SlideShare una empresa de Scribd logo
1 de 58
Descargar para leer sin conexión
นางสาวนิติมา รุจิเรขาสุวรรณ 
วิชา โลก ดาราศาสตร์และอวกาศ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 
โรงเรียนเฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระศรีนครินทร์ กาญจนบุรี
ธรณีประวัติ คือ การศึกษาความเป็นมาของแผ่นดิน/ธรณี 
ซึ่งอาจสืบค้นได้จากหลักฐานและร่องรอยต่างๆ ที่ปรากฏอยู่บนหิน 
หรือบนแผ่นธรณีภาคของโลก 
ข้อมูลทางธรณีวิทยาที่ใช้ศึกษาธรณีประวัติ 
- อายุทางธรณีวิทยา 
- ซากดึกดาบรรพ์ 
- ลาดับชั้นหิน
อายุทางธรณีวิทยา 
1.การหาอายุเปรียบเทียบ (Relative age) เป็นการบอกว่าหินกลุ่มใดมีอายุมากกว่า 
หรือน้อยกว่าอีกกลุ่มหนึ่ง มักจะใช้ซากดึกดาบรรพ์ในการกาหนด เช่น ชั้นหินที่มีซาก 
ดึกดาบรรพ์ชนิดเดียวกัน จะมีอายุหรือเกิดในช่วงเวลาเดียวกัน
เช่น ธาตุ a มีครึ่งชีวิต 100 ปี เมื่อ a สลายจะกลายเป็น b หากพบ a : b ในอัตราส่วน 
50:50 แสดงว่า a สลายตัวได้ 1 ครึ่งชีวิตพอดี คือ 100 ปี 
2. การหาอายุสัมบูรณ์ (Absolute time) คือ การหาอายุออกมาเป็นตัวเลข หาจาก 
ปริมาณไอโซโทปในหิน กัมมันตรังสีที่นิยมใช้ได้แก่ C-14, K-40, Rb-87 และ U-238 
อายุทางธรณีวิทยา
ซากดึกดาบรรพ์ 
ซากดึกดาบรรพ์ หรือ ฟอสซิล (Fossil) หมายถึง ซากหรือร่องรอยของ สิ่งมีชีวิตทั้งสัตว์และพืชสมัยโบราณที่เก็บรักษาในชั้นหิน ซากเหล่านี้อาจถูก ฝังโดยถูกแทนที่จากสารละลายเคมี หรือโดยยังคงเป็นซากจริง 
คา ฟอสซิล (Fossil) มาจากภาษาละติน fosiller หมายถึง ขุด (dig) และ fossus หมายถึง dig up
ซากดึกดาบรรพ์ 
พบได้ตามชั้นหินตะกอนเป็นส่วนใหญ่ ใช้บอกสภาพแวดล้อมในอดีต 
เป็นบนบกหรือทะเล 
ซากดึกดาบรรพ์ดัชนี( index fossil) : บอกอายุได้แน่นอน ปรากฏในช่วงอายุหนึ่ง 
แล้วสูญพันธุ์ไป เช่น ไทรโลไบต์(trilobite) แกรปโตไลต์ (graptolite) และฟิวซูลินิค 
(fusulinid)
ซากดึกดาบรรพ์ จาแนกได้เป็น 2 ประเภท คือ 
ซากดึกดาบรรพ์ 
คือซากดึกดาบรรพ์ที่เดิมเป็นตัวสัตว์หรือเป็นพืชที่เปลี่ยนแปลง 
มาด้วยขบวนการเกิดซากดึกดาบรรพ์ต่างๆกัน 
1. ซากดึกดาบรรพ์ที่เป็นตัว (Body fossils)
ซากดึกดาบรรพ์ 
2. ร่องรอยบรรพชีวิน หรือ ร่องรอยสัตว์ดึกดาบรรพ์ (Trace fossils) 
คือ ซากดึกดาบรรพ์ที่เป็นร่องรอยหรือลักษณะต่างๆที่พบอยู่ในหิน เกิดจากพฤติกรรมของสิ่งมีชีวิตในสมัยที่ยังมีชีวิตอยู่ ได้แก่ การเดิน วิ่ง เลื้อย ไล่ล่าเหยื่อ ตลอดจนถึงสิ่งที่สัตว์ขับถ่ายออกมา 
รอยตีนไดโนเสาร์กินเนื้อ ภูหลวง จ. เลย
ซากดึกดาบรรพ์ 
การจาแนกซากดึกดาบรรพ์ โดยจัดแบ่งย่อยตามลาดับชั้นอนุกรมวิธาน 
ได้แก่ อาณาจักร (kingdom) ไฟลัม (phylum) ดิวิชัน (division) ชั้น 
(class) อันดับ (order) วงศ์ (family) สกุล (genus) และชนิด (species) 
1. ซากดึกดาบรรพ์สัตว์ไม่มีกระดูกสันหลัง (Invertebrate fossils) 
2. ซากดึกดาบรรพ์สัตว์มีกระดูกสันหลัง (Vertebrate fossils) 
3. ซากดึกดาบรรพ์พืช (Plant fossils) และ 
4. ร่องรอยสัตว์ดึกดาบรรพ์ (Trace fossils)
1. ซากดึกดาบรรพ์สัตว์ไม่มีกระดูกสันหลัง (Invertebrate fossils) 
ซากดึกดาบรรพ์ 
ส่วนใหญ่เป็นสัตว์ที่อาศัยอยู่ในทะเล เริ่มเกิดขึ้นมาตั้งแต่ก่อนยุคแคม เบรียนจนถึงปัจจุบัน ในยุคแรกยังไม่มีเปลือกหุ้ม ต่อมามีเปลือกแข็งห่อหุ้ม อยู่ภายนอก มีทั้งสัตว์เซลล์เดียว และสัตว์หลายเซลล์
ซากดึกดาบรรพ์สัตว์ไม่มีกระดูกสันหลัง 
ไฟลัม โปรโตซัว 
Phylum Protrozoa 
ไฟลัม พอริเฟอรา 
Phylum Porifera 
ไฟลัม ไนดาเรีย 
Phylum Cnidaria 
ไฟลัม ไบรโอซัว 
Phylum Bryozoa 
ไฟลัม แบรคิโอโพดา 
Phylum Brachiopoda 
ไฟลัม มอลลัสกา 
Phylum Mollusca 
ไฟลัม อาร์โทรโพดา 
Phylum Arthropoda 
