SlideShare una empresa de Scribd logo
1 de 73
Descargar para leer sin conexión
สมบัติของธาตุตามหมู่และตามคาบ 
นางสาวณิชานันท์ อาจหาญ 
วิชาสารและสมบัติของสาร ว 30102ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 
โรงเรียนเฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระศรีนครินทร์ กาญจนบุรี 
ภาคเรียนที่ 1ปีการศึกษา 2557
หัวข้อในการเรียนรู้ 
ขนาดอะตอม 
ขนาดไอออน 
พลังงานไอออไนเซชัน 
อิเล็กโทรเนกาติวิตี
หัวข้อในการเรียนรู้ 
สัมพรรคภาพอิเล็กตรอน 
จุดเดือด จุดหลอมเหลว 
ความหนาแน่น 
เลขออกซิเดชัน
ขนาดอะตอม (Atomic Radius) 
การบอกขนาดอะตอม จะบอกด้วย “รัศมีอะตอม” 
โดยจะแบ่งประเภทของรัศมีอะตอมดังนี้ 
รัศมีโคเวเลนต์(Covalent radius) 
รัศมีแวนเดอร์วาลส์(Van derWaals radius) 
รัศมีโลหะ (Matallicradius)
ขนาดอะตอม (Atomic Radius) 
รัศมีโคเวเลนต์คือระยะทางครึ่งหนึ่งของความ ยาวพันธะโคเวเลนต์ ระหว่างอะตอมชนิดเดียวกัน ตัวอย่างรัศมีโคเวเลนต์ของไฮโดรเจนและคลอรีนแสดงได้ ดังนี้ 
ความยาวพันธะ H –H =74pm 
รัศมีโคเวเลนต์ของ H=74/2pm 
= 37pm 
รัศมีโคเวเลนต์ เป็นแรงยึดเหนี่ยวระหว่างอะตอมคู่ หนึ่ง ระหว่างอโลหะกับอโลหะ ซึ่งเกิดจากการใช้ อิเล็กตรอนร่วมกัน และระยะระหว่างนิวเคลียสของ อะตอมคู่ที่สร้างพันธะโคเวเลนต์ต่อกันจะเรียกว่า ความยาวพันธะ
ขนาดอะตอม (Atomic Radius) 
ความยาวพันธะ Cl –Cl= 198 pm 
รัศมีโคเวเลนต์ของ Cl = 198/2pm 
= 99pm
ขนาดอะตอม (Atomic Radius) 
กรณีที่เป็นพันธะโคเวเลนต์ระหว่างอะตอมต่างชนิดกัน เช่น CCl4อาจ หารัศมีอะตอมของธาตุคาร์บอนได้ เมื่อทราบความยาวพันธะระหว่างอะตอม ของธาตุทั้งสอง ตัวอย่างเช่น 
จากข้อมูลทราบว่า ความยาวพันธะ C –Cl =176 pm 
รัศมีอะตอมของ Cl = 99 pm 
ดังนั้น รัศมีอะตอมของ C= (176 -99) 
= 77 pm
ขนาดอะตอม (Atomic Radius) 
รัศมีแวนเดอร์วาลส์ คือระยะทางครึ่งหนึ่งของ ระยะระหว่างนิวเคลียสของอะตอมที่อยู่ใกล้ที่สุด ตัวอย่าง รัศมีแวนเดอร์วาลส์ซึ่งหาได้จากอะตอมของแก๊สเฉื่อย
ขนาดอะตอม (Atomic Radius) 
รัศมีโลหะ คือ ระยะทางครึ่งหนึ่งของระยะระหว่าง นิวเคลียสของอะตอมโลหะที่อยู่ใกล้ที่สุด เช่น ธาตุ แมกนีเซียม มีระยะระหว่างนิวเคลียสของอะตอมสอง 
อะตอมอยู่ใกล้กันที่สุด
ขนาดอะตอม (Atomic Radius) 
ปัจจัยที่มีผลต่อขนาดของอะตอมและขนาดไอออน จานวนระดับพลังงาน ถ้ามีจานวนระดับพลังงานมากขึ้น ขนาดของ ของอะตอมจะใหญ่มากขึ้นตามไปด้วย จานวนโปรตอน ในกรณีที่มีจานวนระดับพลังงานเท่ากัน ให้พิจาณา จานวนโปรตอน ถ้ามีโปรตอนมาก อะตอมจะมีขนาดเล็กว่า อัตราส่วนระหว่างโปรตอนกับอิเล็กตรอน ไอออนของธาตุ ถ้ามี โปรตอน/อิเล็กตรอนมาก ไอออนนั้นก็จะมีขนาดเล็กลง
ขนาดอะตอม (Atomic Radius) แนวโน้มขนาดอะตอมในหมู่เดียวกัน 
ธาตุในหมู่เดียวเดียวกันขนาดอะตอมจะใหญ่ขึ้น จากบนลงล่าง เนื่องจากธาตุในหมู่เดียวกันจะมีเลข อะตอมเพิ่มขึ้นจากบนลงล่าง เมื่อเลขอะตอมเพิ่มขึ้นจะ ทาให้มีจานวนระดับชั้นพลังงานเพิ่มมากขึ้น จึงทาให้มี ขนาดอะตอมเพิ่มขึ้นตามลาดับ
ขนาดอะตอม (Atomic Radius) แนวโน้มขนาดอะตอมในคาบเดียวกัน 
ธาตุในคาบเดียวกันจะมีขนาดอะตอมเล็กลงจากซ้ายไป ขวา เพราะธาตุที่อยู่ในคาบเดียวกัน จะมีระดับชั้นพลังงานเท่ากัน แต่เลขอะตอม (โปรตอน) จะเพิ่มขึ้นจากซ้ายไปขวา ทาให้มีแรง ดึงดูดอิเล็กตรอนมากยิ่งขึ้น จึงทาให้มีขนาดอะตอมเล็กลง
ขนาดอะตอม (Atomic Radius) แนวโน้มขนาดอะตอมตามหมู่และตามคาบ
ขนาดอะตอม (Atomic Radius)
ขนาดไอออน (Ionic Radius) 
ไอออน คือ อะตอมหรือกลุ่มอะตอมที่มีประจุไฟฟ้า ซึ่งจะมีประจุ ไฟฟ้าบวกหรือลบเท่านั้น โดยแบ่งไอออน ออกเป็น 2 ประเภท คือ 
ไอออนบวก เกิดจากที่อะตอมหรือกลุ่มอะตอมเกิดการสูญเสีย อิเล็กตรอน จึงทาให้มีจานวนโปรตอนมากกว่าอิเล็กตรอน จึงแสดงประจุ บวกออกมา 
ไอออนลบ คือ เกิดจากอะตอมหรือกลุ่มอะตอมได้รับอิเล็กตรอน จากอะตอมอื่น จึงทาให้มีจานวนอิเล็กตรอนมากกว่าโปรตอน จึงแสดง ประจุลบออกมา 
สิ่งที่ใช้พิจารณาขนาดของไอออน คือ รัศมีไอออน ซึ่งเป็นระยะห่าง ระหว่างนิวเคลียสของไอออนบวกและไอออนลบ (พันธะไอออนิก)
ขนาดไอออน (Ionic Radius) 
รูปที่ 1 ไอออนบวก 
รูปที่ 2 ไอออนลบ
ขนาดไอออน (Ionic Radius) 
ไอออนในหมู่เดียวกันจะมีขนาดใหญ่ขึ้นจากบนลงล่าง เนื่องจาก จานวนระดับชั้นพลังงานเพิ่มขึ้นจากบนลงล่าง แนวโน้มขนาดไอออนในหมู่เดียวกัน 
ไอออนหมู่ 1 
จานวนระดับชั้นพลังงาน 
2 
2 8 
2 8 8 
2 8 18 8 
2 8 18 18 8
ขนาดไอออน (Ionic Radius) 
ไอออนในคาบเดียวกันจะแบ่งออกเป็น 2 ประเภท คือ ไอออนบวก ที่มาจากโลหะ และไอออนลบที่มาจากอโลหะ แนวโน้มของขนาดไอออน ตามคาบจะเล็กลงจากซ้ายไปขวา โดยมีขนาดใหญ่ขึ้นเมื่อถึงไอออนลบ จากนั้นก็จะมีขนาดเล็กลงจากซ้ายไปขวาเช่นเดิม แนวโน้มขนาดไอออนในคาบเดียวกัน
ขนาดไอออน (Ionic Radius) การเปรียบเทียบระหว่างไอออนบวกกับไอออนลบ 
Mg : 1s22s22p63s2 
160 pm 
Mg2+: 1s22s22p6 
65 pm 
O : 1s22s22p4 
73 pm 
O2-: 1s22s22p6 
140 pm
ขนาดไอออน (Ionic Radius) การเปรียบเทียบระหว่างไอออนบวกกับไอออนลบ
ขนาดไอออน (Ionic Radius) การเปรียบเทียบขนาดอะตอมและขนาดไอออน
พลังงานไอออไนเซชัน (Ionization energy) 
พลังงานไอออนไนเซชัน (IE) คือ พลังงานน้อยที่สุดที่ทาให้ อิเล็กตรอนหลุดออกจากอะตอมหรือไอออนที่อยู่ในสภาวะแก๊ส 
พลังงานที่ใช้ในการดึง e-หลุดออกจากในสภาวะก๊าซ 
อะตอมใดมีขนาดเล็ก จะทาให้ดึง e-ออกยาก IE สูง 
อะตอมใดมีขนาดใหญ่ จะทาให้ดึง e-ออกง่าย IE ต่า
พลังงานไอออไนเซชัน (Ionization energy) 
พลังงานไอออไนเซชันลาดับที่หนึ่ง(IE1) เป็นพลังงานที่ต้องใช้ในการดึง อิเล็กตรอนตัวแรกออกจากอะตอมอิสระในสถานะแก๊ส 
Na(g)Na+(g)+ e- 
พลังงานไอออไนเซชันลาดับที่สอง(IE2) เป็นพลังงานที่ต้องใช้ในการดึง 
อิเล็กตรอนออกจากไอออนที่มีประจุ +1 ในสถานะแก๊ส 
Na+(g)Na2+(g)+ e- 
ค่าพลังงานไอออไนเซชันสูงแสดงว่าการดึงอิเล็กตรอนออกไปทาได้ยาก
พลังงานไอออไนเซชัน (Ionization energy) 
Mg(g)Mg+ (g)+ e-: IE1 = 744 kJ/mol 
Mg+ (g)Mg2+ (g)+ e-: IE2 = 1457 kJ/mol 
Mg2+ (g)Mg3+ (g) + e-: IE3 = 7739 kJ/mol 
ตัวอย่างค่าพลังงานไอออไนเซชัน นะครับ 
IE1 < IE2 < IE3 < IE4 <……..
พลังงานไอออไนเซชัน (Ionization energy) 
M (g)+ IE1M+(g)+ e-เมื่อ IE1 คือ พลังงานไอออไนเซชันลาดับที่ 1 
