระเหรี่ ยง
7%, ยะไข่ 4% จีน 3% มอญ 2% อินเดีย 2%
นับถือศาสนา : นับถือพุทธ 90%, คริ สต์ 5% อิสลาม 3.8%
ระบบการปกครอง : เผด็จการทางทหาร ปกครองโดยรัฐบาลทหารภายใต้สภาสันติภาพและการพัฒนาแห่งรัฐ
8

                                      ฟิ ลิปปิ นส์ (Philippines)
เมืองหลวง : กรุ งมะนิลา
ภาษา : ภาษาฟิ ลิปิโน และภาษาอังกฤษ เป็ นภาษาราชการ รองลงมาเป็ น สเปน, จีนฮกเกี้ยน, จีนแต้จิ๋ว
ฟิ ลิปปิ นส์ มีภาษาประจําชาติคือ ภาษาตากาล็อก
ประชากร : ประกอบด้วย มาเลย์ 40%, จีน33%, อินเดีย 10%, ชนพื้นเมืองเกาะบอร์ เนียว 10%
นับถือศาสนา : คริ สต์โรมันคาทอลิก 83% คริ สต์นิกายโปรเตสแตนต์, อิสลาม 5%
ระบบการปกครอง : ประชาธิปไตยแบบประธานาธิปดีเป็ นประมุขและหัวหน้าฝ่ ายบริ หาร

                                        สิ งคโปร์ (Singapore)
เมืองหลวง : สิ งคโปร์
ภาษา : ภาษามาเลย์ เป็ นภาษาราชการ รองลงมาคือจีนกลาง ส่ งเสริ มให้พดได้ 2 ภาษาคือ จีนกลาง และให้ใช้
                                                                  ู
อังกฤษ เพื่อติดต่องานและชีวตประจําวัน
                           ิ
ประชากร : ประกอบด้วยชาวจีน 76.5%, มาเลย์ 13.8%, อินเดีย 8.1%
นับถือศาสนา : พุทธ 42.5%, อิสลาม 14.9%, คริ สต์ 14.5%, ฮินดู 4%, ไม่นบถือศาสนา 25%
                                                                     ั
ระบบการปกครอง : สาธารณรัฐ (ประชาธิปไตยแบบรัฐสภา มีสภาเดียว) โดยมีประธานาธิปดีเป็ นประมุข
และนายกรัฐมนตรี เป็ นหัวหน้าฝ่ ายบริ หาร9.เวียดนาม (Vietnam)
เมืองหลวง : กรุ งฮานอย
ภาษา : ภาษาเวียดนาม เป็ นภาษาราชการ
ประชากร : ประกอบด้วยชาวเวียด 80%, เขมร 10%
นับถือศาสนา : พุทธนิกายมหายาน 70%, คริ สต์ 15%
ระบบการปกครอง : ระบบสังคมนิยม โดยพรรคคอมมิวนิสต์เป็ นพรรคการเมืองเดียว

                                        ประเทศไทย (Thailand)
เมืองหลวง : กรุ งเทพมหานคร
ภาษา : ภาษาไทย เป็ นภาษาราชการ
ประชากร : ประกอบด้วยชาวไทยเป็ นส่ วนใหญ่
นับถือศาสนา : พุทธนิกายเถรวาท 95%, อิสลาม 4%
ระบบการปกครอง : ระบบประชาธิปไตยแบบรัฐสภา อันมีพระมหากษัตริ ยทรงเป็ นประมุข
                                                            ์
9

วัตถุประสงค์ ของการศึกษา

1.เป็ นความรู ้เพิ่มเติมในการศึกษาในวิชา Is2

                                        ั
2.เป็ นการเพิมความรู ้และความน่าสนใจให้กบเพื่อนร่ วมห้องในการเรี ยนรู ้
             ่

3.เพื่อได้รู้ในสิ่ งที่ศึกษาในด้านเฉพาะของการศึกษาค้นคว้า



ประโยชน์ ทได้ จากการค้ นคว้ าในอาเซียน
          ี่

1.ได้ความรู ้เพิ่มเติมในประเทศอาเซี ยน

2.ได้รู้วฒนธรรมต่างๆในประเทศอาเซี ยน
         ั

3.ได้ศึกษาค้นคว้าเรี ยนรู้ดวยตนเอง
                           ้

4.สามารถนําไปเผยแพร่ ได้

5.สามารถนําไปประยุกต์ในการดําเนินชีวิตประจําวันได้
10

                        บทที่ 2 ดอกไม้ประจาชาติอาเซียน 10 ประเทศ

                  1. บรู ไนดารุสซาลาม (Brunei Darussalam) : ดอกซิมปอร์




                                        ภาพ 1.1 ดอกซิมปอร์

1. บรู ไนดารุ สซาลาม (Brunei Darussalam) : ดอกซิมปอร์

     ดอกไม้ประจําชาติบรู ไน ก็คือ ดอกซิ มปอร์ (Simpor) หรื อที่รู้จกกันในชื่อ ดอกส้านชะวา (Dillenia)
                                                                   ั
ดอกไม้ประจําท้องถิ่นบรู ไน ที่มีกลีบขนาดใหญ่สีเหลือง หากบานเต็มที่แล้วกลีบดอกจะมีลกษณะคล้ายร่ ม
                                                                                  ั
พบเห็นได้ตามแม่น้ าทัวไปของบรู ไน มีสรรพคุณช่วยรักษาบาดแผล หากใครแวะไปเยือนบรู ไน จะพบเห็น
                  ํ ่
ได้จากธนบัตรใบละ 1 ดอลลาร์ ของประเทศบรู ไน และในงานศิลปะพื้นเมืองอีกด้วย
11

                2. ราชอาณาจักรกัมพูชา (Kingdom of Cambodia) : ดอกลาดวน




                                         ภาพ 1.2 ดอกลําดวน

2. ราชอาณาจักรกัมพูชา (Kingdom of Cambodia) : ดอกลาดวน

     กัมพูชามีดอกไม้ประจําชาติเป็ น ดอกลําดวน (Rumdul) ดอกไม้สีขาวปนเหลืองนวล กลีบดอกหนาทึบ
และแข็งเล็กน้อย มีกลิ่นหอมเย็นแบบกรุ่ น ๆ ถูกจัดเป็ นไม้มงคลชนิดหนึ่งเพราะมีความหมายถึงความสดชื่น
หอมกรุ่ น และเป็ นดอกไม้สาหรับสุ ภาพสตรี วิธีปลูกที่ถูกต้อง ต้องปลูกไว้ในทิศตะวันตกเฉี ยงเหนื อของตัว
                         ํ
บ้าน ที่สาคัญต้องปลูกในวันพุธ ด้วยนะ
         ํ
12

             3. สาธารณรัฐอินโดนีเซีย (Republic of Indonesia) : ดอกกล้วยไม้ ราตรี




                                        ภาพ 1.3 ดอกกล้วยไม้ราตรี

3. สาธารณรัฐอินโดนีเซีย (Republic of Indonesia) : ดอกกล้วยไม้ ราตรี

      ดอกไม้ประจําชาติอินโดนีเซีย คือ ดอกกล้วยไม้ราตรี (Moon Orchid) ซึ่งเป็ นหนึ่งในดอกกล้วยไม้ที่
      ่                                            ่
บานอยูได้นานที่สุด โดยช่อดอกนั้นสามารถแตกกิ่งและอยูได้นาน 2-6 เดือน โดยดอกจะบานแค่ปีละ 2-3
ครั้งเท่านั้น ทั้งนี้ดอกกล้วยไม้ราตรี สามารถเจริ ญเติบโตได้ดีในอากาศชื้น จึงพบเห็นได้ง่ายในพื้นที่ราบตํ่า
ของประเทศอินโดนีเซีย
13

4. สาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาว (The Lao People’s Democratic Republic of Lao
PDR) : ดอกจาปาลาว




                                           ภาพ 1.4 ดอกจําปาลาว

4. สาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาว (The Lao People’s Democratic Republic of Lao PDR) : ดอก
จาปาลาว

      ดอกไม้ประจําชาติประเทศเพื่อนบ้านของไทยอย่างประเทศลาว คือ ดอกจําปาลาว (Dok Champa) คน
ไทยรู ้จกกันดีในชื่อ ดอกลีลาวดี หรื อ ดอกลันทม โดยดอกจําปาลาวมักมีสีสันหลากหลาย ไม่เฉพาะเจาะจง
        ั                                  ่
ว่าต้องเป็ นเพียงสี ขาวเท่านั้น เช่น สี ชมพู สี เหลือง สี แดง หรื อสี โทนอ่อนต่าง ๆ โดยดอกจําปาลาวนั้นเป็ น
ตัวแทนของความสุ ขและความจริ งใจ จึงนิยมใช้กนอย่างแพร่ หลายเพื่อประดับประดาในงานพิธีต่าง ๆ
                                           ั
รวมทั้งใช้เป็ นพวงมาลัยเพื่อรับแขกอีกด้วย
14

                          5. ประเทศมาเลเซีย (Malaysia) : ดอกพู่ระหง




                                                     ่
                                        ภาพ 1.5 ดอกพูระหง

5. ประเทศมาเลเซีย (Malaysia) : ดอกพู่ระหง

     สําหรับประเทศมาเลเซี ยนั้น มีดอกไม้ประจําชาติเป็ น ดอกพู่ระหง (Bunga Raya) ในภาษาท้องถิ่นเรี ยก
กันว่า บุหงารายอ หรื อที่รู้จกกันทัวไปในชื่อ ดอกชบาสี แดง ลักษณะกลีบดอกเป็ นสี แดง มีเกสรยืนยาว
                             ั     ่                                                       ่
ออกมาเหนือดอก ซึ่งถูกจัดให้เป็ นสัญลักษณ์ของประเทศมาเลเซีย เพื่อเสริ มสร้างความเป็ นปึ กแผ่นและ
ความอดทนในชาติ โดยเชื่ อว่าจะช่วยส่ งเสริ มให้สูงส่ งและสง่างาม รวมทั้งยังสามารถนําไปใช้ในทาง
การแพทย์และความงามได้อีกด้วย
15

              6. สาธารณรัฐฟิ ลิปปิ นส์ (Republic of the Philippines) : ดอกพุดแก้ว




                                          ภาพ 1.6 ดอกพุดแก้ว

6. สาธารณรัฐฟิ ลิปปิ นส์ (Republic of the Philippines) : ดอกพุดแก้ ว

      ดอกไม้ประจําชาติฟิลิปปิ นส์ คือ ดอกพุดแก้ว (Sampaguita Jasmine) ดอกมีสีขาวกลีบดอกเป็ นรู ปดาว
มีกลิ่นหอม บานส่ งกลิ่นในตอนกลางคืน ถือเป็ นสัญลักษณ์ของความบริ สุทธิ์ เรี ยบง่าย อ่อนน้อมถ่อมตน
รวมถึงความเข้มแข็งอีกด้วย เคยถูกนํามาใช้เฉลิมฉลองในตํานานเรื่ องเล่ารวมทั้งบทเพลงของฟิ ลิปปิ นส์ดวย
                                                                                                 ้
เช่นกัน
16

           7. สาธารณรัฐสิ งคโปร์ (The Republic of Singapore) : ดอกกล้วยไม้ แวนด้ า




                                      ภาพ 1.7 ดอกกล้วยไม้แวนด้า

7. สาธารณรัฐสิ งคโปร์ (The Republic of Singapore) : ดอกกล้วยไม้ แวนด้ า

      ประเทศสิ งคโปร์ มี ดอกกล้วยไม้แวนด้า (Vanda Miss Joaquim) เป็ นดอกไม้ประจําชาติ โดยดอก
กล้วยไม้แวนด้าตั้งชื่อตามผูผสมพันธุ์ คือ Miss Agnes Joaquim จัดเป็ นดอกกล้วยไม้ที่เป็ นที่รู้จกมากที่สุดใน
                           ้                                                                  ั
ประเทศสิ งคโปร์ มีสีม่วงสดสวยงามและเบ่งบานอยูตลอดทั้งปี โดยถูกจัดให้เป็ นดอกไม้ประจําชาติสิงคโปร์
                                             ่
ตั้งแต่ปี ค.ศ.1981 (พ.ศ.2524)
17

                 8. ราชอาณาจักรไทย (Kingdom of Thailand) : ดอกราชพฤกษ์




                                        ภาพ 1.8 ดอกราชพฤกษ์

8. ราชอาณาจักรไทย (Kingdom of Thailand) : ดอกราชพฤกษ์

      ดอกไม้ประจําชาติไทยของเรา ก็คือ ดอกราชพฤกษ์ (Ratchaphruek) ที่มีสีเหลืองสวยสง่างาม เมื่อเบ่ง
บานแล้วให้ความรู ้สึกอบอุ่น ถือเป็ นสัญลักษณ์ของความมีเกียรติยศศักดิ์ศรี ซึ่ งชาวไทยหลายคนรู ้จกกันดีใน
                                                                                               ั
นามของ ดอกคูน โดยมีความเชื่อว่าสี เหลืองอร่ ามของดอกราชพฤกษ์คือสี แห่งพระพุทธศาสนาและความ
รุ่ งโรจน์ รวมทั้งยังเป็ นสัญลักษณ์แห่งความสามัคคีปรองดองของคนในชาติอีกด้วย โดยดอกราชพฤกษ์จะ
เบ่งบานในช่วงเดือนกุมภาพันธ์ – พฤษภาคม มีจุดเด่นเวลาเบ่งบานคือการผลัดใบออกจนหมดต้น เหลือไว้
เพียงแค่สีเหลืองอร่ ามของดอกราชพฤกษ์เท่านั้น
18

      9. สาธารณรัฐสั งคมนิยมเวียดนาม (The Socialist Republic of Vietnam) : ดอกบัว




                                          ภาพ 1.9 ดอกบัว

9. สาธารณรัฐสั งคมนิยมเวียดนาม (The Socialist Republic of Vietnam) : ดอกบัว

     ประเทศเวียดนาม มีดอกไม้ที่คนไทยคุนเคยอย่าง ดอกบัว (Lotus) เป็ นดอกไม้ประจําชาติ โดยดอกบัว
                                      ้
เป็ นที่รู้จกกันในนาม “ดอกไม้แห่งรุ่ งอรุ ณ” เป็ ญสัญลักษณ์ของความบริ สุทธิ์ ความผูกพัน และการมองโลก
            ั
ในแง่ดี ดอกบัวจึงมักถูกกล่าวถึงในบทกลอนและเพลงพื้นเมืองของชาวเวียดนามอยูบ่อยครั้ง
                                                                        ่
19