ไฟลัม อิไคโนเดอร์มาตา 
Phylum Echinodermata 
ไฟลัม โคโนดอนตา 
Phylum Conodonta 
ไฟลัม เฮมิคอร์ดาตา 
Phylum Hemichordata 
ฟิวซูลินิด 
ฟองน้า 
ปะการัง 
ไบรโอซัว 
แบรคิโอพอด 
หอยกาบเดี่ยว 
แอมโมไนต์ 
หอยกาบคู่ 
ไทรโลไบต์ 
ออสตราคอด 
ไครนอยด์ 
เม่นทะเล 
โคโนดอนต์ 
แกรปโตไลต์
เป็นสัตว์ทะเลเซลล์เดียว อาศัยอยู่ในเขตอบอุ่นและบริเวณน้าตื้น ส่วนใหญ่มี 
รูปร่างยาว หัวท้ายแหลม รูปร่างและขนาดคล้ายเม็ดข้าวสาร ทาให้คนทั่วไปคิดว่าเป็น 
ข้าวสารหิน จึงนิยมเรียกว่า คตข้าวสาร 
ฟิวซูลินิดทรงรี ชนิด Parafusulina gigantea จากวัดคีรีนาครัตนาราม 
ฟิวซูลินิดทรงกลม สกุล Verbeekina 
จาก จ. เลย (บน) 
และ จ. นครสวรรค์ (ขวา) 
ซากดึกดาบรรพ์ 
พบมากในยุคคาร์บอนิเฟอรัสและเพอร์เมียน สูญพันธุ์ไปตั้งแต่ปลายยุคเพอร์เมียน 
จึงนิยมใช้เป็นซากดึกดาบรรพ์ดัชนี 
ฟิวซูลินิด (Fusulinid)
ซากดึกดาบรรพ์ 
ฟิวซูลินิด (Fusulinid) 
ใกล้มัสยิด 
ต.ท่ากระดาน อ.เมือง จ.กาญจนบุรี
เป็นสัตว์ทะเล อาศัยอยู่เป็นกลุ่มในบริเวณทะเลตื้น แต่พบบ้างในแหล่ง 
น้าจืด พบตั้งแต่ยุคออร์โดวิเชียนจนถึงปัจจุบัน แต่พบมากในยุคคาร์บอนิเฟอรัส 
ไบรโอซัว สกุล Fenestrella และ Polypora จาก เขาน้าดา อ.บางสะพาน จ.ประจวบคีรีขันธ์ ยุค คาร์บอนิเฟอรัสตอนปลาย 
ซากดึกดาบรรพ์ 
ไบรโอซัว (Bryozoa)
เป็นสัตว์ทะเล พบแพร่หลายมากพบตั้งแต่มหายุคพาลีโอโซอิก 
จนถึงปัจจุบัน 
ปะการัง สกุล Canninophylum จาก อ. มวกเหล็ก 
จ. สระบุรี ยุคเพอร์เมียน 
ปะการัง สกุล Ipciphyllum 
วัดคีรีนาครัตนาราม จ. สระบุรี 
ซากดึกดาบรรพ์ 
ปะการัง (Coral)
เป็นสัตว์ทะเล มีลักษณะคล้ายหอยสองฝา เช่นหอยแครง แต่ ต่างกันที่เปลือกทั้ง ๒ ฝามีขนาดไม่เท่ากัน พบแพร่หลายมากใน มหายุคพาลีโอโซอิก 
แบรคิโอพอด สกุล Apheorthis เกาะ ตะรุเตา ยุคแคมเบรียนตอนปลาย 
แบรคิโอพอด สกุล Terebratula. อ. เบตง จ. ยะลายุคเพอร์เมียนตอนปลาย 
ซากดึกดาบรรพ์ 
แบรคิโอพอด (Brachiopod)
แบรคิโอพอด Stereochia litostyla เกาะมุก จ. ตรัง 
ยุคเพอร์เมียน 
แบรคิโอพอด Tipispirifer oppitalus เกาะมุก จ. ตรัง 
ยุคเพอร์เมียน 
แบรคิโอพอด Hustedia ratburiensis เกาะมุก จ. ตรัง 
ยุคเพอร์เมียน 
แบรคิโอพอด Derbyia scobina เกาะมุก จ. ตรัง 
ยุคเพอร์เมียน
หอยสองฝา (Bivalve หรือ Pelecypod) 
ที่วัดเจดีย์หอย ตั้งอยู่ที่ตาบลบ่อหิน อาเภอลาดหลุมแก้ว จ.ปทุมธานี 
ซากหอยที่พบมีหลายชนิด เช่น หอยแครง หอยกาบ หอยสังข์ และ หอยลาย 
หอยนางรมยักษ์ หรือหอยตะโกรม (Crassostrea gigas) อายุ ๕,๕๐๐ ปี วัดเจดีย์หอย อ. ลาดหลุมแก้ว จ. ปทุมธานี 
ซากดึกดาบรรพ์
หอยฝาเดียว (Gastropod) 
หอยน้าจืดสกุล Viviparus จากแหลมโพธิ อ. เมืองกระบี่ จ. กระบี่ 
ซากหอยสกุล Bellamya จากเหมืองแม่เมาะ จ. ลาปาง อายุ ๑๓ ล้านปี 
ซากดึกดาบรรพ์
เป็นสัตว์ทะเล กลุ่มเดียวกับปลาหมึกปัจจุบัน เปลือกขดเป็นวง ส่วนใหญ่ 
ลอยอยู่บนผิวน้า พบตั้งแต่ปลายมหายุคพาลีโอโซอิก พบมากในมหายุคมี 
โซโซอิก และสูญพันธุ์เมื่อสิ้นยุคครีเทเชียส 
แอมโมไนต์ วัดถ้ารัตนประกาศิต จ. สระบุรี ยุคเพอร์เมียน 
ซากดึกดาบรรพ์ 
แอมโมไนต์ (Ammonite)
นอติลอยด์ (Nautiloid) 
เป็นสัตว์ทะเลจัดอยู่ในไฟลัมมอลัสกา (Mollusca) หรือสัตว์จาพวกหอย กลุ่ม เดียวกับปลาหมึก พบแพร่หลายในมหายุคพาลีโอโซอิก ปัจจุบันเหลืออยู่เพียงชนิด เดียว ได้แก่ หอยนอติลุส 
นอติลอยด์ เกาะตะรุเตา จ.สตูล 
ยุค ออร์โดวิเชียนตอนต้น 
หอยนอติลุส ยุคปัจจุบันผ่าครึ่ง 
เห็นโครงสร้างด้านใน ลาตัวแบ่งเป็นห้องๆ 
ซากดึกดาบรรพ์
นอติลอยด์ (Nautiloid) 
ใกล้กับ อบต.ท่ากระดาน 
อ.ศรีสวัสดิ์ จ.กาญจนบุรี 
นอติลอยด์ (Nautiloid) 
ซากดึกดาบรรพ์