M+(g)+ IE2M2+(g)+ e-เมื่อ IE2 คือ พลังงานไอออไนเซชันลาดับที่ 2 
M2+(g)+ IE3M3+(g)+ e-เมื่อ IE3 คือ พลังงานไอออไนเซชันลาดับที่ 3 
M3+(g)+ IE4M4+(g)+ e-เมื่อ IE4 คือ พลังงานไอออไนเซชันลาดับที่ 4 
M4+(g)+ IE5M5+(g)+ e-เมื่อ IE5 คือ พลังงานไอออไนเซชันลาดับที่ 5 
M5+(g)+ IE6M6+(g)+ e-เมื่อ IE6 คือ พลังงานไอออไนเซชันลาดับที่ 6
พลังงานไอออไนเซชัน (Ionization energy)
พลังงานไอออไนเซชัน (Ionization energy) 
แนวโน้มของพลังงานไอออไนเซชันตามหมู่ 
ค่าพลังงานไอออไนเซชันจะลดลงจากบนลงล่าง โดยพิจารณาจากขนาดของ อะตอม เมื่อพิจารณาจากบนลงล่าง ขนาดของอะตอมจะมีใหญ่ขึ้น จึงทาให้อิเล็กตรอน สามารถหลุดออกได้ง่าย จึงทาให้ใช้พลังงานน้อยลง 
แนวโน้มของพลังงานไอออไนเซชันตามคาบ 
พลังงานไอออไนเซชันจะเพิ่มขึ้นจากซ้ายไปขวา โดยพิจารณาตาม 
ขนาดของอะตอม เพราะถ้าอะตอมมีขนาดใหญ่จะทาให้แรงดึงดูดจากโปรตอนน้อย จึง ทาให้อิเล็กตรอนสามารถหลุดออกได้ง่าย แต่ในขณะเดียวกันเมื่อพิจารณาขนาด อะตอมของซ้ายไปขวา จะมีขนาดเล็กลง จึงทาให้อิเล็กตรอนหลุดออกได้ยาก จึงทาให้ ต้องใช้พลังงานมากขึ้นในการที่จะดึงอิเล็กตรอนหลุดออก
พลังงานไอออไนเซชัน (Ionization energy) 
จากการเปรียบเทียบค่า IEข้างต้นจะสังเกตได้ว่าค่า IE จะ แปรผกผันกับขนาดอะตอม อย่างไรก็ตามเมื่อพิจารณาค่า IE อย่าง ละเอียดพบว่าภายในคาบหนึ่งๆ จะมีข้อยกเว้นอยู่ดังแสดงในรูปที่ 3.18 พบว่าอะตอม Be มีขนาดใหญ่กว่า B แต่ว่า IE1 ของ Be สูง กว่า IE1 ของ B เช่นเดียวกับอะตอม N ที่มีขนาดใหญ่กว่า O แต่ ว่า IE1 ของ N สูงกว่า IE1 ของ O
First Ionization Energy Plot 
5 
10 
15 
20 
25 
30 
35 
40 
Atomic number 
First ionization energy (kJ/mol) 
0 
500 
1000 
1500 
2000 
2500 
H 
He 
Li 
Be 
B 
C 
N 
O 
F 
Ne 
Mg 
Na 
Al 
Si 
P 
S 
Cl 
Ar 
Ca 
K 
Sc 
Ti 
V 
Cr 
Mn 
Fe 
Co 
Cu 
Ni 
Zn 
Ga 
Ge 
As 
Se 
Br 
Rb 
Sr 
Kr 
แนวโน้มค่า IE1 ของธาตุในตารางธาตุ
พลังงานไอออไนเซชัน (Ionization energy)
พลังงานไอออไนเซชัน (Ionization energy) 
พลังงานไอออไนเซชันในแต่ละธาตุ จะมีค่าสูงเพิ่มขึ้นมาก เมื่อเกี่ยว ข้องกับการดึงอิเล็กตรอนออกจากสภาวะที่มีการจัดเรียงอิเล็กตรอนคล้าย แก๊สมีตระกูล (inner-pair effect)
พลังงานไอออไนเซชัน (Ionization energy) 
First Ionization Energy เพิ่มขึ้น 
First Ionization Energy เพิ่มขึ้น 
ตามหมู่ ระดับพลังงาน มากขึ้น 
e-อยู่ไกล Nu มาก 
e-หลุดง่าย 
IE ต่า 
ตามคาบ จานวนประจุบวกเพิ่มมากขึ้น e-ถูกดึงดูดมาอยู่ใกล้ Nu ได้มากe-หลุดยาก IE สูง
พลังงานไอออไนเซชัน (Ionization energy)
พลังงานไอออไนเซชัน (Ionization energy) 
ธาตุ X มีค่าพลังงานไอออไนเซชัน ดังต่อไปนี้ตามลาดับ จงหาว่าธาตุ Xเป็นธาตุหมู่ใด 
495.9, 4560, 6900, 9540, 13400, 16600, 
20120, 25490, 28390, 141360 ,170000 
หมู่ 1เพราะพลังงานกลุ่มที่น้อยที่สุดที่ใช้ดึงอิเล็กตรอนกลุ่ม แรกมีเพียงค่าเดียว 
ธาตุ X มีค่าพลังงานไอออไนเซชัน ดังต่อไปนี้ตามลาดับ จงหา ว่าธาตุ Xเป็นธาตุคาบใด
พลังงานไอออไนเซชัน (Ionization energy) 
495.9 , 4560 , 6900 , 9540 , 13400 , 16600,20120 , 25490 , 28390 ,141360, 170000 
Y 
Z 
6560 , 7900 , 11540 , 14400 , 17600,21920 , 29690, 241760 ,270000 
เหตุใดอิเล็กตรอนตัวแรกของ Z จึงต้องใช้พลังงานสูงกว่า Y
พลังงานไอออไนเซชัน (Ionization energy) 
495.9 , 4560 , 6900 , 9540 , 13400 , 16600,20120 , 25490 , 28390 ,141360, 170000 
Y 
Z 
6560 , 7900 , 11540 , 14400 , 17600, 21920 , 29690, 241760 ,270000 
Y 
Z
พลังงานไอออไนเซชันกับขนาดอะตอม 
IE1 
IE2 
ออกแรงดึงมากกว่า เพราะ อิเล็กตรอนอยู่ใกล้โปรตอน
อิเล็กโทรเนกาติวิตี (Electronegativity; EN) 
อิเล็กโทรเนกาติวิตี (Electronegativity หรือ EN) คือ เป็นค่า แสดงความสามารถในการดึงดูดอิเล็กตรอนคู่ร่วมพันธะจาก Nucleus 
e-คู่ร่วมพันธะของอะตอมที่มีขนาดเล็ก จะได้รับแรงดึงดูดจาก Nucleus มาก EN สูง 
e-คู่ร่วมพันธะของอะตอมที่มีขนาดใหญ่ จะได้รับแรงดึงดูดจาก 
Nucleus น้อย EN ต่า 
อะตอมที่มีสภาพไฟฟ้าลบมาก จะดึงอิเล็กตรอนที่ใช้ร่วมกันในการเกิด พันธะโคเวเลนต์เข้าหาตัวเองได้มากกว่า ได้มีผู้หาค่าสภาพไฟฟ้าลบไว้หลาย แบบ แต่ที่นิยมใช้อ้างอิงมากที่สุด คือ ของพอลิง โดยกาหนดให้ฟลูออรีนมี ค่าสภาพไฟฟ้าลบมากที่สุด คือ เท่ากับ 4.0และซีเซียม (Cs) มีสภาพไฟฟ้า ลบน้อยที่สุด คือเท่ากับ 0.7
อิเล็กโทรเนกาติวิตี (Electronegativity; EN) 
ธาตุหมู่เดียวกัน ค่า ENจะลดลงจากบนลงล่าง เพราะขนาด อะตอมใหญ่ขึ้นทาให้นิวเคลียสมีโอกาสดึงดูดอิเล็กตรอนได้น้อยกว่าอะตอม ที่มีขนาดเล็กENจึงต่าลง แนวโน้มของค่าอิเล็กโทรเนกาติวิตีในหมู่เดียวกัน แนวโน้มของค่าอิเล็กโทรเนกาติวิตีในคาบเดียวกัน 
ธาตุในคาบเดียวกัน ค่า EN จะเพิ่มขึ้นจากซ้ายไปขวาเพราะ ขนาดอะตอมเล็กลงทาให้ได้รับแรงดึงดูดจากนิวเคลียสมากกว่าอะตอมที่มี ขนาดใหญ่ EN จึงสูงขึ้น
อิเล็กโทรเนกาติวิตี (Electronegativity; EN)
อิเล็กโทรเนกาติวิตี (Electronegativity; EN)
อิเล็กโทรเนกาติวิตี (Electronegativity; EN)
อิเล็กโทรเนกาติวิตี (Electronegativity; EN)
สัมพรรคภาพอิเล็กตรอน (Electron Affinity) 
Electron affinity(EA)คือพลังงานที่ปลดปล่อยออกมาจากการ รับอิเล็กตรอนของอะตอมธาตุแล้วเกิดเป็นแอนไอออนณสถานะแก๊ส 
ธาตุที่มี EA สูง จะคายพลังงานออกมามากเมื่อรับอิเล็กตรอนเข้า ไป ทาให้เกิดไอออนลบที่มีความเสถียรมาก ดังนั้นค่า EA จึงใช้ทานาย ความสามารถในการเป็นไอออนลบ กล่าวคือ ธาตุที่มี EA สูง จะสามารถ เกิดเป็นไอออนลบได้ง่ายกว่าธาตุที่มี EA ต่า
สัมพรรคภาพอิเล็กตรอน (Electron Affinity) 
F (g)+ e-F- (g) 
H = -328 kJ/mol 
EA = +328 kJ/mol 
O (g)+ e-O- (g) 
H = -141 kJ/mol 
EA = +141 kJ/mol
สัมพรรคภาพอิเล็กตรอน (Electron Affinity) 
สัมพรรคภาพอิเล็กตรอนจะตรงข้ามกับพลังงานไอออไนเซชัน 
สัมพรรคภาพอิเล็กตรอนเป็นพลังงานที่เกิดขึ้นเมื่ออะตอม ในสถานะแก๊สรับอิเล็กตรอนเกิดเป็นไอออนที่มีประจุ -1ในสภาพที่เป็นแก๊ส: 
Cl(g)+ e-Cl-(g) 
สัมพรรคภาพอิเล็กตรอนสามารถเป็นได้ทั้งการคายพลังงาน หรือเป็นการดูดพลังงาน เช่น
สัมพรรคภาพอิเล็กตรอน (Electron Affinity) 
แนวโน้มสัมพรรคภาพอิเล็กตรอนตามหมู่ 
