SlideShare una empresa de Scribd logo
1 de 23
Descargar para leer sin conexión
โครงงานวิทยาศาสตร์
เรื่อง สมุนไพรกาจัดปลวก
จัดทาโดย
1. นางสาวธนาภรณ์ นิลบุตร
2. นางสาวปัฐนิดา กาลังหาญ
3. นางสาวณิชาภัทร ปฏิมาปกรณ์
4.นางสาวกาญจนาพร รุ้งพรม
5.นางสาวณัฐวดี สืบเรือง
ครูที่ปรึกษา
นายทรงศักดิ์ โพธิ์เอี่ยม
โรงเรียนเฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระศรีนครินทร์ กาญจนบุรี
ชื่อโครงงาน สมุนไพรกาจัดปลวก
ประเภทโครงงาน การทดลอง
ผู้จัดทา 1. นางสาวธนาภรณ์ นิลบุตร
2. นางสาวปัฐนิดา กาลังหาญ
3. นางสาวณิชาภัทร ปฏิมาปกรณ์
4.นางสาวกาญจนาพร รุ้งพรม
5.นางสาวณัฐวดี สืบเรือง
ระดับชั้น มัธยมศึกษา
ครูที่ปรึกษา นายทรงศักดิ์ โพธิ์เอี่ยม
บทคัดย่อ
สมุนไพร ที่เลือกนามากาจัดปลวกคือ ใบสัก ใบน้อยหน่า ใบขี้เหล็ก และใบ
เสลดพังพอนโดยนาใบพืชทั้ง 4 ชนิด ชนิดละ 50 กรัม มาโขลกให้ละเอียด เติมน้าให้พอท่วม คั้น
น้าจากใบพืช แล้วเติมน้าเปล่าลงไปให้ได้ 200 มิลลิลิตร นาไปฉีดพ่นปลวก ที่ใส่ไว้ในถาด
พลาสติก ถาดละ 20 ตัว จับเวลา 2 นาที สังเกตพฤติ กรรมของปลวก ปรากฏ ปลว กที่ถูกฉีด
พ่นด้วนน้าจากใบขี้เหล็ก ตายทั้งหมด และปลวก ที่ถูกฉีดพ่นด้วยน้าคั้นจากใบ น้อยหน่า ใบสัก
ใบเสลดพังพอน ตายเป็นจานวนมาก ตามลาดับ แสดงว่าน้าที่คั้นจากใบขี้เหล็กสามารถ กาจัด
ปลวกได้ดี แต่การกาจัดปลวกด้วยน้าจากใบขี้เหล็กต้องฉีดพ่นที่ตัวปลวก ถ้าไม่พบตัวปลวก
ก็ไม่สามารถใช้ได้ ทางกลุ่มทดลอง จึงคิดวิธี ที่จะทาให้น้าจากใบขี้เหล็ก เป็นผงสาหรับโรยไว้ที่
รังปลวก เพื่อช่วยป้องกันปลวกได้ไม่ให้มาขึ้นบริเวณเดิมอีก จึงนาน้าจากใบขี้เหล็กมาผสมกับ
แป้งดินสอพอง ให้เข้ากันดี แล้วใส่พิมพ์ผึ่งแดดให้แห้ง เวลาจะใช้ก็ ทุบ ให้เป็นผงแล้วนาไป
โรยบริเวณรังปลวก หลังจากที่ฉีดพ่นน้าจากใบขี้เหล็กแล้ว ทาการทดลอง 3 สถานที่ ที่มีปลวก
ทารังอยู่ โดยใช้น้าคั้นจากใบขี้เหล็ก ราดรด ให้ตัวปลวกตายทั้งหมดก่อน แล้วโรยด้วยแป้ง
สมุนไพรจากใบขี้เหล็ก ติดตามดูผลการทดลอง 30 วัน ปรากฏว่าปลวกไม่กลับมาทารังใน
บริเวณเดิม อีก แสดงว่า แป้งสมุนไพรจากใบขี้เหล็กสามารถป้องกันไม่ให้ปลวกกลับมาทารังที่
เดิมอีก
ข
กิตติกรรมประกาศ
โครงงานสามารถบรรลุผลสาเร็จได้ดี ด้วยความร่วมมือจากผู้ปกครอง คุณครู และ
เพื่อนๆ ผู้จัดทาขอขอบพระคุณ คุณพ่อ คุณแม่ ของคณะผู้จัดทาที่ช่วยในการจัดหาใบ
เสลดพังพอน และแป้งดินสอพอง ขอขอบคุณ คุณครูที่ช่วยให้คาปรึกษาแนะนาในการทา
โครงงานครั้งนี้ ขอขอบคุณ พี่ๆ และเพื่อนๆ ที่ช่วย ทดลองใช้แป้งสมุนไพร ที่จัดทาขึ้น ทาให้
งานชิ้นนี้สาเร็จไปด้วยดี
คณะผู้จัดทา
ค
สารบัญ
หน้า
บทคัดย่อ ก
กิตติกรรมประกาศ ข
คานา ค
บทที่ 1 ความเป็นมา 1
วัตถุประสงค์ 2
ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ
สมมติฐาน
บทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้อง 3
บทที่ 3 การดาเนินงาน 12
บทที่ 4 ผลการดาเนินงาน 15
บทที่ 5 สรุปผล อภิปรายผล และข้อเสนอแนะ 16
สรุปผลการทดลอง
อภิปรายผลการทดลอง
ประโยชน์ที่ได้รับ
ข้อเสนอแนะ
บรรณานุกรม 17
ภาคผนวก 18
1
ที่มาของโครงงาน
เนื่องจาก วันหนึ่งคุณครูได้ให้นักเรียน ไปช่วยยกหนังสือเก่า ที่เก็บในตู้ห้องเก็บของ ของ
โรงเรียน ปรากฏว่า พบปลวก จานวนมาก กัดกินหนังสือเสียหายเกือบทั้งหมด และ ตู้ไม้ก็ ถูก
ปลวกกัดกิน จนพัง นักเรียนหลายคนบอกว่าที่บ้านของเพื่อนก็มีปลวกขึ้นตาม ฝาผนังไม้ตู้เสื้อผ้า
ผู้ปกครองต้องซื้อ ยากาจัดปลวก มาฉี ดพ่นอยู่เสมอ ๆ เมื่อมีปลวกก็ทาให้สิ่งของเสียหาย
สิ้นเปลืองเงิน และสารเคมีที่ใช้ฉีดฆ่าปลวกก็เป็นอันตรายอีกด้วย
จากความรู้เดิม ทราบว่า มีใบพืชบางชนิด ที่ช่วยป้องกันแมลง พวก มด และยุงได้ก็น่า จะมีพืชที่
กาจัด ปลวกได้ จึงค้นคว้า จาก อินเตอร์เน็ต ทาให้ทราบว่า น้าคั้นจากใบสัก ใบ ขี้เหล็ก ใบ
น้อยหน่า และใบเสลดพังพอน สามารถนามา กาจัดปลวกได้
คณะผู้จัดทาโครงงาน จึงได้ทาการทดลองนาใบพืชทั้ง ชนิด และ มาโขลก กรองเอาน้า
มากาจัดปลวก ปรากฏ ว่า น้าจาก ใบขี้เหล็กกาจัดปลวกได้ดีที่สุด โดยฉีดพ่น หรือราดที่ตัวปลวก
และเพื่อป้องกันไม่ให้ปลวกรุ่นใหม่มาขึ้นอีก พวกเราได้ทดลองนาน้าจาก ใบขี้เหล็ก มาผสมกับ
แป้งดินสอพอง ใส่พิมพ์ ตากให้แห้ง เวลาใช้ก็ทุบให้เป็นผง นาไปโรยบริเวณที่เคยมีพวกขึ้น
ปรากฏว่า ในเวลาที่ทดลอง 4 สัปดาห์ปลวกไม่กลับมาขึ้นบริเวณที่โรยแป้งอีก
วัตถุประสงค์ของโครงงาน
1 เพื่อเปรียบเทียบการกาจัดปลวกด้วย น้าคั้นจาก ใบสัก ใบน้อยหน่า ใบขี้เหล็ก และใบ
เสลดพังพอน
2.เพื่อนาพืชสมุนไพรที่มีสมบัติกาจัดปลวกได้ดีมาทาแป้งป้องกันการทารังของปลวก
. 3.เพื่อกาจัด และป้องกันปลวกด้วยสมุนไพรในท้องถิ่น
4.เพื่อใช้ทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ มาทาสารกาจัดปลวก อย่างปลอดภัย
และประหยัดค่าใช้จ่าย
2
ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ
1. รู้ว่าใบพืชชนิดใดสามารถนามากาจัดปลวกได้สามารถนาไปใช่ในชีวิตประจาวันได้
2. รู้วิธีทาแป้งสมุนไพรเพื่อใช้โรยป้องกันการทารังของปลวก
3. ได้รู้จักการทางานเป็นกลุ่ม
4. ได้ฝึกวิธีการ กระบวนการทดลองทางวิทยาศาสตร์
สมมุติฐาน
1. น้าที่คั้นจากใบขี้เหล็กสามารถกาจัดปลวกได้ดีกว่าน้าที่คั้นจากใบสัก ใบน้อยหน่า และใบ
เสลดพังพอน
2. แป้งดินสอพองที่ผสมด้วยน้าคั้นจากใบขี้เหล็ก ป้องกันปลวกได้
3
บทที่ 2
เอกสารที่เกี่ยวข้อง
การศึกษาวิธีการกาจัดปลวกด้วยใบขี้เหล็ก มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาประสิทธิภาพของใบ
ขี้เหล็กในการกาจัดปลวก ผู้ศึกษาได้ทาการค้นคว้าข้อมูลที่เกี่ยวข้อง ดังนี้
ชนิด และ ประเภทของปลวก
การจาแนก ปลวก อย่างกว้างๆ แบ่งออกเป็น 2 พวกใหญ่ๆ คือ ปลวกที่อาศัยอยู่ในดิน และ
ปลวกที่ไม่อาศัยอยู่ในดิน ปลวกอาศัยอยู่ในดิน จาแนกได้เป็น 3 พวก คือ
1. ปลวก ใต้ดิน (Subterranean termites) พวกนี้จะอาศัยอยู่ในดินเกือบตลอดอายุของมัน
แม้ว่าจะออกจากผิวดินไปแล้ว ก็ยังมีการติดต่อกับพื้นดินอยู่ โดยการทาอุโมงค์ทางเดินด้วยดิน
ไปสู่แหล่งอาหารต่าง ๆ ที่อยู่เหนือดิน นอกจากนี้อุโมงค์ทางเดินยังเป็ นเครื่องป้องกันอันตรายจาก
ศัตรูเช่นมด
2. ปลวก ที่อยู่ตามจอมปลวก (Mound-building termites)เป็นปลวกที่สร้างรังหรืออาณาจักร
ขนาดใหญ่ อยู่บนพื้นดินโดยใช้เม็ดดินเล็ก ๆ สร้างขึ้นเป็นเนินสูงใหญ่ที่เรียกว่า จอมปลวก จะพบ
เห็นทั่วไปทุกภาคของประเทศไทย และประเทศอื่นๆ ในทวีปเอเซีย อาฟริกา และออสเตรเลีย
3. ปลวก ที่ อยู่ตามรังขนาดเล็ก (Carton-nest-building termites) รังของ ปลวก ชนิดนี้ เกิด
จากมูลของปลวก ผสมกับเศษไม้เล็กๆ และสร้างเป็นรังที่มีรูปร่างและขนาดแตกต่างกันไป อาจจะ
อยู่ในดิน บนพื้นดินหรือเหนือพื้นดิน เช่น ตามต้นไม้เสาไฟ หรืออาคารบ้านเรือน
4. ปลวก ไม้แห้ง (Dry-wood termites) เป็นพวกที่มีอาณาจักรหรือรังเล็กกว่า ปลวก ใต้ดิน
อาศัยอยู่ในเนื้อไม้และจะไม่ลงไปในดิน ปลวก ชนิดนี้ต้องการความชื้ นในไม้แต่เพียงเล็กน้อย
เท่านั้น และเป็นพวกที่ทาความเสียหายร้ายแรงต่ออาคารบ้านเรือนและเครื่องเฟอร์นิเจอร์อื่นๆ
5. ปลวก ไม้ชื้น (Damp-wood termites) อาศัยอยู่ในเนื้อไม้ที่มีความชื้นสูง เช่น เปลือกไม้
ไม้ซุง หรือไม้ที่ผุแล้ว ห้องที่มีความชื้นและความเย็น นับว่า เป็นสถานที่เหมาะสม สาหรับ ปลวก
ประเภทนี้อาศัยอยู่ ตามปกติแล้ว เป็น ปลวก ที่ไม่มีอันตรายต่ออาคารบ้านเรือนมากนัก
4
ชีวิตและความเป็นอยู่ของปลวก
ปลวก เป็นแมลงที่อยู่เป็นหมุ่สังคมประกอบด้วยวรรณะต่างๆ รวม 3 วรรณะ และมีหน้าที่แตกต่าง
กันไป
* ปลวก สืบพันธุ์คือปลวกตัวผู้และตัวเมีย มีปีกและเพศดังแมลงอื่นๆ ทั่วไป ตามปกติ ในรัง
หรือ อาณาจักรจะพบปลวกคู่นี้ทาหน้าที่ผสมพันธุ์และสืบพันธุ์ ตัวผู้เรียกว่าราชาปลวก และตัวเมีย
เรีย กว่า ราชินีปลวก ออกไข่เกิดเป็น ปลวก ชนิดต่างๆ ในรัง นอกจากนี้ ปลวก สืบพันธุ์ยังมีหน้าที่
กระจาย พันธุ์และสร้างอาณาจักรใหม่เกิดขึ้นอีกด้วย ปลวกชนิดนี้มีปีกทั้งตัวผู้และตัวเมียเรียกว่า