                      10. สหภาพพม่ า (Union of Myanmar) : ดอกประดู่




                                       ภาพ 1.10 ดอกประดู่

10. สหภาพพม่ า (Union of Myanmar) : ดอกประดู่

     ดอกไม้ประจําชาติของประเทศพม่า คือ ดอกประดู่ (Paduak) เป็ นดอกไม้ที่พบมากในประเทศพม่า มีสี
เหลืองทอง ผลิดอกและส่ งกลิ่นหอมในฤดูฝนแรก ช่วงเดือนเมษายนซึ่ งเป็ นช่วงเวลาเดียวกับที่ประเทศพม่ามี
การเฉลิมฉลองปี ใหม่ข้ ึน ชาวพม่าเชื่อว่าดอกประดู่คือสัญลักษณ์ของความแข็งแรง ความทนทาน และเป็ น
ดอกไม้ที่ขาดไม่ได้ในพิธีทางศาสนาของชาวพม่า
20

                           บทที่ 3 ชุดประจาชาติอาเซียน 10 ประเทศ

ชุดประจาชาติอาเซียน 10 ประเทศ




                                ภาพ 1.1 ชุดประจําชาติอาเซียน 10 ประเทศ

ใกล้เข้ามาเรื่ อย ๆ แล้ว สําหรับการรวมตัวของประชาคมอาเซียน 10 ประเทศ เพื่อผนึกกําลังในการพัฒนา
เสริ มสร้างศักยภาพแต่ละประเทศให้เจริ ญก้าวหน้าไปในทิศทางเดียวกัน กระปุกดอทคอมจึงได้นา
                                                                                    ํ
เกร็ ดความรู ้ดี ๆ เกี่ยวกับประชาคมอาเซี ยนในด้านต่าง ๆ มาฝาก เพื่อเพิ่มเติมความรู ้ให้เพื่อน ๆ เตรี ยมความ
พร้อมก้าวเข้าสู่ การเป็ นประชาคมอาเซี ยน ซึ่ งในวันนี้จะเป็ นเรื่ องของชุ ดประจําชาติแสนสวย ว่าแต่จะมีชุด
อะไรบ้างนั้น เราไปดูพร้อมกันเลย
21

                                          ประเทศมาเลเซีย

1. ชุ ดประจาชาติของประเทศมาเลเซีย


     สําหรับชุดประจําชาติมาเลเซี ยของผูชาย เรี ยกว่า บาจู มลายู (Baju Melayu) ประกอบด้วยเสื้ อแขนยาว
                                       ้
และกางเกงขายาวที่ทาจากผ้าไหม ผ้าฝ้ าย หรื อโพลีเอสเตอร์ ที่มีส่วนผสมของผ้าฝ้ าย ส่ วนชุดของผูหญิง
                  ํ                                                                          ้
เรี ยกว่า บาจูกุรุง (Baju Kurung) ประกอบด้วยเสื้ อคลุมแขนยาว และกระโปรงยาว




บาจู มลายู - ประเทศมาเลเซีย




                                          ภาพ 1.2 บาจู มลายู
22




                           ภาพ 1.3 บาจูกุรุง

บาจูกุรุง ประเทศมาเลเซีย
23

                                         ประเทศเวียดนาม

2. ชุ ดประจาชาติของประเทศเวียดนาม


     อ่าวหญ่าย (Ao dai) เป็ นชุดประจําชาติของประเทศเวียดนามที่ประกอบไปด้วยชุดผ้าไหมที่พอดีตว
                                                                                           ั
สวมทับกางเกงขายาวซึ่ งเป็ นชุดที่มกสวมใส่ ในงานแต่งงานและพิธีการสําคัญของประเทศ มีลกษณะคล้าย
                                  ั                                                ั
ชุดกี่เพ้าของจีน ในปัจจุบนเป็ นชุดที่ได้รับความนิยมจากผูหญิงเวียดนาม ส่ วนผูชายเวียดนามจะสวมใส่ ชุด
                         ั                              ้                   ้
อ่าวหญ่ายในพิธีแต่งงาน หรื อพิธีศพ




                                         ภาพ 1.4 อ่าวหญ่าย

อ่าวหญ่าย ประเทศเวียดนาม
24

                                             ประเทศพม่ า
3. ชุ ดประจาชาติของประเทศพม่ า


      ชุดประจําชาติของชาวพม่าเรี ยกว่า ลองยี (Longyi) เป็ นผ้าโสร่ งที่นุ่งทั้งผูชายและผูหญิง ในวาระพิเศษ
                                                                                 ้       ้
ต่าง ๆ ผูชายจะใส่ เสื้ อเชิ้ตคอปกจีนแมนดาริ นและเสื้ อคลุมไม่มีปก บางครั้งจะใส่ ผาโพกศีรษะที่เรี ยกว่า กอง
         ้                                                                       ้
บอง (Guang Baung) ด้วย ส่ วนผูหญิงพม่าจะใส่ เสื้ อติดกระดุมหน้าเรี ยกว่า ยินซี (Yinzi) หรื อเสื้ อติดกระดุม
                              ้
ข้างเรี ยกว่า ยินบอน (Yinbon) และใส่ ผาคลุมไหล่ทบ
                                      ้         ั




ลองยี ปรเทศพม่ า                                  ภาพ 1.5 ลองยี
25

                                             ประเทศบรู ไน

4. ชุ ดประจาชาติของประเทศบรู ไน


      ชุดประจําชาติของบรู ไนคล้ายกับชุดประจําชาติของผูชายประเทศมาเลเซี ย เรี ยกว่า บาจู มลายู (Baju
                                                      ้
Melayu) ส่ วนชุดของผูหญิงเรี ยกว่า บาจูกุรุง (Baju Kurung) แต่ผหญิงบรู ไนจะแต่งกายด้วยเสื้ อผ้าที่มีสีสัน
                     ้                                         ู้
สดใส โดยมากมักจะเป็ นเสื้ อผ้าที่คลุมร่ างกายตั้งแต่ศีรษะจรดเท้า ส่ วนผูชายจะแต่งกายด้วยเสื้ อแขนยาว ตัว
                                                                        ้
เสื้ อยาวถึงเข่า นุ่งกางเกงขายาวแล้วนุ่งโสร่ ง เป็ นการสะท้อนวัฒนธรรมสังคมแบบอนุ รักษ์นิยม เพราะบรู ไน
เป็ นประเทศมุสสิ ม จึงต้องแต่งกายมิดชิดและสุ ภาพเรี ยบร้อย




                                     ภาพ 1.6 บาจู มลายู และบาจูกุรุง

บาจู มลายู และบาจูกุรุง ประเทศบรู ไน
26

                                          ประเทศลาว

5. ชุ ดประจาชาติของประเทศลาว


     ผูหญิงลาวนุ่งผ้าซิ่ น และใส่ เสื้ อแขนยาวทรงกระบอก สําหรับผูชายมักแต่งกายแบบสากล หรื อนุ่งโจง
       ้                                                         ้
กระเบน สวมเสื้ อชั้นนอกกระดุมเจ็ดเม็ด คล้ายเสื้ อพระราชทานของไทย




                                     ภาพ 1.7 ชุดประเทศลาว

ประเทศลาว
27

                                          ประเทศอินโดนีเซีย

6. ชุ ดประจาชาติของประเทศอินโดนีเซีย


      เกบาย่า (Kebaya) เป็ นชุดประจําชาติของประเทศอินโดนีเซี ยสําหรับผูหญิง มีลกษณะเป็ นเสื้ อแขนยาว
                                                                       ้       ั
ผ่าหน้า กลัดกระดุม ตัวเสื้ อจะมีสีสันสดใส ปักฉลุเป็ นลายลูกไม้ ส่ วนผ้าถุงที่ใช้จะเป็ นผ้าถุงแบบบาติก ส่ วน
การแต่งกายของผูชายมักจะสวมใส่ เสื้ อแบบบาติกและนุ่งกางเกงขายาวหรื อเตลุก เบสคาพ (Teluk Beskap)
               ้
ซึ่ งเป็ นการแต่งกายแบบผสมผสานระหว่างเสื้ อคลุมสั้นแบบชวาและโสร่ ง และนุ่งโสร่ งเมื่ออยูบานหรื อ
                                                                                        ่ ้
ประกอบพิธีละหมาดที่มสยิด
                    ั




                                             ภาพ 1.8 เกบาย่า

เกบาย่า ประเทศอินโดนิเซีย
28




                                 ภาพ 1.9 เตลุก เบสคาพ

เตลุก เบสคาพ ประเทศอินโดนิเซีย
29

                                              ประเทศฟิ ลิปปิ นส์

7. ชุ ดประจาชาติของประเทศฟิ ลิปปิ นส์


      ผูชายจะนุ่งกางเกงขายาวและสวมเสื้ อที่เรี ยกว่า บารอง ตากาล็อก (barong Tagalog) ซึ่งตัดเย็บด้วยผ้า
        ้
ใยสัปปะรด มีบ่า คอตั้ง แขนยาว ที่ปลายแขนเสื้ อที่ขอมือจะปั กลวดลาย ส่ วนผูหญิงนุ่งกระโปรงยาว ใส่ เสื้ อ
                                                  ้                       ้
สี ครี มแขนสั้นจับจีบยกตั้งขึ้นเหนื อไหล่คล้ายปี กผีเสื้ อ เรี ยกว่า บาลินตาวัก (balintawak)




บารอง ตากาล็อก ประเทศฟิ ลิปินส์




                                    ภาพ 1.10 บารอง ตากาล็อก,บาลินตาวัก

บาลินตาวัก ประเทศฟิ ลิปินส์
30

                                             ประเทศไทย

8. ชุ ดประจาชาติของประเทศไทย


      สําหรับชุดประจําชาติอย่างเป็ นทางการของไทย รู ้จกกันในนามว่า "ชุดไทยพระราชนิยม" โดยชุด
                                                      ั
ประจําชาติสาหรับสุ ภาพบุรุษ จะเรี ยกว่า "เสื้ อพระราชทาน"
           ํ


      สําหรับสุ ภาพสตรี จะเป็ นชุดไทยที่ประกอบด้วยสไบเฉี ยง ใช้ผายกมีเชิงหรื อยกทั้งตัว ซิ่ นมีจีบยก
                                                                ้
ข้างหน้า มีชายพกใช้เข็มขัดไทยคาด ส่ วนท่อนบนเป็ นสไบ จะเย็บให้ติดกับซิ่ นเป็ นท่อนเดียวกันหรื อ จะมีผา
                                                                                                     ้
สไบห่มต่างหากก็ได้ เปิ ดบ่าข้างหนึ่ง ชายสไบคลุมไหล่ ทิ้งชายด้านหลังยาวตามที่เห็นสมควร ความสวยงาม
   ่
อยูที่เนื้ อผ้าการเย็บและรู ปทรงของผูที่สวม ใช้เครื่ องประดับได้งดงามสมโอกาสในเวลาคํ่าคืน
                                     ้


โดยชุ ดไทยพระราชนิยม แบ่ งออกเป็ น 8 ประเภท ดังนี้


1. ชุดไทยเรื อนต้น
2. ชุดไทยจิตรลดา
3. ชุดไทยอมริ นทร์
4. ชุดไทยบรมพิมาน
5. ชุดไทยจักรี
6. ชุดไทยจักรพรรดิ
7. ชุดไทยดุสิต
8. ชุดไทยศิวาลัย
31




                      ภาพ 1.11 ชุดไทยพระราชนิยม และเสื้ อพระราชทาน

ชุ ดไทยพระราชนิยม และเสื้อพระราชทาน ประเทศไทย
32

                                          ประเทศกัมพูชา

9. ชุ ดประจาชาติของประเทศกัมพูชา


     ชุดประจําชาติของกัมพูชาคือ ซัมปอต (Sampot) หรื อผ้านุ่งกัมพูชา ทอด้วยมือ มีท้ งแบบหลวมและ
                                                                                   ั
แบบพอดี คาดทับเสื้ อบริ เวณเอว ผ้าที่ใช้มกทําจากไหมหรื อฝ้ าย หรื อทั้งสองอย่างรวมกัน ซัมปอตสําหรับ
                                         ั
ผูหญิงมีความคล้ายคลึงกับผ้านุ่งของประเทศลาวและไทย ทั้งนี้ ซัมปอดมีหลายแบบซึ่ งจะแตกต่างกันไป
  ้
ตามชนชั้นทางสังคมของชาวกัมพูชา ถ้าใช้ในชีวตประจําวันจะใช้วสดุราคาไม่สูง ซึ่ งจะส่ งมาจากประเทศ
                                          ิ               ั
ญี่ปุ่น นิยมทําลวดลายตามขวาง ถ้าเป็ นชนิดหรู หราจะทอด้ายเงินและด้ายทอง




                                          ภาพ 1.12 ซัมปอต

ซัมปอต ประเทศกัมพูชา
33

                                            ประเทศสิ งคโปร์

10. ชุ ดประจาชาติประเทศสิ งคโปร์


      สิ งคโปร์ ไม่มีชุดประจําชาติเป็ นของตนเอง เนื่ องจากประเทศสิ งคโปร์ แบ่งออกเป็ น 4 เชื้อชาติหลัก ๆ
ได้แก่ จีน มาเลย์ อินเดีย และชาวยุโรป ซึ่ งแต่ละเชื้อชาติก็มีชุดประจําชาติเป็ นของตนเอง เช่น ผูหญิงมลายู
                                                                                               ้
ในสิ งคโปร์ จะใส่ ชุดเกบาย่า (Kebaya) ตัวเสื้ อจะมีสีสันสดใส ปั กฉลุเป็ นลายลูกไม้ หากเป็ นชาวจีน ก็จะ
สวมเสื้ อแขนยาว คอจีน เสื้ อผ้าหน้าซ่อนกระดุม สวมกางเกงขายาว โดยเสื้ อจะใช้ผาสี เรี ยบหรื อผ้าแพรจีน
                                                                            ้




                                           ภาพ 1.13 ชุดเกบาย่า

ชุ ดเกบาย่ า ประเทศสิ งคโปร์

                                                                                           ่ ้
      รู ้จกกันไปแล้วสําหรับชุดประจําชาติสวย ๆ ของชาติสมาชิกอาเซี ยน ที่เราอาจได้เห็นกันอยูบางจาก
           ั
บรรดาผูนาชาติอาเซียนที่มาประชุมในบ้านเรา หรื อในประเทศอื่น ๆ ซึ่ งต้องบอกเลยว่า แต่ละชาติต่างก็มี
       ้ ํ
เครื่ องแต่งกายที่สวยงาม และสะท้อนอัตลักษณ์ของแต่ละชาติสมาชิกสมาคมอาเซี ยนได้เป็ นอย่างดี
34

  บทที่ 4 สถานทีน่าสนใจใน 10 ประเทศอาเซียน (Attraction of the 10 ASEAN countries)
                ่