ธาตุในหมู่เดียวกันค่า EAลดลงจากบนลงล่าง เพราะธาตุข้างบนมี ขนาดเล็กกว่าธาตุข้างล่าง จึงมีแรงดึงดูดระหว่างประจุบวกที่นิวเคลียสกับ อิเล็กตรอนที่เพิ่มเข้าในอะตอมได้มากกว่า ระยะทางจากนิวเคลียสถึง ขอบเขตของอะตอมสั้นกว่าอะตอมที่มีขนาดใหญ่ที่อยู่ข้างล่างของหมู่ ธาตุ ข้างบนรับอิเล็กตรอนได้ดีกว่าธาตุข้างล่าง EA จึงมากกว่า
สัมพรรคภาพอิเล็กตรอน (Electron Affinity) 
แนวโน้มสัมพรรคภาพอิเล็กตรอนตามคาบ 
ธาตุในคาบเดียวกันค่า EA เพิ่มขึ้นจากซ้ายไปขวาของตารางธาตุ เพราะธาตุทางขวามีขนาดเล็กกว่าธาตุทางซ้าย จึงรับ e-ได้ดีกว่า e-ที่เข้า มาใหม่จะถูกดึงดูดด้วย Nucleus ได้มากกว่า EA จึงมากกว่า 
* Li or Na* O or F
ความสัมพันธ์ระหว่าง Electron affinity กับเลขอะตอม
สัมพรรคภาพอิเล็กตรอน (Electron Affinity) 
A(g) + e¯A¯(g)
สัมพรรคภาพอิเล็กตรอน (Electron Affinity)
สัมพรรคภาพอิเล็กตรอน (Electron Affinity) 
คายพลังงานออกมามาก แสดงว่ารับ อิเล็กตรอนได้ดี (ชอบรับ/แย่งอิเล็กตรอน)
สรุปสมบัติของธาตุตามหมู่และตามคาบ
สรุปสมบัติของธาตุตามหมู่และตามคาบ
สรุปสมบัติของธาตุตามหมู่และตามคาบ
จุดเดือดและจุดหลอมเหลวของโลหะ 
จุดที่สารเปลี่ยนสถานะจาก ของเหลวกลายเป็น ไอเมื่อได้รับพลังงาน ความร้อน 
จุดเดือด คือ 
จุดหลอมเหลว คือ 
จุดที่สารเปลี่ยนสถานะจาก ของแข็งกลายเป็น ของเหลวเมื่อได้รับ พลังงานความร้อน
จุดเดือดและจุดหลอมเหลวของโลหะ 
ก. โลหะในหมู่เดียวกัน คือ หมู่ IA , IIA, และ IIIA “จุดหลอมเหลว และจุดเดือดมีแนวโน้มลดลง เมื่อเลขอะตอมเพิ่มขึ้น” เนื่องจากความ แข็งแรงของพันธะโลหะลดลง เพราะมีขนาดอะตอมใหญ่ขึ้น 
ข. โลหะในคาบเดียวกัน คือ โลหะในหมู่ IA , IIA, และ IIIA ใน คาบต่างๆ “จุดหลอมเหลวและจุดเดือดมีแนวโน้มสูงขึ้น เมื่อเลขอะตอม เพิ่มขึ้น” เนื่องจากมีพันธะโลหะที่แข็งแรงมากขึ้น ทั้งนี้เพราะอะตอมมี ขนาดเล็กลงและมีจานวนเวเลนต์อิเล็กตรอนเพิ่มขึ้น
จุดเดือดและจุดหลอมเหลวของโลหะ
จุดเดือดและจุดหลอมเหลวของโลหะ 
หมายเหตุ สาหรับธาตุหมู่ IVA และ VA จุดหลอมเหลวและจุดเดือดมี แนวโน้มของการเปลี่ยนแปลงไม่ชัดเจน เนื่องจากมีโครงสร้างและแรงยึด เหนี่ยวระหว่างอะตอมที่แตกต่างกัน 
หมู่ IA หมู่IVA 
สูง 
ต่า
จุดเดือดและจุดหลอมเหลวของอโลหะ 
ก.อโลหะในหมู่เดียวกัน คือ หมู่ VIA , VIIA, และ VIIIA “จุด หลอมเหลวและจุดเดือดมีแนวโน้มเพิ่มขึ้น เมื่อเลขอะตอมเพิ่มขึ้น” เนื่องจากแรงยึดเหนี่ยวระหว่างโมเลกุลคือแรงวันเดอร์วาลส์เพิ่มขึ้น เพราะ มวลโมเลกุลและขนาดโมเลกุลเพิ่มขึ้น 
ข. อโลหะในคาบเดียวกัน คือ อโลหะ หมู่ VA, VIA , VIIA, และ VIIIA “จุดหลอมเหลวและจุดเดือดมีแนวโน้มลดต่าลงเมื่อเลขอะตอม เพิ่มขึ้น” เนื่องจากแรงยึดเหนี่ยวระหว่างโมเลกุลคือ แรงวันเดอร์วาลส์มีค่า ลดลง เพราะขนาดของโมเลกุลเล็กลง โดยเฉพาะก๊าซเฉื่อยเป็นก๊าซประเภท โมเลกุลเดี่ยว และมีขนาดเล็ก มีจุดหลอมเหลวและจุดเดือดต่ามาก
จุดเดือดและจุดหลอมเหลวของอโลหะ 
หมู่ IA หมู่IVA 
ต่า 
สูง
ความหนาแน่น Density
โลหะ อโลหะ และกึ่งโลหะ
เมื่อโลหะถูกออกซิไดส์ โลหะจะกลายเป็นไอออนบวก 
โลหะหมู่1AจะเกิดไอออนM+ 
โลหะหมู่2AจะเกิดไอออนM2+ 
ขณะที่โลหะทรานสิชันสามารถมีประจุได้หลายค่า 
ออกไซด์ของโลหะเป็นออกไซด์เบส: 
Metal oxide + watermetal hydroxide 
Na2O(s)+ H2O(l) 2NaOH(aq) โลหะ
กึ่งโลหะเป็นธาตุที่มีสมบัติอยู่ระหว่างโลหะและอโลหะ 
ธาตุกึ่งโลหะมีการประยุกต์ใช้ในอุตสาหกรรมสารกึ่งตัวนา กึ่งโลหะ 
เช่น ซิลิกอน เป็นธาตุที่มีความมันวาว แต่เปราะ
เมื่ออโลหะทาปฏิกิริยา หรือเกิดเป็นสารประกอบกับโลหะ 
อโลหะจะมีแนวโน้มเป็นตัวให้อิเล็กตรอน: อโลหะ 
ออกไซด์ของอโลหะเป็นออกไซด์กรด: 
metal + nonmetal salt 
2Al(s) + 3Br2(l) 2AlBr3(s) 
nonmetal oxide + water acid 
P4O10(s) + H2O(l) 4H3PO4(aq)
Oxidation Number 
เลขออกซิเดชัน ( Oxidation Number ) เป็นตัวเลขเพื่อแสดงค่า ประจุไฟฟ้าหรือประจุไฟฟ้าสมมติของไอออนหรืออะตอมของธาตุ ซึ่งส่วน ใหญ่เป็นเลขจานวนเต็มรวมทั้งศูนย์และอาจมีเครื่องหมายเป็นบวกหรือลบก็ ได้ 
การกาหนดค่าเลขออกซิเดชัน มีกฎดังนี้ คือ 
1. อะตอมของธาตุต่างๆ ในสภาวะอิสระ ไม่ว่าจะอยู่ในรูปที่เป็น อะตอมเดียว หรือโมเลกุล จะมีเลขออกซิเดชันเท่ากับศูนย์ เช่น Na Be He O2S8 
2. ไอออนที่มีอะตอมเดี่ยวเลขออกซิเดชันจะมีค่าเท่ากับประจุของ ไอออนนั้น
Oxidation Number 
เช่น 
Na+มีเลขออกซิเดชัน เท่ากับ +1 
Be2+มีเลขออกซิเดชัน เท่ากับ +2 
O2-มีเลขออกซิเดชัน เท่ากับ -2 
3. เลขออกซิเดชันของโลหะอัลคาไล(หมู่ IA) และโลหะอัลคาไลน์ เอิร์ท(หมู่ IIA) ในสารประกอบต่างๆ มีค่าเท่ากับ +1และ +2ตามลาดับ 
4. เลขออกซิเดชันของออกซิเจนในสารประกอบส่วนมาก มีค่า เท่ากับ -2 ยกเว้น 
-สารประกอบเปอร์ออกไซด์ เช่น H2O2และ Na2O2 
ออกซิเจนมีเลขออกซิเดชัน -1
Oxidation Number 
-สารประกอบซุปเปอร์ออกไซด์ เช่น KO2 
ออกซิเจนมีเลขออกซิเดชัน -1/2 
-สารประกอบ OF2 
ออกซิเจนมีเลขออกซิเดชัน +2 
5. เลขออกซิเดชันของไฮโดรเจนในสารประกอบส่วนมากมีค่าเท่ากับ +1ยกเว้นในสารประกอบพวกไฮไดรด์ไอออนิกซึ่งไฮโดรเจนมีค่าเลขออกซิ- เดชันเท่ากับ -1เช่น LiAlH4และ NaBH4 
6. ผลรวมทางพีชคณิตของเลขออกซิเดชันของอะตอมทั้งหมดในสูตร เคมีใดๆ จะมีค่าเท่ากับประจุสาหรับกลุ่มของอะตอมที่เขียนแสดงในสูตรนั้นๆ เช่น ผลรวมของเลขออกซิเดชันของ KMnO4เท่ากับ 0 ผลรวมของเลข ออกซิเดชันของ NO3-เท่ากับ -1
Oxidation Number 
ตัวอย่างที่ 1 จงหาเลขออกซิเดชันของ S ใน H2SO4 
สมมติเลขออกซิเดชันของ S = x 
เลขออกซิเดชันของ H = +1 
2 อะตอมของ H มีเลขออกซิเดชันรวม = (+1 2) = +2 
เลขออกซิเดชันของ O = -2 
4 อะตอมของ O มีเลขออกซิเดชันรวม = (-2 4) = -8 
ผลรวมของเลขออกซิเดชันธาตุทั้งหมดในสารประกอบ 
เท่ากับ 0 
ดังนั้น +2 + x + (-8) = 0 
x = +6 
เลขออกซิเดชันของ S ใน H2SO4= +6 
ตัวอย่างที่ 2 จงหาเลขออกซิเดชันของ Co ใน [Co(CN)6]4- 
สมมติเลขออกซิเดชันของ Co = x 
เลขออกซิเดชันของ CN-= -1 
ผลรวมเลขออกซิเดชันของ CN = (-1 6) = -6 
ผลรวมเลขออกซิเดชันธาตุทั้งหมดในไอออนเท่ากับประจุของ ไอออนเท่ากับ -4 
ดังนั้น x + (-6) = -4 
x = +2 
เลขออกซิเดชันของ Co ใน [Co(CN)6]4-= +2
Oxidation Number
Oxidation Number
Oxidation Number 
ตัวอย่างจงหาเลขออกซิเดชันธาตุที่ขีดเส้นใต้ต่อไปนี้ 
1) Na2S 
2) HClO4 
3) NaBrO3 
4) NO3- 
5) (NH4)2SO4 
6) CO32- 
7)OF2 
8)H2O2 
9)CH3OH 
10) S8