เป็นสัตว์ทะเลชนิดหนึ่งที่สูญพันธุ์ไปแล้ชื่อไทรโลไบต์ เนื่องจากลาตัวแบ่งได้เป็น 3 ส่วน คือ ส่วนหัว (cephalon) ส่วนลาตัว (thorax) และ ส่วนหาง (pygidium) มีลักษณะ คล้ายแมงดาทะเลในปัจจุบัน 
พบแพร่หลายและมีจานวนมากในมหายุคพาลีโอโซอิกตอนต้น ยุคต่อๆมามี จานวนน้อยลงและสูญพันธุ์ในยุคเพอร์เมียน 
ซากดึกดาบรรพ์ 
ไทรโลไบต์ (trilobite)
ส่วนหาง (pygidium) ของ Dalmanites 
จาก จ. สคูล ยุคไซลูเรียน 
ส่วนหัว (glabella) ของ Eosaukia buravasiจาก เกาะตะรุเตา จ. สตูล 
ยุคแคมเบรียนตอนปลาย 
Plagiolaria poothaii 
จาก จ. พัทลุง ยุคคีโวเนียน ตอนกลาง 
ซากดึกดาบรรพ์ 
ไทรโลไบต์ (trilobite)
เป็นสัตว์ทะเลที่ลอยอยู่บนผิวน้า ซากดึกดาบรรพ์ที่พบมีลักษณะคล้ายรอยพิมพ์ 
บางๆอยู่บนหินดินดานสีดาหรือมีรูปร่างคล้ายกิ่งไม้ แกรปโตไลต์ เป็นซากดึกดาบรรพ์ 
ดัชนีเนื่องจากพบมากในมหายุคพาลีโอโซอิกตอนต้น ยุคออร์โดวิเชียนถึงดีโวเนียน 
ซากดึกดาบรรพ์แกรปโตไลต่ สกุล Monograptus 
จาก อ.ฝาง จ. เชียงใหม่ ยุคดีโวเนียนตอนต้น 
ซากดึกดาบรรพ์แกรปโตไลต่ สกุล Climacograptus 
จาก อ.ทุ่งหว้า จ. สตูล ยุคไซลูเรียนตอนต้น 
ซากดึกดาบรรพ์ 
แกรปโตไลต์ (Graptolite)
เป็นสัตว์ทะเล มีรูปร่างคล้ายต้นไม้ บางครั้งเรียกว่าพลับพลึงทะเล 
พบแพร่หลายในมหายุคพาลีโอโซอิก 
ซากดึกดาบรรพ์ 
ไครนอยด์ (Crinoid)
ซากดึกดาบรรพ์ไครนอยด์ 
เขาถ่าน อ. สวี จ.ชุมพร 
ยุคเพอร์เมียน 
ซากดึกดาบรรพ์ 
ไครนอยด์ (Crinoid)
สัตว์มีกระดูกสันหลัง (Vertebrate fossils) 
เป็นกลุ่มสัตว์ที่มีวิวัฒนาการสูง ได้แก่ ปลา สัตว์ครึ่งบกครึ่งน้า สัตว์เลื้อยคลาน นกและสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนม เริ่มเกิดขึ้นมาตั้งแต่ ปลายยุคแคมเบรียน และมีการเปลี่ยนแปลงเรื่อยมาจนถึงปัจจุบัน 
ซากดึกดาบรรพ์
ซากดึกดาบรรพ์สัตว์มีกระดูกสันหลัง 
ชั้นปลากระดูกแข็ง 
Class Osteichthyes 
ชั้นปลากระดูกอ่อน 
Class Chondrichthyes 
ชั้นสัตว์ครึ่งบกครึ่งน้า 
Class Amphibia 
ชั้นสัตว์เลื้อยคลาน 
Class Reptilia 
ชั้นสัตว์ปีก 
Class Aves 
ชั้นสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนม 
Class Mammalia 
ปลาตะเพียน 
ปลาเลปิโดเทส 
ปลาฉลาม 
สัตว์ครึ่งบกครึ่งน้า 
จระเข้ 
ไดโนเสาร์ 
เต่า 
อาร์คีออฟเทอร์ริกซ์ 
ช้างงาจอบ 
เอป 
ซากดึกดาบรรพ์
ซากดึกดาบรรพ์ไดโนเสาร์ 
กระดูกไดโนเสาร์ชิ้นแรกของประเทศไทย เป็นกระดูก หัวเข่าของไดโนเสาร์กินพืช พบที่ภูเวียง จ.ขอนแก่น 
กระดูกไดโนเสาร์กินพืช Phuwiangosaurus sirindhornae 
อ. ภูเวียง จ.ขอนแก่น 
กระดูกไดโนเสาร์กินพืชมากกว่า ๖๐๐ ชิ้น 
ที่ภูกุ้มข้าว จ.กาฬสินธุ์ 
กระดูกไดโนเสาร์กินพืช 
Phuwiangosaurus sirindhornae 
อ. ภูเวียง จ.ขอนแก่น
ซากสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนม 
หัวกระโหลกสัตว์กีบ Siamotherium krabiense จากเหมือง ถ่านหินเหนือคลอง จ. กระบี่ 
ฟันกรามล่างของไพรเมตชั้นสูง (Siamopithecus eocaenus) จากเหมืองถ่านหินเหนือคลอง จ. กระบี่ 
ฟันกรามด้านบนของไพรเมตชั้นสูง (Siamopithecus eocaenus) 
จากเหมืองถ่านหินเหนือคลอง จ. กระบี่ 
หัวกระโหลกสัตว์กินเนื้อ (Nimravus thailandicus) 
จากเหมืองถ่านหินเหนือคลอง จ. กระบี่
กรามล่างช้างงาจอบ (Deinotherium) จากบ่อทราย 
อ. เฉลิมพระเกียรติ จ. นครราชสีมา 
กรามแรดโบราณ (Clilotherium) จากบ่อทราย 
อ.เฉลิมพระเกียรติ จ. นครราชสีมา 
กรามล่างช้างสี่งา (Gomphotherium) จากบ่อทราย 
อ. เฉลิมพระเกียรติ จ. นครราชสีมา 
กรามเอปโคราช (Khoratpithecus piriyai) จากบ่อทราย 
อ. เฉลิมพระเกียรติ จ. นครราชสีมา อายุ ๙-๗ ล้านปี 
ซากสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนม
ซากดึกดาบรรพ์ปลา 