                                              1.ประเทศไทย
เกาะเต่ า




                                           ภาพ 1.1 เกาะเต่า
                             ่                          ่
        เกาะเต่า มีพ้ืนที่อยูในฝั่งของทะเลอ่าวไทย และอยูในเขตการปกครองของจังหวัดสุ ราษฎร์ ธานี
ลักษณะของ สถานที่ท่องเที่ยวในประเทศไทย เกาะเต่า จะมีลกษณะที่โค้งเว้า เหมือนกับเมล็ดถัว นอกจากนี้
                                                          ั                              ่
สถานที่ท่องเที่ยวในประเทศไทยในบริ เวณใกล้เคียงกับเกาะเต่ายังมีเกาะนางยวนซึ่ ง เป็ นเกาะเล็กๆ ด้าน
ตะวันตะวันตกเฉี ยงเหนือของเกาะเต่า มีสันทรายเชื่ อมต่อกับเกาะเต่าในลักษณะเหมือนทะเลแหวก เป็ น
แหล่งดํานํ้าชมปะการังอีกแห่ งหนึ่ง


อุทยานแห่ งชาติดอยอินทนนท์




                                        ภาพ 1.2 อุทยานแห่งชาติดอยอิทนนท์
                                                        ่
         อุทยานแห่งชาติดอยอินทนนท์ มีพ้ืนที่ครอบคลุมอยูในท้องที่อาเภอดอยหล่อ อําเภอจอมทองและ
                                                                 ํ
อําเภอแม่แจ่ม จังหวัดเชียงใหม่ ประกอบไปด้วยภูเขาสู งสลับซับซ้อน มีดอยอินทนนท์ซ่ ึ งเป็ นยอดเขาที่สูง
ที่สุดในประเทศไทย
วัฒนธรรม 10 ประเทศในอาเซียน
วัฒนธรรม 10 ประเทศในอาเซียน
วัฒนธรรม 10 ประเทศในอาเซียน
วัฒนธรรม 10 ประเทศในอาเซียน
วัฒนธรรม 10 ประเทศในอาเซียน
วัฒนธรรม 10 ประเทศในอาเซียน
วัฒนธรรม 10 ประเทศในอาเซียน
วัฒนธรรม 10 ประเทศในอาเซียน
วัฒนธรรม 10 ประเทศในอาเซียน
วัฒนธรรม 10 ประเทศในอาเซียน
วัฒนธรรม 10 ประเทศในอาเซียน
วัฒนธรรม 10 ประเทศในอาเซียน
วัฒนธรรม 10 ประเทศในอาเซียน
วัฒนธรรม 10 ประเทศในอาเซียน
วัฒนธรรม 10 ประเทศในอาเซียน
วัฒนธรรม 10 ประเทศในอาเซียน
วัฒนธรรม 10 ประเทศในอาเซียน
วัฒนธรรม 10 ประเทศในอาเซียน
วัฒนธรรม 10 ประเทศในอาเซียน
วัฒนธรรม 10 ประเทศในอาเซียน
วัฒนธรรม 10 ประเทศในอาเซียน
วัฒนธรรม 10 ประเทศในอาเซียน
วัฒนธรรม 10 ประเทศในอาเซียน
วัฒนธรรม 10 ประเทศในอาเซียน

More Related Content

What's hot

แบบทดสอบ การให้เหตุผล
แบบทดสอบ การให้เหตุผลแบบทดสอบ การให้เหตุผล
แบบทดสอบ การให้เหตุผล
Aon Narinchoti
 
แผนการสอนการงานอาชีพ ป.6
แผนการสอนการงานอาชีพ ป.6แผนการสอนการงานอาชีพ ป.6
แผนการสอนการงานอาชีพ ป.6
Napadon Yingyongsakul
 
มัธยฐาน F
มัธยฐาน  Fมัธยฐาน  F
มัธยฐาน F
Bangon Suyana
 
โครงสร้างตัวชี้วัดวิทย์.Doc ม.3 ภาค 2
โครงสร้างตัวชี้วัดวิทย์.Doc ม.3 ภาค 2โครงสร้างตัวชี้วัดวิทย์.Doc ม.3 ภาค 2
โครงสร้างตัวชี้วัดวิทย์.Doc ม.3 ภาค 2
krupornpana55
 
การประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค์
การประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค์การประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค์
การประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค์
บุษรากร ขนันทอง
 
คู่มือการเขียนรายงานวิจัยฉบับสมบูรณ์
คู่มือการเขียนรายงานวิจัยฉบับสมบูรณ์คู่มือการเขียนรายงานวิจัยฉบับสมบูรณ์
คู่มือการเขียนรายงานวิจัยฉบับสมบูรณ์
พัน พัน
 
ใบความรู้คู่อันดับและกราฟ
ใบความรู้คู่อันดับและกราฟใบความรู้คู่อันดับและกราฟ
ใบความรู้คู่อันดับและกราฟ
Jiraprapa Suwannajak
 
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้แบบเพื่อนคู่คิด เล่มที่ 5 การลบเศษส่วนที่มีตัวส่วนเท่ากัน
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้แบบเพื่อนคู่คิด เล่มที่ 5 การลบเศษส่วนที่มีตัวส่วนเท่ากันชุดกิจกรรมการเรียนรู้แบบเพื่อนคู่คิด เล่มที่ 5 การลบเศษส่วนที่มีตัวส่วนเท่ากัน
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้แบบเพื่อนคู่คิด เล่มที่ 5 การลบเศษส่วนที่มีตัวส่วนเท่ากัน
KanlayaratKotaboot
 

What's hot (20)

แบบทดสอบ การให้เหตุผล
แบบทดสอบ การให้เหตุผลแบบทดสอบ การให้เหตุผล
แบบทดสอบ การให้เหตุผล
 
แผนการจัดการเรียนรู้ หน้าที่พลเมือง ม.1
แผนการจัดการเรียนรู้  หน้าที่พลเมือง ม.1แผนการจัดการเรียนรู้  หน้าที่พลเมือง ม.1
แผนการจัดการเรียนรู้ หน้าที่พลเมือง ม.1
 
การทำงานของระบบประสาท
การทำงานของระบบประสาทการทำงานของระบบประสาท
การทำงานของระบบประสาท
 
แผนวันสำคัญทางพระพุทธศาสนา
แผนวันสำคัญทางพระพุทธศาสนาแผนวันสำคัญทางพระพุทธศาสนา
แผนวันสำคัญทางพระพุทธศาสนา
 
04+heap4+dltv54+ใบความรู้ ใบงาน สุขศึกษา ระดับประถม 4-6
04+heap4+dltv54+ใบความรู้ ใบงาน สุขศึกษา ระดับประถม 4-604+heap4+dltv54+ใบความรู้ ใบงาน สุขศึกษา ระดับประถม 4-6
04+heap4+dltv54+ใบความรู้ ใบงาน สุขศึกษา ระดับประถม 4-6
 
แผนการสอนการงานอาชีพ ป.6
แผนการสอนการงานอาชีพ ป.6แผนการสอนการงานอาชีพ ป.6
แผนการสอนการงานอาชีพ ป.6
 
หลักฐานในการศึกษาประวัติศาสตร์ไทยสมัยรัตนโกสินทร์ ส16103 ประวัติศาสตร์ ป.6
หลักฐานในการศึกษาประวัติศาสตร์ไทยสมัยรัตนโกสินทร์ ส16103 ประวัติศาสตร์ ป.6หลักฐานในการศึกษาประวัติศาสตร์ไทยสมัยรัตนโกสินทร์ ส16103 ประวัติศาสตร์ ป.6
หลักฐานในการศึกษาประวัติศาสตร์ไทยสมัยรัตนโกสินทร์ ส16103 ประวัติศาสตร์ ป.6
 
ใบงาน
ใบงานใบงาน
ใบงาน
 
2. โจทย์ปัญหาการคูณและการหาร (บัญญัติไตรยางศ์)
2. โจทย์ปัญหาการคูณและการหาร (บัญญัติไตรยางศ์)2. โจทย์ปัญหาการคูณและการหาร (บัญญัติไตรยางศ์)
2. โจทย์ปัญหาการคูณและการหาร (บัญญัติไตรยางศ์)
 
มัธยฐาน F
มัธยฐาน  Fมัธยฐาน  F
มัธยฐาน F
 
บทที่ 2 ทฤษฎีบทพีทาโกรัส
บทที่ 2 ทฤษฎีบทพีทาโกรัสบทที่ 2 ทฤษฎีบทพีทาโกรัส
บทที่ 2 ทฤษฎีบทพีทาโกรัส
 
โครงสร้างตัวชี้วัดวิทย์.Doc ม.3 ภาค 2
โครงสร้างตัวชี้วัดวิทย์.Doc ม.3 ภาค 2โครงสร้างตัวชี้วัดวิทย์.Doc ม.3 ภาค 2
โครงสร้างตัวชี้วัดวิทย์.Doc ม.3 ภาค 2
 
บทอาขยาน ภาษาไทย ม.๓
บทอาขยาน ภาษาไทย ม.๓บทอาขยาน ภาษาไทย ม.๓
บทอาขยาน ภาษาไทย ม.๓
 
แผนการจัดการเรียนรู้เรื่องระยะระหว่างจุด
แผนการจัดการเรียนรู้เรื่องระยะระหว่างจุดแผนการจัดการเรียนรู้เรื่องระยะระหว่างจุด
แผนการจัดการเรียนรู้เรื่องระยะระหว่างจุด
 
การประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค์
การประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค์การประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค์
การประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค์
 
สรุปวิชาการศึกษา
สรุปวิชาการศึกษาสรุปวิชาการศึกษา
สรุปวิชาการศึกษา
 
คู่มือการเขียนรายงานวิจัยฉบับสมบูรณ์
คู่มือการเขียนรายงานวิจัยฉบับสมบูรณ์คู่มือการเขียนรายงานวิจัยฉบับสมบูรณ์
คู่มือการเขียนรายงานวิจัยฉบับสมบูรณ์
 
ใบความรู้คู่อันดับและกราฟ
ใบความรู้คู่อันดับและกราฟใบความรู้คู่อันดับและกราฟ
ใบความรู้คู่อันดับและกราฟ
 
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้แบบเพื่อนคู่คิด เล่มที่ 5 การลบเศษส่วนที่มีตัวส่วนเท่ากัน
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้แบบเพื่อนคู่คิด เล่มที่ 5 การลบเศษส่วนที่มีตัวส่วนเท่ากันชุดกิจกรรมการเรียนรู้แบบเพื่อนคู่คิด เล่มที่ 5 การลบเศษส่วนที่มีตัวส่วนเท่ากัน
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้แบบเพื่อนคู่คิด เล่มที่ 5 การลบเศษส่วนที่มีตัวส่วนเท่ากัน
 
แบบทดสอบประชากร
แบบทดสอบประชากรแบบทดสอบประชากร
แบบทดสอบประชากร
 

Similar to วัฒนธรรม 10 ประเทศในอาเซียน

โครงสร้างหลักสูตร อาเซียนศึกษา ม.1-3
โครงสร้างหลักสูตร อาเซียนศึกษา ม.1-3โครงสร้างหลักสูตร อาเซียนศึกษา ม.1-3
โครงสร้างหลักสูตร อาเซียนศึกษา ม.1-3
sompriaw aums
 
วันออกพรรษา
วันออกพรรษาวันออกพรรษา
วันออกพรรษา
suchinmam
 
โครงสร้างหลักสูตร อาเซียนศึกษา ป. 1 3
โครงสร้างหลักสูตร อาเซียนศึกษา ป. 1 3โครงสร้างหลักสูตร อาเซียนศึกษา ป. 1 3
โครงสร้างหลักสูตร อาเซียนศึกษา ป. 1 3
sompriaw aums
 
โครงสร้างหลักสูตร อาเซียนศึกษา ป. 4 6
โครงสร้างหลักสูตร อาเซียนศึกษา ป. 4 6โครงสร้างหลักสูตร อาเซียนศึกษา ป. 4 6
โครงสร้างหลักสูตร อาเซียนศึกษา ป. 4 6
sompriaw aums
 
ปกโครงงานกล้อง
ปกโครงงานกล้องปกโครงงานกล้อง
ปกโครงงานกล้อง
krupornpana55
 
หน่วยการเรียนรู้ที่1 [โหมดความเข้ากันได้]
หน่วยการเรียนรู้ที่1 [โหมดความเข้ากันได้]หน่วยการเรียนรู้ที่1 [โหมดความเข้ากันได้]
หน่วยการเรียนรู้ที่1 [โหมดความเข้ากันได้]
กุลเศรษฐ บานเย็น
 
ตัวอย่างระบบดูช่วยเหลือนักเรียน
ตัวอย่างระบบดูช่วยเหลือนักเรียนตัวอย่างระบบดูช่วยเหลือนักเรียน
ตัวอย่างระบบดูช่วยเหลือนักเรียน
ทับทิม เจริญตา
 
รายวิชาสังคมพื้นฐาน อาเซียนศึกษา
รายวิชาสังคมพื้นฐาน อาเซียนศึกษารายวิชาสังคมพื้นฐาน อาเซียนศึกษา
รายวิชาสังคมพื้นฐาน อาเซียนศึกษา
Art Nan
 
1 แผนพัฒนาคุณภาพการศึกษา ฉบับแก้ไขรับสมศกาเนะ
1 แผนพัฒนาคุณภาพการศึกษา ฉบับแก้ไขรับสมศกาเนะ1 แผนพัฒนาคุณภาพการศึกษา ฉบับแก้ไขรับสมศกาเนะ
1 แผนพัฒนาคุณภาพการศึกษา ฉบับแก้ไขรับสมศกาเนะ
Montree Jareeyanuwat
 
คำสั่งบทักษะชีวิต 18 ก.ค.55
คำสั่งบทักษะชีวิต 18 ก.ค.55คำสั่งบทักษะชีวิต 18 ก.ค.55
คำสั่งบทักษะชีวิต 18 ก.ค.55
krupornpana55
 

Similar to วัฒนธรรม 10 ประเทศในอาเซียน (20)

โครงสร้างหลักสูตร อาเซียนศึกษา ม.1-3
โครงสร้างหลักสูตร อาเซียนศึกษา ม.1-3โครงสร้างหลักสูตร อาเซียนศึกษา ม.1-3
โครงสร้างหลักสูตร อาเซียนศึกษา ม.1-3
 
วันออกพรรษา
วันออกพรรษาวันออกพรรษา
วันออกพรรษา
 
โครงสร้างหลักสูตร อาเซียนศึกษา ป. 1 3
โครงสร้างหลักสูตร อาเซียนศึกษา ป. 1 3โครงสร้างหลักสูตร อาเซียนศึกษา ป. 1 3
โครงสร้างหลักสูตร อาเซียนศึกษา ป. 1 3
 
โครงสร้างหลักสูตร อาเซียนศึกษา ป. 4 6
โครงสร้างหลักสูตร อาเซียนศึกษา ป. 4 6โครงสร้างหลักสูตร อาเซียนศึกษา ป. 4 6
โครงสร้างหลักสูตร อาเซียนศึกษา ป. 4 6
 