Más contenido relacionado

La actualidad más candente

บทที่ 20 ฟิสิกส์นิวเคลียร์ แก้ไขครั้งที่ 1
บทที่ 20 ฟิสิกส์นิวเคลียร์ แก้ไขครั้งที่ 1บทที่ 20 ฟิสิกส์นิวเคลียร์ แก้ไขครั้งที่ 1
บทที่ 20 ฟิสิกส์นิวเคลียร์ แก้ไขครั้งที่ 1Wijitta DevilTeacher
 
เฉลยเอกสารประกอบสื่อสังคมออนไลน์เรื่องคลื่นกลและเสียง
เฉลยเอกสารประกอบสื่อสังคมออนไลน์เรื่องคลื่นกลและเสียงเฉลยเอกสารประกอบสื่อสังคมออนไลน์เรื่องคลื่นกลและเสียง
เฉลยเอกสารประกอบสื่อสังคมออนไลน์เรื่องคลื่นกลและเสียงโรงเรียนเทพลีลา
 
ใบความรู้ เรื่อง สารละลาย วิชาเสริมทักษะวิทยาศาสตร์ 2 ว 21202
ใบความรู้ เรื่อง สารละลาย วิชาเสริมทักษะวิทยาศาสตร์ 2 ว 21202ใบความรู้ เรื่อง สารละลาย วิชาเสริมทักษะวิทยาศาสตร์ 2 ว 21202
ใบความรู้ เรื่อง สารละลาย วิชาเสริมทักษะวิทยาศาสตร์ 2 ว 21202พัน พัน
 
7ทฤษฎีจลน์ของแก๊ส
7ทฤษฎีจลน์ของแก๊ส7ทฤษฎีจลน์ของแก๊ส
7ทฤษฎีจลน์ของแก๊สWijitta DevilTeacher
 
พันธะโคเวเลนต์ Covalent Bond
พันธะโคเวเลนต์ Covalent Bondพันธะโคเวเลนต์ Covalent Bond
พันธะโคเวเลนต์ Covalent BondSaipanya school
 
มวลอะตอม มวลโมเลกุล มวลไอออน
มวลอะตอม มวลโมเลกุล มวลไอออนมวลอะตอม มวลโมเลกุล มวลไอออน
มวลอะตอม มวลโมเลกุล มวลไอออนพัน พัน
 
การคำนวณเกี่ยวกับสูตรเคมี
การคำนวณเกี่ยวกับสูตรเคมีการคำนวณเกี่ยวกับสูตรเคมี
การคำนวณเกี่ยวกับสูตรเคมีพัน พัน
 
แบบทดสอบก่อนเรียนหน่วยระบบนิเวศ
แบบทดสอบก่อนเรียนหน่วยระบบนิเวศแบบทดสอบก่อนเรียนหน่วยระบบนิเวศ
แบบทดสอบก่อนเรียนหน่วยระบบนิเวศkrupornpana55
 
แบบทดสอบ เรืื่องพอลิเมอร์
แบบทดสอบ เรืื่องพอลิเมอร์แบบทดสอบ เรืื่องพอลิเมอร์
แบบทดสอบ เรืื่องพอลิเมอร์Jariya Jaiyot
 
บทที่ 5 พอลิเมอร์
บทที่ 5 พอลิเมอร์บทที่ 5 พอลิเมอร์
บทที่ 5 พอลิเมอร์Jariya Jaiyot
 
แบบทดสอบก่อนเรียนความหลากหลายทางชีวภาพ
แบบทดสอบก่อนเรียนความหลากหลายทางชีวภาพแบบทดสอบก่อนเรียนความหลากหลายทางชีวภาพ
แบบทดสอบก่อนเรียนความหลากหลายทางชีวภาพSirintip Arunmuang
 
ทฤษฎีอะตอมของโบร์
ทฤษฎีอะตอมของโบร์ทฤษฎีอะตอมของโบร์
ทฤษฎีอะตอมของโบร์Chanthawan Suwanhitathorn
 
บทที่12 เชื้อเพลิงซากดึกดำบรรพ์และผลิตภัณฑ์
บทที่12 เชื้อเพลิงซากดึกดำบรรพ์และผลิตภัณฑ์บทที่12 เชื้อเพลิงซากดึกดำบรรพ์และผลิตภัณฑ์
บทที่12 เชื้อเพลิงซากดึกดำบรรพ์และผลิตภัณฑ์orasa1971
 
แรงดึงดูดระหว่างมวล2560
แรงดึงดูดระหว่างมวล2560แรงดึงดูดระหว่างมวล2560
แรงดึงดูดระหว่างมวล2560krulef1805
 
เพาเวอร์เซต
เพาเวอร์เซตเพาเวอร์เซต
เพาเวอร์เซตAon Narinchoti
 
บทที่ 4 ปริมาณสัมพันธ์
บทที่ 4 ปริมาณสัมพันธ์บทที่ 4 ปริมาณสัมพันธ์
บทที่ 4 ปริมาณสัมพันธ์oraneehussem
 
ไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์ หน่วยการเรียนรู้ที่ 6
ไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์ หน่วยการเรียนรู้ที่  6ไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์ หน่วยการเรียนรู้ที่  6
ไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์ หน่วยการเรียนรู้ที่ 6Supaluk Juntap
 

La actualidad más candente (20)

บทที่ 20 ฟิสิกส์นิวเคลียร์ แก้ไขครั้งที่ 1
บทที่ 20 ฟิสิกส์นิวเคลียร์ แก้ไขครั้งที่ 1บทที่ 20 ฟิสิกส์นิวเคลียร์ แก้ไขครั้งที่ 1
บทที่ 20 ฟิสิกส์นิวเคลียร์ แก้ไขครั้งที่ 1
 
เฉลยเอกสารประกอบสื่อสังคมออนไลน์เรื่องคลื่นกลและเสียง
เฉลยเอกสารประกอบสื่อสังคมออนไลน์เรื่องคลื่นกลและเสียงเฉลยเอกสารประกอบสื่อสังคมออนไลน์เรื่องคลื่นกลและเสียง
เฉลยเอกสารประกอบสื่อสังคมออนไลน์เรื่องคลื่นกลและเสียง
 
ใบความรู้ เรื่อง สารละลาย วิชาเสริมทักษะวิทยาศาสตร์ 2 ว 21202
ใบความรู้ เรื่อง สารละลาย วิชาเสริมทักษะวิทยาศาสตร์ 2 ว 21202ใบความรู้ เรื่อง สารละลาย วิชาเสริมทักษะวิทยาศาสตร์ 2 ว 21202
ใบความรู้ เรื่อง สารละลาย วิชาเสริมทักษะวิทยาศาสตร์ 2 ว 21202
 
7ทฤษฎีจลน์ของแก๊ส
7ทฤษฎีจลน์ของแก๊ส7ทฤษฎีจลน์ของแก๊ส
7ทฤษฎีจลน์ของแก๊ส
 
Esterification
Esterification Esterification
Esterification
 
พันธะโคเวเลนต์ Covalent Bond
พันธะโคเวเลนต์ Covalent Bondพันธะโคเวเลนต์ Covalent Bond
พันธะโคเวเลนต์ Covalent Bond
 
มวลอะตอม มวลโมเลกุล มวลไอออน
มวลอะตอม มวลโมเลกุล มวลไอออนมวลอะตอม มวลโมเลกุล มวลไอออน
มวลอะตอม มวลโมเลกุล มวลไอออน
 
การคำนวณเกี่ยวกับสูตรเคมี
การคำนวณเกี่ยวกับสูตรเคมีการคำนวณเกี่ยวกับสูตรเคมี
การคำนวณเกี่ยวกับสูตรเคมี
 
แบบทดสอบก่อนเรียนหน่วยระบบนิเวศ
แบบทดสอบก่อนเรียนหน่วยระบบนิเวศแบบทดสอบก่อนเรียนหน่วยระบบนิเวศ
แบบทดสอบก่อนเรียนหน่วยระบบนิเวศ
 
แบบทดสอบ เรืื่องพอลิเมอร์
แบบทดสอบ เรืื่องพอลิเมอร์แบบทดสอบ เรืื่องพอลิเมอร์
แบบทดสอบ เรืื่องพอลิเมอร์
 
Punmanee study 4
Punmanee study 4Punmanee study 4
Punmanee study 4
 
บทที่ 5 พอลิเมอร์
บทที่ 5 พอลิเมอร์บทที่ 5 พอลิเมอร์
บทที่ 5 พอลิเมอร์
 
แบบทดสอบก่อนเรียนความหลากหลายทางชีวภาพ
แบบทดสอบก่อนเรียนความหลากหลายทางชีวภาพแบบทดสอบก่อนเรียนความหลากหลายทางชีวภาพ
แบบทดสอบก่อนเรียนความหลากหลายทางชีวภาพ
 
ทฤษฎีอะตอมของโบร์
ทฤษฎีอะตอมของโบร์ทฤษฎีอะตอมของโบร์
ทฤษฎีอะตอมของโบร์
 
บทที่12 เชื้อเพลิงซากดึกดำบรรพ์และผลิตภัณฑ์
บทที่12 เชื้อเพลิงซากดึกดำบรรพ์และผลิตภัณฑ์บทที่12 เชื้อเพลิงซากดึกดำบรรพ์และผลิตภัณฑ์
บทที่12 เชื้อเพลิงซากดึกดำบรรพ์และผลิตภัณฑ์
 
แรงดึงดูดระหว่างมวล2560
แรงดึงดูดระหว่างมวล2560แรงดึงดูดระหว่างมวล2560
แรงดึงดูดระหว่างมวล2560
 
Physics atom
Physics atomPhysics atom
Physics atom
 
เพาเวอร์เซต
เพาเวอร์เซตเพาเวอร์เซต
เพาเวอร์เซต
 
บทที่ 4 ปริมาณสัมพันธ์
บทที่ 4 ปริมาณสัมพันธ์บทที่ 4 ปริมาณสัมพันธ์
บทที่ 4 ปริมาณสัมพันธ์
 
ไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์ หน่วยการเรียนรู้ที่ 6
ไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์ หน่วยการเรียนรู้ที่  6ไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์ หน่วยการเรียนรู้ที่  6
ไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์ หน่วยการเรียนรู้ที่ 6
 

Similar a สมบัติของธาตุตามหมู่และตามคาบ

พัชรินทร์
พัชรินทร์พัชรินทร์
พัชรินทร์Muk52
 
พัชรินทร์
พัชรินทร์พัชรินทร์
พัชรินทร์Muk52
 
พัชรินทร์
พัชรินทร์พัชรินทร์
พัชรินทร์Muk52
 
แม่เหล็กแบบเรียน บ้านเติมเต็ม ฟิสิกส์ครูนัด
แม่เหล็กแบบเรียน บ้านเติมเต็ม ฟิสิกส์ครูนัด แม่เหล็กแบบเรียน บ้านเติมเต็ม ฟิสิกส์ครูนัด
แม่เหล็กแบบเรียน บ้านเติมเต็ม ฟิสิกส์ครูนัด ณรรตธร คงเจริญ
 