พบที่ภูน้าจั้น อาเภอกุฉินารายณ์ จังหวัดกาฬสินธุ์ 
อายุปลายยุคจูแรสสิกถึงต้นยุคครีเทเชียส ราว ๑๓๐ ล้านปี 
ปลาเลปิโดเทส (Lepidotes buddhabutrensis) 
ซากดึกดาบรรพ์มีรูปร่างขากรรไกรสั้นต้องดูดอาหาร 
ที่อยู่ใกล้ ๆ ปากเท่านั้น นอกจากนี้ยังมีเกล็ดแข็งเป็น 
เงาวาว เพื่อช่วยพยุงลาตัวเนื่องจากยังไม่มีการพัฒนา 
กระดูกสันหลังเท่าที่ควร
ซากปลา (Hypsibarbus antiquus) 
บ้านหนองปลา จ. เพชรบูรณ์ 
ซากปลา (Parambassis paleosiamensis) บ้านหนองปลา จ.เพชรบูรณ์ ยุคนีโอจีน 
ซากดึกดาบรรพ์ปลา
พบตั้งแต่ยุคพรีแคมเบรียน จนถึงปัจจุบัน ซากดึกดาบรรพ์พืชที่เริ่ม เกิดขึ้นมาบนโลกนี้ ได้แก่ สาหร่าย 
ซากดึกดาบรรพ์พืช 
ซากดึกดาบรรพ์พืชส่วนใหญ่พบในรูป ไม้กลายเป็นหิน 
แพร่กระจายขึ้นมาเป็นพืชบกในยุคไซลูเรียน 
มีความหลากหลายมากขึ้นในยุคคาร์บอนิเฟอรัส 
พืชดอกเริ่มมีขึ้นในยุคครีเทเชียส
ซากใบไม้ Gleichenoides pantiensis 
จ.ตรัง มหายุคมีโซโซอิก 
ซากดึกดาบรรพ์พืช
คือโครงสร้างชีวภาพลักษณะคล้ายเนินตะกอนที่เกิดจากการ สะสมตัวพอกขึ้นมาเป็นชั้น ๆ โดยแบคทีเรียจาพวกไซยาโนแบคทีเรีย ซึ่งเป็นสิ่งมีชีวิตที่เก่าแก่ที่สุดในโลก สโตรมาโตไลต์พบเป็นซากดึกดา บรรพ์มาตั้งแต่ ๓,๕๐๐ ล้านปีก่อน 
ซากดึกดาบรรพ์พืช 
สโตรมาโตไลต์ (Stromatolite)
สโตรมาโตไลต์ 
ใกล้กับ อบต.ท่ากระดาน 
อ.ศรีสวัสดิ์ จ.กาญจนบุรี 
ซากดึกดาบรรพ์พืช
ซากดึกดาบรรพ์ไม้กลายเป็นหิน 
เกิดจากน้าแร่เข้าไปแทนที่เนื้อเยื่อและเส้นใยของซากต้นไม้ การแทน ที่นี้บ่อยครั้งจะยังคงสภาพโครงสร้างภายในเนื้อไม้เดิม เช่น วงปี โครงสร้างเซลล์ และรูปร่างภายนอกของต้นไม้ไว้อย่างสมบูรณ์ 
ซากดึกดาบรรพ์ไม้กลายเป็นหิน อายุ ๘ แสนปี 
ที่ อ. บ้านตาก จ. ตาก 
ซากดึกดาบรรพ์ไม้กลายเป็นหิน 
ที่วัดโกรกเดือนห้า จ. นครราชสีมา 
อายุมากกว่า ๑.๗๕ ล้านปี
พิพิธภัณฑ์ไม้กลายเป็นหินและทรัพยากรธรณี ในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ เฉลิมพระเกียรติฯ จังหวัดนครราชสีมา 
ในบางครั้ง ไม้ก็กลายเป็นอัญมณีอันมีค่า เนื่องจากแร่ธาตุที่เข้าไปแทนที่ ไม่ใช่ซิลิกา แต่ เป็นแร่อัญมณี เช่น โอปอ เนื้อไม้นั้นอาจจะมีสีแตกต่างกันไป ขึ้นอยู่กับแร่ที่เข้าไปผสม เช่นแร่เหล็ก จะทาให้ไม้มีสีออกเหลืองไปจนถึงแดง 
ซากดึกดาบรรพ์ไม้กลายเป็นหิน
พบทั้งที่เป็นสัตว์และพืชหลายชนิด ตามภูมิภาคต่างๆ เช่น 
- ซากดึกดาบรรพ์ไดโนเสาร์ของไทย ส่วนมากอยู่ใน ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ พบในชั้น 
หินทรายและหินทรายแป้ง ซึ่งอยู่ในยุคไทรแอสสิกตอนปลายถึงยุคครีเตเซียสตอนกลาง( 200 – 100 ล้านปีที่แล้ว) 
-ไดโนเสาร์ที่พบครั้งแรกอยู่ที่อาเภอภูเวียง จังหวัดขอนแก่น ชื่อ “ภูเวียงโกซอรัส สิรินธรเน” 
เป็นไดโนเสาร์ที่เดินสี่เท้า กินพืชเป็นอาหาร คอและหางยาว
- ต่อมาพบไดโนเสาร์อีกหลายชนิดที่ ภูกุ้มข้าว อาเภอสหัสขันธ์ จังหวัดกาฬสินธุ์ 
จังหวัดชัยภูมิ สกลนคร อุดรธานี อุบลราชธานี และนครราชสีมา
- การพบซากดึกดาบรรพ์ของสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนม เช่น เมอริโคโปเตมัส 
(merycopotamus) ซึ่งเคยมีชีวิตอยู่ 8-6 ล้านปี ที่ อ.เฉลิมพระเกียรติ จ.นครราชสีมา
ประโยชน์ของการศึกษาซากดึกดาบรรพ์ 
ทราบลักษณะ และวิวัฒนาการของสัตว์ 
เช่น การค้นพบซากเอปเชียงม่วน ที่อาเภอเชียงม่วน จังหวัด พะเยา และเอปโคราช ที่อาเภอเฉลิมพระเกียรติ จังหวัด นครราชสีมา ซึ่งมีลักษณะคล้ายคลึงกับอุรังอุตังปัจจุบันมาก 
ทาให้เราสันนิษฐานว่าประเทศไทยอาจเป็นแหล่งกาเนิด และ วิวัฒนาการของอุรังอุตัง 
พิพิธภัณฑ์ไม้กลายเป็นหินและทรัพยากรธรณี ในภาค ตะวันออกเฉียงเหนือ เฉลิมพระเกียรติฯ จังหวัดนครราชสีมา 
ซากดึกดาบรรพ์
