SlideShare una empresa de Scribd logo
1 de 18
Descargar para leer sin conexión
เทคนิคการสัมภาษณ์เข้าศึกษา
ต่อระดับอุดมศึกษา
โรงเรียนเฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระศรีนครินทร์ กาญจนบุรี
โดย
นางอุไรวรรณ มะลิลา
ครูแนะแนว
เมื่อสถาบันการศึกษาระดับอุดมศึกษาได้ประกาศผลผู้สอบผ่านข้อเขียน
แล้ว ก็ต้องไปสอบสัมภาษณ์เพื่อทราบผลครั้งสุดท้าย หรือบางสถาบัน
อาจมีการคัดเลือกโดยการสัมภาษณ์เพียงอย่างเดียว ดังนั้นสิ่งที่
นักเรียนควรจะศึกษาเป็นอย่างยิ่งก็คือ การเตรียมตัวเพื่อการสอบ
สัมภาษณ์และเทคนิคการสอบสัมภาษณ์ ซึ่งก็มีความสาคัญต่อนักเรียน
เช่นกัน
เทคนิคในการสอบสัมภาษณ์เข้าศึกษา
เทคนิคการสอบสัมภาษณ์มีดังนี้คะ
ระดับอุดมศึกษา
1. การเตรียมตัวก่อนวันไปสัมภาษณ์
เตรียมเอกสารส่วนตัวให้เรียบร้อย จัดลงในแฟ้มสะสมผลงาน หรือ
PORTFOLIO ให้เป็นระบบ ตัวอย่างเอกสาร เช่น ประวัติส่วนตัว ประวัติการเรียน
ผลการเรียน การร่วมกิจกรรมต่าง ๆ ทั้งภายในและภายนอกโรงเรียน การ
ประกวดแข่งขัน ผลงานและรางวัลต่าง ๆ รูปภาพ ฯลฯ
 ศึกษาข้อมูลเกี่ยวกับมหาวิทยาลัย คณะ และสาขาวิชาที่สมัครเข้าศึกษา
รวมทั้งติดตามข่าวสารความรู้ทั่วไปในปัจจุบัน
 ศึกษาข้อมูลเกี่ยวกับสถานที่ไปสัมภาษณ์ การเดินทาง ระยะทาง ตึก-ห้อง
ที่จะสัมภาษณ์ ควรจะเผื่อรถติดด้วย
พักผ่อนให้เพียงพอ ควรงดการรับประทานอาหารรสจัด (ป้องกันท้องเสีย)
 อย่าลืมเตรียมปากกาไปด้วย
2. วันสอบสัมภาษณ์
แต่งกายเครื่องแบบนักเรียนที่สะอาด เรียบร้อย นักเรียนชายผมสั้น
โกนหนวดเครา นักเรียนหญิงถ้าผมยาวให้รวบผมติดกิ๊บดาให้เรียบร้อย
ไม่แต่งหน้า ไม่ใส่น้าหอม และไม่ใส่เครื่องประดับใดๆ นอกจากนาฬิกา
รับประทานอาหารเช้า ทาภารกิจส่วนตัวให้เรียบร้อย
ไปถึงห้องสอบก่อนเวลาไม่น้อยกว่า 15 นาที เข้าห้องน้า นั่งรอหน้า
ห้องด้วยความสบายใจ ไม่คุยเสียงดัง ไม่เล่น ให้นั่งรอเรียกชื่อด้วยความ
สงบ ถ้าตื่นเต้นให้หายใจยาวๆ
ปิดโทรศัพท์มือถือ
3. การเข้ารับการสัมภาษณ์
 เมื่อถูกเรียกชื่อให้เดินไปด้วยอาการสงบ ไม่ต้องตื่นเต้นมาก คิดว่า
“เราทาได้”