แมลงเม่า เมื่อจับคู่ผสมพันธุ์แล้วจะสลัดปีก และเลือกสถานที่เหมาะสมเพื่ อสร้างรัง และเกิดเป็น
อาณาจักรใหม่ต่อไป
* ปลวกงาน เป็น ปลวก ตัวเล็กไม่มีปีก ไม่มีเพศ และไม่มีตา อาศัยอยู่ในดินหรือเนื้อไม้ที่มัน
กัด และทาลาย มีหน้าที่ก่อสร้าง หาอาหารมาเลี้ยงปลวกวรรณะอื่ นๆ ปลวกชนิดนี้จะทางาน ทุก
อย่างภายในรัง
* ปลวก ทหาร เป็น ปลวก ตัวเล็กแต่มีหัวโต และขากรรไกรขนาดใหญ่เพื่อใช้ในการต่อสู้
ไม่มีปีก ไม่มีตา และไม่มีเพศ ปลวกชนิดนี้มีหน้าที่ปกป้องอันตรายที่จะเกิดขึ้นกับรัง ศัตรูสาคัญ
ของมัน คือ มด
การสร้างอาณาจักร
การสร้างรังหรืออาณาจักรของปลวกแต่ละชนิด จะมีแบบแ ผนที่แน่นอน แต่แตกต่างตาม
พันธุ์และภูมิอากาศ สภาพแวดล้อม
การเกิดอาณาจักร
แมลงเม่ามักจะออกมาให้เราได้พบเห็นในบางโอกาสของปี ซึ่งเป็นช่วง ระยะเวลาสั้น ๆ เมื่อ
ตัวผู้และตัวเมียจับคู่ผสมพันธุ์ ชนิดปลวกไม้แห้งก็จะหารอยแตกแยกของ เนื้อไม้เพื่อสร้างรังใหม่
ชนิดปลวกใต้ดินก็จะหาแหล่งดินในบริเวณใกล้ๆ แหล่งอาหาร เช่น บริเวณเศษไม้หรือรากไม้ใน
ดินเพื่อสร้างรังใหม่
5
การขยายอาณาจักร
เมื่อถึงฤดูกาลที่เหมาะสม แมลงเม่า จะบินออกจากรัง ภูมิประเทศ สิ่งแวดล้อมและเผ่าพันธุ์
จะทาให้แมลงเม่าออกจากรักต่างวาระกัน ในภูมิอากาศที่ร้อน แมลงเม่า จะออกจากรังช่วงเวลา
หลังฤดูฝน แมลงเม่าเหล่านี้จะบินเข้าอาคารเพื่อรับความอบอุ่นจากแสงไฟ หรือแสงอาทิตย์และ
ทาความราคาญให้กับเรา แมลงเม่าแต่ละคู่เมื่อผสมพันธุ์แล้วจะเลือกสถานที่ สร้างรังใหม่ และ
ภายใน 2-3 วันจะเริ่มวงไข่ครั้งแรกๆ จะมีไข่ไม่กี่ฟองแต่ต่อไปจะเพิ่มจานวนไข่ มาก ขึ้นเรื่อยๆ
ตลอดอายุการเจริญเติบโต ของมันไข่จะฟักออกเป็นตัวอ่อนภายใน 30-50วันและ ตัวอ่อนจะ
เจริญเติบโตอย่างรวดเร็ว ซึ่งส่วนมากจะเป็นปลวกที่อยู่ในวรรณะ ปลวกทหาร และ ปลวกงาน
แมลงเม่า คู่แรกที่สร้างรังจะเจริญเติบโตเป็นราชาปลวก และ ราชินีปลวก มีอายุยืนยาว และมี
จานวนไข่มากกว่า 30,000 ฟองต่อวัน จานวนประชากรของปลวกในอาณาจักรหนึ่งๆ มี มาก หรือ
น้อยขึ้นอยู่กับภูมิประเทศ และแหล่งอาหาร
ปลวกชนิดต่างๆในอาณาจักรปลวกใต้ดิน
แมลงเม่า ปลวกสืบพันธุ์ (แมลงเม่าสลัดปีก)
ตัวอ่อน
ระยะแรก
ตัวอ่อนระยะ
กลาง
ปลวกสืบพันธุ์ระยะเจริญพันธุ์
ปลวกงาน
ปลวกทหาร
ราชินีปลวก
ปลวกสืบพันธุ์สารองปีกสั้น และไม่มีปีก
ปลวกสืบพันธุ์สารองปีกสั้น และไม่มีปีก
• การอาศัยอยู่ในระบบสังคม ขนาดของอาณาจักร จะขยายใหญ่ได้ด้วยความสมบูรณ์ของ แหล่ง
อาหาร
• ปลวก แต่ละชนิดจะมีหน้าที่เฉพาะ และเกี่ยวโยงเป็นระบบการอยู่ร่วม (ระบบสังคม)
6
• จักรเกิดจากราชาปลวกและราชินีปลวก 1 คู่ ทาการผสมพันธุ์ และเพิ่มประชากร มากขึ้นๆ จาก
ไข่ จะกลายเป็นปลวกตัวอ่อน
• และเจริญเติบโตเป็นปลวกชนิดต่าง ๆ เช่น ปลวกสืบพันธ์สารอง , ปลวกทหาร, ปลวกงาน และ
แมลงเม่า
• ปลวกสืบพันธุ์สารอง จะทาหน้าที่ออกไข่เพิ่มประชากรในกรณีที่ ราชาปลวก หรือราชินีปลวก
ได้ตาย
• ปลวกงาน ทาหน้าที่ ดูแลสร้างหรือซ่อมแซมรัง , หาอาหาร เพื่อเลี้ยงปลวกชนิดอื่น และทางาน
ทุกชนิดภายในรัง
• แมลงเม่า คือ ปลวกสืบพันธุ์ที่อยู่ในรัง เมื่อโตเต็มที่จะบินออกนอกรังเพื่อสร้างอาณาจักรใหม่
ความต้องการของปลวก
เพราะปลวกต้องหาอาหารจึงเกิดการทาลาย และ ต้องการความชื้น ของดินจึงเกิดวิธีกาจัด โดยใช้
สารเคมี
1. อาหาร อาหารของปลวกส่วนมากคือ เนื้อไม้หรือสารที่มีเซลลูโลส เศษไม้จะถูกย่อยโดย
เชื้อ โปรโตซัว ซึ่งมีอยู่ในตัวของมัน
2. ความชื้น ปลวกและแมลง ที่ต้องอาศัยความชื้น เพื่อให้เกิดน้าในลาตัวตลอด เวลาปลวก
ไม้แห้ง จะปิดทาง เข้าออกของรังอย่างมิดชิดใน ขณะที่อากาศภายนอกมีความชื้นต่า ปลวกใต้ดิน
จะปรับ อากาศ ในรังหรือทางเดินให้เหมาะสม โดยทารั งในดินที่มีความชื้น และมันจะเดินกลับ
เข้ารัง วันละ หลายๆ เที่ยว ในพื้นที่ชื้น และนี่คือวิธีที่ปลวก นาความชื้นเข้าสู่รังได้
สภาพแวดล้อมที่เหมาะสม ต่อการทาลายของปลวก
ทุกที่ ที่เราพบว่ามีปลวกใต้ดินอาศัยอยู่ ประเทศไทยตั้งอยู่ในเขต มรสุม ซึ่งเป็นเขตที่
เหมาะสม สาหรับปลวกใต้ดินจะอาศัยอยู่เป็นอย่างมาก และเราพบว่าปัญหาปลวกนี้ จะมีอยู่ในทุก
ภาค ของ ประเทศ
ปลวก จะมีวิธีทาลายสิ่งของในลักษณะต่างกัน โดยขึ้นอยู่กับชนิดโครงสร้าง ของสิ่งของ ใน
กรณี ที่เป็นสิ่งของชนิดเดียวกัน ปลวกจะทาลายของนั้น ในลักษณะเหมื อนๆ กัน มันจะสร้าง
อุโมงค์ดิน ไปตามทิศทางต่างๆ จนพบอาหาร บางครั้งอาจมีระยะไกลมาก เมื่อมันไปพบกับ สิ่งกีด
ขวางมัน จะหาช่องทางแทรกจน พบอาหาร ได้เมื่อมันเข้าสู่ในอาคาร สิ่งของต่าง ๆ ที่ทาจาก ไม้
คือ อาหารของมัน พื้นไม้วงกบประตู หน้าต่าง ฝา และผ้าคือบริเวณที่เราอาจพบปลวกได้
7
ประโยชน์ที่ได้รับจากปลวก
ปลวกเป็นแมลงที่มีบทบาทสาคัญมากในระบบนิเวศวิทยาป่าไม้ คือ ช่วยย่อยสลายอินทรีย์วัตถุ
ต่าง ๆ ได้แก่เศษไม้ท่อนไม้กิ่งไม้ใบไม้และ ส่วนต่าง ๆ ของพืช ที่หักร่วง ล้มตายทับถมกันอยู่
ในป่า แล้วเปลี่ยนให้กลายสภาพเป็น ฮิวมัส ในดิน เป็นกระบวนการหมุนเวียนธาตุ อาหารจากพืช
ไปสู่ดิน ทาให้ดินอุดมสมบูรณ์ ซึ่งจะส่งผลให้พรรณพืชทุกระดับ ในป่าธรรมชาติ เจริญเติมโต
สมบูรณ์
บทบาทสาคัญในห่วงโซ่อาหาร ในระบบนิเวศน์ นอกจากจะช่วยให้พืชในป่าเจริญเ ติมโต
แล้ว ยังเป็นอาหารของสัตว์ป่าได้อีกด้วย โดยตัวปลวกเองเป็นอาหารที่อุดมสมบูรณ์ไปด้วยโปรตีน
ของสัตว์ขนาดเล็กหลายชนิด เช่น ไก่ กบ นก คางคก และ สัตว์เลื้อยคลานต่าง ๆ ซึ่งจะกลายเป็น
อาหารสัตว์ใหญ่ต่อไปเป็นทอด ๆ เป็นแหล่งผลิตโปรตีนสาคัญ ของมนุษย์โดยปลวกบางชนิด
สามารถสร้างเห็ดโคน ซึ่งเป็นอาหารอันโอชะและมีราคาแพง สามารถสร้างรายได้เสริมให้แก่
เกษตรกร ทั้งนี้โดยมีเชื้อราที่อยู่ในปลวกหลายชนิดช่วยในการผลิต
จุลินทรีย์ที่อาศัยอยู่ในทางเดินอาหารของปลวก สามารถผลิตเอ็นไซม์บางชนิดที่มีประสิทธิภาพสูง
สามารถนามาพัฒนาเพื่อประโยชน์ในเชิงพาณิชย์ด้านการเกษตร อุตสาหกรรม หรือ ใช้ในการ
แก้ไขควบคุมมลภาวะสิ่งแวดล้อมในอนาคตต่อไป เช่น การย่อยสลายสารกาจัดศัตรูพืช ที่มีฤทธิ์
ตกค้างนานหรือ การกาจัดน้าเสียจากโรงงานอุตสาหกรรมเป็นต้น
โทษที่เกิดจากปลวก
ปลวกเป็นแมลงที่ก่อให้เกิดความเสียหายทางเศรษฐกิจต่อ
*กล้าไม้และไม้ยืนต้นในป่าธรรมชาติและสวนป่า
*ไม้ใช้ประโยชน์ที่อยู่กลางแจ้ง
*ไม้ใช้ประโยชน์ที่เป็นโครงสร้างภายในอาคารบ้านเรือน
* วัสดุของเครื่องใช้ต่าง ๆ ที่ทามาจากไม้และพืชเส้นใย เช่น โต๊ะ ตู้กระดาษ หนังสือ พรมและ
เสื้อผ้าเป็นต้น
* กัดทาลายรากของพืชเกษตร พืชไร่ พืชผัก พืชสวนและไม้ผล
(
ที่มา http://www.thaiantipest.com/index.php?option=com_content&view=article&id=145&Itemi
d=183 )
8
การป้ องกันและดูแลรักษา
* ปิดรอยแตกร้าวให้มิดชิด -ตรวจสอบพื้นที่ที่มีความชื้นสูงเช่น ห้องน้า ใต้บันใด อย่างสม่าเสมอ
หากพบการกัดทาลายเกิดขึ้นแสดงว่ามีปลวกเกิดขึ้น
* สังเกตแมลงเม่าบินในบ้าน หรือนอกบ้าน ให้ปิดช่ องทางเดินของแมลงเม่า เพราะเป็นช่องทาง
หนึ่งที่แมลงเม่าจะสร้างรังในบ้าน
*เก็บเศษไม้ต่างๆออกจากตัวบ้าน-ดูแลรักษาบ้านทั้งภายในและภายนอกให้แห้ง
*ตรวจสอบว่าในบ้านมีผงไม้ซึ่งเป็นรอยกัดกินของปลวกอย่างสม่าเสมอ
*ซ่อมรอยรัวซึมทันทีเมื่อมีรอยรั่วซึมเกิดขึ้น
* เมื่อพบปลวกต้องกาจัดทันที เพราะจะเกิดความสูญเสียไปทุกเวลานาที ปลวกทางานตลอดเวลา
ความเสียหายจึงเกิดขึ้นทุก ๆ วินาที
การกาจัดปลวก
1. การกาจัดปลวกโดยใช้สารเคมี
1.1 การใช้สารกาจักปลวก (Termiticides) เป็นการป้องกันกาจัดโดยการฉีดพ่น หรืออัดสาร
ป้องกันกาจัดปลวกลงไปในพื้นดินเพื่อทาให้ภายไต้อาคารเป็นพิษปลวกไม่สามรถเจาะผ่านทะลุ
ขึ้นมาได้หรืออาจใช้สารเคมีกาจัดปลวก โรยและฉีดพ่นโดยตรง วิธีการฉีดพ่นด้วยสารเคมี
ป้องกันปลวกก่อนการปลูกสร้างอาคารสามารถให้ผลในการป้องกันปลวกใต้ดินได้ดีที่สุด
1.2 การใช้สารป้องกันเนื้อไม้(Wood preservatives) ดาเนินการโดยการพ่น ทา แช่ จุ่ม หรือ
อัดโดยใช้กาลังอัดเพื่อให้สารเคมีแทรกซึมเข้าไปในเนื้อไม้