การกาหนดอายุของชั้นหินที่มีซากสิ่งมีชีวิตสะสมอยู่ในบริเวณต่างๆ ทาให้รู้ถึงประวัติทางธรณีวิทยาของพื้นที่ต่างๆ รู้ว่าเคยเกิดสะสมตัว อยู่บนบกหรือในทะเล 
ประโยชน์ของการศึกษาซากดึกดาบรรพ์ 
ซากดึกดาบรรพ์
ใช้ในการเทียบสัมพันธ์ลาดับชั้นหินในบริเวณต่างๆ 
ใช้ประโยชน์ในด้านเศรษฐกิจ ช่วยในการค้นหาแหล่งแร่ แหล่งถ่านหิน 
และแหล่งน้ามัน เช่น สาหร่ายทะเล ที่ฝังอยู่ในหินกักเก็บน้ามัน สามารถ 
ช่วยให้เราสารวจหาปิโตรเลียมได้อย่างมีประสิทธิภาพ 
ประโยชน์ของการศึกษาซากดึกดาบรรพ์ 
ซากดึกดาบรรพ์
เมื่อสิ่งมีชีวิตตายลง ซากสิ่งมีชีวิตนั้นจะถูกทับถมด้วยตะกอนและฝังตัวอยู่ใน 
ชั้นตะกอน ซึ่งภายหลังจะเปลี่ยนสภาพเป็นหินตะกอนในที่สุด 
1. ส่วนที่เป็นของแข็งในสิ่งมีชีวิต เพราะจะกลายเป็นซากดึกดาบรรพ์ได้มาก 
2. สภาพแวดล้อมที่สิ่งมีชีวิตนั้นอาศัยอยู่ มีวัสดุที่สามารถเก็บรักษาซากสัตว์ 
หรือพืช ให้คงสภาพเดิมไว้ได้ เช่น ช้างแมมมอธแช่แข็ง แมลงในยางไม้ 
องค์ประกอบที่มีผลต่อการเกิดซากดึกดาบรรพ์ ได้แก่
เมื่อสัตว์ตายไป 
ตะกอนเริ่มทับถมและมีสารละลายแร่แทรกซึม 
เข้าไปในโครงร่างของสัตว์และพืชที่ตายไป 
ถูกควบคุมโดยอุณหภูมิของพื้นที่ 
น้ายางของต้นไม้ไหลมาห่อหุ้ม กลายเป็นอาพัน 
ซากสิ่งมีชีวิตกลายเป็นหินแข็ง 
เนื่องจากส่วนประกอบเดิมถูกแทนที่ด้วย 
สารละลายซิลิกา หรือสารละลายแคลเซียมคาร์บอเนต 
โดยไม่ทาให้โครงร่างเดิมสูญเสียไป 
การกลายเป็นถ่าน 
ได้แก่ ซากพืชซากสัตว์กลายเป็นสารคาร์บอน 
(carbonization) 
การแทนที่ 
แร่ธาตุแทรกซึมเข้าไปแทนที่บริเวณที่เคยเป็น กระดูก หรือรูพรุนในร่างกายของสิ่งมีชีวิต 
รอยพิมพ์หรือรูปพิมพ์ 
เช่น เปลือกหอยฝังตัวอยู่ในตะกอน ต่อมา 
ตะกอนแข็งตัวกลายเป็นหิน เปลือกหอยผุพังไป 
บริเวณที่เคยมีเปลือกหอยจะเกิดที่ว่าง ที่มีรูปร่าง 
เหมือนเปลือกหอยนั้น เรียกว่า แบบพิมพ์
ตะกอนกลายเป็นหิน 
ปิดทับซากของสัตว์และพืช 
เมื่อเวลาผ่านไปชั้นหินตะกอนถูกยกตัวสูงขึ้น 
กลายเป็นภูเขาเกิดการผุพัง และกัดกร่อน
ค.ศ. 1762 ยอร์จ ฟุชเซล นักวิทยาศาสตร์ชาวเยอรมัน 
เป็นคนแรกที่เสนอมาตราธรณีกาล หรือการลาดับอายุทางธรณีวิทยา 
เขาสามารถตรวจสอบอายุของชั้นหินได้ และระบุว่า วิธีนี้สามารถ 
นามาใช้ศึกษาความเป็นมาของโลกได้ 
ตารางเวลาทางธรณีวิทยา (geologic time scale)
สัตว์เลี้ยงลูกด้วยนมเกิดขึ้นในยุคใด ? 
สิ่งมีชีวิตในยุคไซลูเรียนกับยุคจูแรสซิก เหมือนหรือต่างกันอย่างไร ?
การลาดับชั้นหิน 
การเปลี่ยนแปลงต่างๆที่เกิดขึ้นตั้งแต่อดีตจนถึงปัจจุบัน ล้วนถูกบันทึกอยู่ใน 
แผ่นหิน ดังนั้น การศึกษาลาดับชั้นหิน จึงสามารถบอกประวัติความเป็นมาของพื้นที่นั้นๆ ได้
การเย็นและแข็งตัวของแมกมา เช่น แกรนิต 
บะซอลต์ พัมมิช หินไรออไรต์ และหินแอนดีไซต์ 
การทับถมของตะกอน เช่น หินกรวดมน 
กรวดเหลี่ยม หินทราย หินทรายแป้ง หินดินดาน หินปูน 
การที่หินอัคนีและหินตะกอนเปลี่ยนแปลงไป เนื่องจาก 
อุณหภูมิและความดัน (เกิดการเรียงตัวใหม่ในหินเป็นริ้วขนานหรือแถบลายสลับสี) 
เช่น หินไนส์ หินควอร์ตไซต์ หินอ่อน หินชีสต์
หินที่วางตัวอยู่บนจะมีอายุอ่อนกว่า ชั้นหินที่วางตัวอยู่ล่าง เช่น 
หินทราย 
หินกรวดมน 
หินปูน 
หินดินดาน 
อายุน้อย 
อายุมาก
โลกมีการเปลี่ยนแปลงตลอดเวลา ทาให้ชั้นหินตะกอนเปลี่ยนไปได้หลายรูปแบบ 
ชั้นหินทราย สลับหินดินดาน และหินปูนที่มีมุมเทชันมาก และถูกบีบอัดเป็นรอยคด โค้งรูปประทุนหงาย หินที่อยู่ตรงกลางของรอยคดโค้ง (ก) จะมีอายุอ่อนที่สุด (ภาพจาก สถานที่ริมถนนสายบ้านราหุล-ชัยภูมิ จังหวัดเพชรบูรณ์)
โครงสร้างทางธรณีวิทยาในชั้นหิน เช่น รอยเลื่อน รอยคดโค้งไม่ต่อเนื่อง 
ทาให้อธิบายประวัติความเป็นมาของพื้นที่นั้นได้
ธรณีประวัติ