 ถ้ามีประตูให้เคาะประตูก่อน ถ้าไม่มี ให้เดินไปที่หน้าโต๊ะกรรมการ
สัมภาษณ์ และ ไหว้ด้วยท่าทีที่อ่อนน้อม กรณีที่มีผู้สัมภาษณ์หลายคน
ให้ทาความเคารพครั้งเดียว โดยยืนตาแหน่งตรงกลางหน้าโต๊ะ
กรรมการ
นั่งลงเมื่อกรรมการบอกให้นั่ง พร้อมทั้งกล่าวคาขอบคุณ ให้นั่งด้วย
ท่าทีที่สุภาพ ไม่นั่งไขว่ห้าง กระดิกขา หรือโยกตัว ให้ประสานมือไว้
ข้างหน้า สบตาผู้สัมภาษณ์ (ไม่จ้องตา)
ตอบคาถามด้วยความมั่นใจ มีน้าเสียงที่ดังพอสมควรไม่ค่อยเกินไป
ภาษาที่ใช้ควรจะเป็นภาษาที่ถูกต้องเหมาะสม ไม่พูดภาษาไทยคาอังกฤษ
คา ไม่ใช้ศัพท์เฉพาะของวัยรุ่น ควรจะลงท้าย “ค่ะ ครับ” ทุกครั้งที่ตอบ
คาถาม
การแสดงความคิดเห็นควรจะเน้นความมีเหตุผล ไม่มีอคติหรือตอบในแง่
ลบ
ไม่ถ่อมตนจนเกินไป ไม่คุยโอ้อวดหรือแสดงความมั่นใจจนเกินไป นอกจาก
เป็นคาถามที่ตนเองมีความชานาญเฉพาะด้าน เช่น มีทักษะด้านหุ่นยนต์ หรือ
ดนตรีไทย ก็สามารถอธิบายได้ด้วยความมั่นใจ
 คาถามบางคาถามอาจจะตอบไม่ได้ ไม่ต้องตกใจ ให้บอกว่าไม่ทราบ
แล้วจะไปหาข้อมูลเพิ่มเติม (แต่ไม่ใช่ไม่ทราบทุกคาถาม)
3. การเข้ารับการสัมภาษณ์
4. การยุติการสัมภาษณ์
เมื่อสิ้นสุดการสัมภาษณ์ให้ทาความเคารพ
กรรมการผู้สัมภาษณ์ด้วยท่าทีที่อ้อนน้อม
เป็นอันเสร็จสิ้นการสัมภาษณ์ คราวนี้
ก็รอลุ้นการประกาศรายชื่อ 
5. คาถามที่มักจะพบในการสอบสัมภาษณ์
แนะนำตัวหน่อยสิครับ /ค่ะ
ทำไมถึงเลือกเรียน สำขำวิชำ คณะ และมหำวิทยำลัยนี้
ทรำบไหมว่ำสำขำวิชำนี้เรียนเกี่ยวกับอะไร
คิดว่ำสำขำวิชำที่เลือกเมื่อจบแล้วจะประกอบอำชีพอะไรได้บ้ำง
คิดว่ำตนเองเหมำะสมกับสำขำวิชำนี้อย่ำงไร
บำงท่ำนอำจจะถำมข้อมูลเกี่ยวกับจังหวัดที่เรำอยู่ เช่น สถำนที่ท่องเที่ยว
คำขวัญของจังหวัด จุดเด่นของจังหวัด ฯลฯ
5. คาถามที่มักจะพบในการสอบสัมภาษณ์ (ต่อ)
ชอบ/ไม่ชอบวิชาอะไร
อนาคตอยากจะประกอบอาชีพอะไร
ให้พูดถึงข้อดี/ข้อเสียของตนเอง
ถ้าเป็นสาขาวิชาที่เกี่ยวข้องกับภาษา หรือแผนการเรียนที่นักเรียนเรียน
จบมา อาจจะมีการสัมภาษณ์เป็นภาษานั้น หรือ ให้พูดภาษาอังกฤษ จีน
ญี่ปุ่น ฝรั่งเศส หรือ เยอรมัน ให้ฟัง เป็นต้น