พลังงานไฟฟ้า
พลังงานไฟฟ้าพลังงานไฟฟ้า
พลังงานไฟฟ้าwongteamjan
 
พลังงานไฟฟ้า
พลังงานไฟฟ้าพลังงานไฟฟ้า
พลังงานไฟฟ้าThitikan
 
งานนำเสนอ กลุ่มที่6
งานนำเสนอ กลุ่มที่6งานนำเสนอ กลุ่มที่6
งานนำเสนอ กลุ่มที่6Thitikan
 
พลังงานไฟฟ้า (1)
พลังงานไฟฟ้า (1)พลังงานไฟฟ้า (1)
พลังงานไฟฟ้า (1)Nontawat Rupsung
 
พลังงานไฟฟ้า (1)
พลังงานไฟฟ้า (1)พลังงานไฟฟ้า (1)
พลังงานไฟฟ้า (1)Nontawat Rupsung
 
การค้นพบอิเล็กตรอน
การค้นพบอิเล็กตรอนการค้นพบอิเล็กตรอน
การค้นพบอิเล็กตรอนkrupatcharee
 
Ch 01 โครงสร้างอะตอม
Ch 01 โครงสร้างอะตอมCh 01 โครงสร้างอะตอม
Ch 01 โครงสร้างอะตอมkruannchem
 
ความสัมพันธ์ระหว่าง ความต่างศักย์ไฟฟ้า กระแสไฟฟ้า และ ความต้านทานไฟฟ้า
ความสัมพันธ์ระหว่าง  ความต่างศักย์ไฟฟ้า  กระแสไฟฟ้า  และ ความต้านทานไฟฟ้าความสัมพันธ์ระหว่าง  ความต่างศักย์ไฟฟ้า  กระแสไฟฟ้า  และ ความต้านทานไฟฟ้า
ความสัมพันธ์ระหว่าง ความต่างศักย์ไฟฟ้า กระแสไฟฟ้า และ ความต้านทานไฟฟ้าเรียนฟิสิกส์กับครูเอ็ม Miphukham
 
ศุภาลักษณ์
ศุภาลักษณ์ศุภาลักษณ์
ศุภาลักษณ์nom11
 
Ch13 mp2 atom&nucleus[2]
Ch13 mp2 atom&nucleus[2]Ch13 mp2 atom&nucleus[2]
Ch13 mp2 atom&nucleus[2]numpueng
 

Similar a สมบัติของธาตุตามหมู่และตามคาบ (20)

พัชรินทร์
พัชรินทร์พัชรินทร์
พัชรินทร์
 
พัชรินทร์
พัชรินทร์พัชรินทร์
พัชรินทร์
 
พัชรินทร์
พัชรินทร์พัชรินทร์
พัชรินทร์
 
แม่เหล็กแบบเรียน บ้านเติมเต็ม ฟิสิกส์ครูนัด
แม่เหล็กแบบเรียน บ้านเติมเต็ม ฟิสิกส์ครูนัด แม่เหล็กแบบเรียน บ้านเติมเต็ม ฟิสิกส์ครูนัด
แม่เหล็กแบบเรียน บ้านเติมเต็ม ฟิสิกส์ครูนัด
 
Physics atom part 3
Physics atom part 3Physics atom part 3
Physics atom part 3
 
Physics atom part 3
Physics atom part 3Physics atom part 3
Physics atom part 3
 
พลังงานไฟฟ้า
พลังงานไฟฟ้าพลังงานไฟฟ้า
พลังงานไฟฟ้า
 
พลังงานไฟฟ้า
พลังงานไฟฟ้าพลังงานไฟฟ้า
พลังงานไฟฟ้า
 
งานนำเสนอ กลุ่มที่6
งานนำเสนอ กลุ่มที่6งานนำเสนอ กลุ่มที่6
งานนำเสนอ กลุ่มที่6
 
พลังงานไฟฟ้า (1)
พลังงานไฟฟ้า (1)พลังงานไฟฟ้า (1)
พลังงานไฟฟ้า (1)
 
พลังงานไฟฟ้า (1)
พลังงานไฟฟ้า (1)พลังงานไฟฟ้า (1)
พลังงานไฟฟ้า (1)
 
การค้นพบอิเล็กตรอน
การค้นพบอิเล็กตรอนการค้นพบอิเล็กตรอน
การค้นพบอิเล็กตรอน
 
Lesson16
Lesson16Lesson16
Lesson16
 
Ch 01 โครงสร้างอะตอม
Ch 01 โครงสร้างอะตอมCh 01 โครงสร้างอะตอม
Ch 01 โครงสร้างอะตอม
 
ความสัมพันธ์ระหว่าง ความต่างศักย์ไฟฟ้า กระแสไฟฟ้า และ ความต้านทานไฟฟ้า
ความสัมพันธ์ระหว่าง  ความต่างศักย์ไฟฟ้า  กระแสไฟฟ้า  และ ความต้านทานไฟฟ้าความสัมพันธ์ระหว่าง  ความต่างศักย์ไฟฟ้า  กระแสไฟฟ้า  และ ความต้านทานไฟฟ้า
ความสัมพันธ์ระหว่าง ความต่างศักย์ไฟฟ้า กระแสไฟฟ้า และ ความต้านทานไฟฟ้า
 
ใบความรู้.05
ใบความรู้.05ใบความรู้.05
ใบความรู้.05
 
514 102 electric 53
514 102 electric 53514 102 electric 53
514 102 electric 53
 
514 102 electric 53
514 102 electric 53514 102 electric 53
514 102 electric 53
 
ศุภาลักษณ์
ศุภาลักษณ์ศุภาลักษณ์
ศุภาลักษณ์
 
Ch13 mp2 atom&nucleus[2]
Ch13 mp2 atom&nucleus[2]Ch13 mp2 atom&nucleus[2]
Ch13 mp2 atom&nucleus[2]
 

Más de พัน พัน

เรื่องระบบปฏิบัติการ
เรื่องระบบปฏิบัติการเรื่องระบบปฏิบัติการ
เรื่องระบบปฏิบัติการพัน พัน
 
เรื่องภาษาซี
เรื่องภาษาซีเรื่องภาษาซี
เรื่องภาษาซีพัน พัน
 
ประวัติความเป็นมาของคอมพิวเตอร์
ประวัติความเป็นมาของคอมพิวเตอร์ประวัติความเป็นมาของคอมพิวเตอร์
ประวัติความเป็นมาของคอมพิวเตอร์พัน พัน
 
การเปลี่ยนตัวเลขให้เป็นตัวอักษร
การเปลี่ยนตัวเลขให้เป็นตัวอักษรการเปลี่ยนตัวเลขให้เป็นตัวอักษร
การเปลี่ยนตัวเลขให้เป็นตัวอักษรพัน พัน
 
หลักการทำงาน บทบาทและอุปกรณ์พื้นฐานของคอมพิวเตอร์
หลักการทำงาน บทบาทและอุปกรณ์พื้นฐานของคอมพิวเตอร์หลักการทำงาน บทบาทและอุปกรณ์พื้นฐานของคอมพิวเตอร์
หลักการทำงาน บทบาทและอุปกรณ์พื้นฐานของคอมพิวเตอร์พัน พัน
 
รายงานเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์
รายงานเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์รายงานเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์
รายงานเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์พัน พัน
 
การทำงานพื้นฐานของคอมพิวเตอร์
การทำงานพื้นฐานของคอมพิวเตอร์การทำงานพื้นฐานของคอมพิวเตอร์
การทำงานพื้นฐานของคอมพิวเตอร์พัน พัน
 
การทำงานของคอมพิวเตอร์
การทำงานของคอมพิวเตอร์การทำงานของคอมพิวเตอร์
การทำงานของคอมพิวเตอร์พัน พัน
 
ระบบคอมพิวเตอร์และยุคสมัย
ระบบคอมพิวเตอร์และยุคสมัยระบบคอมพิวเตอร์และยุคสมัย
ระบบคอมพิวเตอร์และยุคสมัยพัน พัน
 
เรื่องเทคโนโลยีสารสนเทศ
เรื่องเทคโนโลยีสารสนเทศเรื่องเทคโนโลยีสารสนเทศ
เรื่องเทคโนโลยีสารสนเทศพัน พัน
 
ประเภทของคอมพิวเตอร์
ประเภทของคอมพิวเตอร์ประเภทของคอมพิวเตอร์
ประเภทของคอมพิวเตอร์พัน พัน
 
เครือข่ายคอมพิวเตอร์เบื้องต้น
เครือข่ายคอมพิวเตอร์เบื้องต้นเครือข่ายคอมพิวเตอร์เบื้องต้น
เครือข่ายคอมพิวเตอร์เบื้องต้นพัน พัน
 
เรื่องคอมพิวเตอร์เบื้องต้น
เรื่องคอมพิวเตอร์เบื้องต้นเรื่องคอมพิวเตอร์เบื้องต้น
เรื่องคอมพิวเตอร์เบื้องต้นพัน พัน
 
เรื่องด้านคอมพิวเตอร์
เรื่องด้านคอมพิวเตอร์เรื่องด้านคอมพิวเตอร์
เรื่องด้านคอมพิวเตอร์พัน พัน
 
เรื่องคอมพิวเตอร์
เรื่องคอมพิวเตอร์เรื่องคอมพิวเตอร์
เรื่องคอมพิวเตอร์พัน พัน
 
ปัญหาทรัพยากรป่าไม้
ปัญหาทรัพยากรป่าไม้ปัญหาทรัพยากรป่าไม้
ปัญหาทรัพยากรป่าไม้พัน พัน
 

Más de พัน พัน (20)

เรื่องระบบปฏิบัติการ
เรื่องระบบปฏิบัติการเรื่องระบบปฏิบัติการ
เรื่องระบบปฏิบัติการ
 
เรื่องภาษาซี
เรื่องภาษาซีเรื่องภาษาซี
เรื่องภาษาซี
 
ประวัติความเป็นมาของคอมพิวเตอร์
ประวัติความเป็นมาของคอมพิวเตอร์ประวัติความเป็นมาของคอมพิวเตอร์
ประวัติความเป็นมาของคอมพิวเตอร์
 
การเปลี่ยนตัวเลขให้เป็นตัวอักษร
การเปลี่ยนตัวเลขให้เป็นตัวอักษรการเปลี่ยนตัวเลขให้เป็นตัวอักษร
การเปลี่ยนตัวเลขให้เป็นตัวอักษร
 
หลักการทำงาน บทบาทและอุปกรณ์พื้นฐานของคอมพิวเตอร์
หลักการทำงาน บทบาทและอุปกรณ์พื้นฐานของคอมพิวเตอร์หลักการทำงาน บทบาทและอุปกรณ์พื้นฐานของคอมพิวเตอร์
หลักการทำงาน บทบาทและอุปกรณ์พื้นฐานของคอมพิวเตอร์
 
รายงานเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์
รายงานเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์รายงานเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์
รายงานเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์
 