Más contenido relacionado

La actualidad más candente

บทที่ 6 ดาวฤกษ์ (star)
บทที่ 6   ดาวฤกษ์ (star)บทที่ 6   ดาวฤกษ์ (star)
บทที่ 6 ดาวฤกษ์ (star)Pinutchaya Nakchumroon
 
ใบความรู้+แผนการสอนและใบกิจกรรม ประถม4-6 เรื่อง วรจรไฟฟ้า+ป.6+290+dltvscip6+P...
ใบความรู้+แผนการสอนและใบกิจกรรม ประถม4-6 เรื่อง วรจรไฟฟ้า+ป.6+290+dltvscip6+P...ใบความรู้+แผนการสอนและใบกิจกรรม ประถม4-6 เรื่อง วรจรไฟฟ้า+ป.6+290+dltvscip6+P...
ใบความรู้+แผนการสอนและใบกิจกรรม ประถม4-6 เรื่อง วรจรไฟฟ้า+ป.6+290+dltvscip6+P...Prachoom Rangkasikorn
 
ศาสนาอิสลาม
ศาสนาอิสลามศาสนาอิสลาม
ศาสนาอิสลามพัน พัน
 
Slชุดฝึกเฉลยแบบฝึกทักษะ
SlชุดฝึกเฉลยแบบฝึกทักษะSlชุดฝึกเฉลยแบบฝึกทักษะ
Slชุดฝึกเฉลยแบบฝึกทักษะkrupornpana55
 
บทที่ 6 ดาวฤกษ์
บทที่ 6 ดาวฤกษ์บทที่ 6 ดาวฤกษ์
บทที่ 6 ดาวฤกษ์Ta Lattapol
 
บทเรียนสำเร็จรูป เรื่อง-แผนที่
บทเรียนสำเร็จรูป เรื่อง-แผนที่บทเรียนสำเร็จรูป เรื่อง-แผนที่
บทเรียนสำเร็จรูป เรื่อง-แผนที่ครูอ้อ วิรยา
 
การคายน้ำและการแลกเปลี่ยนแก๊ส
การคายน้ำและการแลกเปลี่ยนแก๊สการคายน้ำและการแลกเปลี่ยนแก๊ส
การคายน้ำและการแลกเปลี่ยนแก๊สThanyamon Chat.
 