เศรษฐกิจพอเพียง
เศรษฐกิจพอเพียงเศรษฐกิจพอเพียง
เศรษฐกิจพอเพียง
 
Dooshell
DooshellDooshell
Dooshell
 
ปกโครงงานกล้อง
ปกโครงงานกล้องปกโครงงานกล้อง
ปกโครงงานกล้อง
 
หน่วยการเรียนรู้บูรณาการอาเซียนศึกษา หน่วยที่ 2 ป.6
หน่วยการเรียนรู้บูรณาการอาเซียนศึกษา หน่วยที่ 2 ป.6หน่วยการเรียนรู้บูรณาการอาเซียนศึกษา หน่วยที่ 2 ป.6
หน่วยการเรียนรู้บูรณาการอาเซียนศึกษา หน่วยที่ 2 ป.6
 
อาเซียนศึกษาสำเร็จ
อาเซียนศึกษาสำเร็จอาเซียนศึกษาสำเร็จ
อาเซียนศึกษาสำเร็จ
 
อาเซียนศึกษาสำเร็จ
อาเซียนศึกษาสำเร็จอาเซียนศึกษาสำเร็จ
อาเซียนศึกษาสำเร็จ
 
ขยะ
ขยะขยะ
ขยะ
 
ประกาศผลสอบ ประจำปีการศึกษา 2556
ประกาศผลสอบ ประจำปีการศึกษา 2556ประกาศผลสอบ ประจำปีการศึกษา 2556
ประกาศผลสอบ ประจำปีการศึกษา 2556
 
เล่มที่ 4 ธงประจำชาติในอาเซียน
เล่มที่ 4 ธงประจำชาติในอาเซียนเล่มที่ 4 ธงประจำชาติในอาเซียน
เล่มที่ 4 ธงประจำชาติในอาเซียน
 
หน่วยการเรียนรู้ที่1 [โหมดความเข้ากันได้]
หน่วยการเรียนรู้ที่1 [โหมดความเข้ากันได้]หน่วยการเรียนรู้ที่1 [โหมดความเข้ากันได้]
หน่วยการเรียนรู้ที่1 [โหมดความเข้ากันได้]
 
ตัวอย่างระบบดูช่วยเหลือนักเรียน
ตัวอย่างระบบดูช่วยเหลือนักเรียนตัวอย่างระบบดูช่วยเหลือนักเรียน
ตัวอย่างระบบดูช่วยเหลือนักเรียน
 
รายวิชาสังคมพื้นฐาน อาเซียนศึกษา
รายวิชาสังคมพื้นฐาน อาเซียนศึกษารายวิชาสังคมพื้นฐาน อาเซียนศึกษา
รายวิชาสังคมพื้นฐาน อาเซียนศึกษา
 
หน่วยการเรียนรู้บูรณาการอาเซียนศึกษา หน่วยที่ 1 ป.6
หน่วยการเรียนรู้บูรณาการอาเซียนศึกษา หน่วยที่ 1 ป.6หน่วยการเรียนรู้บูรณาการอาเซียนศึกษา หน่วยที่ 1 ป.6
หน่วยการเรียนรู้บูรณาการอาเซียนศึกษา หน่วยที่ 1 ป.6
 
1 แผนพัฒนาคุณภาพการศึกษา ฉบับแก้ไขรับสมศกาเนะ
1 แผนพัฒนาคุณภาพการศึกษา ฉบับแก้ไขรับสมศกาเนะ1 แผนพัฒนาคุณภาพการศึกษา ฉบับแก้ไขรับสมศกาเนะ
1 แผนพัฒนาคุณภาพการศึกษา ฉบับแก้ไขรับสมศกาเนะ
 
คำสั่งบทักษะชีวิต 18 ก.ค.55
คำสั่งบทักษะชีวิต 18 ก.ค.55คำสั่งบทักษะชีวิต 18 ก.ค.55
คำสั่งบทักษะชีวิต 18 ก.ค.55
 
หน่วยการเรียนรู้บูรณาการอาเซียนศึกษา หน่วยที่ 2 ป.5
หน่วยการเรียนรู้บูรณาการอาเซียนศึกษา หน่วยที่ 2 ป.5หน่วยการเรียนรู้บูรณาการอาเซียนศึกษา หน่วยที่ 2 ป.5
หน่วยการเรียนรู้บูรณาการอาเซียนศึกษา หน่วยที่ 2 ป.5
 

More from พัน พัน

More from พัน พัน (20)

เรื่องระบบปฏิบัติการ
เรื่องระบบปฏิบัติการเรื่องระบบปฏิบัติการ
เรื่องระบบปฏิบัติการ
 
เรื่องภาษาซี
เรื่องภาษาซีเรื่องภาษาซี
เรื่องภาษาซี
 
ประวัติความเป็นมาของคอมพิวเตอร์
ประวัติความเป็นมาของคอมพิวเตอร์ประวัติความเป็นมาของคอมพิวเตอร์
ประวัติความเป็นมาของคอมพิวเตอร์
 
การเปลี่ยนตัวเลขให้เป็นตัวอักษร
การเปลี่ยนตัวเลขให้เป็นตัวอักษรการเปลี่ยนตัวเลขให้เป็นตัวอักษร
การเปลี่ยนตัวเลขให้เป็นตัวอักษร
 
หลักการทำงาน บทบาทและอุปกรณ์พื้นฐานของคอมพิวเตอร์
หลักการทำงาน บทบาทและอุปกรณ์พื้นฐานของคอมพิวเตอร์หลักการทำงาน บทบาทและอุปกรณ์พื้นฐานของคอมพิวเตอร์
หลักการทำงาน บทบาทและอุปกรณ์พื้นฐานของคอมพิวเตอร์
 
รายงานเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์
รายงานเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์รายงานเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์
รายงานเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์
 
การทำงานพื้นฐานของคอมพิวเตอร์
การทำงานพื้นฐานของคอมพิวเตอร์การทำงานพื้นฐานของคอมพิวเตอร์
การทำงานพื้นฐานของคอมพิวเตอร์
 
การทำงานของคอมพิวเตอร์
การทำงานของคอมพิวเตอร์การทำงานของคอมพิวเตอร์
การทำงานของคอมพิวเตอร์
 
ระบบคอมพิวเตอร์และยุคสมัย
ระบบคอมพิวเตอร์และยุคสมัยระบบคอมพิวเตอร์และยุคสมัย
ระบบคอมพิวเตอร์และยุคสมัย
 
เรื่องเทคโนโลยีสารสนเทศ
เรื่องเทคโนโลยีสารสนเทศเรื่องเทคโนโลยีสารสนเทศ
เรื่องเทคโนโลยีสารสนเทศ
 
ประเภทของคอมพิวเตอร์
ประเภทของคอมพิวเตอร์ประเภทของคอมพิวเตอร์
ประเภทของคอมพิวเตอร์
 
เครือข่ายคอมพิวเตอร์เบื้องต้น
เครือข่ายคอมพิวเตอร์เบื้องต้นเครือข่ายคอมพิวเตอร์เบื้องต้น
เครือข่ายคอมพิวเตอร์เบื้องต้น
 
เรื่องคอมพิวเตอร์เบื้องต้น
เรื่องคอมพิวเตอร์เบื้องต้นเรื่องคอมพิวเตอร์เบื้องต้น
เรื่องคอมพิวเตอร์เบื้องต้น
 
เรื่องด้านคอมพิวเตอร์
เรื่องด้านคอมพิวเตอร์เรื่องด้านคอมพิวเตอร์
เรื่องด้านคอมพิวเตอร์
 