2.การป้องกันโดยไม่ใช้สารเคมี
2.1 การใช้แผ่นโลหะ โลหะผิวลื่น เช่น แผ่นอลูมิเนียม สามารถใช้เป็นแนวป้องกันไว้รอบๆ
เสา หรือรอย ต่อระหว่างฐานล่างกับส่วนที่เป็นโครงสร้างไม้เพื่อกั้นเส้นทางเดินของปลวกจาก
พื้นดินเข้าสู่อาคาร
2.2 การใช้วัสดุอื่นๆ เช่น เศษหินบท เศษแก้วบด หรือแผ่นตะแกรงโลหะ ปูรองพื้นอาคาร
ในส่วนที่ติดพื้นดิน ทั้งหมด
9
3. การป้องกันและกาจัดโดยใช้เหยื่อพิษ เป็นแนวทางใหม่ในการป้องกันกาจัดปลวก โดยมี
หลักการดังนี้
* ใช้สารเคมีออกฤทธิ์ช้า ที่มีความเป็นพิษต่อสิ่งมีชีวิตแ ละสิ่งแวดล้อมค่อนข้างต่า ซึ่งมี
ประสิทธิภาพ ในการขัดขวางกระบวนการตามธรรมชาติในการดารงชีวิตของปลวก เช่น ยับยั้ง
ขบวนการสร้างผนังลาตัว ซึ่งมีผลต่อการลดจานวนประชากรลงไปจนถึงระดับที่ไม่ก่อให้เกิด
ความเสียหาย
* มีคุณสมบัติพิเศษที่ดึงดูดให้ปลวกเข้ามากิน และสามารถ คงรูปอยู่ภายในตัวปลวกได้ดีใน
ระยะเวลาที่เหมาะสมที่จะเกิดการถ่ายทอดไปสู่สมาชิกอื่นๆภายในรังได้
4. สมุนไพรกาจัดปลวกสกัดจากพืชสมุนไพรไทย เช่น หางไหล ตระไคร้ หอม ข่า ขมิ้นชัน หัว
แห้วหมู พริกขี้หนู เมล็ดงา และใบสาบเสือ ฯ สมุนไพรเหล่านี้ เป็นพืชที่ปลวกไม่สามารถสร้ าง
กลไก ในการย่อยสลายสารสาคัญจากพืชเหล่านี้ได้สารสาคัญจากพืชเหล่านี้ มีผลในการควบคุม
ประชากรปลวกโดยกลไกที่แตกต่างกันตั้งแต่ การยับยั้ง การเจริญเติบโตของตัวอ่อน การวางไข่
การกินอาหาร ตลอดถึงการลดการพัฒนาการ ของ จุลินทรีย์ในลาไส้ ปลวก ซึ่งมีผลโดยตรงต่อ
ความอยู่ รอดและการทาลายของปลวก ซึ่งทาให้มีการควบคุมประชากรของปลวก โดยลด
( ที่มา http://www.konbaan.com/TipsTricks/TipsTricks58.php )
10
ขี้เหล็ก
ขี้เหล็ก เดิมเป็นไม้ในบริเวณเอเซียตะวันออกเฉียงใต้นับจากหมู่เกาะต่างๆ ของประเทศ
อินโดนีเซียไปจนกระทั่งถึงประเทศศรีลังกา ต่อมามีผู้นาเอาไม้ขี้เหล็กไปปลูกในบริเวณต่างๆ
สาหรับในประเทศไทยเราจะพบไม้ขี้เหล็กในแทบทุกจังหวัดไม่ว่าจะเป็นภาคเหนือ, ภาคกลาง
, ภาคใต้ชาวบ้านนิยมปลูกไม้ขี้เหล็กเป็นไม้ให้ร่มและเป็นไม้ประดับ ขึ้นได้ในดินร่วนปนทรายที่
มีการระบายน้าดี
การใช้ประโยชน์ทางด้านสมุนไพร
- ดอก รักษาโรคเส้นประสาท นอนไม่หลับ ทาให้หลับสบาย รักษาโร คหืด รักษาโรคโลหิตพิการ
ผายธาตุ รักษารังแค ขับพยาธิ
- ราก รักษาไข้รักษาโรคเหน็บชา ทาแก้เส้นอัมพฤกษ์ให้หย่อน แก้ฟกช้า แก้ไข้บารุงธาตุ ไข้ผิด
สาแดง
- ลาต้นและกิ่ง เป็นยาระบาย รักษาโรคผิวหนัง แก้โรคกระษัย แก้นิ่ว ขับปัสสาวะ ขับระดูขาว
- ทั้งต้น แก้กระษัย ดับพิษไข้แก้พิษเสมหะ รักษาโรคหนองใน รักษาอาการตัวเหลือง เป็นยา
ระบาย บารุงน้าดีทาให้เส้นเอ็นหย่อน
- เปลือกต้น รักษาโรคริดสีดวงทวาร โรคหิด แก้กระษัยใช้เป็นยาระบาย
- กระพี้ รสขมเฝื่อน แก้ร้อนกระสับกระส่าย บารุงโลหิต คุมกาเนิด
- ใบ รักษาโรคบิด รักษาโรคเบาหวาน แก้ร้อนใน รักษาฝีมะม่วง รักษาโรคเหน็บชา ลดความดัน
11
ใบขี้เหล็กมีสารอะไรในการกาจัดปลวก
สารเคมีในใบขี้เหล็ก พบว่ามีสารกลุ่มโครโมน (Chromone) ซึ่งมีฤทธิ์คลายเครียดและช่วย
ให้นอนหลับ เช่น แอนไฮโดรบาราคอล (anhydrobarakol) และกลุ่ม anthraquinones ซึ่งมีฤทธิ์ช่วย
ให้ถ่ายหรือระบายท้อง เช่น แอนโทรน และไดแอนโทรน (anthrone and dianthrone) เป็นต้น ซึ่ง
จากการศึกษาพบว่า ขี้เหล็กมีทั้งประโยชน์และโทษ การบริโภคขี้เหล็กโดยนามาต้ม และทิ้งน้า
ก่อนนามาแกง ซึ่งเป็นวิธีที่สามารถช่วยลดปริมาณความเข้มข้นของสารพิษในขี้เหล็ก ทาให้
ปลอดภัยในการนามารับประทาน แต่เมื่อนาใบขี้เหล็กมาทาเป็นยาเม็ดโดยไม่ต้มน้าทิ้ง จะส่งผล
ให้ปริมาณสารพิษยังคงมีปริมาณสูง ดังนั้นก่อนการรับประทานขี้เหล็กควรศึกษากรรมวิธีเตรียม
และไม่ควรรับประทานอย่างต่อเนื่อง ซึ่งจะทาให้เกิดผลเสียมากกว่าผลดี
( ที่มา http://siweb.dss.go.th/information/FAQ/search_FAQ.asp?QA_ID=258 )
12
บทที่ 3
วัสดุอุปกรณ์และวิธีการทดลอง
อุปกรณ์การทดลอง
1.ใบสัก ใบน้อยหน่า ใบขี้เหล็ก และใบเสลดพังพอน
2.,มีดบาง
3.เขียง
4.เครื่องชั่ง
5. ครก และสาก
6.ช้อน
7.บีกเกอร์
8 ผ้าขาวบาง
9. หลอดหยอด
10. จานพลาสติก
11. แป้งดินสอพอง
12. แบบพิมพ์
13.ปลวก
ตัวแปรที่เกี่ยวข้อง
ตอนที่1
ตัวแปรต้น ใบสัก ใบน้อยหน่า ใบขี้เหล็ก ใบเสลดพังพอน
ตัวแปรตาม การตายของปลวก
ตัวแปรควบคุม
1. ปริมาณของใบพืช
2. ปริมาณ น้าสะอาด
13
ตอนที่ 2
ตัวแปรต้น แป้งดินสอพองผสมน้าจากใบขี้เหล็ก
ตัวแปรตาม การทารังของปลวก
วิธีทดลอง
ตอนที่1
1.นาใบสัก ใบน้อยหน่า ใบขี้เหล็ก และใบเสลดพังพอน อย่างและ 20 กรัม มาหั่นเป็นฝอย
และโขลกให้ละเอียด แยก ใส่ บีกเกอร์ไว้
2..ใส่น้าลงในบีกเกอร์ พอท่วม ใบพืชที่โขลกไว้ ใช้ช้อนคนให้เข้ากันดี แล้วกรองด้วยผ้าขาว
บาง ใส่บีกเกอร์แยกกันไว้
3 เติมน้าเปล่าลงในน้าคั้นจากใบพืชทั้ง 4 ชนิด ให้ได้ชนิดละ 200 มิลลิลิตร
4 นาปลวก มาใสในจานพลาสติก จานละ 10 ตัว หยดน้าคั้นจากพืชทั้ง 1 ชนิด ลงที่ตัวปลวก
5 55.ปลวกแต่ละจาน จับเวลา 2 นาที
6.สังเกตการตายปลวก ในจานพลาสติก ทั้ง 4 ใบ แล้วบันทึกผล
7.ทาการทดลอง ซ้า เช่นเดิม อีก 4 ครั้ง
ตอนที่ 2
1.นาใบขี้เหล็ก 100 กรัม มาโขลกให้ละเอียด ตักใส่บีกเกอร์
2. ใส่น้าพอท่วมแล้วคนให้เข้ากัน กรองด้วยผ้าขาวบาง
3. ใส่แป้งดินสอพอง ลงในจานพลาสติก ใส่น้าที่คั้นจากใบขี้เหล็กลงไป
กวนให้เข้ากัน แล้วตักใส่แบบพิมพ์ นาไปผึ่งแดดจนแห้งสนิท
4. นาแป้ง ที่ได้ไปโรยใส บริเวณที่มีรังของปลวกให้ทั่ว โดยทดลอง 3สถานที่
5. สังเกตการณ์เปลี่ยนแลงบริเวณรังของ ปลวก เป็นเวลา 4 สัปดาห์
6. บันทึกผลการทดลอง
14
ขั้นตอนการดาเนินงาน
1. นักเรียนนาเสนอหัวข้อโครงงานที่ตนเองสนใจต่อครู
2. คณะผู้จัดทาช่วยกันคิดคาถาม ตั้งสมมุติฐาน
3. เตรียมอุปกรณ์และลงมือทา
4. ทดลองนา น้า และ แป้งจากใบขี้เหล็กไปทดลองกาจัดปลวก
5. บันทึกผลและสรุปผลการทดลอง
6. สรุปและเขียนรายงานโครงงาน
15
บทที่ 4
ผลการทดลอง
ผลการทดลองตอนที่ 1
การทดลองเพื่อการศึกษาว่า ใบพืชสมุนไพร คือ ใบสัก ใบน้อยหน่า ใบขี้เหล็ก และใบ
เสลดพังพอน ใบพืชชนิดใบ สามารถจาจัดปลวกได้ดีที่สุด โดยทาการทดลอง 5 ครั้ง
ได้ผล ดังนี้
ตารางบันทึกผลการทดลอง 1
ใบพืช
จานวนปลวกที่ตาย (ในเวลา 2 นาที)
ครั้งที่ 1 ครั้งที่ 2 ครั้งที่ 3 ครั้งที่ 4 ครั้งที่ 5
ใบสัก
ใบน้อยหน่า
ใบขี้เหล็ก
ใบเสลดพังพอน
17
18
20
17
19
18
20
18
18
17
20
17
20
18
20
16
18
17
20
18
16
บทที่5
สรุป อภิปรายผล
อภิปรายผลการทดลอง
จากการทดลอง เปรียบเทียบการกาจัดปลวกด้วยน้าคั้น จากใบพืชสมุนไพร 4 ชนิด คือใบ
สัก ใบน้อยหน่า ใบขี้เหล็ก ใบเสลดพังพอน ปรากฏ ว่าน้าคั้นจาก ใบขี้เหล็ก สามารถกาจัด
ปลวกได้ทั้งหมด ทุกครั้ง ลองลงมา คือ น้าค้นจากใบสัก ใบน้อยหน่า และใบเสลดพังพอน
ตามลาดับ
และเมื่อนาน้าคั้นจากใบขี้เหล็กมาผสมกับแป้งดินสอพอง นาไปผึ่งแดดให้แห้ง แล้ว
นาไปโรยที่รังปลวก หลังจากที่กาจัดด้วยน้าใบขี้เหล็ก แล้ว สังเกตการณทารังของปลวก ใน
เวลา 4 สัปดาห์ ปรากฏว่าแงสมุนไพรจากใบขี้เล็ก สามารถป้องกันปลวกไม่ให้กลับมาทารังได้
เป็นเวลา ประมาณ 3 สัปดาห์
สรุปผลการทดลอง
น้าคั้นจากใบขี้เหล็ก สามารถกาจัดปลวกได้ดีกว่า น้าคั้นจากใบสัก ใบน้อยหน่า และใบ
เสลดพังพอน และแป้งสมุนไพรที่ทาจากดินสอพองผสมน้าค้นจากใบขี้เหล็ก สามารถป้องกัน
ปลวกไม่ให้กลับมาทารังที่เดิมได้ในระยะเวลาประมาณ 3 สัปดาห์
ข้อเสนอแนะ
1. ควรใบขี้เหล็กขนาดกลางไม่อ่อนหรือแก่เกินไป
2. ถ้าต้องการฉีดน้าคั้นจากใบขี้เหล็กเข้าในรังปลวก ตามฝาบ้านหรือควรใช้กระบอกฉีดยาและ
เข็มฉีดยา ฉีดพ่นลงไป
17
บรรณานุกรม
1. หนังสือ เรียน สปช. ป. 3 อ.สมศักดิ์ สินธุระเวชญ์
2. หนังสือชุมนุมนักทดลอง โอภาส อาจอารมณ์
3. http://www.powerpestgroup.com สมุนไพรกาจัดปลวก
18
ภาคผนวก
จัดทาโดย
1. นางสาวธนาภรณ์ นิลบุตร
2. นางสาวปัฐนิดา กาลังหาญ
3. นางสาวณิชาภัทร ปฏิมาปกรณ์
4.นางสาวกาญจนาพร รุ้งพรม
5.นางสาวณัฐวดี สืบเรือง
ครูที่ปรึษา
นายทรงศักดิ์ โพธิ์เอี่ยม