การทำงานพื้นฐานของคอมพิวเตอร์
การทำงานพื้นฐานของคอมพิวเตอร์การทำงานพื้นฐานของคอมพิวเตอร์
การทำงานพื้นฐานของคอมพิวเตอร์
 
การทำงานของคอมพิวเตอร์
การทำงานของคอมพิวเตอร์การทำงานของคอมพิวเตอร์
การทำงานของคอมพิวเตอร์
 
ระบบคอมพิวเตอร์และยุคสมัย
ระบบคอมพิวเตอร์และยุคสมัยระบบคอมพิวเตอร์และยุคสมัย
ระบบคอมพิวเตอร์และยุคสมัย
 
เรื่องเทคโนโลยีสารสนเทศ
เรื่องเทคโนโลยีสารสนเทศเรื่องเทคโนโลยีสารสนเทศ
เรื่องเทคโนโลยีสารสนเทศ
 
ประเภทของคอมพิวเตอร์
ประเภทของคอมพิวเตอร์ประเภทของคอมพิวเตอร์
ประเภทของคอมพิวเตอร์
 
เครือข่ายคอมพิวเตอร์เบื้องต้น
เครือข่ายคอมพิวเตอร์เบื้องต้นเครือข่ายคอมพิวเตอร์เบื้องต้น
เครือข่ายคอมพิวเตอร์เบื้องต้น
 
เรื่องคอมพิวเตอร์เบื้องต้น
เรื่องคอมพิวเตอร์เบื้องต้นเรื่องคอมพิวเตอร์เบื้องต้น
เรื่องคอมพิวเตอร์เบื้องต้น
 
เรื่องด้านคอมพิวเตอร์
เรื่องด้านคอมพิวเตอร์เรื่องด้านคอมพิวเตอร์
เรื่องด้านคอมพิวเตอร์
 