เรื่องคอมพิวเตอร์
เรื่องคอมพิวเตอร์เรื่องคอมพิวเตอร์
เรื่องคอมพิวเตอร์
 
โครงงานคอม
โครงงานคอมโครงงานคอม
โครงงานคอม
 
การปริ้น
การปริ้นการปริ้น
การปริ้น
 
Office
OfficeOffice
Office
 
ปัญหาทรัพยากรป่าไม้
ปัญหาทรัพยากรป่าไม้ปัญหาทรัพยากรป่าไม้
ปัญหาทรัพยากรป่าไม้
 
ยาเสพติด
ยาเสพติดยาเสพติด
ยาเสพติด
 

วัฒนธรรม 10 ประเทศในอาเซียน

  • 1. รายงาน เรื่อง วัฒนธรรม 10 ประเทศในอาเซียน วิชา Is2 การสื่ อสารและการนาเสนอ (ว20292) จัดทาโดย 1.เด็กชาย เกิดพงศ์ เกิดมงคล 2.เด็กชาย ณัฐพล บ่อพลอย 3.เด็กชาย ธนวัฒน์ พรหมมา 4.เด็กชาย พงษ์พชร์ สาระ ั 5.เด็กชาย วรวินท์ จินดารัตน์ 6.เด็กหญิง อรพรรณ ใหมละเอียด ชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 2/4 เสนอ นาย ทรงศักดิ์ โพธิ์เอี่ยม โรงเรี ยนเฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระศรี นคริ นทร์ กาญจนบุรี สานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 8
  • 2. คานา รายงานาทางวิชานี้มีชื่อเรื่ องว่า วัฒนธรรม 10 ประเทศในอาเซียน เป็ นส่ วนหนึ่ งของวิชา Is2 การ สื่ อสารและการนาเสนอ (ว20292) จัดทาขึ้นเพื่อเป็ นความรู ้รอบตัวในด้านต่างๆ และจะมีประโยชน์มากในปี 2558 อาเซี ยน ซึ่ งจะได้ศึกษาอยูในรายงานทางวิชาการเล่มนี้ ซึ่ งจะแบ่งเป็ น 5 บทแต่ละบทก็ได้รู้เกี่ยวกับ ่ ่ ประวัติอาเซี ยน ดอกไม้ประจาชาติ ชุดประจาชาติ สถานที่ทองเที่ยว และบทสรุ ป รายงานทางวิชาการเล่มนี้หวังว่าจะเป็ นประโยชน์ต่อคณะผูจดทาในกลุ่ม และสมาชิกในห้อง และผู้ ้ั ที่สนใจศึกษาหาความรู ้ในด้านนี้ และที่สาคัญอย่างยิงคณะผูจดทากลุ่มนี้ก็หวังว่าจะประสบความสาเร็ จใน ่ ้ั การทารายงาน ได้คะแนนไนระดับดี และถ้าหากในรายงานทางวิชาการเล่มนี้มีขอผิดพลาดหรื อทาไม่ถูกต้อง ้ ก็ยนดีที่จะแก้ไขปรับปรุ งและยินดีขอคาปรึ กษา ครับ/ค่ะ ิ คณะผู้จัดทา 1.เด็กชาย เกิดพงศ์ เกิดมงคล เลขที่ 1 2.เด็กชาย ณัฐพล บ่อพลอย เลขที่ 4 3.เด็กชาย ธนวัฒน์ พรหมมา เลขที่ 5 4.เด็กชาย พงษ์พชร์ สาระ เลขที่ 9 ั 5.เด็กชาย วรวินท์ จินดารัตน์ เลขที่ 11 6.เด็กหญิง อรพรรณ ใหมละเอียด เลขที่ 34 ชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 2/4
  • 3. สารบัญ เรื่อง หน้ าที่ สารบัญ ก คานา ข สารบัญตาราง ค สารบัญภาพ ง บทที่ 1 ประวัติอาเซียน 1 บทนา ประวัติความเป็ นมาของอาเซียน 1 ความร่ วมมือทางเศรษฐกิจของอาเซี ยนในระยะแรก 2 ความร่ วมมือทางเศรษฐกิจอื่น ๆ ของอาเซียน 3 วิวฒนาการความร่ วมมือทางเศรษฐกิจที่สาคัญของอาเซี ยนจนถึงแผนการเป็ นประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน ั 4 ประเทศใน ACE 6 วัตถุประสงค์ของการศึกษา 9 ประโยชน์ที่ได้จากการค้นคว้าในอาเซียน 9 บทที่ 2 ดอกไม้ประจาชาติอาเซียน 10 ประเทศ 10 บรู ไนดารุ สซาลาม (Brunei Darussalam) : ดอกซิมปอร์ 10 ราชอาณาจักรกัมพูชา (Kingdom of Cambodia) : ดอกลาดวน 11 สาธารณรัฐอินโดนีเซีย (Republic of Indonesia) : ดอกกล้วยไม้ราตรี 12 สาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาว (The Lao People’s Democratic Republic of Lao PDR) : ดอกจาปาลาว 13
  • 4. ก ประเทศมาเลเซีย (Malaysia) : ดอกพู่ระหง 14 สาธารณรัฐฟิ ลิปปิ นส์ (Republic of the Philippines) : ดอกพุดแก้ว 15 สาธารณรัฐสิ งคโปร์ (The Republic of Singapore) : ดอกกล้วยไม้แวนด้า 16 ราชอาณาจักรไทย (Kingdom of Thailand) : ดอกราชพฤกษ์ 17 สาธารณรัฐสังคมนิยมเวียดนาม (The Socialist Republic of Vietnam) : ดอกบัว 18 สหภาพพม่า (Union of Myanmar) : ดอกประดู่ 19 บทที่ 3 ชุดประจาชาติอาเซียน 10 ประเทศ ชุดประจาชาติของประเทศมาเลเซีย 21 ชุดประจาชาติของประเทศเวียดนาม 23 ชุดประจาชาติของพม่า 24 ชุดประจาชาติของประเทศบรู ไน 25 ชุดประจาชาติของประเทศลาว 26 ชุดประจาชาติของประเทศอินโดนีเซีย 27 ชุดประจาชาติของประเทศฟิ ลิปปิ นส์ 29 ชุดประจาชาติของประเทศไทย 30 ชุดประจาชาติของประเทศกัมพูชา 32 ชุดประจาชาติประเทศสิ งคโปร์ 33 บทที่ 4 สถานที่น่าสนใจใน 10 ประเทศอาเซียน (Attraction of the 10 ASEAN countries) 34 ประเทศไทย 34 ประเทศลาว 37
  • 5. ก ประเทศมาเลเซีย 39 ประเทศพม่า 41 ประเทศสิ งคโปร์ 43 ประเทศฟิ ลิปปิ นส์ 45 ประเทศอินโดนีเซีย 47 ประเทศบรู ไน 49 ประเทศกัมพูชา 51 ประเทศเวียดนาม 53 บทที่ 5 บทสรุ ป 54 บทสรุ ป 55 บรรณานุกรม ภาคผนวก
  • 6. สารบัญภาพ ภาพ หน้ า บทที่ 1 ประวัติความเป็ นมา ASEAN ภาพ 1.1 ประเทศใน ACE 6 บทที่ 2 ดอกไม้ ประจําชาติอาเซียน 10 ประเทศ ภาพ 1.1 ดอกซิมปอร์ 10 ภาพ 1.2 ดอกลาดวน 11 ภาพ 1.3 ดอกกล้วยไม้ราตรี 12 ภาพ 1.4 ดอกจาปาลาว 13 ่ ภาพ 1.5 ดอกพูระหง 14 ภาพ 1.6 ดอกพุดแก้ว 15 ภาพ 1.7 ดอกกล้วยไม้แวนด้า 16 ภาพ 1.8 ดอกราชพฤกษ์ 17 ภาพ 19 ดอกบัว 18 ภาพ 1.10 ดอกประดู่ 19 บทที่ 3 ชุ ดประจําชาติอาเซียน 10 ประเทศ ภาพ 1.1 ชุดประจาชาติอาเซียน 10 ประเทศ 20 ภาพ 1.2 บาจู มลายู 21 ภาพ 1.3 บาจูกุรุง 22 ภาพ 1.4 อ่าวหญ่าย 23
  • 7. ภาพ 1.5 ลองยี 24 ภาพ 1.6 บาจู มลายู และบาจูกุรุง 25 ภาพ 1.7 ชุดประเทศลาว 26 ภาพ 1.8 เกบาย่า 27 ภาพ 1.9 เตลุก เบสคาพ 28 ภาพ 1.10 บารอง ตากาล็อก,บาลินตาวัก 29 ภาพ 1.11 ชุดไทยพระราชนิยม และเสื้ อพระราชทาน 31 ภาพ 1.12 ซัมปอต 32 ภาพ 1.13 ชุดเกบาย่า 33 บทที่ 4 สถานทีน่าสนใจใน 10 ประเทศอาเซียน (Attraction of the 10 ASEAN countries) ่ ภาพ 1.1 เกาะเต่า, ภาพ 1.2 อุทยานแห่งชาติดอยอินทนนท์ 34 ภาพ 1.3 พัทยา, ภาพ 1.4 หมู่เกาะพีพี 35 ภาพ 1.5 หมู่เกาะสิ มิลน, ภาพ 1.6 วัดพระศรี รัตนศาสดาราม ั 36 ภาพ 1.7 ตลาดมืด หลวงพระบาง, ภาพ 1.8 สุ ดยอดแห่งสถาปั ตยกรรมที่วดเชียงทอง ั 37 ภาพ 1.9 ธรรมชาติ วังเวียง 38 ภาพ 1.10 ตึกเปโตรนาส (Petronas Twin Tower) ,ภาพ 1.11 จัตุรัสเมอร์ เดก้า (Merdeka Square) 39 ภาพ 1.12 เกนติ้ง ไฮแลนด์ (Genting Highlands) 40 ้ ภาพ 1.13 เมืองย่างกุง, ภาพ 1.14 วัดมหากันดายงค์ ( Maha Gandayon Monastery ) 41
  • 8. ภาพ 1.15 วัดชเวนันดอ (Shwenandaw) 42 ภาพ 1.16 ยูนิเวอร์แซล สตูดิโอ , ภาพ 1.17 เมอร์ไลออนหรื อสิ งโตทะเล 43 ภาพ 1.18 น้ าพุแห่งความมังคัง ่ ่ 44 ภาพ 1.19 Ocean Park, ภาพ 1.20 สวนไรซาล 45 ภาพ 1.21 ป้ อมซานติเอโก (Fort Santiago) 46 ภาพ 1.22 เกาะบาหลี (Bali) , ภาพ 1.23 เกาะกีลี (Gili Islands) 47 ภาพ 1.24 ภูเขาไฟโบรโม (Mount Bromo) ,ภาพ 1.25 วัดพรัมบานัน (Prambanan Temple) 48 ภาพ 1.26 Kampong Ayer หรื อ Water Village ,ภาพ 1.27 Jame 'Asr มัสยิด Hassanil Bolkiah 49 ภาพ1.28 สนามเด็กเล่นสวน Jerudong 50 ภาพ 1.29 เสี ยมราฐ ,ภาพ 1.30 วิหาร Preah 51 ภาพ 1.31 เจดียเ์ งิน , ภาพ 1.32 นครวัด 52 ภาพ 1.33 เดลต้าแม่น้ าโขง ,ภาพ 1.34 ฮอยอัน 53 ภาพ 1.35 ชาปา 54
  • 9. สารบัญตาราง เรื่อง หน้ า บทที่ 1 ประวัติ ASEAN ตารางที่ 1.1 วิวฒนาการและการดาเนินการ ั 4
  • 10. 1 บทที่ 1 ประวัตความเป็ นมา ASEAN ิ บทนา ประวัติความเป็ นมา ASEAN อาเซี ยน หรื อ สมาคมประชาชาติแห่งเอเชียตะวันออกเฉี ยงใต้ (Association of Southeast Asian Nations – ASEAN) เกิดขึ้นเมื่อปี 2510 ในยุคแห่งการเผชิ ญหน้าทางการเมืองในเอเชียตะวันออกเฉี ยงใต้บนความ แตกต่างทางเชื้ อชาติ ศาสนา วัฒนธรรม และประวัติศาสตร์ และมีนโยบายแข่งขันในการผลิต การส่ งออก การตลาด การหาแหล่งทุนและเทคโนโลยี ทําให้การเจริ ญเติบโตขององค์กรเป็ นไปอย่างช้า ๆ ปฏิญญา อาเซี ยนหรื อปฏิญญากรุ งเทพฯ ซึ่ งเป็ นปฏิญญาในการก่อตั้งอาเซี ยน ได้ระบุวตถุประสงค์ของการรวมตัวกัน ั ดังนี้ เร่ งรัดความ เจริ ญก้าวหน้าทางเศรษฐกิจ สังคม และวัฒนธรรม ในภูมิภาคโดยอาศัย ความร่ วมมือ ระหว่างกันส่ งเสริ ม พื้นฐานและเสถียรภาพ ในภูมิภาค โดยยึดหลักยุติธรรมและกฎเกณฑ์ของกฎบัติ สหประชาชาติส่งเสริ มความร่ วมมือและความช่วยเหลือซึ่ งกันและกันในด้านต่างๆ ได้แก่ เศรษฐกิจ สังคม วัฒนธรรม วิชาการ วิทยาศาสตร์ และการบริ หารช่วยเหลือซึ่ งกันและกันในรู ปของการฝึ กอบรม วิจย ในด้าน ั การศึกษา วิชาชีพ เทคนิค และการบริ หารร่ วมมือกันอย่างมีประสิ ทธิ ภาพมากขึ้นในด้านเกษตรกรรม อุตสาหกรรม การขยายการค้า การศึกษา ปั ญหาการค้าโภคภัณฑ์ระหว่างประเทศ การปรับปรุ งสิ่ งอํานวย ความสะดวก การขนส่ งและคมนาคม และการยกระดับมาตรฐานการครองชีพของประชาชนส่ งเสริ ม ั การศึกษาของเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ รักษาความร่ วมมือที่ใกล้ชิดและเป็ นประโยชน์กบองค์การระหว่าง ประเทศและภูมิภาคที่มีวตถุประสงค์คล้ายคลึงกัน และหาแนวทางร่ วมมืออย่างใกล้ชิดระหว่างกันมากขึ้น ั ในช่วง 10 ปี แรกหลังจากการก่อตั้ง อาเซี ยนให้ความสําคัญต่อการจัดทํากรอบงานอย่างกว้างๆ และ ่ ยืดหยุนได้ เพื่อให้สอดรับกับ ความคิด เห็นอันหลากหลายของสมาชิก และเพื่อให้เป็ นรากฐานอันมันคง ่ สําหรับจุดมุ่งหมายร่ วมกันต่อไป ดังนั้น แม้วาจะไม่ค่อยมีผลสําเร็ จ เป็ นรู ป ธรรมมากนัก แต่ก็เป็ นประโยชน์ ่ ต่อการสานสัมพันธ์ในการทํางานร่ วมกันระหว่างรัฐบาลอาเซี ยน ทําให้เกิดค่านิยมที่ดี และวาง รากฐาน ความ สําเร็ จในอนาคต ทิศทางในการดําเนินงานของอาเซี ยนเริ่ มชัดเจนขึ้นในปี 2520 เมื่อผูนาอาเซียน ้ ํ ประชุมสุ ดยอดครั้งแรก ณ เกาะบาหลี ประเทศอินโดนีเซี ย และได้ลงนามในปฏิญญาสมานฉันท์อาเซียน (Declaration of ASEAN Concord) และสนธิ สัญญาไมตรี และ ความ ร่ วมมือในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ (Treaty of Amity and Cooperation in Southeast Asia: TAC) ซึ่ งขยาย ความร่ วมมือทางเศรษฐกิจ ของ อาเซี ยนไปอย่างกว้างขวาง ครอบคลุมถึงความร่ วมมือด้านโภคภัณฑ์พ้ืนฐานโดยเฉพาะอาหารและพลังงาน การจัดตั้งอุตสาหกรรมขนาดใหญ่ การขยายการค้าระหว่างประเทศสมาชิก การจัดตั้งระบบสิ ทธิ พิเศษทาง การค้าระยะยาว การปรับปรุ งการเข้าสู่ ตลาดนอกอาเซี ยน