Más contenido relacionado

La actualidad más candente

โครงงานสำรวจพฤติกรรมการใช้สมาร์ทโฟนนักเรียนชั้น ม.4-5
โครงงานสำรวจพฤติกรรมการใช้สมาร์ทโฟนนักเรียนชั้น ม.4-5โครงงานสำรวจพฤติกรรมการใช้สมาร์ทโฟนนักเรียนชั้น ม.4-5
โครงงานสำรวจพฤติกรรมการใช้สมาร์ทโฟนนักเรียนชั้น ม.4-5
kessara61977
 
โครงงานกระถางต้นไม้จากขวดพลาสติก
โครงงานกระถางต้นไม้จากขวดพลาสติกโครงงานกระถางต้นไม้จากขวดพลาสติก
โครงงานกระถางต้นไม้จากขวดพลาสติก
พัน พัน
 
ตัวอย่างบทคัดย่อ
ตัวอย่างบทคัดย่อตัวอย่างบทคัดย่อ
ตัวอย่างบทคัดย่อ
sukanya5729
 
รูปแบบการเขียนรายงานโครงงาน 5 บท
รูปแบบการเขียนรายงานโครงงาน 5 บทรูปแบบการเขียนรายงานโครงงาน 5 บท
รูปแบบการเขียนรายงานโครงงาน 5 บท
Aekapoj Poosathan
 
โครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง น้ำยาเช็ดกระจกจากแป้งข้าวโพด
โครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง น้ำยาเช็ดกระจกจากแป้งข้าวโพดโครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง น้ำยาเช็ดกระจกจากแป้งข้าวโพด
โครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง น้ำยาเช็ดกระจกจากแป้งข้าวโพด
พัน พัน
 
ตัวอย่างการเขียนโครงงาน 5 บท
ตัวอย่างการเขียนโครงงาน 5 บทตัวอย่างการเขียนโครงงาน 5 บท
ตัวอย่างการเขียนโครงงาน 5 บท
chaipalat
 
บทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้อง
บทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้องบทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้อง
บทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้อง
Kittichai Pinlert
 
โครงงานวิทยาศาสตร์แชมพูสระผมมะกรูด
โครงงานวิทยาศาสตร์แชมพูสระผมมะกรูดโครงงานวิทยาศาสตร์แชมพูสระผมมะกรูด
โครงงานวิทยาศาสตร์แชมพูสระผมมะกรูด
Bio Beau
 
โครงงานวิทยาศาสตร์ ถ่านอัดแท่งสมุนไพร1
โครงงานวิทยาศาสตร์ ถ่านอัดแท่งสมุนไพร1โครงงานวิทยาศาสตร์ ถ่านอัดแท่งสมุนไพร1
โครงงานวิทยาศาสตร์ ถ่านอัดแท่งสมุนไพร1
Chok Ke
 
โครงงานเคมีกัญ (1)
โครงงานเคมีกัญ (1)โครงงานเคมีกัญ (1)
โครงงานเคมีกัญ (1)
Guntima NaLove
 

La actualidad más candente (20)

โครงงานสำรวจพฤติกรรมการใช้สมาร์ทโฟนนักเรียนชั้น ม.4-5
โครงงานสำรวจพฤติกรรมการใช้สมาร์ทโฟนนักเรียนชั้น ม.4-5โครงงานสำรวจพฤติกรรมการใช้สมาร์ทโฟนนักเรียนชั้น ม.4-5
โครงงานสำรวจพฤติกรรมการใช้สมาร์ทโฟนนักเรียนชั้น ม.4-5
 
โครงงานกระถางต้นไม้จากขวดพลาสติก
โครงงานกระถางต้นไม้จากขวดพลาสติกโครงงานกระถางต้นไม้จากขวดพลาสติก
โครงงานกระถางต้นไม้จากขวดพลาสติก
 
ตัวอย่างบทคัดย่อ
ตัวอย่างบทคัดย่อตัวอย่างบทคัดย่อ
ตัวอย่างบทคัดย่อ
 
ถอดคำประพันธ์มหาเวสสันดรชาดก กัณฑ์มัทรี
ถอดคำประพันธ์มหาเวสสันดรชาดก กัณฑ์มัทรีถอดคำประพันธ์มหาเวสสันดรชาดก กัณฑ์มัทรี
ถอดคำประพันธ์มหาเวสสันดรชาดก กัณฑ์มัทรี
 
รูปแบบการเขียนรายงานโครงงาน 5 บท
รูปแบบการเขียนรายงานโครงงาน 5 บทรูปแบบการเขียนรายงานโครงงาน 5 บท
รูปแบบการเขียนรายงานโครงงาน 5 บท
 
โครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง น้ำยาเช็ดกระจกจากแป้งข้าวโพด
โครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง น้ำยาเช็ดกระจกจากแป้งข้าวโพดโครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง น้ำยาเช็ดกระจกจากแป้งข้าวโพด
โครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง น้ำยาเช็ดกระจกจากแป้งข้าวโพด
 
สารบัญ.
สารบัญ.สารบัญ.
สารบัญ.
 
ตัวอย่างการเขียนโครงงาน 5 บท
ตัวอย่างการเขียนโครงงาน 5 บทตัวอย่างการเขียนโครงงาน 5 บท
ตัวอย่างการเขียนโครงงาน 5 บท
 
บทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้อง
บทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้องบทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้อง
บทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้อง
 
แผ่นพับโครงงานการงานอาชีพ 1
แผ่นพับโครงงานการงานอาชีพ 1แผ่นพับโครงงานการงานอาชีพ 1
แผ่นพับโครงงานการงานอาชีพ 1
 
โครงงานสิ่งประดิษฐ์เหลือใช้
โครงงานสิ่งประดิษฐ์เหลือใช้โครงงานสิ่งประดิษฐ์เหลือใช้
โครงงานสิ่งประดิษฐ์เหลือใช้
 
กิตติกรรมประกาศ บทคัดย่อ โครงงานทดลองวิทยาศาสตร์ 58
กิตติกรรมประกาศ บทคัดย่อ โครงงานทดลองวิทยาศาสตร์  58กิตติกรรมประกาศ บทคัดย่อ โครงงานทดลองวิทยาศาสตร์  58
กิตติกรรมประกาศ บทคัดย่อ โครงงานทดลองวิทยาศาสตร์ 58
 
กิตติกรรมประกาศ
กิตติกรรมประกาศกิตติกรรมประกาศ
กิตติกรรมประกาศ
 
โครงงานภาษาไทย เรื่อง คำไทยที่มักเขียนผิด
โครงงานภาษาไทย เรื่อง คำไทยที่มักเขียนผิดโครงงานภาษาไทย เรื่อง คำไทยที่มักเขียนผิด
โครงงานภาษาไทย เรื่อง คำไทยที่มักเขียนผิด
 
โครงงานวิทยาศาสตร์แชมพูสระผมมะกรูด
โครงงานวิทยาศาสตร์แชมพูสระผมมะกรูดโครงงานวิทยาศาสตร์แชมพูสระผมมะกรูด
โครงงานวิทยาศาสตร์แชมพูสระผมมะกรูด
 
เค้าโครงโครงงานวิทยาศาสตร์
เค้าโครงโครงงานวิทยาศาสตร์เค้าโครงโครงงานวิทยาศาสตร์
เค้าโครงโครงงานวิทยาศาสตร์
 
กาพย์เห่เรือ บทชมปลา ภาษาไทย ม.6
กาพย์เห่เรือ บทชมปลา ภาษาไทย ม.6 กาพย์เห่เรือ บทชมปลา ภาษาไทย ม.6
กาพย์เห่เรือ บทชมปลา ภาษาไทย ม.6
 
คำนำ
คำนำคำนำ
คำนำ
 
โครงงานวิทยาศาสตร์ ถ่านอัดแท่งสมุนไพร1
โครงงานวิทยาศาสตร์ ถ่านอัดแท่งสมุนไพร1โครงงานวิทยาศาสตร์ ถ่านอัดแท่งสมุนไพร1
โครงงานวิทยาศาสตร์ ถ่านอัดแท่งสมุนไพร1
 
โครงงานเคมีกัญ (1)
โครงงานเคมีกัญ (1)โครงงานเคมีกัญ (1)
โครงงานเคมีกัญ (1)
 

Destacado

โครงงานวิทยาศาสตร์ ชุดโซฟาจากกระป๋องนม
โครงงานวิทยาศาสตร์  ชุดโซฟาจากกระป๋องนมโครงงานวิทยาศาสตร์  ชุดโซฟาจากกระป๋องนม
โครงงานวิทยาศาสตร์ ชุดโซฟาจากกระป๋องนม
Chok Ke
 
ทดสอบผงซักฟอก
ทดสอบผงซักฟอกทดสอบผงซักฟอก
ทดสอบผงซักฟอก
Sumon Kananit
 
ที่มาและความสำคัญ
ที่มาและความสำคัญที่มาและความสำคัญ
ที่มาและความสำคัญ
Wityaporn Pleeboot
 
พลังงานจากแสงอาทิตย์
พลังงานจากแสงอาทิตย์พลังงานจากแสงอาทิตย์
พลังงานจากแสงอาทิตย์
Nan's Tippawan
 
โครงงาน Blog 5 สถานที่ท่องเที่ยวยอดนิยมในแต่ละประเทศสมาชิกอาเซียน
โครงงาน Blog 5 สถานที่ท่องเที่ยวยอดนิยมในแต่ละประเทศสมาชิกอาเซียนโครงงาน Blog 5 สถานที่ท่องเที่ยวยอดนิยมในแต่ละประเทศสมาชิกอาเซียน
โครงงาน Blog 5 สถานที่ท่องเที่ยวยอดนิยมในแต่ละประเทศสมาชิกอาเซียน
BlogAseanTraveler
 
โครงงาน เรื่อง สมุนไพรครีมพอกหน้า
โครงงาน เรื่อง สมุนไพรครีมพอกหน้าโครงงาน เรื่อง สมุนไพรครีมพอกหน้า
โครงงาน เรื่อง สมุนไพรครีมพอกหน้า
จริงใจ รักจริง
 
1คุณลักษณะของโครงงานที่ดีและการประเมินผล
1คุณลักษณะของโครงงานที่ดีและการประเมินผล1คุณลักษณะของโครงงานที่ดีและการประเมินผล
1คุณลักษณะของโครงงานที่ดีและการประเมินผล
ฉลาม แดนนาวิน
 
โครงงานวิทยาศาสตร์ ประเภทสิ่งประดิษฐ์
โครงงานวิทยาศาสตร์ ประเภทสิ่งประดิษฐ์โครงงานวิทยาศาสตร์ ประเภทสิ่งประดิษฐ์
โครงงานวิทยาศาสตร์ ประเภทสิ่งประดิษฐ์
Aus2537
 
ข้อสอบโครงงาน ม 2
ข้อสอบโครงงาน ม 2ข้อสอบโครงงาน ม 2
ข้อสอบโครงงาน ม 2
Weerachat Martluplao
 
โครงงานกระดาษสา
โครงงานกระดาษสาโครงงานกระดาษสา
โครงงานกระดาษสา
Nattarika Wonkumdang
 
โครงงานกังหันลมพลังงานแสงอาทิตย์
โครงงานกังหันลมพลังงานแสงอาทิตย์โครงงานกังหันลมพลังงานแสงอาทิตย์
โครงงานกังหันลมพลังงานแสงอาทิตย์
Nattanan Thammakhankhang
 
โครงงานเรื่อง กล้วย (กล้วยแขก)
โครงงานเรื่อง กล้วย (กล้วยแขก) โครงงานเรื่อง กล้วย (กล้วยแขก)
โครงงานเรื่อง กล้วย (กล้วยแขก)
Np Vnk
 

Destacado (17)

โครงงานวิทยาศาสตร์ ชุดโซฟาจากกระป๋องนม
โครงงานวิทยาศาสตร์  ชุดโซฟาจากกระป๋องนมโครงงานวิทยาศาสตร์  ชุดโซฟาจากกระป๋องนม
โครงงานวิทยาศาสตร์ ชุดโซฟาจากกระป๋องนม
 