กาพย์เห่เรือ บทชมปลา ภาษาไทย ม.6
กาพย์เห่เรือ บทชมปลา ภาษาไทย ม.6 กาพย์เห่เรือ บทชมปลา ภาษาไทย ม.6
กาพย์เห่เรือ บทชมปลา ภาษาไทย ม.6 Bom Anuchit
 
Mindmap การลำเลียงสารผ่านเข้าออกเซลล์
Mindmap การลำเลียงสารผ่านเข้าออกเซลล์Mindmap การลำเลียงสารผ่านเข้าออกเซลล์
Mindmap การลำเลียงสารผ่านเข้าออกเซลล์กมลรัตน์ ฉิมพาลี
 
เฉลยแบบฝึกหัดหน่วยที่ 4
เฉลยแบบฝึกหัดหน่วยที่ 4เฉลยแบบฝึกหัดหน่วยที่ 4
เฉลยแบบฝึกหัดหน่วยที่ 4Thanawut Rattanadon
 
เซลล์หน่วยของสิ่งมีชีวิต
เซลล์หน่วยของสิ่งมีชีวิตเซลล์หน่วยของสิ่งมีชีวิต
เซลล์หน่วยของสิ่งมีชีวิตPopeye Kotchakorn
 
อจท. พระพุทธศาสนา ม.3
อจท. พระพุทธศาสนา ม.3อจท. พระพุทธศาสนา ม.3
อจท. พระพุทธศาสนา ม.3O'Orh ChatmaNee
 
ตัวอย่างโครงงานการจำลองทฤษฎี
ตัวอย่างโครงงานการจำลองทฤษฎีตัวอย่างโครงงานการจำลองทฤษฎี
ตัวอย่างโครงงานการจำลองทฤษฎีKawinTheSinestron
 
โครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง สมุนไพรกำจัดปลวก
โครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง สมุนไพรกำจัดปลวกโครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง สมุนไพรกำจัดปลวก
โครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง สมุนไพรกำจัดปลวกพัน พัน
 
ความสัมพันธ์ของสิ่งมีชีวิต
ความสัมพันธ์ของสิ่งมีชีวิตความสัมพันธ์ของสิ่งมีชีวิต
ความสัมพันธ์ของสิ่งมีชีวิตBiobiome
 
ลมฟ้าอากาศ บรรยากาศ
ลมฟ้าอากาศ บรรยากาศลมฟ้าอากาศ บรรยากาศ
ลมฟ้าอากาศ บรรยากาศSupaluk Juntap
 

La actualidad más candente (20)

บทที่ 6 ดาวฤกษ์ (star)
บทที่ 6   ดาวฤกษ์ (star)บทที่ 6   ดาวฤกษ์ (star)
บทที่ 6 ดาวฤกษ์ (star)
 
ใบความรู้+แผนการสอนและใบกิจกรรม ประถม4-6 เรื่อง วรจรไฟฟ้า+ป.6+290+dltvscip6+P...
ใบความรู้+แผนการสอนและใบกิจกรรม ประถม4-6 เรื่อง วรจรไฟฟ้า+ป.6+290+dltvscip6+P...ใบความรู้+แผนการสอนและใบกิจกรรม ประถม4-6 เรื่อง วรจรไฟฟ้า+ป.6+290+dltvscip6+P...
ใบความรู้+แผนการสอนและใบกิจกรรม ประถม4-6 เรื่อง วรจรไฟฟ้า+ป.6+290+dltvscip6+P...
 
ศาสนาอิสลาม
ศาสนาอิสลามศาสนาอิสลาม
ศาสนาอิสลาม
 
Slชุดฝึกเฉลยแบบฝึกทักษะ
SlชุดฝึกเฉลยแบบฝึกทักษะSlชุดฝึกเฉลยแบบฝึกทักษะ
Slชุดฝึกเฉลยแบบฝึกทักษะ
 
บทที่ 6 ดาวฤกษ์
บทที่ 6 ดาวฤกษ์บทที่ 6 ดาวฤกษ์
บทที่ 6 ดาวฤกษ์
 
บทเรียนสำเร็จรูป เรื่อง-แผนที่
บทเรียนสำเร็จรูป เรื่อง-แผนที่บทเรียนสำเร็จรูป เรื่อง-แผนที่
บทเรียนสำเร็จรูป เรื่อง-แผนที่
 
การคายน้ำและการแลกเปลี่ยนแก๊ส
การคายน้ำและการแลกเปลี่ยนแก๊สการคายน้ำและการแลกเปลี่ยนแก๊ส
การคายน้ำและการแลกเปลี่ยนแก๊ส
 
โลกของเรา (The Earth)
โลกของเรา (The Earth)โลกของเรา (The Earth)
โลกของเรา (The Earth)
 
บทที่ 5 เอกภพ
บทที่ 5  เอกภพบทที่ 5  เอกภพ
บทที่ 5 เอกภพ
 
กาพย์เห่เรือ บทชมปลา ภาษาไทย ม.6
กาพย์เห่เรือ บทชมปลา ภาษาไทย ม.6 กาพย์เห่เรือ บทชมปลา ภาษาไทย ม.6
กาพย์เห่เรือ บทชมปลา ภาษาไทย ม.6
 
Mindmap การลำเลียงสารผ่านเข้าออกเซลล์
Mindmap การลำเลียงสารผ่านเข้าออกเซลล์Mindmap การลำเลียงสารผ่านเข้าออกเซลล์
Mindmap การลำเลียงสารผ่านเข้าออกเซลล์
 
เฉลยแบบฝึกหัดหน่วยที่ 4
เฉลยแบบฝึกหัดหน่วยที่ 4เฉลยแบบฝึกหัดหน่วยที่ 4
เฉลยแบบฝึกหัดหน่วยที่ 4
 
คัมภีร์ฉันทศาสตร์ Ppt[1]
คัมภีร์ฉันทศาสตร์ Ppt[1]คัมภีร์ฉันทศาสตร์ Ppt[1]
คัมภีร์ฉันทศาสตร์ Ppt[1]
 