  • 11. 2 ความร่ วมมือทางเศรษฐกิจของอาเซียนในระยะแรก อาเซี ยนตระหนักดีวา ความเจริ ญรุ่ งเรื องทางเศรษฐกิจเป็ นปั จจัยสําคัญในการรักษาสันติภาพ ่ เสถียรภาพ และความมันคงของภูมิภาคดังนั้น นอกจากความร่ วมมือทางการเมือง สังคม การศึกษา และ ่ วัฒนธรรม แล้วอาเซี ยนจึงมุ่งมันที่จะขยาย ความร่ วมมือทาง เศรษฐกิจระหว่าง กันมา โดยตลอดอีกด้วย ่ ในปี 2520 รัฐมนตรี ต่างประเทศอาเซี ยนได้ลงนามในความตกลงว่าด้วยสิ ทธิ พิเศษทางการค้าอาเซี ยน หรื อ ASEAN PTA (Preferential Trading Arrangements: PTA) ซึ่งเป็ นการ ให้สิทธิพิเศษโดยสมัครใจ และ แลกเปลี่ยนสิ นค้ากับสิ นค้า สิ ทธิ พิเศษส่ วนใหญ่เป็ น การลด ภาษี ศุลกากรขาเข้า และการผูกพันอัตราอากร ขาเข้า ณ อัตราที่เรี ยกเก็บอยู่ หลังจากนั้นก็มีโครงการความร่ วมมือต่างๆ ตามมา โดยเฉพาะด้านอุตสาหกรรม มีถึง 4 โครงการ ได้แก่ โครงการอุตสาหกรรมอาเซี ยน (ASEAN Industrial Project: AIP) ปี 2523 โครงการ แบ่งผลิตทางอุตสาหกรรมอาเซี ยน (ASEAN Industrial Complementation: AIC) ปี 2524 โครงการร่ วม ลงทุนด้านอุตสาหกรรมของอาเซียน (ASEAN Industrial Joint Ventures: AIJV) ปี 2526 โครงการแบ่งผลิต ชิ้นส่ วนยานยนต์ (Brand-to-Brand Complementation: BBC) ปี 2532 จนกระทังปี 2533องค์ประกอบสําคัญของเขตการค้าเสรี อาเซี ยนหรื ออาฟตาเริ่ มปรากฏให้เห็นเป็ นครั้ง ่ แรก เมื่อรัฐมนตรี เศรษฐกิจ อาเซียนไดตกลงใช้อตราภาษีพิเศษที่เท่ากันสําหรับสิ นค้าอุตสาหกรรมบางชนิด ั รวมทั้งซี เมนต์ ปุ๋ ย และเยือกระดาษ อย่างไรก็ตาม โครงการความร่ วมมือทางเศรษฐกิจเกือบทั้งหมดของ ่ อาเซี ยนก่อน การจัดตั้งอาฟตาไม่ประสบความสําเร็ จเท่าที่ควร ซึ่ งอาจเกิดจากปั จจัย ดังนี้ สมาชิกอาเซี ยนไม่ ่ มีความสัมพันธ์ใกล้ชิด ทั้งด้านการเมืองและเศรษฐกิจ แม้จะอยูในภูมิภาคเดียวกัน การรวมตัวเกิด จากการ คุกคาม ความมันคงจากภายนอก มิใช่จากสํานึกแห่งความเป็ น ภูมิภาคเดียวกันแต่ละประเทศ อยูระหว่างการ ่ ่ พัฒนา อุตสาหกรรมภายในประเทศ จึงมองกันเป็ นคู่แข่งการส่ งออก และเห็นว่าภายนอกภูมิภาค คือ แหล่ง เงินทุนและเทคโนโลยี โครงสร้างองค์กรอ่อนแอ สํานัก เลขาธิ การอาเซี ยน มีงบประมาณจํากัด ไม่มีอานาจ ํ และความเป็ นอิสระเพียงพอที่จะกําหนดความร่ วมมือทางเศรษฐกิจ อาฟตา : ความสาเร็จครั้งสาคัญของอาเซียน อาเซี ยนได้พยายามศึกษาหาแนวทางและมาตรการที่จะขยายการค้าระหว่างกันให้มากยิงขึ้น ่ โดยเฉพาะ การเปิ ดเสรี ทางการค้าระหว่างกัน โดยใช้อตราภาษีพิเศษที่เท่ากัน (Common Effective ั Preferential Tariff: CEPT) สําหรับสิ นค้าของอาเซียน ที่ประชุมสุ ดยอดอาเซี ยน ครั้งที่ 4 เมื่อเดือนมกราคม 2535 ณ ประเทศ สิ งคโปร์ จึงได้มีมติเห็นชอบข้อเสนอของไทย โดยนายกรัฐมนตรี อานันท์ ปันยารชุน ใน
  • 12. 3 การเริ่ มจัดตั้งเขตการค้าเสรี อาเซี ยน (ASEAN Free Trade Area: AFTA) ตามกรอบความตกลงแม่บทว่าด้วย การขยายความร่ วมมือทางเศรษฐกิจของอาเซี ยน (Framework Agreement on Enhancing ASEAN Economic Cooperation) และความตกลงว่าด้วยการใช้อตราภาษีพิเศษที่เท่ากันสําหรับเขตการค้าเสรี อาเซี ยน ั [Agreement on the Common Effective Preferential Tariff (CEPT) Scheme for the ASEAN Free Trade Area (AFTA)] ประเทศสมาชิกอาเซียนซึ่ งได้ร่วมก่อตั้งอาฟตาขึ้นในขณะนั้น มีเพียง 6 ประเทศ ได้แก่ บรู ไน ดารุ สซา ลาม อินโดนีเซีย มาเลเซีย ฟิ ลิปปิ นส์ สิ งคโปร์ และไทย ต่อมาภายหลังอาเซี ยนได้ขยายจํานวนสมาชิกเป็ น 10 ประเทศ โดยเวียดนามเข้าเป็ นสมาชิกอาเซียนลําดับที่ 7 ในปี 2538 ลาวและพม่า เป็ นสมาชิกลําดับที่ 8 และ 9 ในปี 2540 และกัมพูชาเป็ นสมาชิกลําดับที่ 10 ในปี 2542 อาเซี ยนจึงเป็ นกลุ่มเศรษฐกิจที่มีขนาดใหญ่ กลุ่มหนึ่งของโลกมีประชากรรวมกันกว่า 500 ล้านคน ความร่ วมมือทางเศรษฐกิจอื่น ๆ ของอาเซียน เพียงเวลาไม่ถึง 10 ปี หลังจากการจัดตั้งอาฟตาในปี 2536 ความร่ วมมือทางเศรษฐกิจอาเซี ยนได้มีการ ขยายตัวทั้งในเชิงลึกและเชิงกว้าง ในเชิงลึก เช่น ปี 2537 – เร่ งรัดการจัดตั้งอาฟตาจาก 15 ปี เป็ น 10 ปี นํา สิ นค้าซึ่ งเดิมยกเว้นลดภาษีชวคราวเข้ามาลดภาษี ขยายขอบเขตสิ นค้าที่ตองลดภาษีให้ครอบคลุมสิ นค้า ั่ ้ เกษตรไม่แปรรู ป ขยายขอบเขตความร่ วมมืออาเซี ยนไปสู่ ดานการขนส่ งและสื่ อสาร สาธารณูปโภค บริ การ ้ และทรัพย์สินทางปัญญา ปี 2538 - เร่ งรัดอาฟตาโดยขยายรายการสิ นค้าที่จะลดภาษีเหลือร้อยละ 0-5 ในปี 2543 และให้มีรายการ ที่ลดภาษีเหลือร้อยละ 0 ให้มากที่สุด และให้เริ่ มเปิ ดการเจรจาเพื่อเปิ ดเสรี บริ การ ให้ พิจารณาการจัดตั้งเขตการลงทุนอาเซี ยน และให้มีโครงการความร่ วมมือด้านอุตสาหกรรม เพื่อเสริ มสร้าง อุตสาหกรรมที่ใช้เทคโนโลยีเป็ นพื้นฐานและสร้างมูลค่าเพิ่มโดยเน้นการให้สิทธิ ประโยชน์ส่วนลดภาษี เหลือร้อยละ 0-5 ปี 2542 – ประกาศให้อาฟตาเป็ นเขตการค้าเสรี ที่แท้จริ ง โดยจะลดภาษีสินค้าทุกรายการลง เหลือร้อยละ 0 ในปี 2553 และ 2558 สําหรับสมาชิกเดิมและสมาชิกใหม่ ตามลําดับ การขยายความร่ วมมือทางเศรษฐกิจในเชิงกว้างของอาเซี ยนอื่น ๆ นอกจากอาฟตา เช่น นอกจากความ ร่ วมมือทางเศรษฐกิจการค้าดังที่กล่าวข้างต้น อาเซียนได้ขยายความร่ วมมือครอบคลุมสาขาต่างๆ อย่าง กว้างขวาง อาทิ การคลัง เทคโนโลยีและการสื่ อสาร โทรคมนาคม เกษตรและป่ าไม้ การ ขนส่ ง พลังงาน แร่ ธาตุ และการท่องเที่ยว
  • 13. 4 วิวฒนาการความร่ วมมือทางเศรษฐกิจทีสาคัญของอาเซียนจนถึงแผนการเป็ นประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน ั ่ อาเซี ยนมีการเจริ ญเติบโตอย่างค่อยเป็ นค่อยไป ให้ความสําคัญต่อการจัดทํากรอบงานอย่างกว้างๆ ่ และยืดหยุนได้ เพื่อให้สอดรับกับความคิดเห็นอันหลากหลายของสมาชิก และเพื่อให้เป็ นรากฐานอันมันคง ่ สําหรับจุดมุ่งหมายร่ วมกันต่อไป รวมทั้งทําให้เกิดค่านิยมที่ดี และวางรากฐานความสําเร็ จในอนาคต อาเซี ยนตระหนักดีวา ความเจริ ญรุ่ งเรื องทางเศรษฐกิจเป็ นปั จจัยสําคัญในการรักษาสันติภาพ ่ เสถียรภาพ และความมันคงของภูมิภาค ดังนั้น นอกจากความร่ วมมือทางการเมือง สังคม การศึกษาและ ่ วัฒนธรรมแล้ว อาเซี ยนจึงมุ่งมันที่จะขยายความร่ วมมือทางเศรษฐกิจระหว่างกันมาโดยตลอด โดยมี ่ วิวฒนาการที่สาคัญ ดังนี้ ั ํ ตารางที่ 1.1 วิวฒนาการและการดาเนินการ ั ปี พ.ศ./คศ. วิวฒนาการและการดาเนินการ ั การพัฒนาเขตการค้าเสรี อาเซี ยน หรื ออาฟต้า (ASEAN Free Trade Area: AFTA) เพื่อ 2535 (1992) ส่ งเสริ มการขยายตัวทางการค้าโดยการเร่ งลดภาษีสินค้าและยกเลิกมาตรการที่ไม่ใช่ ภาษีภายในอาเซียน ริ เริ่ มความร่ วมมือด้านการค้าบริ การของอาเซี ยน โดยจัดทําความตกลงว่าด้วยการค้า 2538 (1995) บริ การของอาเซียน (ASEAN Framework Agreement on Service: AFAS) เพื่อ เสริ มสร้างความสามารถในการเป็ นผูให้บริ การในภูมิภาค ้ การจัดตั้งเขตการลงทุนอาเซี ยน (ASEAN Investment Area: AIA) เพื่อให้อาเซียนเป็ น 2538 (1995) แหล่งดึงดูดการลงทุนทั้งจากภายในและภายนอกอาเซี ยน กําหนดวิสัยทัศน์อาเซี ยน 2020 (ASEAN Vision 2020) เป้ าหมายในด้านเศรษฐกิจของ 2540 (1997) อาเซี ยน คือ สร้างอาเซี ยนให้เป็ นกลุ่มเศรษฐกิจที่มนคง มังคัง และมีความสามารถใน ั่ ่ ่ การแข่งขันสู ง มีการเคลื่อนย้ายสิ นค้า บริ การและการลงทุน รวมทั้งเงินทุนอย่างเสรี จัดทําแผนปฏิบติการฮานอย (Hanoi Plan of Action: HPA) เพื่อเป็ นแผนปฏิบติการให้ ั ั 2541 (1998) บรรลุวสัยทัศน์อาเซียน ระยะเวลา 6 ปี (2543 - 2547) ิ ประกาศความคิดริ เริ่ มเพื่อการรวมกลุ่มของอาเซี ยน (Initiative for ASEAN 2543 (2000) Integration: IAI) เพื่อให้ความช่วยเหลือแก่สมาชิกใหม่ของอาเซี ยนในการปรับตัว รวมกลุ่มเศรษฐกิจของอาเซี ยนได้ตามกํา หนดเวลาอย่างมีประสิ ทธิ ภาพ
  • 14. 5 จัดทําแผนงานการรวมกลุ่มของอาเซี ยน (Roadmap for Integration of ASEAN: RIA) ประกอบด้วยแนวทางขั้นตอน และกรอบเวลา ในการดําเนินการให้เป็ นไปตาม 2544 (2001) วิสัยทัศน์อาเซียน รวมทั้งให้ศึกษาเรื่ องความสามารถในการแข่งขันของอาเซี ยน (ASEAN Competitiveness Study) เพื่อเสริ มสร้างความสามารถในการแข่งขันและ เร่ งรัดการรวมกลุ่มของอาเซี ยน ในการประชุมสุ ดยอดผูนาอาเซียน (ASEAN Summit) ครั้งที่ 8 ณ กรุ งพนมเปญ ้ ํ ประเทศกัมพูชา ผูนาอาเซี ยนได้เห็นชอบให้อาเซี ยนกําหนดทิศทางการดําเนินงานให้ ้ ํ 2545 (2002) แน่ชดเพื่อนําไปสู่ การเป็ นประชาคมเศรษฐกิจอาเซี ยน(ASEAN Economic ั Community: AEC) ผูนาอาเซียนประกาศแถลงการณ์ Bali Concord II เห็นชอบที่จะจัดตั้งประชาคม ้ ํ 2546 (2003) อาเซียน (ASEAN Community) ซึ่งประกอบด้วย 3 เสาหลัก ได้แก่ความมันคง ่ เศรษฐกิจ สังคมและวัฒนธรรม ภายในปี ค.ศ. 2000 ผูนาอาเซี ยนได้ลงนามในกรอบความตกลงว่าด้วยการรวมกลุ่มสาขาสําคัญของ ้ ํ อาเซียน และรัฐมนตรี เศรษฐกิจอาเซี ยนได้ลงนามในพิธีสารรายฉบับ รวม 11 ฉบับ ซึ่ง มี Roadmap เพื่อการรวมกลุ่มสาขาสําคัญเป็ นภาคผนวก โดยมีวตถุประสงค์เพื่อนําร่ อง ั 2547 (2004) การรวมกลุ่มทางเศรษฐกิจใน 11 สาขาสําคัญก่อน ได้แก่ เกษตร ประมง ผลิตภัณฑ์ไม้ ผลิตภัณฑ์ยาง สิ่ งทอและเครื่ องนุ่งห่ม ยานยนต์ อิเลคทรอนิกส์ สุ ขภาพ เทคโนโลยี สารสนเทศ การท่องเที่ยว การบิน และต่อมาได้เพิ่มสาขาที่ 12 คือสาขาโลจิสติกส์ เจ้าหน้าที่อาวุโสด้านเศรษฐกิจอาเซี ยนพิจารณาทบทวน ปรับปรุ งแผนงานการ 2548 (2005) รวมกลุ่มสาขาสําคัญของอาเซี ยนในระยะที่ 2 เพื่อปรับปรุ งมาตรการต่างๆ ให้มี ประสิ ทธิภาพและรวมข้อเสนอของภาคเอกชน รัฐมนตรี เศรษฐกิจอาเซี ยนลงนามในกรอบความตกลงว่าด้วยการรวมกลุ่มสาขาสําคัญ 2549 (2006) ของอาเซี ยนและพิธีสารว่าด้วยการรวมกลุ่มสาขาสําคัญ (ฉบับแก้ไข) ่ - ผูนาอาเซี ยนได้ลงนามในปฏิญญาเซบูวาด้วยการเร่ งรัดการจัดตั้งประชาคมเศรษฐกิจ ้ ํ อาเซียนภายในปี ค.ศ. 2015 และเพื่อเร่ งรัดเป้ าหมายการจัดตั้งประชาคมอาเซี ยนให้เร็ ว ํ ขึ้นอีก 5 ปี จากเดิมที่กาหนดไว้ในปี 2020 2550 (2007) ่ - ผูนาอาเซี ยนได้ลงนามในปฏิญญาเซบูวาด้วยแผนแม่บทสําหรับกฎบัตรอาเซี ยน เพื่อ ้ ํ สร้างนิติฐานะให้อาเซียนและปรับปรุ งกลไก/กระบวนการดําเนินงานภายในอาเซียน เพื่อรองรับการเป็ นประชาคมอาเซี ยน