ใบงานคณิตพื้นฐาน ม.2
ใบงานคณิตพื้นฐาน ม.2ใบงานคณิตพื้นฐาน ม.2
ใบงานคณิตพื้นฐาน ม.2
 
ทดสอบผงซักฟอก
ทดสอบผงซักฟอกทดสอบผงซักฟอก
ทดสอบผงซักฟอก
 
ที่มาและความสำคัญ
ที่มาและความสำคัญที่มาและความสำคัญ
ที่มาและความสำคัญ
 
พลังงานจากแสงอาทิตย์
พลังงานจากแสงอาทิตย์พลังงานจากแสงอาทิตย์
พลังงานจากแสงอาทิตย์
 
ขั้นตอนการจัดทำโครงงาน
ขั้นตอนการจัดทำโครงงานขั้นตอนการจัดทำโครงงาน
ขั้นตอนการจัดทำโครงงาน
 
โครงงาน Blog 5 สถานที่ท่องเที่ยวยอดนิยมในแต่ละประเทศสมาชิกอาเซียน
โครงงาน Blog 5 สถานที่ท่องเที่ยวยอดนิยมในแต่ละประเทศสมาชิกอาเซียนโครงงาน Blog 5 สถานที่ท่องเที่ยวยอดนิยมในแต่ละประเทศสมาชิกอาเซียน
โครงงาน Blog 5 สถานที่ท่องเที่ยวยอดนิยมในแต่ละประเทศสมาชิกอาเซียน
 
เรื่อง เปลือกผลไม้พื้นบ้านกับน้ำยาลบคำผิด
เรื่อง  เปลือกผลไม้พื้นบ้านกับน้ำยาลบคำผิด เรื่อง  เปลือกผลไม้พื้นบ้านกับน้ำยาลบคำผิด
เรื่อง เปลือกผลไม้พื้นบ้านกับน้ำยาลบคำผิด
 
โครงงาน เรื่อง สมุนไพรครีมพอกหน้า
โครงงาน เรื่อง สมุนไพรครีมพอกหน้าโครงงาน เรื่อง สมุนไพรครีมพอกหน้า
โครงงาน เรื่อง สมุนไพรครีมพอกหน้า
 
ใบความรู้สนามแม่เหล็ก
ใบความรู้สนามแม่เหล็กใบความรู้สนามแม่เหล็ก
ใบความรู้สนามแม่เหล็ก
 
1คุณลักษณะของโครงงานที่ดีและการประเมินผล
1คุณลักษณะของโครงงานที่ดีและการประเมินผล1คุณลักษณะของโครงงานที่ดีและการประเมินผล
1คุณลักษณะของโครงงานที่ดีและการประเมินผล
 
โครงงานวิทยาศาสตร์ ประเภทสิ่งประดิษฐ์
โครงงานวิทยาศาสตร์ ประเภทสิ่งประดิษฐ์โครงงานวิทยาศาสตร์ ประเภทสิ่งประดิษฐ์
โครงงานวิทยาศาสตร์ ประเภทสิ่งประดิษฐ์
 
ข้อสอบโครงงาน ม 2
ข้อสอบโครงงาน ม 2ข้อสอบโครงงาน ม 2
ข้อสอบโครงงาน ม 2
 
โครงงานกระดาษสา
โครงงานกระดาษสาโครงงานกระดาษสา
โครงงานกระดาษสา
 
โครงงานกังหันลมพลังงานแสงอาทิตย์
โครงงานกังหันลมพลังงานแสงอาทิตย์โครงงานกังหันลมพลังงานแสงอาทิตย์
โครงงานกังหันลมพลังงานแสงอาทิตย์
 
โครงงานเรื่อง กล้วยฉาบ
โครงงานเรื่อง กล้วยฉาบโครงงานเรื่อง กล้วยฉาบ
โครงงานเรื่อง กล้วยฉาบ
 
โครงงานเรื่อง กล้วย (กล้วยแขก)
โครงงานเรื่อง กล้วย (กล้วยแขก) โครงงานเรื่อง กล้วย (กล้วยแขก)
โครงงานเรื่อง กล้วย (กล้วยแขก)
 

Similar a โครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง สมุนไพรกำจัดปลวก

Plant hor 6_77_60
Plant hor 6_77_60Plant hor 6_77_60
Plant hor 6_77_60
Wichai Likitponrak
 
เศรษฐกิจพอเพียง
เศรษฐกิจพอเพียงเศรษฐกิจพอเพียง
เศรษฐกิจพอเพียง
Kwang Yuri
 
Plant hor 8_77_60
Plant hor 8_77_60Plant hor 8_77_60
Plant hor 8_77_60
Wichai Likitponrak
 
ใบความรู้เรื่องงานประดิษฐ์
ใบความรู้เรื่องงานประดิษฐ์ใบความรู้เรื่องงานประดิษฐ์
ใบความรู้เรื่องงานประดิษฐ์
Duangsuwun Lasadang
 
ศูนย์วิจัยพรรณไม้หายากภาคใต้ 2553 07-14
ศูนย์วิจัยพรรณไม้หายากภาคใต้ 2553 07-14ศูนย์วิจัยพรรณไม้หายากภาคใต้ 2553 07-14
ศูนย์วิจัยพรรณไม้หายากภาคใต้ 2553 07-14
maneerat
 
ปัญหาทรัพยากรป่าไม้
ปัญหาทรัพยากรป่าไม้ปัญหาทรัพยากรป่าไม้
ปัญหาทรัพยากรป่าไม้
Kittayaporn Changpan
 

Similar a โครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง สมุนไพรกำจัดปลวก (20)

รายงานเห็ดนางรม
รายงานเห็ดนางรม รายงานเห็ดนางรม
รายงานเห็ดนางรม
 
Plant hor 6_77_60
Plant hor 6_77_60Plant hor 6_77_60
Plant hor 6_77_60
 
เศรษฐกิจพอเพียง
เศรษฐกิจพอเพียงเศรษฐกิจพอเพียง
เศรษฐกิจพอเพียง
 
Plant hor 8_77_60
Plant hor 8_77_60Plant hor 8_77_60
Plant hor 8_77_60
 
Biocontest2014 kitty
Biocontest2014 kittyBiocontest2014 kitty
Biocontest2014 kitty
 
ใบความรู้เรื่องงานประดิษฐ์
ใบความรู้เรื่องงานประดิษฐ์ใบความรู้เรื่องงานประดิษฐ์
ใบความรู้เรื่องงานประดิษฐ์
 
001 3
001 3001 3
001 3
 
6. ข้อสอบ o net การงานฯ (มัธยมต้น)
6. ข้อสอบ o net การงานฯ (มัธยมต้น)6. ข้อสอบ o net การงานฯ (มัธยมต้น)
6. ข้อสอบ o net การงานฯ (มัธยมต้น)
 
โครงงาน54เห็ด
โครงงาน54เห็ดโครงงาน54เห็ด
โครงงาน54เห็ด
 
10
1010
10
 
กล่องแฟนซีรีไซเคิล (Recycle Fancy Box)
กล่องแฟนซีรีไซเคิล (Recycle Fancy Box)กล่องแฟนซีรีไซเคิล (Recycle Fancy Box)
กล่องแฟนซีรีไซเคิล (Recycle Fancy Box)
 
2560 project438 (1)
2560 project438 (1)2560 project438 (1)
2560 project438 (1)
 
Power 2 Ssms
Power 2 SsmsPower 2 Ssms
Power 2 Ssms
 
ศูนย์วิจัยพรรณไม้หายากภาคใต้ 2553 07-14
ศูนย์วิจัยพรรณไม้หายากภาคใต้ 2553 07-14ศูนย์วิจัยพรรณไม้หายากภาคใต้ 2553 07-14
ศูนย์วิจัยพรรณไม้หายากภาคใต้ 2553 07-14
 
931 pre10
931 pre10931 pre10
931 pre10
 
ปัญหาทรัพยากรป่าไม้
ปัญหาทรัพยากรป่าไม้ปัญหาทรัพยากรป่าไม้
ปัญหาทรัพยากรป่าไม้
 
931 pre8
931 pre8931 pre8
931 pre8
 
Minibook bio 834 group 5
Minibook bio 834 group 5Minibook bio 834 group 5
Minibook bio 834 group 5
 
TU82 334 Herbarium Wrightia Religiosa
TU82 334 Herbarium Wrightia ReligiosaTU82 334 Herbarium Wrightia Religiosa
TU82 334 Herbarium Wrightia Religiosa
 
Taxonomy
TaxonomyTaxonomy
Taxonomy
 

Más de พัน พัน

Más de พัน พัน (20)

เรื่องระบบปฏิบัติการ
เรื่องระบบปฏิบัติการเรื่องระบบปฏิบัติการ
เรื่องระบบปฏิบัติการ
 
เรื่องภาษาซี
เรื่องภาษาซีเรื่องภาษาซี
เรื่องภาษาซี
 
ประวัติความเป็นมาของคอมพิวเตอร์
ประวัติความเป็นมาของคอมพิวเตอร์ประวัติความเป็นมาของคอมพิวเตอร์
ประวัติความเป็นมาของคอมพิวเตอร์
 
การเปลี่ยนตัวเลขให้เป็นตัวอักษร
การเปลี่ยนตัวเลขให้เป็นตัวอักษรการเปลี่ยนตัวเลขให้เป็นตัวอักษร
การเปลี่ยนตัวเลขให้เป็นตัวอักษร
 
หลักการทำงาน บทบาทและอุปกรณ์พื้นฐานของคอมพิวเตอร์
หลักการทำงาน บทบาทและอุปกรณ์พื้นฐานของคอมพิวเตอร์หลักการทำงาน บทบาทและอุปกรณ์พื้นฐานของคอมพิวเตอร์
หลักการทำงาน บทบาทและอุปกรณ์พื้นฐานของคอมพิวเตอร์
 
รายงานเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์
รายงานเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์รายงานเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์
รายงานเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์
 
การทำงานพื้นฐานของคอมพิวเตอร์
การทำงานพื้นฐานของคอมพิวเตอร์การทำงานพื้นฐานของคอมพิวเตอร์
การทำงานพื้นฐานของคอมพิวเตอร์
 
การทำงานของคอมพิวเตอร์
การทำงานของคอมพิวเตอร์การทำงานของคอมพิวเตอร์
การทำงานของคอมพิวเตอร์
 
ระบบคอมพิวเตอร์และยุคสมัย
ระบบคอมพิวเตอร์และยุคสมัยระบบคอมพิวเตอร์และยุคสมัย
ระบบคอมพิวเตอร์และยุคสมัย
 
เรื่องเทคโนโลยีสารสนเทศ
เรื่องเทคโนโลยีสารสนเทศเรื่องเทคโนโลยีสารสนเทศ
เรื่องเทคโนโลยีสารสนเทศ
 
ประเภทของคอมพิวเตอร์
ประเภทของคอมพิวเตอร์ประเภทของคอมพิวเตอร์
ประเภทของคอมพิวเตอร์
 
เครือข่ายคอมพิวเตอร์เบื้องต้น
เครือข่ายคอมพิวเตอร์เบื้องต้นเครือข่ายคอมพิวเตอร์เบื้องต้น
เครือข่ายคอมพิวเตอร์เบื้องต้น
 
เรื่องคอมพิวเตอร์เบื้องต้น
เรื่องคอมพิวเตอร์เบื้องต้นเรื่องคอมพิวเตอร์เบื้องต้น
เรื่องคอมพิวเตอร์เบื้องต้น
 
เรื่องด้านคอมพิวเตอร์
เรื่องด้านคอมพิวเตอร์เรื่องด้านคอมพิวเตอร์
เรื่องด้านคอมพิวเตอร์
 