เรื่องคอมพิวเตอร์
เรื่องคอมพิวเตอร์เรื่องคอมพิวเตอร์
เรื่องคอมพิวเตอร์
 
โครงงานคอม
โครงงานคอมโครงงานคอม
โครงงานคอม
 
การปริ้น
การปริ้นการปริ้น
การปริ้น
 
Office
OfficeOffice
Office
 
ปัญหาทรัพยากรป่าไม้
ปัญหาทรัพยากรป่าไม้ปัญหาทรัพยากรป่าไม้
ปัญหาทรัพยากรป่าไม้
 
ยาเสพติด
ยาเสพติดยาเสพติด
ยาเสพติด
 

สมบัติของธาตุตามหมู่และตามคาบ

  • 1. สมบัติของธาตุตามหมู่และตามคาบ นางสาวณิชานันท์ อาจหาญ วิชาสารและสมบัติของสาร ว 30102ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 โรงเรียนเฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระศรีนครินทร์ กาญจนบุรี ภาคเรียนที่ 1ปีการศึกษา 2557
  • 2. หัวข้อในการเรียนรู้ ขนาดอะตอม ขนาดไอออน พลังงานไอออไนเซชัน อิเล็กโทรเนกาติวิตี
  • 3. หัวข้อในการเรียนรู้ สัมพรรคภาพอิเล็กตรอน จุดเดือด จุดหลอมเหลว ความหนาแน่น เลขออกซิเดชัน
  • 4. ขนาดอะตอม (Atomic Radius) การบอกขนาดอะตอม จะบอกด้วย “รัศมีอะตอม” โดยจะแบ่งประเภทของรัศมีอะตอมดังนี้ รัศมีโคเวเลนต์(Covalent radius) รัศมีแวนเดอร์วาลส์(Van derWaals radius) รัศมีโลหะ (Matallicradius)
  • 5. ขนาดอะตอม (Atomic Radius) รัศมีโคเวเลนต์คือระยะทางครึ่งหนึ่งของความ ยาวพันธะโคเวเลนต์ ระหว่างอะตอมชนิดเดียวกัน ตัวอย่างรัศมีโคเวเลนต์ของไฮโดรเจนและคลอรีนแสดงได้ ดังนี้ ความยาวพันธะ H –H =74pm รัศมีโคเวเลนต์ของ H=74/2pm = 37pm รัศมีโคเวเลนต์ เป็นแรงยึดเหนี่ยวระหว่างอะตอมคู่ หนึ่ง ระหว่างอโลหะกับอโลหะ ซึ่งเกิดจากการใช้ อิเล็กตรอนร่วมกัน และระยะระหว่างนิวเคลียสของ อะตอมคู่ที่สร้างพันธะโคเวเลนต์ต่อกันจะเรียกว่า ความยาวพันธะ
  • 6. ขนาดอะตอม (Atomic Radius) ความยาวพันธะ Cl –Cl= 198 pm รัศมีโคเวเลนต์ของ Cl = 198/2pm = 99pm
  • 7. ขนาดอะตอม (Atomic Radius) กรณีที่เป็นพันธะโคเวเลนต์ระหว่างอะตอมต่างชนิดกัน เช่น CCl4อาจ หารัศมีอะตอมของธาตุคาร์บอนได้ เมื่อทราบความยาวพันธะระหว่างอะตอม ของธาตุทั้งสอง ตัวอย่างเช่น จากข้อมูลทราบว่า ความยาวพันธะ C –Cl =176 pm รัศมีอะตอมของ Cl = 99 pm ดังนั้น รัศมีอะตอมของ C= (176 -99) = 77 pm
  • 8. ขนาดอะตอม (Atomic Radius) รัศมีแวนเดอร์วาลส์ คือระยะทางครึ่งหนึ่งของ ระยะระหว่างนิวเคลียสของอะตอมที่อยู่ใกล้ที่สุด ตัวอย่าง รัศมีแวนเดอร์วาลส์ซึ่งหาได้จากอะตอมของแก๊สเฉื่อย
  • 9. ขนาดอะตอม (Atomic Radius) รัศมีโลหะ คือ ระยะทางครึ่งหนึ่งของระยะระหว่าง นิวเคลียสของอะตอมโลหะที่อยู่ใกล้ที่สุด เช่น ธาตุ แมกนีเซียม มีระยะระหว่างนิวเคลียสของอะตอมสอง อะตอมอยู่ใกล้กันที่สุด
  • 10. ขนาดอะตอม (Atomic Radius) ปัจจัยที่มีผลต่อขนาดของอะตอมและขนาดไอออน จานวนระดับพลังงาน ถ้ามีจานวนระดับพลังงานมากขึ้น ขนาดของ ของอะตอมจะใหญ่มากขึ้นตามไปด้วย จานวนโปรตอน ในกรณีที่มีจานวนระดับพลังงานเท่ากัน ให้พิจาณา จานวนโปรตอน ถ้ามีโปรตอนมาก อะตอมจะมีขนาดเล็กว่า อัตราส่วนระหว่างโปรตอนกับอิเล็กตรอน ไอออนของธาตุ ถ้ามี โปรตอน/อิเล็กตรอนมาก ไอออนนั้นก็จะมีขนาดเล็กลง
  • 11. ขนาดอะตอม (Atomic Radius) แนวโน้มขนาดอะตอมในหมู่เดียวกัน ธาตุในหมู่เดียวเดียวกันขนาดอะตอมจะใหญ่ขึ้น จากบนลงล่าง เนื่องจากธาตุในหมู่เดียวกันจะมีเลข อะตอมเพิ่มขึ้นจากบนลงล่าง เมื่อเลขอะตอมเพิ่มขึ้นจะ ทาให้มีจานวนระดับชั้นพลังงานเพิ่มมากขึ้น จึงทาให้มี ขนาดอะตอมเพิ่มขึ้นตามลาดับ
  • 12. ขนาดอะตอม (Atomic Radius) แนวโน้มขนาดอะตอมในคาบเดียวกัน ธาตุในคาบเดียวกันจะมีขนาดอะตอมเล็กลงจากซ้ายไป ขวา เพราะธาตุที่อยู่ในคาบเดียวกัน จะมีระดับชั้นพลังงานเท่ากัน แต่เลขอะตอม (โปรตอน) จะเพิ่มขึ้นจากซ้ายไปขวา ทาให้มีแรง ดึงดูดอิเล็กตรอนมากยิ่งขึ้น จึงทาให้มีขนาดอะตอมเล็กลง
  • 13. ขนาดอะตอม (Atomic Radius) แนวโน้มขนาดอะตอมตามหมู่และตามคาบ
  • 15. ขนาดไอออน (Ionic Radius) ไอออน คือ อะตอมหรือกลุ่มอะตอมที่มีประจุไฟฟ้า ซึ่งจะมีประจุ ไฟฟ้าบวกหรือลบเท่านั้น โดยแบ่งไอออน ออกเป็น 2 ประเภท คือ ไอออนบวก เกิดจากที่อะตอมหรือกลุ่มอะตอมเกิดการสูญเสีย อิเล็กตรอน จึงทาให้มีจานวนโปรตอนมากกว่าอิเล็กตรอน จึงแสดงประจุ บวกออกมา ไอออนลบ คือ เกิดจากอะตอมหรือกลุ่มอะตอมได้รับอิเล็กตรอน จากอะตอมอื่น จึงทาให้มีจานวนอิเล็กตรอนมากกว่าโปรตอน จึงแสดง ประจุลบออกมา สิ่งที่ใช้พิจารณาขนาดของไอออน คือ รัศมีไอออน ซึ่งเป็นระยะห่าง ระหว่างนิวเคลียสของไอออนบวกและไอออนลบ (พันธะไอออนิก)
  • 16. ขนาดไอออน (Ionic Radius) รูปที่ 1 ไอออนบวก รูปที่ 2 ไอออนลบ
  • 17. ขนาดไอออน (Ionic Radius) ไอออนในหมู่เดียวกันจะมีขนาดใหญ่ขึ้นจากบนลงล่าง เนื่องจาก จานวนระดับชั้นพลังงานเพิ่มขึ้นจากบนลงล่าง แนวโน้มขนาดไอออนในหมู่เดียวกัน ไอออนหมู่ 1 จานวนระดับชั้นพลังงาน 2 2 8 2 8 8 2 8 18 8 2 8 18 18 8
  • 18. ขนาดไอออน (Ionic Radius) ไอออนในคาบเดียวกันจะแบ่งออกเป็น 2 ประเภท คือ ไอออนบวก ที่มาจากโลหะ และไอออนลบที่มาจากอโลหะ แนวโน้มของขนาดไอออน ตามคาบจะเล็กลงจากซ้ายไปขวา โดยมีขนาดใหญ่ขึ้นเมื่อถึงไอออนลบ จากนั้นก็จะมีขนาดเล็กลงจากซ้ายไปขวาเช่นเดิม แนวโน้มขนาดไอออนในคาบเดียวกัน
  • 19. ขนาดไอออน (Ionic Radius) การเปรียบเทียบระหว่างไอออนบวกกับไอออนลบ Mg : 1s22s22p63s2 160 pm Mg2+: 1s22s22p6 65 pm O : 1s22s22p4 73 pm O2-: 1s22s22p6 140 pm
  • 20. ขนาดไอออน (Ionic Radius) การเปรียบเทียบระหว่างไอออนบวกกับไอออนลบ
  • 21. ขนาดไอออน (Ionic Radius) การเปรียบเทียบขนาดอะตอมและขนาดไอออน
  • 22. พลังงานไอออไนเซชัน (Ionization energy) พลังงานไอออนไนเซชัน (IE) คือ พลังงานน้อยที่สุดที่ทาให้ อิเล็กตรอนหลุดออกจากอะตอมหรือไอออนที่อยู่ในสภาวะแก๊ส พลังงานที่ใช้ในการดึง e-หลุดออกจากในสภาวะก๊าซ อะตอมใดมีขนาดเล็ก จะทาให้ดึง e-ออกยาก IE สูง อะตอมใดมีขนาดใหญ่ จะทาให้ดึง e-ออกง่าย IE ต่า
  • 23. พลังงานไอออไนเซชัน (Ionization energy) พลังงานไอออไนเซชันลาดับที่หนึ่ง(IE1) เป็นพลังงานที่ต้องใช้ในการดึง อิเล็กตรอนตัวแรกออกจากอะตอมอิสระในสถานะแก๊ส Na(g)Na+(g)+ e- พลังงานไอออไนเซชันลาดับที่สอง(IE2) เป็นพลังงานที่ต้องใช้ในการดึง อิเล็กตรอนออกจากไอออนที่มีประจุ +1 ในสถานะแก๊ส Na+(g)Na2+(g)+ e- ค่าพลังงานไอออไนเซชันสูงแสดงว่าการดึงอิเล็กตรอนออกไปทาได้ยาก
  • 24. พลังงานไอออไนเซชัน (Ionization energy) Mg(g)Mg+ (g)+ e-: IE1 = 744 kJ/mol Mg+ (g)Mg2+ (g)+ e-: IE2 = 1457 kJ/mol Mg2+ (g)Mg3+ (g) + e-: IE3 = 7739 kJ/mol ตัวอย่างค่าพลังงานไอออไนเซชัน นะครับ IE1 < IE2 < IE3 < IE4 <……..
  • 25. พลังงานไอออไนเซชัน (Ionization energy) M (g)+ IE1M+(g)+ e-เมื่อ IE1 คือ พลังงานไอออไนเซชันลาดับที่ 1 M+(g)+ IE2M2+(g)+ e-เมื่อ IE2 คือ พลังงานไอออไนเซชันลาดับที่ 2 M2+(g)+ IE3M3+(g)+ e-เมื่อ IE3 คือ พลังงานไอออไนเซชันลาดับที่ 3 M3+(g)+ IE4M4+(g)+ e-เมื่อ IE4 คือ พลังงานไอออไนเซชันลาดับที่ 4 M4+(g)+ IE5M5+(g)+ e-เมื่อ IE5 คือ พลังงานไอออไนเซชันลาดับที่ 5 M5+(g)+ IE6M6+(g)+ e-เมื่อ IE6 คือ พลังงานไอออไนเซชันลาดับที่ 6
  • 27. พลังงานไอออไนเซชัน (Ionization energy) แนวโน้มของพลังงานไอออไนเซชันตามหมู่ ค่าพลังงานไอออไนเซชันจะลดลงจากบนลงล่าง โดยพิจารณาจากขนาดของ อะตอม เมื่อพิจารณาจากบนลงล่าง ขนาดของอะตอมจะมีใหญ่ขึ้น จึงทาให้อิเล็กตรอน สามารถหลุดออกได้ง่าย จึงทาให้ใช้พลังงานน้อยลง แนวโน้มของพลังงานไอออไนเซชันตามคาบ พลังงานไอออไนเซชันจะเพิ่มขึ้นจากซ้ายไปขวา โดยพิจารณาตาม ขนาดของอะตอม เพราะถ้าอะตอมมีขนาดใหญ่จะทาให้แรงดึงดูดจากโปรตอนน้อย จึง ทาให้อิเล็กตรอนสามารถหลุดออกได้ง่าย แต่ในขณะเดียวกันเมื่อพิจารณาขนาด อะตอมของซ้ายไปขวา จะมีขนาดเล็กลง จึงทาให้อิเล็กตรอนหลุดออกได้ยาก จึงทาให้ ต้องใช้พลังงานมากขึ้นในการที่จะดึงอิเล็กตรอนหลุดออก
  • 28. พลังงานไอออไนเซชัน (Ionization energy) จากการเปรียบเทียบค่า IEข้างต้นจะสังเกตได้ว่าค่า IE จะ แปรผกผันกับขนาดอะตอม อย่างไรก็ตามเมื่อพิจารณาค่า IE อย่าง ละเอียดพบว่าภายในคาบหนึ่งๆ จะมีข้อยกเว้นอยู่ดังแสดงในรูปที่ 3.18 พบว่าอะตอม Be มีขนาดใหญ่กว่า B แต่ว่า IE1 ของ Be สูง กว่า IE1 ของ B เช่นเดียวกับอะตอม N ที่มีขนาดใหญ่กว่า O แต่ ว่า IE1 ของ N สูงกว่า IE1 ของ O
  • 29. First Ionization Energy Plot 5 10 15 20 25 30 35 40 Atomic number First ionization energy (kJ/mol) 0 500 1000 1500 2000 2500 H He Li Be B C N O F Ne Mg Na Al Si P S Cl Ar Ca K Sc Ti V Cr Mn Fe Co Cu Ni Zn Ga Ge As Se Br Rb Sr Kr แนวโน้มค่า IE1 ของธาตุในตารางธาตุ
  • 31. พลังงานไอออไนเซชัน (Ionization energy) พลังงานไอออไนเซชันในแต่ละธาตุ จะมีค่าสูงเพิ่มขึ้นมาก เมื่อเกี่ยว ข้องกับการดึงอิเล็กตรอนออกจากสภาวะที่มีการจัดเรียงอิเล็กตรอนคล้าย แก๊สมีตระกูล (inner-pair effect)
  • 32. พลังงานไอออไนเซชัน (Ionization energy) First Ionization Energy เพิ่มขึ้น First Ionization Energy เพิ่มขึ้น ตามหมู่ ระดับพลังงาน มากขึ้น e-อยู่ไกล Nu มาก e-หลุดง่าย IE ต่า ตามคาบ จานวนประจุบวกเพิ่มมากขึ้น e-ถูกดึงดูดมาอยู่ใกล้ Nu ได้มากe-หลุดยาก IE สูง