  • 15. 6 ประเทศใน ACE ปัจจุบนประเทศสมาชิกอาเซียน รวม 10 ประเทศได้แก่ ไทย พม่า มาเลเซี ย อินโดนีเซี ย ฟิ ลิปปิ นส์ ั สิ งคโปร์ เวียดนาม ลาว กัมพูชา บรู ไน ภาพ 1.1 ประเทศใน ACE ประวัติอาเซียน บรู ไน ดารุ สซาลาม (Brunei Darussalam) เมืองหลวง : บันดาร์ เสรี เบกาวัน ภาษา : ภาษามาเลย์ เป็ นภาษาราชการ รองลงมาเป็ นอังกฤษและจีน ประชากร : ประกอบด้วย มาเลย์ 66%, จีน11%,อื่นๆ 23% นับถือศาสนา : อิสลาม 67%, พุธ 13%, คริ สต์ 10% ระบบการปกครอง : ระบอบสมบูรณาญาสิ ทธิราชย์ กัมพูชา (Cambodia) เมืองหลวง : กรุ งพนมเปญ ภาษา : ภาษาเขมร เป็ นภาษาราชการ รองลงมาเป็ นอังกฤษ, ฝรั่งเศส, เวียดนามและจีน ประชากร : ประกอบด้วย ชาวเขมร 94%, จีน 4%,อื่นๆ 2% นับถือศาสนา : พุทธ(เถรวาท) เป็ นหลัก ระบบการปกครอง : ประชาธิปไตยแบบรัฐสภา โดยมีพระมหากษัตย์เป็ นประมุขภายใต้รัฐธรรมนูญ
  • 16. 7 อินโดนีเซีย (Indonesia) เมืองหลวง : จาการ์ตา ภาษา : ภาษาอินโดนีเซีย เป็ นภาษาราชการ ประชากร : ประกอบด้วย ชนพื้นเมืองหลายกลุ่ม มีภาษามากกว่า 583 ภาษา ร้อยละ 61 อาศัยอยูบนเกาะชวา ่ นับถือศาสนา : อิสลาม 87%, คริ สต์ 10% ระบบการปกครอง : ประชาธิปไตยที่มีประธานาธิปดีเป็ นประมุข และหัวหน้าฝ่ ายบริ หาร4.ลาว (Laos) เมืองหลวง : นครหลวงเวียงจันทร์ ภาษา : ภาษาลาว เป็ นภาษาราชการ ประชากร : ประกอบด้วย ชาวลาวลุ่ม 68%, ลาวเทิง 22%, ลาวสู ง 9% รวมประมาณ 68 ชนเผ่า นับถือศาสนา : 75% นับถือพุทธ, นับถือผี 16% ระบบการปกครอง : สังคมนิ ยมคอมมิวนิสต์ (ทางการลาวใช้คาว่า ระบบประชาธิ ปไตยประชาชน) ํ มาเลเซีย (Malaysia) เมืองหลวง : กรุ งกัวลาลัมเปอร์ ภาษา : ภาษามาเลย์ เป็ นภาษาราชการ รองลงมาเป็ นอังกฤษและจีน ประชากร : ประกอบด้วย มาเลย์ 40%, จีน33%, อินเดีย 10%, ชนพื้นเมืองเกาะบอร์ เนียว 10% นับถือศาสนา : อิสลาม 60%, พุธ 19%, คริ สต์ 11% ระบบการปกครอง : ประชาธิปไตยในระบบรัฐสภา พม่ า (Myanmar)เมืองหลวง : เนปี ดอ (Naypyidaw) ภาษา : ภาษาพม่า เป็ นภาษาราชการ ประชากร : ประกอบด้วยเผ่าพันธุ์ 135 มี 8 เชื้อชาติหลักๆ 8 กลุ่ม คือ พม่า 68%, ไทยใหญ่ 8%, กระเหรี่ ยง 7%, ยะไข่ 4% จีน 3% มอญ 2% อินเดีย 2% นับถือศาสนา : นับถือพุทธ 90%, คริ สต์ 5% อิสลาม 3.8% ระบบการปกครอง : เผด็จการทางทหาร ปกครองโดยรัฐบาลทหารภายใต้สภาสันติภาพและการพัฒนาแห่งรัฐ
  • 17. 8 ฟิ ลิปปิ นส์ (Philippines) เมืองหลวง : กรุ งมะนิลา ภาษา : ภาษาฟิ ลิปิโน และภาษาอังกฤษ เป็ นภาษาราชการ รองลงมาเป็ น สเปน, จีนฮกเกี้ยน, จีนแต้จิ๋ว ฟิ ลิปปิ นส์ มีภาษาประจําชาติคือ ภาษาตากาล็อก ประชากร : ประกอบด้วย มาเลย์ 40%, จีน33%, อินเดีย 10%, ชนพื้นเมืองเกาะบอร์ เนียว 10% นับถือศาสนา : คริ สต์โรมันคาทอลิก 83% คริ สต์นิกายโปรเตสแตนต์, อิสลาม 5% ระบบการปกครอง : ประชาธิปไตยแบบประธานาธิปดีเป็ นประมุขและหัวหน้าฝ่ ายบริ หาร สิ งคโปร์ (Singapore) เมืองหลวง : สิ งคโปร์ ภาษา : ภาษามาเลย์ เป็ นภาษาราชการ รองลงมาคือจีนกลาง ส่ งเสริ มให้พดได้ 2 ภาษาคือ จีนกลาง และให้ใช้ ู อังกฤษ เพื่อติดต่องานและชีวตประจําวัน ิ ประชากร : ประกอบด้วยชาวจีน 76.5%, มาเลย์ 13.8%, อินเดีย 8.1% นับถือศาสนา : พุทธ 42.5%, อิสลาม 14.9%, คริ สต์ 14.5%, ฮินดู 4%, ไม่นบถือศาสนา 25% ั ระบบการปกครอง : สาธารณรัฐ (ประชาธิปไตยแบบรัฐสภา มีสภาเดียว) โดยมีประธานาธิปดีเป็ นประมุข และนายกรัฐมนตรี เป็ นหัวหน้าฝ่ ายบริ หาร9.เวียดนาม (Vietnam) เมืองหลวง : กรุ งฮานอย ภาษา : ภาษาเวียดนาม เป็ นภาษาราชการ ประชากร : ประกอบด้วยชาวเวียด 80%, เขมร 10% นับถือศาสนา : พุทธนิกายมหายาน 70%, คริ สต์ 15% ระบบการปกครอง : ระบบสังคมนิยม โดยพรรคคอมมิวนิสต์เป็ นพรรคการเมืองเดียว ประเทศไทย (Thailand) เมืองหลวง : กรุ งเทพมหานคร ภาษา : ภาษาไทย เป็ นภาษาราชการ ประชากร : ประกอบด้วยชาวไทยเป็ นส่ วนใหญ่ นับถือศาสนา : พุทธนิกายเถรวาท 95%, อิสลาม 4% ระบบการปกครอง : ระบบประชาธิปไตยแบบรัฐสภา อันมีพระมหากษัตริ ยทรงเป็ นประมุข ์
  • 18. 9 วัตถุประสงค์ ของการศึกษา 1.เป็ นความรู ้เพิ่มเติมในการศึกษาในวิชา Is2 ั 2.เป็ นการเพิมความรู ้และความน่าสนใจให้กบเพื่อนร่ วมห้องในการเรี ยนรู ้ ่ 3.เพื่อได้รู้ในสิ่ งที่ศึกษาในด้านเฉพาะของการศึกษาค้นคว้า ประโยชน์ ทได้ จากการค้ นคว้ าในอาเซียน ี่ 1.ได้ความรู ้เพิ่มเติมในประเทศอาเซี ยน 2.ได้รู้วฒนธรรมต่างๆในประเทศอาเซี ยน ั 3.ได้ศึกษาค้นคว้าเรี ยนรู้ดวยตนเอง ้ 4.สามารถนําไปเผยแพร่ ได้ 5.สามารถนําไปประยุกต์ในการดําเนินชีวิตประจําวันได้
  • 19. 10 บทที่ 2 ดอกไม้ประจาชาติอาเซียน 10 ประเทศ 1. บรู ไนดารุสซาลาม (Brunei Darussalam) : ดอกซิมปอร์ ภาพ 1.1 ดอกซิมปอร์ 1. บรู ไนดารุ สซาลาม (Brunei Darussalam) : ดอกซิมปอร์ ดอกไม้ประจําชาติบรู ไน ก็คือ ดอกซิ มปอร์ (Simpor) หรื อที่รู้จกกันในชื่อ ดอกส้านชะวา (Dillenia) ั ดอกไม้ประจําท้องถิ่นบรู ไน ที่มีกลีบขนาดใหญ่สีเหลือง หากบานเต็มที่แล้วกลีบดอกจะมีลกษณะคล้ายร่ ม ั พบเห็นได้ตามแม่น้ าทัวไปของบรู ไน มีสรรพคุณช่วยรักษาบาดแผล หากใครแวะไปเยือนบรู ไน จะพบเห็น ํ ่ ได้จากธนบัตรใบละ 1 ดอลลาร์ ของประเทศบรู ไน และในงานศิลปะพื้นเมืองอีกด้วย
  • 20. 11 2. ราชอาณาจักรกัมพูชา (Kingdom of Cambodia) : ดอกลาดวน ภาพ 1.2 ดอกลําดวน 2. ราชอาณาจักรกัมพูชา (Kingdom of Cambodia) : ดอกลาดวน กัมพูชามีดอกไม้ประจําชาติเป็ น ดอกลําดวน (Rumdul) ดอกไม้สีขาวปนเหลืองนวล กลีบดอกหนาทึบ และแข็งเล็กน้อย มีกลิ่นหอมเย็นแบบกรุ่ น ๆ ถูกจัดเป็ นไม้มงคลชนิดหนึ่งเพราะมีความหมายถึงความสดชื่น หอมกรุ่ น และเป็ นดอกไม้สาหรับสุ ภาพสตรี วิธีปลูกที่ถูกต้อง ต้องปลูกไว้ในทิศตะวันตกเฉี ยงเหนื อของตัว ํ บ้าน ที่สาคัญต้องปลูกในวันพุธ ด้วยนะ ํ
  • 21. 12 3. สาธารณรัฐอินโดนีเซีย (Republic of Indonesia) : ดอกกล้วยไม้ ราตรี ภาพ 1.3 ดอกกล้วยไม้ราตรี 3. สาธารณรัฐอินโดนีเซีย (Republic of Indonesia) : ดอกกล้วยไม้ ราตรี ดอกไม้ประจําชาติอินโดนีเซีย คือ ดอกกล้วยไม้ราตรี (Moon Orchid) ซึ่งเป็ นหนึ่งในดอกกล้วยไม้ที่ ่ ่ บานอยูได้นานที่สุด โดยช่อดอกนั้นสามารถแตกกิ่งและอยูได้นาน 2-6 เดือน โดยดอกจะบานแค่ปีละ 2-3 ครั้งเท่านั้น ทั้งนี้ดอกกล้วยไม้ราตรี สามารถเจริ ญเติบโตได้ดีในอากาศชื้น จึงพบเห็นได้ง่ายในพื้นที่ราบตํ่า ของประเทศอินโดนีเซีย
  • 22. 13 4. สาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาว (The Lao People’s Democratic Republic of Lao PDR) : ดอกจาปาลาว ภาพ 1.4 ดอกจําปาลาว 4. สาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาว (The Lao People’s Democratic Republic of Lao PDR) : ดอก จาปาลาว ดอกไม้ประจําชาติประเทศเพื่อนบ้านของไทยอย่างประเทศลาว คือ ดอกจําปาลาว (Dok Champa) คน ไทยรู ้จกกันดีในชื่อ ดอกลีลาวดี หรื อ ดอกลันทม โดยดอกจําปาลาวมักมีสีสันหลากหลาย ไม่เฉพาะเจาะจง ั ่ ว่าต้องเป็ นเพียงสี ขาวเท่านั้น เช่น สี ชมพู สี เหลือง สี แดง หรื อสี โทนอ่อนต่าง ๆ โดยดอกจําปาลาวนั้นเป็ น ตัวแทนของความสุ ขและความจริ งใจ จึงนิยมใช้กนอย่างแพร่ หลายเพื่อประดับประดาในงานพิธีต่าง ๆ ั รวมทั้งใช้เป็ นพวงมาลัยเพื่อรับแขกอีกด้วย
  • 23. 14 5. ประเทศมาเลเซีย (Malaysia) : ดอกพู่ระหง ่ ภาพ 1.5 ดอกพูระหง 5. ประเทศมาเลเซีย (Malaysia) : ดอกพู่ระหง สําหรับประเทศมาเลเซี ยนั้น มีดอกไม้ประจําชาติเป็ น ดอกพู่ระหง (Bunga Raya) ในภาษาท้องถิ่นเรี ยก กันว่า บุหงารายอ หรื อที่รู้จกกันทัวไปในชื่อ ดอกชบาสี แดง ลักษณะกลีบดอกเป็ นสี แดง มีเกสรยืนยาว ั ่ ่ ออกมาเหนือดอก ซึ่งถูกจัดให้เป็ นสัญลักษณ์ของประเทศมาเลเซีย เพื่อเสริ มสร้างความเป็ นปึ กแผ่นและ ความอดทนในชาติ โดยเชื่ อว่าจะช่วยส่ งเสริ มให้สูงส่ งและสง่างาม รวมทั้งยังสามารถนําไปใช้ในทาง การแพทย์และความงามได้อีกด้วย
  • 24. 15 6. สาธารณรัฐฟิ ลิปปิ นส์ (Republic of the Philippines) : ดอกพุดแก้ว ภาพ 1.6 ดอกพุดแก้ว 6. สาธารณรัฐฟิ ลิปปิ นส์ (Republic of the Philippines) : ดอกพุดแก้ ว ดอกไม้ประจําชาติฟิลิปปิ นส์ คือ ดอกพุดแก้ว (Sampaguita Jasmine) ดอกมีสีขาวกลีบดอกเป็ นรู ปดาว มีกลิ่นหอม บานส่ งกลิ่นในตอนกลางคืน ถือเป็ นสัญลักษณ์ของความบริ สุทธิ์ เรี ยบง่าย อ่อนน้อมถ่อมตน รวมถึงความเข้มแข็งอีกด้วย เคยถูกนํามาใช้เฉลิมฉลองในตํานานเรื่ องเล่ารวมทั้งบทเพลงของฟิ ลิปปิ นส์ดวย ้ เช่นกัน
  • 25. 16 7. สาธารณรัฐสิ งคโปร์ (The Republic of Singapore) : ดอกกล้วยไม้ แวนด้ า ภาพ 1.7 ดอกกล้วยไม้แวนด้า 7. สาธารณรัฐสิ งคโปร์ (The Republic of Singapore) : ดอกกล้วยไม้ แวนด้ า ประเทศสิ งคโปร์ มี ดอกกล้วยไม้แวนด้า (Vanda Miss Joaquim) เป็ นดอกไม้ประจําชาติ โดยดอก กล้วยไม้แวนด้าตั้งชื่อตามผูผสมพันธุ์ คือ Miss Agnes Joaquim จัดเป็ นดอกกล้วยไม้ที่เป็ นที่รู้จกมากที่สุดใน ้ ั ประเทศสิ งคโปร์ มีสีม่วงสดสวยงามและเบ่งบานอยูตลอดทั้งปี โดยถูกจัดให้เป็ นดอกไม้ประจําชาติสิงคโปร์ ่ ตั้งแต่ปี ค.ศ.1981 (พ.ศ.2524)