เรื่องคอมพิวเตอร์
เรื่องคอมพิวเตอร์เรื่องคอมพิวเตอร์
เรื่องคอมพิวเตอร์
 
โครงงานคอม
โครงงานคอมโครงงานคอม
โครงงานคอม
 
การปริ้น
การปริ้นการปริ้น
การปริ้น
 
Office
OfficeOffice
Office
 
ปัญหาทรัพยากรป่าไม้
ปัญหาทรัพยากรป่าไม้ปัญหาทรัพยากรป่าไม้
ปัญหาทรัพยากรป่าไม้
 
ยาเสพติด
ยาเสพติดยาเสพติด
ยาเสพติด
 

โครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง สมุนไพรกำจัดปลวก

  • 1. โครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง สมุนไพรกาจัดปลวก จัดทาโดย 1. นางสาวธนาภรณ์ นิลบุตร 2. นางสาวปัฐนิดา กาลังหาญ 3. นางสาวณิชาภัทร ปฏิมาปกรณ์ 4.นางสาวกาญจนาพร รุ้งพรม 5.นางสาวณัฐวดี สืบเรือง ครูที่ปรึกษา นายทรงศักดิ์ โพธิ์เอี่ยม โรงเรียนเฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระศรีนครินทร์ กาญจนบุรี
  • 2. ชื่อโครงงาน สมุนไพรกาจัดปลวก ประเภทโครงงาน การทดลอง ผู้จัดทา 1. นางสาวธนาภรณ์ นิลบุตร 2. นางสาวปัฐนิดา กาลังหาญ 3. นางสาวณิชาภัทร ปฏิมาปกรณ์ 4.นางสาวกาญจนาพร รุ้งพรม 5.นางสาวณัฐวดี สืบเรือง ระดับชั้น มัธยมศึกษา ครูที่ปรึกษา นายทรงศักดิ์ โพธิ์เอี่ยม บทคัดย่อ สมุนไพร ที่เลือกนามากาจัดปลวกคือ ใบสัก ใบน้อยหน่า ใบขี้เหล็ก และใบ เสลดพังพอนโดยนาใบพืชทั้ง 4 ชนิด ชนิดละ 50 กรัม มาโขลกให้ละเอียด เติมน้าให้พอท่วม คั้น น้าจากใบพืช แล้วเติมน้าเปล่าลงไปให้ได้ 200 มิลลิลิตร นาไปฉีดพ่นปลวก ที่ใส่ไว้ในถาด พลาสติก ถาดละ 20 ตัว จับเวลา 2 นาที สังเกตพฤติ กรรมของปลวก ปรากฏ ปลว กที่ถูกฉีด พ่นด้วนน้าจากใบขี้เหล็ก ตายทั้งหมด และปลวก ที่ถูกฉีดพ่นด้วยน้าคั้นจากใบ น้อยหน่า ใบสัก ใบเสลดพังพอน ตายเป็นจานวนมาก ตามลาดับ แสดงว่าน้าที่คั้นจากใบขี้เหล็กสามารถ กาจัด ปลวกได้ดี แต่การกาจัดปลวกด้วยน้าจากใบขี้เหล็กต้องฉีดพ่นที่ตัวปลวก ถ้าไม่พบตัวปลวก ก็ไม่สามารถใช้ได้ ทางกลุ่มทดลอง จึงคิดวิธี ที่จะทาให้น้าจากใบขี้เหล็ก เป็นผงสาหรับโรยไว้ที่ รังปลวก เพื่อช่วยป้องกันปลวกได้ไม่ให้มาขึ้นบริเวณเดิมอีก จึงนาน้าจากใบขี้เหล็กมาผสมกับ แป้งดินสอพอง ให้เข้ากันดี แล้วใส่พิมพ์ผึ่งแดดให้แห้ง เวลาจะใช้ก็ ทุบ ให้เป็นผงแล้วนาไป โรยบริเวณรังปลวก หลังจากที่ฉีดพ่นน้าจากใบขี้เหล็กแล้ว ทาการทดลอง 3 สถานที่ ที่มีปลวก ทารังอยู่ โดยใช้น้าคั้นจากใบขี้เหล็ก ราดรด ให้ตัวปลวกตายทั้งหมดก่อน แล้วโรยด้วยแป้ง สมุนไพรจากใบขี้เหล็ก ติดตามดูผลการทดลอง 30 วัน ปรากฏว่าปลวกไม่กลับมาทารังใน บริเวณเดิม อีก แสดงว่า แป้งสมุนไพรจากใบขี้เหล็กสามารถป้องกันไม่ให้ปลวกกลับมาทารังที่ เดิมอีก
  • 3. ข กิตติกรรมประกาศ โครงงานสามารถบรรลุผลสาเร็จได้ดี ด้วยความร่วมมือจากผู้ปกครอง คุณครู และ เพื่อนๆ ผู้จัดทาขอขอบพระคุณ คุณพ่อ คุณแม่ ของคณะผู้จัดทาที่ช่วยในการจัดหาใบ เสลดพังพอน และแป้งดินสอพอง ขอขอบคุณ คุณครูที่ช่วยให้คาปรึกษาแนะนาในการทา โครงงานครั้งนี้ ขอขอบคุณ พี่ๆ และเพื่อนๆ ที่ช่วย ทดลองใช้แป้งสมุนไพร ที่จัดทาขึ้น ทาให้ งานชิ้นนี้สาเร็จไปด้วยดี คณะผู้จัดทา
  • 4. ค สารบัญ หน้า บทคัดย่อ ก กิตติกรรมประกาศ ข คานา ค บทที่ 1 ความเป็นมา 1 วัตถุประสงค์ 2 ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ สมมติฐาน บทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้อง 3 บทที่ 3 การดาเนินงาน 12 บทที่ 4 ผลการดาเนินงาน 15 บทที่ 5 สรุปผล อภิปรายผล และข้อเสนอแนะ 16 สรุปผลการทดลอง อภิปรายผลการทดลอง ประโยชน์ที่ได้รับ ข้อเสนอแนะ บรรณานุกรม 17 ภาคผนวก 18
  • 5. 1 ที่มาของโครงงาน เนื่องจาก วันหนึ่งคุณครูได้ให้นักเรียน ไปช่วยยกหนังสือเก่า ที่เก็บในตู้ห้องเก็บของ ของ โรงเรียน ปรากฏว่า พบปลวก จานวนมาก กัดกินหนังสือเสียหายเกือบทั้งหมด และ ตู้ไม้ก็ ถูก ปลวกกัดกิน จนพัง นักเรียนหลายคนบอกว่าที่บ้านของเพื่อนก็มีปลวกขึ้นตาม ฝาผนังไม้ตู้เสื้อผ้า ผู้ปกครองต้องซื้อ ยากาจัดปลวก มาฉี ดพ่นอยู่เสมอ ๆ เมื่อมีปลวกก็ทาให้สิ่งของเสียหาย สิ้นเปลืองเงิน และสารเคมีที่ใช้ฉีดฆ่าปลวกก็เป็นอันตรายอีกด้วย จากความรู้เดิม ทราบว่า มีใบพืชบางชนิด ที่ช่วยป้องกันแมลง พวก มด และยุงได้ก็น่า จะมีพืชที่ กาจัด ปลวกได้ จึงค้นคว้า จาก อินเตอร์เน็ต ทาให้ทราบว่า น้าคั้นจากใบสัก ใบ ขี้เหล็ก ใบ น้อยหน่า และใบเสลดพังพอน สามารถนามา กาจัดปลวกได้ คณะผู้จัดทาโครงงาน จึงได้ทาการทดลองนาใบพืชทั้ง ชนิด และ มาโขลก กรองเอาน้า มากาจัดปลวก ปรากฏ ว่า น้าจาก ใบขี้เหล็กกาจัดปลวกได้ดีที่สุด โดยฉีดพ่น หรือราดที่ตัวปลวก และเพื่อป้องกันไม่ให้ปลวกรุ่นใหม่มาขึ้นอีก พวกเราได้ทดลองนาน้าจาก ใบขี้เหล็ก มาผสมกับ แป้งดินสอพอง ใส่พิมพ์ ตากให้แห้ง เวลาใช้ก็ทุบให้เป็นผง นาไปโรยบริเวณที่เคยมีพวกขึ้น ปรากฏว่า ในเวลาที่ทดลอง 4 สัปดาห์ปลวกไม่กลับมาขึ้นบริเวณที่โรยแป้งอีก วัตถุประสงค์ของโครงงาน 1 เพื่อเปรียบเทียบการกาจัดปลวกด้วย น้าคั้นจาก ใบสัก ใบน้อยหน่า ใบขี้เหล็ก และใบ เสลดพังพอน 2.เพื่อนาพืชสมุนไพรที่มีสมบัติกาจัดปลวกได้ดีมาทาแป้งป้องกันการทารังของปลวก . 3.เพื่อกาจัด และป้องกันปลวกด้วยสมุนไพรในท้องถิ่น 4.เพื่อใช้ทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ มาทาสารกาจัดปลวก อย่างปลอดภัย และประหยัดค่าใช้จ่าย
  • 6. 2 ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ 1. รู้ว่าใบพืชชนิดใดสามารถนามากาจัดปลวกได้สามารถนาไปใช่ในชีวิตประจาวันได้ 2. รู้วิธีทาแป้งสมุนไพรเพื่อใช้โรยป้องกันการทารังของปลวก 3. ได้รู้จักการทางานเป็นกลุ่ม 4. ได้ฝึกวิธีการ กระบวนการทดลองทางวิทยาศาสตร์ สมมุติฐาน 1. น้าที่คั้นจากใบขี้เหล็กสามารถกาจัดปลวกได้ดีกว่าน้าที่คั้นจากใบสัก ใบน้อยหน่า และใบ เสลดพังพอน 2. แป้งดินสอพองที่ผสมด้วยน้าคั้นจากใบขี้เหล็ก ป้องกันปลวกได้
  • 7. 3 บทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้อง การศึกษาวิธีการกาจัดปลวกด้วยใบขี้เหล็ก มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาประสิทธิภาพของใบ ขี้เหล็กในการกาจัดปลวก ผู้ศึกษาได้ทาการค้นคว้าข้อมูลที่เกี่ยวข้อง ดังนี้ ชนิด และ ประเภทของปลวก การจาแนก ปลวก อย่างกว้างๆ แบ่งออกเป็น 2 พวกใหญ่ๆ คือ ปลวกที่อาศัยอยู่ในดิน และ ปลวกที่ไม่อาศัยอยู่ในดิน ปลวกอาศัยอยู่ในดิน จาแนกได้เป็น 3 พวก คือ 1. ปลวก ใต้ดิน (Subterranean termites) พวกนี้จะอาศัยอยู่ในดินเกือบตลอดอายุของมัน แม้ว่าจะออกจากผิวดินไปแล้ว ก็ยังมีการติดต่อกับพื้นดินอยู่ โดยการทาอุโมงค์ทางเดินด้วยดิน ไปสู่แหล่งอาหารต่าง ๆ ที่อยู่เหนือดิน นอกจากนี้อุโมงค์ทางเดินยังเป็ นเครื่องป้องกันอันตรายจาก ศัตรูเช่นมด 2. ปลวก ที่อยู่ตามจอมปลวก (Mound-building termites)เป็นปลวกที่สร้างรังหรืออาณาจักร ขนาดใหญ่ อยู่บนพื้นดินโดยใช้เม็ดดินเล็ก ๆ สร้างขึ้นเป็นเนินสูงใหญ่ที่เรียกว่า จอมปลวก จะพบ เห็นทั่วไปทุกภาคของประเทศไทย และประเทศอื่นๆ ในทวีปเอเซีย อาฟริกา และออสเตรเลีย 3. ปลวก ที่ อยู่ตามรังขนาดเล็ก (Carton-nest-building termites) รังของ ปลวก ชนิดนี้ เกิด จากมูลของปลวก ผสมกับเศษไม้เล็กๆ และสร้างเป็นรังที่มีรูปร่างและขนาดแตกต่างกันไป อาจจะ อยู่ในดิน บนพื้นดินหรือเหนือพื้นดิน เช่น ตามต้นไม้เสาไฟ หรืออาคารบ้านเรือน 4. ปลวก ไม้แห้ง (Dry-wood termites) เป็นพวกที่มีอาณาจักรหรือรังเล็กกว่า ปลวก ใต้ดิน อาศัยอยู่ในเนื้อไม้และจะไม่ลงไปในดิน ปลวก ชนิดนี้ต้องการความชื้ นในไม้แต่เพียงเล็กน้อย เท่านั้น และเป็นพวกที่ทาความเสียหายร้ายแรงต่ออาคารบ้านเรือนและเครื่องเฟอร์นิเจอร์อื่นๆ 5. ปลวก ไม้ชื้น (Damp-wood termites) อาศัยอยู่ในเนื้อไม้ที่มีความชื้นสูง เช่น เปลือกไม้ ไม้ซุง หรือไม้ที่ผุแล้ว ห้องที่มีความชื้นและความเย็น นับว่า เป็นสถานที่เหมาะสม สาหรับ ปลวก ประเภทนี้อาศัยอยู่ ตามปกติแล้ว เป็น ปลวก ที่ไม่มีอันตรายต่ออาคารบ้านเรือนมากนัก