บางครั้งอาจจะมีคาถามยั่วยุ หรือสบประมาท ให้ตอบคาถามด้วยความใจ
เย็น มีเหตุผล และที่สาคัญที่สุด ไม่ว่าสถานการณ์การสัมภาษณ์จะกดดัน
ความรู้สึกอย่างไรก็ขอให้นักเรียนยิ้มไว้เป็นดีที่สุด
มีความถนัดและสนใจในรายวิชาใด หรือ มีความสามารถพิเศษ
อะไรบ้าง
คาถามอื่น ๆ ที่เกี่ยวข้องกับการเข้าศึกษา เช่น ต้องการทุนการศึกษา
ไหม , ถ้าภูมิลาเนาอยู่ไกล ต้องการหอพักภายในมหาวิทยาลัยรึเปล่า,
กิจกรรมที่ตัวเองเคยทาและสนใจที่จะทา ฯลฯ
มีคาถามอะไรที่อยากจะถามอาจารย์ไหม ไม่ต้องกังวลแต่อย่างใด
อย่างที่บอก คิดซะว่า “อาจารย์เขาต้องการจะรู้จักว่าที่ลูกศิษย์ของ
อาจารย์เท่านั้นเอง”
5. คาถามที่มักจะพบในการสอบสัมภาษณ์ (ต่อ)
การเตรียมตัวก่อนสอบสัมภาษณ์
1. เตรียมเอกสารต่าง ๆ ตามที่คณะกาหนด ไม่ว่าจะเป็นต้นฉบับหรือสา
นา ต้องเตรียมให้ครบ จะได้ไม่มีปัญหาในวันสอบสัมภาษณ์ เพราะวันนั้น
อาจจะตื่นเต้นนิดหน่อย แล้วถ้าเกิดเตรียมเอกสารมาไม่ครบอีก จะว้าวุ่น
ใจเสียสมาธิ
2. ตรวจสอบสถานที่สอบสัมภาษณ์ให้ดีว่า ต้องสอบสัมภาษณ์ที่ตึกไหน
ห้องไหน เพราะหลายคนอาจจะยังไม่เคยไปที่คณะหรือสถานที่จริง ๆ
ดังนั้นต้องถามรุ่นพี่ หรือลองไปดูสถานที่สอบสัมภาษณ์จริง ๆ ก่อนจะได้
ไม่มีปัญหาในวันสอบสัมภาษณ์
3.ควรไปถึงห้องสอบสัมภาษณ์ก่อนเวลาอย่างน้อย 20 นาที อาจจะคิดว่า เรื่องแบบนี้
ใคร ๆ ก็รู้ แต่รู้ไหมการไปก่อนเวลามีข้อดี หลายอย่าง มีดังนี้
จะได้มีเวลาเผื่อว่ารถติดขึ้นมา ก็ไม่กระทบกับการสอบสัมภาษณ์ของเรา
บางคณะอาจจะมีเอกสารให้กรอกก่อนที่จะเข้าห้องสอบสัมภาษณ์ ไปก่อนเวลาจะ
ได้มีเวลากรอกเอกสารนั้น
หากพบว่ามีเอกสารอะไรที่เตรียมมาไม่ครบ จะได้มีเวลาไปถ่าย
เอกสารยังไงล่ะ
จะได้มีเวลาเข้าห้องน้าและเตรียมตัวเองก่อนเข้าห้องสอบสัมภาษณ์
นอกจากนั้นแล้ว ยังมีเวลาทาความรู้จักกับเพื่อน ๆ ที่ไปสอบ
สัมภาษณ์เหมือนกัน พวกเขาไม่ใช่เพื่อนธรรมดา แต่เพื่อน ๆ ที่ เจอนั้น จะเป็นเพื่อน
ร่วมสายอาชีพในอนาคตเลยทีเดียวนะ (ก็เรียนคณะเดียวกัน) การทาความรู้จักกับเพื่อน
ไว้ล่วงหน้าแบบนี้ เวลาเปิดเทอมจะได้มีเพื่อนเรียนด้วยเลย