  • 26. 17 8. ราชอาณาจักรไทย (Kingdom of Thailand) : ดอกราชพฤกษ์ ภาพ 1.8 ดอกราชพฤกษ์ 8. ราชอาณาจักรไทย (Kingdom of Thailand) : ดอกราชพฤกษ์ ดอกไม้ประจําชาติไทยของเรา ก็คือ ดอกราชพฤกษ์ (Ratchaphruek) ที่มีสีเหลืองสวยสง่างาม เมื่อเบ่ง บานแล้วให้ความรู ้สึกอบอุ่น ถือเป็ นสัญลักษณ์ของความมีเกียรติยศศักดิ์ศรี ซึ่ งชาวไทยหลายคนรู ้จกกันดีใน ั นามของ ดอกคูน โดยมีความเชื่อว่าสี เหลืองอร่ ามของดอกราชพฤกษ์คือสี แห่งพระพุทธศาสนาและความ รุ่ งโรจน์ รวมทั้งยังเป็ นสัญลักษณ์แห่งความสามัคคีปรองดองของคนในชาติอีกด้วย โดยดอกราชพฤกษ์จะ เบ่งบานในช่วงเดือนกุมภาพันธ์ – พฤษภาคม มีจุดเด่นเวลาเบ่งบานคือการผลัดใบออกจนหมดต้น เหลือไว้ เพียงแค่สีเหลืองอร่ ามของดอกราชพฤกษ์เท่านั้น
  • 27. 18 9. สาธารณรัฐสั งคมนิยมเวียดนาม (The Socialist Republic of Vietnam) : ดอกบัว ภาพ 1.9 ดอกบัว 9. สาธารณรัฐสั งคมนิยมเวียดนาม (The Socialist Republic of Vietnam) : ดอกบัว ประเทศเวียดนาม มีดอกไม้ที่คนไทยคุนเคยอย่าง ดอกบัว (Lotus) เป็ นดอกไม้ประจําชาติ โดยดอกบัว ้ เป็ นที่รู้จกกันในนาม “ดอกไม้แห่งรุ่ งอรุ ณ” เป็ ญสัญลักษณ์ของความบริ สุทธิ์ ความผูกพัน และการมองโลก ั ในแง่ดี ดอกบัวจึงมักถูกกล่าวถึงในบทกลอนและเพลงพื้นเมืองของชาวเวียดนามอยูบ่อยครั้ง ่
  • 28. 19 10. สหภาพพม่ า (Union of Myanmar) : ดอกประดู่ ภาพ 1.10 ดอกประดู่ 10. สหภาพพม่ า (Union of Myanmar) : ดอกประดู่ ดอกไม้ประจําชาติของประเทศพม่า คือ ดอกประดู่ (Paduak) เป็ นดอกไม้ที่พบมากในประเทศพม่า มีสี เหลืองทอง ผลิดอกและส่ งกลิ่นหอมในฤดูฝนแรก ช่วงเดือนเมษายนซึ่ งเป็ นช่วงเวลาเดียวกับที่ประเทศพม่ามี การเฉลิมฉลองปี ใหม่ข้ ึน ชาวพม่าเชื่อว่าดอกประดู่คือสัญลักษณ์ของความแข็งแรง ความทนทาน และเป็ น ดอกไม้ที่ขาดไม่ได้ในพิธีทางศาสนาของชาวพม่า
  • 29. 20 บทที่ 3 ชุดประจาชาติอาเซียน 10 ประเทศ ชุดประจาชาติอาเซียน 10 ประเทศ ภาพ 1.1 ชุดประจําชาติอาเซียน 10 ประเทศ ใกล้เข้ามาเรื่ อย ๆ แล้ว สําหรับการรวมตัวของประชาคมอาเซียน 10 ประเทศ เพื่อผนึกกําลังในการพัฒนา เสริ มสร้างศักยภาพแต่ละประเทศให้เจริ ญก้าวหน้าไปในทิศทางเดียวกัน กระปุกดอทคอมจึงได้นา ํ เกร็ ดความรู ้ดี ๆ เกี่ยวกับประชาคมอาเซี ยนในด้านต่าง ๆ มาฝาก เพื่อเพิ่มเติมความรู ้ให้เพื่อน ๆ เตรี ยมความ พร้อมก้าวเข้าสู่ การเป็ นประชาคมอาเซี ยน ซึ่ งในวันนี้จะเป็ นเรื่ องของชุ ดประจําชาติแสนสวย ว่าแต่จะมีชุด อะไรบ้างนั้น เราไปดูพร้อมกันเลย
  • 30. 21 ประเทศมาเลเซีย 1. ชุ ดประจาชาติของประเทศมาเลเซีย สําหรับชุดประจําชาติมาเลเซี ยของผูชาย เรี ยกว่า บาจู มลายู (Baju Melayu) ประกอบด้วยเสื้ อแขนยาว ้ และกางเกงขายาวที่ทาจากผ้าไหม ผ้าฝ้ าย หรื อโพลีเอสเตอร์ ที่มีส่วนผสมของผ้าฝ้ าย ส่ วนชุดของผูหญิง ํ ้ เรี ยกว่า บาจูกุรุง (Baju Kurung) ประกอบด้วยเสื้ อคลุมแขนยาว และกระโปรงยาว บาจู มลายู - ประเทศมาเลเซีย ภาพ 1.2 บาจู มลายู
  • 31. 22 ภาพ 1.3 บาจูกุรุง บาจูกุรุง ประเทศมาเลเซีย
  • 32. 23 ประเทศเวียดนาม 2. ชุ ดประจาชาติของประเทศเวียดนาม อ่าวหญ่าย (Ao dai) เป็ นชุดประจําชาติของประเทศเวียดนามที่ประกอบไปด้วยชุดผ้าไหมที่พอดีตว ั สวมทับกางเกงขายาวซึ่ งเป็ นชุดที่มกสวมใส่ ในงานแต่งงานและพิธีการสําคัญของประเทศ มีลกษณะคล้าย ั ั ชุดกี่เพ้าของจีน ในปัจจุบนเป็ นชุดที่ได้รับความนิยมจากผูหญิงเวียดนาม ส่ วนผูชายเวียดนามจะสวมใส่ ชุด ั ้ ้ อ่าวหญ่ายในพิธีแต่งงาน หรื อพิธีศพ ภาพ 1.4 อ่าวหญ่าย อ่าวหญ่าย ประเทศเวียดนาม
  • 33. 24 ประเทศพม่ า 3. ชุ ดประจาชาติของประเทศพม่ า ชุดประจําชาติของชาวพม่าเรี ยกว่า ลองยี (Longyi) เป็ นผ้าโสร่ งที่นุ่งทั้งผูชายและผูหญิง ในวาระพิเศษ ้ ้ ต่าง ๆ ผูชายจะใส่ เสื้ อเชิ้ตคอปกจีนแมนดาริ นและเสื้ อคลุมไม่มีปก บางครั้งจะใส่ ผาโพกศีรษะที่เรี ยกว่า กอง ้ ้ บอง (Guang Baung) ด้วย ส่ วนผูหญิงพม่าจะใส่ เสื้ อติดกระดุมหน้าเรี ยกว่า ยินซี (Yinzi) หรื อเสื้ อติดกระดุม ้ ข้างเรี ยกว่า ยินบอน (Yinbon) และใส่ ผาคลุมไหล่ทบ ้ ั ลองยี ปรเทศพม่ า ภาพ 1.5 ลองยี
  • 34. 25 ประเทศบรู ไน 4. ชุ ดประจาชาติของประเทศบรู ไน ชุดประจําชาติของบรู ไนคล้ายกับชุดประจําชาติของผูชายประเทศมาเลเซี ย เรี ยกว่า บาจู มลายู (Baju ้ Melayu) ส่ วนชุดของผูหญิงเรี ยกว่า บาจูกุรุง (Baju Kurung) แต่ผหญิงบรู ไนจะแต่งกายด้วยเสื้ อผ้าที่มีสีสัน ้ ู้ สดใส โดยมากมักจะเป็ นเสื้ อผ้าที่คลุมร่ างกายตั้งแต่ศีรษะจรดเท้า ส่ วนผูชายจะแต่งกายด้วยเสื้ อแขนยาว ตัว ้ เสื้ อยาวถึงเข่า นุ่งกางเกงขายาวแล้วนุ่งโสร่ ง เป็ นการสะท้อนวัฒนธรรมสังคมแบบอนุ รักษ์นิยม เพราะบรู ไน เป็ นประเทศมุสสิ ม จึงต้องแต่งกายมิดชิดและสุ ภาพเรี ยบร้อย ภาพ 1.6 บาจู มลายู และบาจูกุรุง บาจู มลายู และบาจูกุรุง ประเทศบรู ไน
  • 35. 26 ประเทศลาว 5. ชุ ดประจาชาติของประเทศลาว ผูหญิงลาวนุ่งผ้าซิ่ น และใส่ เสื้ อแขนยาวทรงกระบอก สําหรับผูชายมักแต่งกายแบบสากล หรื อนุ่งโจง ้ ้ กระเบน สวมเสื้ อชั้นนอกกระดุมเจ็ดเม็ด คล้ายเสื้ อพระราชทานของไทย ภาพ 1.7 ชุดประเทศลาว ประเทศลาว
  • 36. 27 ประเทศอินโดนีเซีย 6. ชุ ดประจาชาติของประเทศอินโดนีเซีย เกบาย่า (Kebaya) เป็ นชุดประจําชาติของประเทศอินโดนีเซี ยสําหรับผูหญิง มีลกษณะเป็ นเสื้ อแขนยาว ้ ั ผ่าหน้า กลัดกระดุม ตัวเสื้ อจะมีสีสันสดใส ปักฉลุเป็ นลายลูกไม้ ส่ วนผ้าถุงที่ใช้จะเป็ นผ้าถุงแบบบาติก ส่ วน การแต่งกายของผูชายมักจะสวมใส่ เสื้ อแบบบาติกและนุ่งกางเกงขายาวหรื อเตลุก เบสคาพ (Teluk Beskap) ้ ซึ่ งเป็ นการแต่งกายแบบผสมผสานระหว่างเสื้ อคลุมสั้นแบบชวาและโสร่ ง และนุ่งโสร่ งเมื่ออยูบานหรื อ ่ ้ ประกอบพิธีละหมาดที่มสยิด ั ภาพ 1.8 เกบาย่า เกบาย่า ประเทศอินโดนิเซีย
  • 37. 28 ภาพ 1.9 เตลุก เบสคาพ เตลุก เบสคาพ ประเทศอินโดนิเซีย
  • 38. 29 ประเทศฟิ ลิปปิ นส์ 7. ชุ ดประจาชาติของประเทศฟิ ลิปปิ นส์ ผูชายจะนุ่งกางเกงขายาวและสวมเสื้ อที่เรี ยกว่า บารอง ตากาล็อก (barong Tagalog) ซึ่งตัดเย็บด้วยผ้า ้ ใยสัปปะรด มีบ่า คอตั้ง แขนยาว ที่ปลายแขนเสื้ อที่ขอมือจะปั กลวดลาย ส่ วนผูหญิงนุ่งกระโปรงยาว ใส่ เสื้ อ ้ ้ สี ครี มแขนสั้นจับจีบยกตั้งขึ้นเหนื อไหล่คล้ายปี กผีเสื้ อ เรี ยกว่า บาลินตาวัก (balintawak) บารอง ตากาล็อก ประเทศฟิ ลิปินส์ ภาพ 1.10 บารอง ตากาล็อก,บาลินตาวัก บาลินตาวัก ประเทศฟิ ลิปินส์
  • 39. 30 ประเทศไทย 8. ชุ ดประจาชาติของประเทศไทย สําหรับชุดประจําชาติอย่างเป็ นทางการของไทย รู ้จกกันในนามว่า "ชุดไทยพระราชนิยม" โดยชุด ั ประจําชาติสาหรับสุ ภาพบุรุษ จะเรี ยกว่า "เสื้ อพระราชทาน" ํ สําหรับสุ ภาพสตรี จะเป็ นชุดไทยที่ประกอบด้วยสไบเฉี ยง ใช้ผายกมีเชิงหรื อยกทั้งตัว ซิ่ นมีจีบยก ้ ข้างหน้า มีชายพกใช้เข็มขัดไทยคาด ส่ วนท่อนบนเป็ นสไบ จะเย็บให้ติดกับซิ่ นเป็ นท่อนเดียวกันหรื อ จะมีผา ้ สไบห่มต่างหากก็ได้ เปิ ดบ่าข้างหนึ่ง ชายสไบคลุมไหล่ ทิ้งชายด้านหลังยาวตามที่เห็นสมควร ความสวยงาม ่ อยูที่เนื้ อผ้าการเย็บและรู ปทรงของผูที่สวม ใช้เครื่ องประดับได้งดงามสมโอกาสในเวลาคํ่าคืน ้ โดยชุ ดไทยพระราชนิยม แบ่ งออกเป็ น 8 ประเภท ดังนี้ 1. ชุดไทยเรื อนต้น 2. ชุดไทยจิตรลดา 3. ชุดไทยอมริ นทร์ 4. ชุดไทยบรมพิมาน 5. ชุดไทยจักรี 6. ชุดไทยจักรพรรดิ 7. ชุดไทยดุสิต 8. ชุดไทยศิวาลัย
  • 40. 31 ภาพ 1.11 ชุดไทยพระราชนิยม และเสื้ อพระราชทาน ชุ ดไทยพระราชนิยม และเสื้อพระราชทาน ประเทศไทย
  • 41. 32 ประเทศกัมพูชา 9. ชุ ดประจาชาติของประเทศกัมพูชา ชุดประจําชาติของกัมพูชาคือ ซัมปอต (Sampot) หรื อผ้านุ่งกัมพูชา ทอด้วยมือ มีท้ งแบบหลวมและ ั แบบพอดี คาดทับเสื้ อบริ เวณเอว ผ้าที่ใช้มกทําจากไหมหรื อฝ้ าย หรื อทั้งสองอย่างรวมกัน ซัมปอตสําหรับ ั ผูหญิงมีความคล้ายคลึงกับผ้านุ่งของประเทศลาวและไทย ทั้งนี้ ซัมปอดมีหลายแบบซึ่ งจะแตกต่างกันไป ้ ตามชนชั้นทางสังคมของชาวกัมพูชา ถ้าใช้ในชีวตประจําวันจะใช้วสดุราคาไม่สูง ซึ่ งจะส่ งมาจากประเทศ ิ ั ญี่ปุ่น นิยมทําลวดลายตามขวาง ถ้าเป็ นชนิดหรู หราจะทอด้ายเงินและด้ายทอง ภาพ 1.12 ซัมปอต ซัมปอต ประเทศกัมพูชา
  • 42. 33 ประเทศสิ งคโปร์ 10. ชุ ดประจาชาติประเทศสิ งคโปร์ สิ งคโปร์ ไม่มีชุดประจําชาติเป็ นของตนเอง เนื่ องจากประเทศสิ งคโปร์ แบ่งออกเป็ น 4 เชื้อชาติหลัก ๆ ได้แก่ จีน มาเลย์ อินเดีย และชาวยุโรป ซึ่ งแต่ละเชื้อชาติก็มีชุดประจําชาติเป็ นของตนเอง เช่น ผูหญิงมลายู ้ ในสิ งคโปร์ จะใส่ ชุดเกบาย่า (Kebaya) ตัวเสื้ อจะมีสีสันสดใส ปั กฉลุเป็ นลายลูกไม้ หากเป็ นชาวจีน ก็จะ สวมเสื้ อแขนยาว คอจีน เสื้ อผ้าหน้าซ่อนกระดุม สวมกางเกงขายาว โดยเสื้ อจะใช้ผาสี เรี ยบหรื อผ้าแพรจีน ้ ภาพ 1.13 ชุดเกบาย่า ชุ ดเกบาย่ า ประเทศสิ งคโปร์ ่ ้ รู ้จกกันไปแล้วสําหรับชุดประจําชาติสวย ๆ ของชาติสมาชิกอาเซี ยน ที่เราอาจได้เห็นกันอยูบางจาก ั บรรดาผูนาชาติอาเซียนที่มาประชุมในบ้านเรา หรื อในประเทศอื่น ๆ ซึ่ งต้องบอกเลยว่า แต่ละชาติต่างก็มี ้ ํ เครื่ องแต่งกายที่สวยงาม และสะท้อนอัตลักษณ์ของแต่ละชาติสมาชิกสมาคมอาเซี ยนได้เป็ นอย่างดี
  • 43. 34 บทที่ 4 สถานทีน่าสนใจใน 10 ประเทศอาเซียน (Attraction of the 10 ASEAN countries) ่ 1.ประเทศไทย เกาะเต่ า ภาพ 1.1 เกาะเต่า ่ ่ เกาะเต่า มีพ้ืนที่อยูในฝั่งของทะเลอ่าวไทย และอยูในเขตการปกครองของจังหวัดสุ ราษฎร์ ธานี ลักษณะของ สถานที่ท่องเที่ยวในประเทศไทย เกาะเต่า จะมีลกษณะที่โค้งเว้า เหมือนกับเมล็ดถัว นอกจากนี้ ั ่ สถานที่ท่องเที่ยวในประเทศไทยในบริ เวณใกล้เคียงกับเกาะเต่ายังมีเกาะนางยวนซึ่ ง เป็ นเกาะเล็กๆ ด้าน ตะวันตะวันตกเฉี ยงเหนือของเกาะเต่า มีสันทรายเชื่ อมต่อกับเกาะเต่าในลักษณะเหมือนทะเลแหวก เป็ น แหล่งดํานํ้าชมปะการังอีกแห่ งหนึ่ง อุทยานแห่ งชาติดอยอินทนนท์ ภาพ 1.2 อุทยานแห่งชาติดอยอิทนนท์ ่ อุทยานแห่งชาติดอยอินทนนท์ มีพ้ืนที่ครอบคลุมอยูในท้องที่อาเภอดอยหล่อ อําเภอจอมทองและ ํ อําเภอแม่แจ่ม จังหวัดเชียงใหม่ ประกอบไปด้วยภูเขาสู งสลับซับซ้อน มีดอยอินทนนท์ซ่ ึ งเป็ นยอดเขาที่สูง ที่สุดในประเทศไทย