  • 8. 4 ชีวิตและความเป็นอยู่ของปลวก ปลวก เป็นแมลงที่อยู่เป็นหมุ่สังคมประกอบด้วยวรรณะต่างๆ รวม 3 วรรณะ และมีหน้าที่แตกต่าง กันไป * ปลวก สืบพันธุ์คือปลวกตัวผู้และตัวเมีย มีปีกและเพศดังแมลงอื่นๆ ทั่วไป ตามปกติ ในรัง หรือ อาณาจักรจะพบปลวกคู่นี้ทาหน้าที่ผสมพันธุ์และสืบพันธุ์ ตัวผู้เรียกว่าราชาปลวก และตัวเมีย เรีย กว่า ราชินีปลวก ออกไข่เกิดเป็น ปลวก ชนิดต่างๆ ในรัง นอกจากนี้ ปลวก สืบพันธุ์ยังมีหน้าที่ กระจาย พันธุ์และสร้างอาณาจักรใหม่เกิดขึ้นอีกด้วย ปลวกชนิดนี้มีปีกทั้งตัวผู้และตัวเมียเรียกว่า แมลงเม่า เมื่อจับคู่ผสมพันธุ์แล้วจะสลัดปีก และเลือกสถานที่เหมาะสมเพื่ อสร้างรัง และเกิดเป็น อาณาจักรใหม่ต่อไป * ปลวกงาน เป็น ปลวก ตัวเล็กไม่มีปีก ไม่มีเพศ และไม่มีตา อาศัยอยู่ในดินหรือเนื้อไม้ที่มัน กัด และทาลาย มีหน้าที่ก่อสร้าง หาอาหารมาเลี้ยงปลวกวรรณะอื่ นๆ ปลวกชนิดนี้จะทางาน ทุก อย่างภายในรัง * ปลวก ทหาร เป็น ปลวก ตัวเล็กแต่มีหัวโต และขากรรไกรขนาดใหญ่เพื่อใช้ในการต่อสู้ ไม่มีปีก ไม่มีตา และไม่มีเพศ ปลวกชนิดนี้มีหน้าที่ปกป้องอันตรายที่จะเกิดขึ้นกับรัง ศัตรูสาคัญ ของมัน คือ มด การสร้างอาณาจักร การสร้างรังหรืออาณาจักรของปลวกแต่ละชนิด จะมีแบบแ ผนที่แน่นอน แต่แตกต่างตาม พันธุ์และภูมิอากาศ สภาพแวดล้อม การเกิดอาณาจักร แมลงเม่ามักจะออกมาให้เราได้พบเห็นในบางโอกาสของปี ซึ่งเป็นช่วง ระยะเวลาสั้น ๆ เมื่อ ตัวผู้และตัวเมียจับคู่ผสมพันธุ์ ชนิดปลวกไม้แห้งก็จะหารอยแตกแยกของ เนื้อไม้เพื่อสร้างรังใหม่ ชนิดปลวกใต้ดินก็จะหาแหล่งดินในบริเวณใกล้ๆ แหล่งอาหาร เช่น บริเวณเศษไม้หรือรากไม้ใน ดินเพื่อสร้างรังใหม่
  • 9. 5 การขยายอาณาจักร เมื่อถึงฤดูกาลที่เหมาะสม แมลงเม่า จะบินออกจากรัง ภูมิประเทศ สิ่งแวดล้อมและเผ่าพันธุ์ จะทาให้แมลงเม่าออกจากรักต่างวาระกัน ในภูมิอากาศที่ร้อน แมลงเม่า จะออกจากรังช่วงเวลา หลังฤดูฝน แมลงเม่าเหล่านี้จะบินเข้าอาคารเพื่อรับความอบอุ่นจากแสงไฟ หรือแสงอาทิตย์และ ทาความราคาญให้กับเรา แมลงเม่าแต่ละคู่เมื่อผสมพันธุ์แล้วจะเลือกสถานที่ สร้างรังใหม่ และ ภายใน 2-3 วันจะเริ่มวงไข่ครั้งแรกๆ จะมีไข่ไม่กี่ฟองแต่ต่อไปจะเพิ่มจานวนไข่ มาก ขึ้นเรื่อยๆ ตลอดอายุการเจริญเติบโต ของมันไข่จะฟักออกเป็นตัวอ่อนภายใน 30-50วันและ ตัวอ่อนจะ เจริญเติบโตอย่างรวดเร็ว ซึ่งส่วนมากจะเป็นปลวกที่อยู่ในวรรณะ ปลวกทหาร และ ปลวกงาน แมลงเม่า คู่แรกที่สร้างรังจะเจริญเติบโตเป็นราชาปลวก และ ราชินีปลวก มีอายุยืนยาว และมี จานวนไข่มากกว่า 30,000 ฟองต่อวัน จานวนประชากรของปลวกในอาณาจักรหนึ่งๆ มี มาก หรือ น้อยขึ้นอยู่กับภูมิประเทศ และแหล่งอาหาร ปลวกชนิดต่างๆในอาณาจักรปลวกใต้ดิน แมลงเม่า ปลวกสืบพันธุ์ (แมลงเม่าสลัดปีก) ตัวอ่อน ระยะแรก ตัวอ่อนระยะ กลาง ปลวกสืบพันธุ์ระยะเจริญพันธุ์ ปลวกงาน ปลวกทหาร ราชินีปลวก ปลวกสืบพันธุ์สารองปีกสั้น และไม่มีปีก ปลวกสืบพันธุ์สารองปีกสั้น และไม่มีปีก • การอาศัยอยู่ในระบบสังคม ขนาดของอาณาจักร จะขยายใหญ่ได้ด้วยความสมบูรณ์ของ แหล่ง อาหาร • ปลวก แต่ละชนิดจะมีหน้าที่เฉพาะ และเกี่ยวโยงเป็นระบบการอยู่ร่วม (ระบบสังคม)
  • 10. 6 • จักรเกิดจากราชาปลวกและราชินีปลวก 1 คู่ ทาการผสมพันธุ์ และเพิ่มประชากร มากขึ้นๆ จาก ไข่ จะกลายเป็นปลวกตัวอ่อน • และเจริญเติบโตเป็นปลวกชนิดต่าง ๆ เช่น ปลวกสืบพันธ์สารอง , ปลวกทหาร, ปลวกงาน และ แมลงเม่า • ปลวกสืบพันธุ์สารอง จะทาหน้าที่ออกไข่เพิ่มประชากรในกรณีที่ ราชาปลวก หรือราชินีปลวก ได้ตาย • ปลวกงาน ทาหน้าที่ ดูแลสร้างหรือซ่อมแซมรัง , หาอาหาร เพื่อเลี้ยงปลวกชนิดอื่น และทางาน ทุกชนิดภายในรัง • แมลงเม่า คือ ปลวกสืบพันธุ์ที่อยู่ในรัง เมื่อโตเต็มที่จะบินออกนอกรังเพื่อสร้างอาณาจักรใหม่ ความต้องการของปลวก เพราะปลวกต้องหาอาหารจึงเกิดการทาลาย และ ต้องการความชื้น ของดินจึงเกิดวิธีกาจัด โดยใช้ สารเคมี 1. อาหาร อาหารของปลวกส่วนมากคือ เนื้อไม้หรือสารที่มีเซลลูโลส เศษไม้จะถูกย่อยโดย เชื้อ โปรโตซัว ซึ่งมีอยู่ในตัวของมัน 2. ความชื้น ปลวกและแมลง ที่ต้องอาศัยความชื้น เพื่อให้เกิดน้าในลาตัวตลอด เวลาปลวก ไม้แห้ง จะปิดทาง เข้าออกของรังอย่างมิดชิดใน ขณะที่อากาศภายนอกมีความชื้นต่า ปลวกใต้ดิน จะปรับ อากาศ ในรังหรือทางเดินให้เหมาะสม โดยทารั งในดินที่มีความชื้น และมันจะเดินกลับ เข้ารัง วันละ หลายๆ เที่ยว ในพื้นที่ชื้น และนี่คือวิธีที่ปลวก นาความชื้นเข้าสู่รังได้ สภาพแวดล้อมที่เหมาะสม ต่อการทาลายของปลวก ทุกที่ ที่เราพบว่ามีปลวกใต้ดินอาศัยอยู่ ประเทศไทยตั้งอยู่ในเขต มรสุม ซึ่งเป็นเขตที่ เหมาะสม สาหรับปลวกใต้ดินจะอาศัยอยู่เป็นอย่างมาก และเราพบว่าปัญหาปลวกนี้ จะมีอยู่ในทุก ภาค ของ ประเทศ ปลวก จะมีวิธีทาลายสิ่งของในลักษณะต่างกัน โดยขึ้นอยู่กับชนิดโครงสร้าง ของสิ่งของ ใน กรณี ที่เป็นสิ่งของชนิดเดียวกัน ปลวกจะทาลายของนั้น ในลักษณะเหมื อนๆ กัน มันจะสร้าง อุโมงค์ดิน ไปตามทิศทางต่างๆ จนพบอาหาร บางครั้งอาจมีระยะไกลมาก เมื่อมันไปพบกับ สิ่งกีด ขวางมัน จะหาช่องทางแทรกจน พบอาหาร ได้เมื่อมันเข้าสู่ในอาคาร สิ่งของต่าง ๆ ที่ทาจาก ไม้ คือ อาหารของมัน พื้นไม้วงกบประตู หน้าต่าง ฝา และผ้าคือบริเวณที่เราอาจพบปลวกได้
  • 11. 7 ประโยชน์ที่ได้รับจากปลวก ปลวกเป็นแมลงที่มีบทบาทสาคัญมากในระบบนิเวศวิทยาป่าไม้ คือ ช่วยย่อยสลายอินทรีย์วัตถุ ต่าง ๆ ได้แก่เศษไม้ท่อนไม้กิ่งไม้ใบไม้และ ส่วนต่าง ๆ ของพืช ที่หักร่วง ล้มตายทับถมกันอยู่ ในป่า แล้วเปลี่ยนให้กลายสภาพเป็น ฮิวมัส ในดิน เป็นกระบวนการหมุนเวียนธาตุ อาหารจากพืช ไปสู่ดิน ทาให้ดินอุดมสมบูรณ์ ซึ่งจะส่งผลให้พรรณพืชทุกระดับ ในป่าธรรมชาติ เจริญเติมโต สมบูรณ์ บทบาทสาคัญในห่วงโซ่อาหาร ในระบบนิเวศน์ นอกจากจะช่วยให้พืชในป่าเจริญเ ติมโต แล้ว ยังเป็นอาหารของสัตว์ป่าได้อีกด้วย โดยตัวปลวกเองเป็นอาหารที่อุดมสมบูรณ์ไปด้วยโปรตีน ของสัตว์ขนาดเล็กหลายชนิด เช่น ไก่ กบ นก คางคก และ สัตว์เลื้อยคลานต่าง ๆ ซึ่งจะกลายเป็น อาหารสัตว์ใหญ่ต่อไปเป็นทอด ๆ เป็นแหล่งผลิตโปรตีนสาคัญ ของมนุษย์โดยปลวกบางชนิด สามารถสร้างเห็ดโคน ซึ่งเป็นอาหารอันโอชะและมีราคาแพง สามารถสร้างรายได้เสริมให้แก่ เกษตรกร ทั้งนี้โดยมีเชื้อราที่อยู่ในปลวกหลายชนิดช่วยในการผลิต จุลินทรีย์ที่อาศัยอยู่ในทางเดินอาหารของปลวก สามารถผลิตเอ็นไซม์บางชนิดที่มีประสิทธิภาพสูง สามารถนามาพัฒนาเพื่อประโยชน์ในเชิงพาณิชย์ด้านการเกษตร อุตสาหกรรม หรือ ใช้ในการ แก้ไขควบคุมมลภาวะสิ่งแวดล้อมในอนาคตต่อไป เช่น การย่อยสลายสารกาจัดศัตรูพืช ที่มีฤทธิ์ ตกค้างนานหรือ การกาจัดน้าเสียจากโรงงานอุตสาหกรรมเป็นต้น โทษที่เกิดจากปลวก ปลวกเป็นแมลงที่ก่อให้เกิดความเสียหายทางเศรษฐกิจต่อ *กล้าไม้และไม้ยืนต้นในป่าธรรมชาติและสวนป่า *ไม้ใช้ประโยชน์ที่อยู่กลางแจ้ง *ไม้ใช้ประโยชน์ที่เป็นโครงสร้างภายในอาคารบ้านเรือน * วัสดุของเครื่องใช้ต่าง ๆ ที่ทามาจากไม้และพืชเส้นใย เช่น โต๊ะ ตู้กระดาษ หนังสือ พรมและ เสื้อผ้าเป็นต้น * กัดทาลายรากของพืชเกษตร พืชไร่ พืชผัก พืชสวนและไม้ผล ( ที่มา http://www.thaiantipest.com/index.php?option=com_content&view=article&id=145&Itemi d=183 )
  • 12. 8 การป้ องกันและดูแลรักษา * ปิดรอยแตกร้าวให้มิดชิด -ตรวจสอบพื้นที่ที่มีความชื้นสูงเช่น ห้องน้า ใต้บันใด อย่างสม่าเสมอ หากพบการกัดทาลายเกิดขึ้นแสดงว่ามีปลวกเกิดขึ้น * สังเกตแมลงเม่าบินในบ้าน หรือนอกบ้าน ให้ปิดช่ องทางเดินของแมลงเม่า เพราะเป็นช่องทาง หนึ่งที่แมลงเม่าจะสร้างรังในบ้าน *เก็บเศษไม้ต่างๆออกจากตัวบ้าน-ดูแลรักษาบ้านทั้งภายในและภายนอกให้แห้ง *ตรวจสอบว่าในบ้านมีผงไม้ซึ่งเป็นรอยกัดกินของปลวกอย่างสม่าเสมอ *ซ่อมรอยรัวซึมทันทีเมื่อมีรอยรั่วซึมเกิดขึ้น * เมื่อพบปลวกต้องกาจัดทันที เพราะจะเกิดความสูญเสียไปทุกเวลานาที ปลวกทางานตลอดเวลา ความเสียหายจึงเกิดขึ้นทุก ๆ วินาที การกาจัดปลวก 1. การกาจัดปลวกโดยใช้สารเคมี 1.1 การใช้สารกาจักปลวก (Termiticides) เป็นการป้องกันกาจัดโดยการฉีดพ่น หรืออัดสาร ป้องกันกาจัดปลวกลงไปในพื้นดินเพื่อทาให้ภายไต้อาคารเป็นพิษปลวกไม่สามรถเจาะผ่านทะลุ ขึ้นมาได้หรืออาจใช้สารเคมีกาจัดปลวก โรยและฉีดพ่นโดยตรง วิธีการฉีดพ่นด้วยสารเคมี ป้องกันปลวกก่อนการปลูกสร้างอาคารสามารถให้ผลในการป้องกันปลวกใต้ดินได้ดีที่สุด 1.2 การใช้สารป้องกันเนื้อไม้(Wood preservatives) ดาเนินการโดยการพ่น ทา แช่ จุ่ม หรือ อัดโดยใช้กาลังอัดเพื่อให้สารเคมีแทรกซึมเข้าไปในเนื้อไม้ 2.การป้องกันโดยไม่ใช้สารเคมี 2.1 การใช้แผ่นโลหะ โลหะผิวลื่น เช่น แผ่นอลูมิเนียม สามารถใช้เป็นแนวป้องกันไว้รอบๆ เสา หรือรอย ต่อระหว่างฐานล่างกับส่วนที่เป็นโครงสร้างไม้เพื่อกั้นเส้นทางเดินของปลวกจาก พื้นดินเข้าสู่อาคาร 2.2 การใช้วัสดุอื่นๆ เช่น เศษหินบท เศษแก้วบด หรือแผ่นตะแกรงโลหะ ปูรองพื้นอาคาร ในส่วนที่ติดพื้นดิน ทั้งหมด