การเตรียมตัวก่อนสอบสัมภาษณ์ (ต่อ)
4. สาหรับชุดที่ใส่ก็เป็นชุดนักเรียน ส่วนผู้ที่สอบใหม่อีกรอบ(ซิ่ว)ก็ใส่ชุด
สุภาพ ซึ่งชุดที่เหมาะสมก็น่าจะเป็นชุดนิสิตนักศึกษาของสถาบันเดิม
หรือถ้ายังเก็บชุดนักเรียนไว้อยู่ ก็จะเอามาใส่ก็ได้ในทางปฏิบัติ ก็มีหลาย
คนที่ใส่ชุดนักเรียนไป แม้ว่าจะเป็นการสอบรอบที่สองแล้วก็ตาม
5. เตรียมตัวเตรียมใจแบบสบาย ๆ หลายคนกังวลกับการสอบสัมภาษณ์
เพราะมันขึ้นชื่อว่า “สอบ” เลยกลัวไว้ก่อน ไม่ต้องกังวลกับการสอบ
สัมภาษณ์คิดซะว่า อาจารย์เขาอยากจะพบปะพูดคุยกับคนที่จะมาเป็นลูก
ศิษย์ในอนาคตเท่านั้นเอง ก็จะสบายใจขึ้น
การเตรียมตัวก่อนสอบสัมภาษณ์ (ต่อ)
มีการตกสัมภาษณ์ไหม ???
 โดยทั่วไป ถ้าสอบผ่านมาได้แล้ว ก็มักจะไม่มีการตกสัมภาษณ์
เพราะเป็นระบบที่ส่วนกลางคัดเลือกผู้สมัครมาให้ ทางคณะไม่ได้จัดสอบเอง
 แต่การตกสัมภาษณ์มักจะพบในกลุ่มคณะทางสายวิทยาศาสตร์
สุขภาพ (คณะแพทยศาสตร์, ทันตแพทยศาสตร์, เภสัชศาสตร์, พยาบาล
ศาสตร์, สหเวชศาสตร์, เทคนิคการแพทย์) ซึ่งเหตุผลของการตกสัมภาษณ์
นั้นอาจเกี่ยวกับด้านอุปกรณ์การเรียนการสอนต้องมีจานวนเท่ากับนักศึกษา
ที่รับเข้าเรียน หรือเกี่ยวกับคุณสมบัติของผู้สมัครเอง เช่น ปัญหาทางสุขภาพ
ตาบอดสี เพราะมันจะเป็นอุปสรรคต่อการศึกษา เช่น ผู้ที่เป็นตาบอดสีนั้น
จะไม่สามารถดูเซลล์ย้อมสีได้ ฯลฯ
ดังนั้น ผู้ที่สอบติดในคณะทางสายวิทยาศาสตร์สุขภาพแบบนี้ ขอให้
ตรวจสอบคุณสมบัติ โรคประจาตัว หรือข้อบกพร่องต่าง ๆ ของตัวเองให้ดี ๆ
จะได้ไม่มีปัญหาทีหลังนะ ซึ่งคุณสมบัติเหล่านี้ สามารถศึกษาได้จากหนังสือ
ระเบียบการคัดเลือกฯ(ที่ได้ตอนซื้อใบสมัครเลือกคณะ เล่มหนา ๆ) และก็
ศึกษาได้จากประกาศของทางคณะ/มหาวิทยาลัย
สรุปแล้ว ถ้าเตรียมตัวมาดี ๆ ตรวจสอบคุณสมบัติของตัวเองอย่างถี่ถ้วนแล้ว
ก็เดินเข้าห้องสอบสัมภาษณ์ด้วยความมั่นใจเลย ทาตัวสบาย ๆ ไม่ตก
สัมภาษณ์แน่นอน
มีการตกสัมภาษณ์ไหม ??? (ต่อ)
โชคดีในการสอบสัมภาษณ์นะคะ
ได้คณะที่ชอบ สาขาที่ใช่นะคะทุกคน
สว.กจ. ยินดีกับความสาเร็จของศิษย์เสมอ
สื่อแนะแนวการศึกษาต่อสายวิทย์ม.6ภาค2ปี58