  • 34. พลังงานไอออไนเซชัน (Ionization energy) ธาตุ X มีค่าพลังงานไอออไนเซชัน ดังต่อไปนี้ตามลาดับ จงหาว่าธาตุ Xเป็นธาตุหมู่ใด 495.9, 4560, 6900, 9540, 13400, 16600, 20120, 25490, 28390, 141360 ,170000 หมู่ 1เพราะพลังงานกลุ่มที่น้อยที่สุดที่ใช้ดึงอิเล็กตรอนกลุ่ม แรกมีเพียงค่าเดียว ธาตุ X มีค่าพลังงานไอออไนเซชัน ดังต่อไปนี้ตามลาดับ จงหา ว่าธาตุ Xเป็นธาตุคาบใด
  • 35. พลังงานไอออไนเซชัน (Ionization energy) 495.9 , 4560 , 6900 , 9540 , 13400 , 16600,20120 , 25490 , 28390 ,141360, 170000 Y Z 6560 , 7900 , 11540 , 14400 , 17600,21920 , 29690, 241760 ,270000 เหตุใดอิเล็กตรอนตัวแรกของ Z จึงต้องใช้พลังงานสูงกว่า Y
  • 36. พลังงานไอออไนเซชัน (Ionization energy) 495.9 , 4560 , 6900 , 9540 , 13400 , 16600,20120 , 25490 , 28390 ,141360, 170000 Y Z 6560 , 7900 , 11540 , 14400 , 17600, 21920 , 29690, 241760 ,270000 Y Z
  • 37. พลังงานไอออไนเซชันกับขนาดอะตอม IE1 IE2 ออกแรงดึงมากกว่า เพราะ อิเล็กตรอนอยู่ใกล้โปรตอน
  • 38. อิเล็กโทรเนกาติวิตี (Electronegativity; EN) อิเล็กโทรเนกาติวิตี (Electronegativity หรือ EN) คือ เป็นค่า แสดงความสามารถในการดึงดูดอิเล็กตรอนคู่ร่วมพันธะจาก Nucleus e-คู่ร่วมพันธะของอะตอมที่มีขนาดเล็ก จะได้รับแรงดึงดูดจาก Nucleus มาก EN สูง e-คู่ร่วมพันธะของอะตอมที่มีขนาดใหญ่ จะได้รับแรงดึงดูดจาก Nucleus น้อย EN ต่า อะตอมที่มีสภาพไฟฟ้าลบมาก จะดึงอิเล็กตรอนที่ใช้ร่วมกันในการเกิด พันธะโคเวเลนต์เข้าหาตัวเองได้มากกว่า ได้มีผู้หาค่าสภาพไฟฟ้าลบไว้หลาย แบบ แต่ที่นิยมใช้อ้างอิงมากที่สุด คือ ของพอลิง โดยกาหนดให้ฟลูออรีนมี ค่าสภาพไฟฟ้าลบมากที่สุด คือ เท่ากับ 4.0และซีเซียม (Cs) มีสภาพไฟฟ้า ลบน้อยที่สุด คือเท่ากับ 0.7
  • 39. อิเล็กโทรเนกาติวิตี (Electronegativity; EN) ธาตุหมู่เดียวกัน ค่า ENจะลดลงจากบนลงล่าง เพราะขนาด อะตอมใหญ่ขึ้นทาให้นิวเคลียสมีโอกาสดึงดูดอิเล็กตรอนได้น้อยกว่าอะตอม ที่มีขนาดเล็กENจึงต่าลง แนวโน้มของค่าอิเล็กโทรเนกาติวิตีในหมู่เดียวกัน แนวโน้มของค่าอิเล็กโทรเนกาติวิตีในคาบเดียวกัน ธาตุในคาบเดียวกัน ค่า EN จะเพิ่มขึ้นจากซ้ายไปขวาเพราะ ขนาดอะตอมเล็กลงทาให้ได้รับแรงดึงดูดจากนิวเคลียสมากกว่าอะตอมที่มี ขนาดใหญ่ EN จึงสูงขึ้น
  • 44. สัมพรรคภาพอิเล็กตรอน (Electron Affinity) Electron affinity(EA)คือพลังงานที่ปลดปล่อยออกมาจากการ รับอิเล็กตรอนของอะตอมธาตุแล้วเกิดเป็นแอนไอออนณสถานะแก๊ส ธาตุที่มี EA สูง จะคายพลังงานออกมามากเมื่อรับอิเล็กตรอนเข้า ไป ทาให้เกิดไอออนลบที่มีความเสถียรมาก ดังนั้นค่า EA จึงใช้ทานาย ความสามารถในการเป็นไอออนลบ กล่าวคือ ธาตุที่มี EA สูง จะสามารถ เกิดเป็นไอออนลบได้ง่ายกว่าธาตุที่มี EA ต่า
  • 45. สัมพรรคภาพอิเล็กตรอน (Electron Affinity) F (g)+ e-F- (g) H = -328 kJ/mol EA = +328 kJ/mol O (g)+ e-O- (g) H = -141 kJ/mol EA = +141 kJ/mol
  • 46. สัมพรรคภาพอิเล็กตรอน (Electron Affinity) สัมพรรคภาพอิเล็กตรอนจะตรงข้ามกับพลังงานไอออไนเซชัน สัมพรรคภาพอิเล็กตรอนเป็นพลังงานที่เกิดขึ้นเมื่ออะตอม ในสถานะแก๊สรับอิเล็กตรอนเกิดเป็นไอออนที่มีประจุ -1ในสภาพที่เป็นแก๊ส: Cl(g)+ e-Cl-(g) สัมพรรคภาพอิเล็กตรอนสามารถเป็นได้ทั้งการคายพลังงาน หรือเป็นการดูดพลังงาน เช่น
  • 47. สัมพรรคภาพอิเล็กตรอน (Electron Affinity) แนวโน้มสัมพรรคภาพอิเล็กตรอนตามหมู่ ธาตุในหมู่เดียวกันค่า EAลดลงจากบนลงล่าง เพราะธาตุข้างบนมี ขนาดเล็กกว่าธาตุข้างล่าง จึงมีแรงดึงดูดระหว่างประจุบวกที่นิวเคลียสกับ อิเล็กตรอนที่เพิ่มเข้าในอะตอมได้มากกว่า ระยะทางจากนิวเคลียสถึง ขอบเขตของอะตอมสั้นกว่าอะตอมที่มีขนาดใหญ่ที่อยู่ข้างล่างของหมู่ ธาตุ ข้างบนรับอิเล็กตรอนได้ดีกว่าธาตุข้างล่าง EA จึงมากกว่า
  • 48. สัมพรรคภาพอิเล็กตรอน (Electron Affinity) แนวโน้มสัมพรรคภาพอิเล็กตรอนตามคาบ ธาตุในคาบเดียวกันค่า EA เพิ่มขึ้นจากซ้ายไปขวาของตารางธาตุ เพราะธาตุทางขวามีขนาดเล็กกว่าธาตุทางซ้าย จึงรับ e-ได้ดีกว่า e-ที่เข้า มาใหม่จะถูกดึงดูดด้วย Nucleus ได้มากกว่า EA จึงมากกว่า * Li or Na* O or F
  • 52. สัมพรรคภาพอิเล็กตรอน (Electron Affinity) คายพลังงานออกมามาก แสดงว่ารับ อิเล็กตรอนได้ดี (ชอบรับ/แย่งอิเล็กตรอน)
  • 56. จุดเดือดและจุดหลอมเหลวของโลหะ จุดที่สารเปลี่ยนสถานะจาก ของเหลวกลายเป็น ไอเมื่อได้รับพลังงาน ความร้อน จุดเดือด คือ จุดหลอมเหลว คือ จุดที่สารเปลี่ยนสถานะจาก ของแข็งกลายเป็น ของเหลวเมื่อได้รับ พลังงานความร้อน
  • 57. จุดเดือดและจุดหลอมเหลวของโลหะ ก. โลหะในหมู่เดียวกัน คือ หมู่ IA , IIA, และ IIIA “จุดหลอมเหลว และจุดเดือดมีแนวโน้มลดลง เมื่อเลขอะตอมเพิ่มขึ้น” เนื่องจากความ แข็งแรงของพันธะโลหะลดลง เพราะมีขนาดอะตอมใหญ่ขึ้น ข. โลหะในคาบเดียวกัน คือ โลหะในหมู่ IA , IIA, และ IIIA ใน คาบต่างๆ “จุดหลอมเหลวและจุดเดือดมีแนวโน้มสูงขึ้น เมื่อเลขอะตอม เพิ่มขึ้น” เนื่องจากมีพันธะโลหะที่แข็งแรงมากขึ้น ทั้งนี้เพราะอะตอมมี ขนาดเล็กลงและมีจานวนเวเลนต์อิเล็กตรอนเพิ่มขึ้น
  • 59. จุดเดือดและจุดหลอมเหลวของโลหะ หมายเหตุ สาหรับธาตุหมู่ IVA และ VA จุดหลอมเหลวและจุดเดือดมี แนวโน้มของการเปลี่ยนแปลงไม่ชัดเจน เนื่องจากมีโครงสร้างและแรงยึด เหนี่ยวระหว่างอะตอมที่แตกต่างกัน หมู่ IA หมู่IVA สูง ต่า
  • 60. จุดเดือดและจุดหลอมเหลวของอโลหะ ก.อโลหะในหมู่เดียวกัน คือ หมู่ VIA , VIIA, และ VIIIA “จุด หลอมเหลวและจุดเดือดมีแนวโน้มเพิ่มขึ้น เมื่อเลขอะตอมเพิ่มขึ้น” เนื่องจากแรงยึดเหนี่ยวระหว่างโมเลกุลคือแรงวันเดอร์วาลส์เพิ่มขึ้น เพราะ มวลโมเลกุลและขนาดโมเลกุลเพิ่มขึ้น ข. อโลหะในคาบเดียวกัน คือ อโลหะ หมู่ VA, VIA , VIIA, และ VIIIA “จุดหลอมเหลวและจุดเดือดมีแนวโน้มลดต่าลงเมื่อเลขอะตอม เพิ่มขึ้น” เนื่องจากแรงยึดเหนี่ยวระหว่างโมเลกุลคือ แรงวันเดอร์วาลส์มีค่า ลดลง เพราะขนาดของโมเลกุลเล็กลง โดยเฉพาะก๊าซเฉื่อยเป็นก๊าซประเภท โมเลกุลเดี่ยว และมีขนาดเล็ก มีจุดหลอมเหลวและจุดเดือดต่ามาก
  • 64. เมื่อโลหะถูกออกซิไดส์ โลหะจะกลายเป็นไอออนบวก โลหะหมู่1AจะเกิดไอออนM+ โลหะหมู่2AจะเกิดไอออนM2+ ขณะที่โลหะทรานสิชันสามารถมีประจุได้หลายค่า ออกไซด์ของโลหะเป็นออกไซด์เบส: Metal oxide + watermetal hydroxide Na2O(s)+ H2O(l) 2NaOH(aq) โลหะ
  • 66. เมื่ออโลหะทาปฏิกิริยา หรือเกิดเป็นสารประกอบกับโลหะ อโลหะจะมีแนวโน้มเป็นตัวให้อิเล็กตรอน: อโลหะ ออกไซด์ของอโลหะเป็นออกไซด์กรด: metal + nonmetal salt 2Al(s) + 3Br2(l) 2AlBr3(s) nonmetal oxide + water acid P4O10(s) + H2O(l) 4H3PO4(aq)
  • 67. Oxidation Number เลขออกซิเดชัน ( Oxidation Number ) เป็นตัวเลขเพื่อแสดงค่า ประจุไฟฟ้าหรือประจุไฟฟ้าสมมติของไอออนหรืออะตอมของธาตุ ซึ่งส่วน ใหญ่เป็นเลขจานวนเต็มรวมทั้งศูนย์และอาจมีเครื่องหมายเป็นบวกหรือลบก็ ได้ การกาหนดค่าเลขออกซิเดชัน มีกฎดังนี้ คือ 1. อะตอมของธาตุต่างๆ ในสภาวะอิสระ ไม่ว่าจะอยู่ในรูปที่เป็น อะตอมเดียว หรือโมเลกุล จะมีเลขออกซิเดชันเท่ากับศูนย์ เช่น Na Be He O2S8 2. ไอออนที่มีอะตอมเดี่ยวเลขออกซิเดชันจะมีค่าเท่ากับประจุของ ไอออนนั้น
  • 68. Oxidation Number เช่น Na+มีเลขออกซิเดชัน เท่ากับ +1 Be2+มีเลขออกซิเดชัน เท่ากับ +2 O2-มีเลขออกซิเดชัน เท่ากับ -2 3. เลขออกซิเดชันของโลหะอัลคาไล(หมู่ IA) และโลหะอัลคาไลน์ เอิร์ท(หมู่ IIA) ในสารประกอบต่างๆ มีค่าเท่ากับ +1และ +2ตามลาดับ 4. เลขออกซิเดชันของออกซิเจนในสารประกอบส่วนมาก มีค่า เท่ากับ -2 ยกเว้น -สารประกอบเปอร์ออกไซด์ เช่น H2O2และ Na2O2 ออกซิเจนมีเลขออกซิเดชัน -1
  • 69. Oxidation Number -สารประกอบซุปเปอร์ออกไซด์ เช่น KO2 ออกซิเจนมีเลขออกซิเดชัน -1/2 -สารประกอบ OF2 ออกซิเจนมีเลขออกซิเดชัน +2 5. เลขออกซิเดชันของไฮโดรเจนในสารประกอบส่วนมากมีค่าเท่ากับ +1ยกเว้นในสารประกอบพวกไฮไดรด์ไอออนิกซึ่งไฮโดรเจนมีค่าเลขออกซิ- เดชันเท่ากับ -1เช่น LiAlH4และ NaBH4 6. ผลรวมทางพีชคณิตของเลขออกซิเดชันของอะตอมทั้งหมดในสูตร เคมีใดๆ จะมีค่าเท่ากับประจุสาหรับกลุ่มของอะตอมที่เขียนแสดงในสูตรนั้นๆ เช่น ผลรวมของเลขออกซิเดชันของ KMnO4เท่ากับ 0 ผลรวมของเลข ออกซิเดชันของ NO3-เท่ากับ -1
  • 70. Oxidation Number ตัวอย่างที่ 1 จงหาเลขออกซิเดชันของ S ใน H2SO4 สมมติเลขออกซิเดชันของ S = x เลขออกซิเดชันของ H = +1 2 อะตอมของ H มีเลขออกซิเดชันรวม = (+1 2) = +2 เลขออกซิเดชันของ O = -2 4 อะตอมของ O มีเลขออกซิเดชันรวม = (-2 4) = -8 ผลรวมของเลขออกซิเดชันธาตุทั้งหมดในสารประกอบ เท่ากับ 0 ดังนั้น +2 + x + (-8) = 0 x = +6 เลขออกซิเดชันของ S ใน H2SO4= +6 ตัวอย่างที่ 2 จงหาเลขออกซิเดชันของ Co ใน [Co(CN)6]4- สมมติเลขออกซิเดชันของ Co = x เลขออกซิเดชันของ CN-= -1 ผลรวมเลขออกซิเดชันของ CN = (-1 6) = -6 ผลรวมเลขออกซิเดชันธาตุทั้งหมดในไอออนเท่ากับประจุของ ไอออนเท่ากับ -4 ดังนั้น x + (-6) = -4 x = +2 เลขออกซิเดชันของ Co ใน [Co(CN)6]4-= +2