  • 13. 9 3. การป้องกันและกาจัดโดยใช้เหยื่อพิษ เป็นแนวทางใหม่ในการป้องกันกาจัดปลวก โดยมี หลักการดังนี้ * ใช้สารเคมีออกฤทธิ์ช้า ที่มีความเป็นพิษต่อสิ่งมีชีวิตแ ละสิ่งแวดล้อมค่อนข้างต่า ซึ่งมี ประสิทธิภาพ ในการขัดขวางกระบวนการตามธรรมชาติในการดารงชีวิตของปลวก เช่น ยับยั้ง ขบวนการสร้างผนังลาตัว ซึ่งมีผลต่อการลดจานวนประชากรลงไปจนถึงระดับที่ไม่ก่อให้เกิด ความเสียหาย * มีคุณสมบัติพิเศษที่ดึงดูดให้ปลวกเข้ามากิน และสามารถ คงรูปอยู่ภายในตัวปลวกได้ดีใน ระยะเวลาที่เหมาะสมที่จะเกิดการถ่ายทอดไปสู่สมาชิกอื่นๆภายในรังได้ 4. สมุนไพรกาจัดปลวกสกัดจากพืชสมุนไพรไทย เช่น หางไหล ตระไคร้ หอม ข่า ขมิ้นชัน หัว แห้วหมู พริกขี้หนู เมล็ดงา และใบสาบเสือ ฯ สมุนไพรเหล่านี้ เป็นพืชที่ปลวกไม่สามารถสร้ าง กลไก ในการย่อยสลายสารสาคัญจากพืชเหล่านี้ได้สารสาคัญจากพืชเหล่านี้ มีผลในการควบคุม ประชากรปลวกโดยกลไกที่แตกต่างกันตั้งแต่ การยับยั้ง การเจริญเติบโตของตัวอ่อน การวางไข่ การกินอาหาร ตลอดถึงการลดการพัฒนาการ ของ จุลินทรีย์ในลาไส้ ปลวก ซึ่งมีผลโดยตรงต่อ ความอยู่ รอดและการทาลายของปลวก ซึ่งทาให้มีการควบคุมประชากรของปลวก โดยลด ( ที่มา http://www.konbaan.com/TipsTricks/TipsTricks58.php )
  • 14. 10 ขี้เหล็ก ขี้เหล็ก เดิมเป็นไม้ในบริเวณเอเซียตะวันออกเฉียงใต้นับจากหมู่เกาะต่างๆ ของประเทศ อินโดนีเซียไปจนกระทั่งถึงประเทศศรีลังกา ต่อมามีผู้นาเอาไม้ขี้เหล็กไปปลูกในบริเวณต่างๆ สาหรับในประเทศไทยเราจะพบไม้ขี้เหล็กในแทบทุกจังหวัดไม่ว่าจะเป็นภาคเหนือ, ภาคกลาง , ภาคใต้ชาวบ้านนิยมปลูกไม้ขี้เหล็กเป็นไม้ให้ร่มและเป็นไม้ประดับ ขึ้นได้ในดินร่วนปนทรายที่ มีการระบายน้าดี การใช้ประโยชน์ทางด้านสมุนไพร - ดอก รักษาโรคเส้นประสาท นอนไม่หลับ ทาให้หลับสบาย รักษาโร คหืด รักษาโรคโลหิตพิการ ผายธาตุ รักษารังแค ขับพยาธิ - ราก รักษาไข้รักษาโรคเหน็บชา ทาแก้เส้นอัมพฤกษ์ให้หย่อน แก้ฟกช้า แก้ไข้บารุงธาตุ ไข้ผิด สาแดง - ลาต้นและกิ่ง เป็นยาระบาย รักษาโรคผิวหนัง แก้โรคกระษัย แก้นิ่ว ขับปัสสาวะ ขับระดูขาว - ทั้งต้น แก้กระษัย ดับพิษไข้แก้พิษเสมหะ รักษาโรคหนองใน รักษาอาการตัวเหลือง เป็นยา ระบาย บารุงน้าดีทาให้เส้นเอ็นหย่อน - เปลือกต้น รักษาโรคริดสีดวงทวาร โรคหิด แก้กระษัยใช้เป็นยาระบาย - กระพี้ รสขมเฝื่อน แก้ร้อนกระสับกระส่าย บารุงโลหิต คุมกาเนิด - ใบ รักษาโรคบิด รักษาโรคเบาหวาน แก้ร้อนใน รักษาฝีมะม่วง รักษาโรคเหน็บชา ลดความดัน
  • 15. 11 ใบขี้เหล็กมีสารอะไรในการกาจัดปลวก สารเคมีในใบขี้เหล็ก พบว่ามีสารกลุ่มโครโมน (Chromone) ซึ่งมีฤทธิ์คลายเครียดและช่วย ให้นอนหลับ เช่น แอนไฮโดรบาราคอล (anhydrobarakol) และกลุ่ม anthraquinones ซึ่งมีฤทธิ์ช่วย ให้ถ่ายหรือระบายท้อง เช่น แอนโทรน และไดแอนโทรน (anthrone and dianthrone) เป็นต้น ซึ่ง จากการศึกษาพบว่า ขี้เหล็กมีทั้งประโยชน์และโทษ การบริโภคขี้เหล็กโดยนามาต้ม และทิ้งน้า ก่อนนามาแกง ซึ่งเป็นวิธีที่สามารถช่วยลดปริมาณความเข้มข้นของสารพิษในขี้เหล็ก ทาให้ ปลอดภัยในการนามารับประทาน แต่เมื่อนาใบขี้เหล็กมาทาเป็นยาเม็ดโดยไม่ต้มน้าทิ้ง จะส่งผล ให้ปริมาณสารพิษยังคงมีปริมาณสูง ดังนั้นก่อนการรับประทานขี้เหล็กควรศึกษากรรมวิธีเตรียม และไม่ควรรับประทานอย่างต่อเนื่อง ซึ่งจะทาให้เกิดผลเสียมากกว่าผลดี ( ที่มา http://siweb.dss.go.th/information/FAQ/search_FAQ.asp?QA_ID=258 )
  • 16. 12 บทที่ 3 วัสดุอุปกรณ์และวิธีการทดลอง อุปกรณ์การทดลอง 1.ใบสัก ใบน้อยหน่า ใบขี้เหล็ก และใบเสลดพังพอน 2.,มีดบาง 3.เขียง 4.เครื่องชั่ง 5. ครก และสาก 6.ช้อน 7.บีกเกอร์ 8 ผ้าขาวบาง 9. หลอดหยอด 10. จานพลาสติก 11. แป้งดินสอพอง 12. แบบพิมพ์ 13.ปลวก ตัวแปรที่เกี่ยวข้อง ตอนที่1 ตัวแปรต้น ใบสัก ใบน้อยหน่า ใบขี้เหล็ก ใบเสลดพังพอน ตัวแปรตาม การตายของปลวก ตัวแปรควบคุม 1. ปริมาณของใบพืช 2. ปริมาณ น้าสะอาด
  • 17. 13 ตอนที่ 2 ตัวแปรต้น แป้งดินสอพองผสมน้าจากใบขี้เหล็ก ตัวแปรตาม การทารังของปลวก วิธีทดลอง ตอนที่1 1.นาใบสัก ใบน้อยหน่า ใบขี้เหล็ก และใบเสลดพังพอน อย่างและ 20 กรัม มาหั่นเป็นฝอย และโขลกให้ละเอียด แยก ใส่ บีกเกอร์ไว้ 2..ใส่น้าลงในบีกเกอร์ พอท่วม ใบพืชที่โขลกไว้ ใช้ช้อนคนให้เข้ากันดี แล้วกรองด้วยผ้าขาว บาง ใส่บีกเกอร์แยกกันไว้ 3 เติมน้าเปล่าลงในน้าคั้นจากใบพืชทั้ง 4 ชนิด ให้ได้ชนิดละ 200 มิลลิลิตร 4 นาปลวก มาใสในจานพลาสติก จานละ 10 ตัว หยดน้าคั้นจากพืชทั้ง 1 ชนิด ลงที่ตัวปลวก 5 55.ปลวกแต่ละจาน จับเวลา 2 นาที 6.สังเกตการตายปลวก ในจานพลาสติก ทั้ง 4 ใบ แล้วบันทึกผล 7.ทาการทดลอง ซ้า เช่นเดิม อีก 4 ครั้ง ตอนที่ 2 1.นาใบขี้เหล็ก 100 กรัม มาโขลกให้ละเอียด ตักใส่บีกเกอร์ 2. ใส่น้าพอท่วมแล้วคนให้เข้ากัน กรองด้วยผ้าขาวบาง 3. ใส่แป้งดินสอพอง ลงในจานพลาสติก ใส่น้าที่คั้นจากใบขี้เหล็กลงไป กวนให้เข้ากัน แล้วตักใส่แบบพิมพ์ นาไปผึ่งแดดจนแห้งสนิท 4. นาแป้ง ที่ได้ไปโรยใส บริเวณที่มีรังของปลวกให้ทั่ว โดยทดลอง 3สถานที่ 5. สังเกตการณ์เปลี่ยนแลงบริเวณรังของ ปลวก เป็นเวลา 4 สัปดาห์ 6. บันทึกผลการทดลอง
  • 18. 14 ขั้นตอนการดาเนินงาน 1. นักเรียนนาเสนอหัวข้อโครงงานที่ตนเองสนใจต่อครู 2. คณะผู้จัดทาช่วยกันคิดคาถาม ตั้งสมมุติฐาน 3. เตรียมอุปกรณ์และลงมือทา 4. ทดลองนา น้า และ แป้งจากใบขี้เหล็กไปทดลองกาจัดปลวก 5. บันทึกผลและสรุปผลการทดลอง 6. สรุปและเขียนรายงานโครงงาน
  • 19. 15 บทที่ 4 ผลการทดลอง ผลการทดลองตอนที่ 1 การทดลองเพื่อการศึกษาว่า ใบพืชสมุนไพร คือ ใบสัก ใบน้อยหน่า ใบขี้เหล็ก และใบ เสลดพังพอน ใบพืชชนิดใบ สามารถจาจัดปลวกได้ดีที่สุด โดยทาการทดลอง 5 ครั้ง ได้ผล ดังนี้ ตารางบันทึกผลการทดลอง 1 ใบพืช จานวนปลวกที่ตาย (ในเวลา 2 นาที) ครั้งที่ 1 ครั้งที่ 2 ครั้งที่ 3 ครั้งที่ 4 ครั้งที่ 5 ใบสัก ใบน้อยหน่า ใบขี้เหล็ก ใบเสลดพังพอน 17 18 20 17 19 18 20 18 18 17 20 17 20 18 20 16 18 17 20 18
  • 20. 16 บทที่5 สรุป อภิปรายผล อภิปรายผลการทดลอง จากการทดลอง เปรียบเทียบการกาจัดปลวกด้วยน้าคั้น จากใบพืชสมุนไพร 4 ชนิด คือใบ สัก ใบน้อยหน่า ใบขี้เหล็ก ใบเสลดพังพอน ปรากฏ ว่าน้าคั้นจาก ใบขี้เหล็ก สามารถกาจัด ปลวกได้ทั้งหมด ทุกครั้ง ลองลงมา คือ น้าค้นจากใบสัก ใบน้อยหน่า และใบเสลดพังพอน ตามลาดับ และเมื่อนาน้าคั้นจากใบขี้เหล็กมาผสมกับแป้งดินสอพอง นาไปผึ่งแดดให้แห้ง แล้ว นาไปโรยที่รังปลวก หลังจากที่กาจัดด้วยน้าใบขี้เหล็ก แล้ว สังเกตการณทารังของปลวก ใน เวลา 4 สัปดาห์ ปรากฏว่าแงสมุนไพรจากใบขี้เล็ก สามารถป้องกันปลวกไม่ให้กลับมาทารังได้ เป็นเวลา ประมาณ 3 สัปดาห์ สรุปผลการทดลอง น้าคั้นจากใบขี้เหล็ก สามารถกาจัดปลวกได้ดีกว่า น้าคั้นจากใบสัก ใบน้อยหน่า และใบ เสลดพังพอน และแป้งสมุนไพรที่ทาจากดินสอพองผสมน้าค้นจากใบขี้เหล็ก สามารถป้องกัน ปลวกไม่ให้กลับมาทารังที่เดิมได้ในระยะเวลาประมาณ 3 สัปดาห์ ข้อเสนอแนะ 1. ควรใบขี้เหล็กขนาดกลางไม่อ่อนหรือแก่เกินไป 2. ถ้าต้องการฉีดน้าคั้นจากใบขี้เหล็กเข้าในรังปลวก ตามฝาบ้านหรือควรใช้กระบอกฉีดยาและ เข็มฉีดยา ฉีดพ่นลงไป
  • 21. 17 บรรณานุกรม 1. หนังสือ เรียน สปช. ป. 3 อ.สมศักดิ์ สินธุระเวชญ์ 2. หนังสือชุมนุมนักทดลอง โอภาส อาจอารมณ์ 3. http://www.powerpestgroup.com สมุนไพรกาจัดปลวก
  • 23. จัดทาโดย 1. นางสาวธนาภรณ์ นิลบุตร 2. นางสาวปัฐนิดา กาลังหาญ 3. นางสาวณิชาภัทร ปฏิมาปกรณ์ 4.นางสาวกาญจนาพร รุ้งพรม 5.นางสาวณัฐวดี สืบเรือง ครูที่ปรึษา นายทรงศักดิ์ โพธิ์เอี่ยม