Más contenido relacionado

Destacado

นำเสนอ ศึกษาต่อ ม3
นำเสนอ  ศึกษาต่อ ม3นำเสนอ  ศึกษาต่อ ม3
นำเสนอ ศึกษาต่อ ม3
saowanee Somsuktavekul
 
การค้นหาลักษณะนิสัย
การค้นหาลักษณะนิสัยการค้นหาลักษณะนิสัย
การค้นหาลักษณะนิสัย
พัน พัน
 
บริการแนะแนว
บริการแนะแนวบริการแนะแนว
บริการแนะแนว
wanwisa491
 
สื่อแนะแนวการศึกษาต่อม.3ภาค1 ปี57
สื่อแนะแนวการศึกษาต่อม.3ภาค1 ปี57สื่อแนะแนวการศึกษาต่อม.3ภาค1 ปี57
สื่อแนะแนวการศึกษาต่อม.3ภาค1 ปี57
พัน พัน
 
ความรู้เกี่ยวกับงานอาชีพ (2001 1001)
ความรู้เกี่ยวกับงานอาชีพ (2001 1001)ความรู้เกี่ยวกับงานอาชีพ (2001 1001)
ความรู้เกี่ยวกับงานอาชีพ (2001 1001)
nunun1361
 
อาชีพในฝัน
อาชีพในฝันอาชีพในฝัน
อาชีพในฝัน
Wanlop Chimpalee
 

Destacado (9)

นำเสนอ ศึกษาต่อ ม3
นำเสนอ  ศึกษาต่อ ม3นำเสนอ  ศึกษาต่อ ม3
นำเสนอ ศึกษาต่อ ม3
 
การค้นหาลักษณะนิสัย
การค้นหาลักษณะนิสัยการค้นหาลักษณะนิสัย
การค้นหาลักษณะนิสัย
 
บริการแนะแนว
บริการแนะแนวบริการแนะแนว
บริการแนะแนว
 
บริการจัดวางตัวบุคคล
บริการจัดวางตัวบุคคลบริการจัดวางตัวบุคคล
บริการจัดวางตัวบุคคล
 
สื่อแนะแนวการศึกษาต่อม.3ภาค1 ปี57
สื่อแนะแนวการศึกษาต่อม.3ภาค1 ปี57สื่อแนะแนวการศึกษาต่อม.3ภาค1 ปี57
สื่อแนะแนวการศึกษาต่อม.3ภาค1 ปี57
 
ความรู้เกี่ยวกับงานอาชีพ (2001 1001)
ความรู้เกี่ยวกับงานอาชีพ (2001 1001)ความรู้เกี่ยวกับงานอาชีพ (2001 1001)
ความรู้เกี่ยวกับงานอาชีพ (2001 1001)
 
การแนะแนวและให้คำปรึกษา
การแนะแนวและให้คำปรึกษาการแนะแนวและให้คำปรึกษา
การแนะแนวและให้คำปรึกษา
 
อาชีพในฝัน
อาชีพในฝันอาชีพในฝัน
อาชีพในฝัน
 
แผนการจัดการเรียนรู้ เรื่อง อาชีพ
แผนการจัดการเรียนรู้ เรื่อง อาชีพแผนการจัดการเรียนรู้ เรื่อง อาชีพ
แผนการจัดการเรียนรู้ เรื่อง อาชีพ
 

Similar a สื่อแนะแนวการศึกษาต่อสายวิทย์ม.6ภาค2ปี58

Best practice รองฉวีวรรณ ลาภเสถียร
Best practice รองฉวีวรรณ ลาภเสถียรBest practice รองฉวีวรรณ ลาภเสถียร
Best practice รองฉวีวรรณ ลาภเสถียร
somdetpittayakom school
 
วิจัย 29 ม.ค. 2
วิจัย 29 ม.ค. 2วิจัย 29 ม.ค. 2
วิจัย 29 ม.ค. 2
nakaenoi
 
การบริหารงานโรงเรียนปรางค์กู่
การบริหารงานโรงเรียนปรางค์กู่การบริหารงานโรงเรียนปรางค์กู่
การบริหารงานโรงเรียนปรางค์กู่
prangkupk
 
Pedagogical constrains in elt in thailand 2
Pedagogical constrains in elt in thailand 2Pedagogical constrains in elt in thailand 2
Pedagogical constrains in elt in thailand 2
Sometime Eng
 
โครงงานคอม
โครงงานคอมโครงงานคอม
โครงงานคอม
Szo'k JaJar
 
โครงงานคอม
โครงงานคอมโครงงานคอม
โครงงานคอม
Szo'k JaJar
 
03การเปรียบเทียบผลการเรียนรู้
03การเปรียบเทียบผลการเรียนรู้ 03การเปรียบเทียบผลการเรียนรู้
03การเปรียบเทียบผลการเรียนรู้
JeeraJaree Srithai
 
สำรวจเทคน คการจ ดอ_นด_บกสพท
สำรวจเทคน คการจ ดอ_นด_บกสพทสำรวจเทคน คการจ ดอ_นด_บกสพท
สำรวจเทคน คการจ ดอ_นด_บกสพท
Szo'k JaJar
 

Similar a สื่อแนะแนวการศึกษาต่อสายวิทย์ม.6ภาค2ปี58 (19)

Problem copy
Problem   copyProblem   copy
Problem copy
 
แบบประเมินมาตรฐานวิชาชีพครู(ประเมินตนเอง)
แบบประเมินมาตรฐานวิชาชีพครู(ประเมินตนเอง)แบบประเมินมาตรฐานวิชาชีพครู(ประเมินตนเอง)
แบบประเมินมาตรฐานวิชาชีพครู(ประเมินตนเอง)
 
B1
B1B1
B1
 
บทคัดย่อทานิน
บทคัดย่อทานินบทคัดย่อทานิน
บทคัดย่อทานิน
 
Best practice รองฉวีวรรณ ลาภเสถียร
Best practice รองฉวีวรรณ ลาภเสถียรBest practice รองฉวีวรรณ ลาภเสถียร
Best practice รองฉวีวรรณ ลาภเสถียร
 
วิจัย 29 ม.ค. 2
วิจัย 29 ม.ค. 2วิจัย 29 ม.ค. 2
วิจัย 29 ม.ค. 2
 
Chapter 9
Chapter 9Chapter 9
Chapter 9
 
การบริหารงานโรงเรียนปรางค์กู่
การบริหารงานโรงเรียนปรางค์กู่การบริหารงานโรงเรียนปรางค์กู่
การบริหารงานโรงเรียนปรางค์กู่
 
Pedagogical constrains in elt in thailand 2
Pedagogical constrains in elt in thailand 2Pedagogical constrains in elt in thailand 2
Pedagogical constrains in elt in thailand 2
 
ชุดที่16
ชุดที่16ชุดที่16
ชุดที่16
 
ก.ค.ศ.3
ก.ค.ศ.3ก.ค.ศ.3
ก.ค.ศ.3
 
โครงงานคอม
โครงงานคอมโครงงานคอม
โครงงานคอม
 
โครงงานคอม
โครงงานคอมโครงงานคอม
โครงงานคอม
 
03การเปรียบเทียบผลการเรียนรู้
03การเปรียบเทียบผลการเรียนรู้ 03การเปรียบเทียบผลการเรียนรู้
03การเปรียบเทียบผลการเรียนรู้
 
Tqa panisara
Tqa panisaraTqa panisara
Tqa panisara
 
การนำเสนอผลการติดตามโครงการยกระดับคุณภาพและผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน
การนำเสนอผลการติดตามโครงการยกระดับคุณภาพและผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนการนำเสนอผลการติดตามโครงการยกระดับคุณภาพและผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน
การนำเสนอผลการติดตามโครงการยกระดับคุณภาพและผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน
 
สำรวจเทคน คการจ ดอ_นด_บกสพท
สำรวจเทคน คการจ ดอ_นด_บกสพทสำรวจเทคน คการจ ดอ_นด_บกสพท
สำรวจเทคน คการจ ดอ_นด_บกสพท
 
Wanida 134 cai
Wanida 134 cai Wanida 134 cai
Wanida 134 cai
 
Instructional 1
Instructional 1Instructional 1
Instructional 1
 

Más de พัน พัน

Más de พัน พัน (20)

เรื่องระบบปฏิบัติการ
เรื่องระบบปฏิบัติการเรื่องระบบปฏิบัติการ
เรื่องระบบปฏิบัติการ
 
เรื่องภาษาซี
เรื่องภาษาซีเรื่องภาษาซี
เรื่องภาษาซี
 
ประวัติความเป็นมาของคอมพิวเตอร์
ประวัติความเป็นมาของคอมพิวเตอร์ประวัติความเป็นมาของคอมพิวเตอร์
ประวัติความเป็นมาของคอมพิวเตอร์
 
การเปลี่ยนตัวเลขให้เป็นตัวอักษร
การเปลี่ยนตัวเลขให้เป็นตัวอักษรการเปลี่ยนตัวเลขให้เป็นตัวอักษร
การเปลี่ยนตัวเลขให้เป็นตัวอักษร
 
หลักการทำงาน บทบาทและอุปกรณ์พื้นฐานของคอมพิวเตอร์
หลักการทำงาน บทบาทและอุปกรณ์พื้นฐานของคอมพิวเตอร์หลักการทำงาน บทบาทและอุปกรณ์พื้นฐานของคอมพิวเตอร์
หลักการทำงาน บทบาทและอุปกรณ์พื้นฐานของคอมพิวเตอร์
 
รายงานเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์
รายงานเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์รายงานเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์
รายงานเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์
 
การทำงานพื้นฐานของคอมพิวเตอร์
การทำงานพื้นฐานของคอมพิวเตอร์การทำงานพื้นฐานของคอมพิวเตอร์
การทำงานพื้นฐานของคอมพิวเตอร์
 
การทำงานของคอมพิวเตอร์
การทำงานของคอมพิวเตอร์การทำงานของคอมพิวเตอร์
การทำงานของคอมพิวเตอร์
 
ระบบคอมพิวเตอร์และยุคสมัย
ระบบคอมพิวเตอร์และยุคสมัยระบบคอมพิวเตอร์และยุคสมัย
ระบบคอมพิวเตอร์และยุคสมัย
 
เรื่องเทคโนโลยีสารสนเทศ
เรื่องเทคโนโลยีสารสนเทศเรื่องเทคโนโลยีสารสนเทศ
เรื่องเทคโนโลยีสารสนเทศ
 
ประเภทของคอมพิวเตอร์
ประเภทของคอมพิวเตอร์ประเภทของคอมพิวเตอร์
ประเภทของคอมพิวเตอร์
 
เครือข่ายคอมพิวเตอร์เบื้องต้น
เครือข่ายคอมพิวเตอร์เบื้องต้นเครือข่ายคอมพิวเตอร์เบื้องต้น
เครือข่ายคอมพิวเตอร์เบื้องต้น
 
เรื่องคอมพิวเตอร์เบื้องต้น
เรื่องคอมพิวเตอร์เบื้องต้นเรื่องคอมพิวเตอร์เบื้องต้น
เรื่องคอมพิวเตอร์เบื้องต้น
 
เรื่องด้านคอมพิวเตอร์
เรื่องด้านคอมพิวเตอร์เรื่องด้านคอมพิวเตอร์
เรื่องด้านคอมพิวเตอร์
 
เรื่องคอมพิวเตอร์
เรื่องคอมพิวเตอร์เรื่องคอมพิวเตอร์
เรื่องคอมพิวเตอร์
 
โครงงานคอม
โครงงานคอมโครงงานคอม
โครงงานคอม
 
การปริ้น
การปริ้นการปริ้น
การปริ้น
 
Office
OfficeOffice
Office
 
ปัญหาทรัพยากรป่าไม้
ปัญหาทรัพยากรป่าไม้ปัญหาทรัพยากรป่าไม้
ปัญหาทรัพยากรป่าไม้
 
ยาเสพติด
ยาเสพติดยาเสพติด
ยาเสพติด
 

สื่อแนะแนวการศึกษาต่อสายวิทย์ม.6ภาค2ปี58