เซลล์หน่วยของสิ่งมีชีวิต
เซลล์หน่วยของสิ่งมีชีวิตเซลล์หน่วยของสิ่งมีชีวิต
เซลล์หน่วยของสิ่งมีชีวิต
 
อจท. พระพุทธศาสนา ม.3
อจท. พระพุทธศาสนา ม.3อจท. พระพุทธศาสนา ม.3
อจท. พระพุทธศาสนา ม.3
 
ใบงาน อเมริกาเหนือ
ใบงาน อเมริกาเหนือใบงาน อเมริกาเหนือ
ใบงาน อเมริกาเหนือ
 
ตัวอย่างโครงงานการจำลองทฤษฎี
ตัวอย่างโครงงานการจำลองทฤษฎีตัวอย่างโครงงานการจำลองทฤษฎี
ตัวอย่างโครงงานการจำลองทฤษฎี
 
โครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง สมุนไพรกำจัดปลวก
โครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง สมุนไพรกำจัดปลวกโครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง สมุนไพรกำจัดปลวก
โครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง สมุนไพรกำจัดปลวก
 
ความสัมพันธ์ของสิ่งมีชีวิต
ความสัมพันธ์ของสิ่งมีชีวิตความสัมพันธ์ของสิ่งมีชีวิต
ความสัมพันธ์ของสิ่งมีชีวิต
 
ลมฟ้าอากาศ บรรยากาศ
ลมฟ้าอากาศ บรรยากาศลมฟ้าอากาศ บรรยากาศ
ลมฟ้าอากาศ บรรยากาศ
 

Destacado

เรื่องที่ 8 ธรณีประวัติ
เรื่องที่ 8 ธรณีประวัติเรื่องที่ 8 ธรณีประวัติ
เรื่องที่ 8 ธรณีประวัติKobwit Piriyawat
 
บทที่ 4 ธรณีประวัติ
บทที่ 4 ธรณีประวัติบทที่ 4 ธรณีประวัติ
บทที่ 4 ธรณีประวัติTa Lattapol
 
สื่อการสอนเรื่องโลกและการเปลี่ยนแปลง
สื่อการสอนเรื่องโลกและการเปลี่ยนแปลงสื่อการสอนเรื่องโลกและการเปลี่ยนแปลง
สื่อการสอนเรื่องโลกและการเปลี่ยนแปลงพัน พัน
 
ข้อสอบวิทยาศาสตร์ O net (โลก ดาราศาสตร์ และอวกาศ)
ข้อสอบวิทยาศาสตร์ O net (โลก ดาราศาสตร์ และอวกาศ)ข้อสอบวิทยาศาสตร์ O net (โลก ดาราศาสตร์ และอวกาศ)
ข้อสอบวิทยาศาสตร์ O net (โลก ดาราศาสตร์ และอวกาศ)สำเร็จ นางสีคุณ
 
แบบทดสอบ สาระที่ 7 ดาราศาสตร์และอวกาศ
แบบทดสอบ สาระที่ 7    ดาราศาสตร์และอวกาศแบบทดสอบ สาระที่ 7    ดาราศาสตร์และอวกาศ
แบบทดสอบ สาระที่ 7 ดาราศาสตร์และอวกาศdnavaroj
 

Destacado (6)

เรื่องที่ 8 ธรณีประวัติ
เรื่องที่ 8 ธรณีประวัติเรื่องที่ 8 ธรณีประวัติ
เรื่องที่ 8 ธรณีประวัติ
 
แบบฝึกหัด เรื่อง ธรณีภาค
แบบฝึกหัด เรื่อง ธรณีภาคแบบฝึกหัด เรื่อง ธรณีภาค
แบบฝึกหัด เรื่อง ธรณีภาค
 
บทที่ 4 ธรณีประวัติ
บทที่ 4 ธรณีประวัติบทที่ 4 ธรณีประวัติ
บทที่ 4 ธรณีประวัติ
 
สื่อการสอนเรื่องโลกและการเปลี่ยนแปลง
สื่อการสอนเรื่องโลกและการเปลี่ยนแปลงสื่อการสอนเรื่องโลกและการเปลี่ยนแปลง
สื่อการสอนเรื่องโลกและการเปลี่ยนแปลง
 
ข้อสอบวิทยาศาสตร์ O net (โลก ดาราศาสตร์ และอวกาศ)
ข้อสอบวิทยาศาสตร์ O net (โลก ดาราศาสตร์ และอวกาศ)ข้อสอบวิทยาศาสตร์ O net (โลก ดาราศาสตร์ และอวกาศ)
ข้อสอบวิทยาศาสตร์ O net (โลก ดาราศาสตร์ และอวกาศ)
 
แบบทดสอบ สาระที่ 7 ดาราศาสตร์และอวกาศ
แบบทดสอบ สาระที่ 7    ดาราศาสตร์และอวกาศแบบทดสอบ สาระที่ 7    ดาราศาสตร์และอวกาศ
แบบทดสอบ สาระที่ 7 ดาราศาสตร์และอวกาศ
 

Similar a ธรณีประวัติ

ซากดึกดำบรรพ์ที่พบในประเทศไทย
ซากดึกดำบรรพ์ที่พบในประเทศไทยซากดึกดำบรรพ์ที่พบในประเทศไทย
ซากดึกดำบรรพ์ที่พบในประเทศไทยAphichati-yas
 
Sea animals in Thailand
 Sea animals in Thailand Sea animals in Thailand
Sea animals in Thailandnewja
 
ศิลปะศรีลังกา
ศิลปะศรีลังกาศิลปะศรีลังกา
ศิลปะศรีลังกาnanpun54
 
7.สรุปและข้อเสนอแนะ
7.สรุปและข้อเสนอแนะ7.สรุปและข้อเสนอแนะ
7.สรุปและข้อเสนอแนะPinNii Natthaya
 
ธรณีกาล605
ธรณีกาล605ธรณีกาล605
ธรณีกาล605Fluofern
 
หลักฐานทางประวัติศาสตร์
หลักฐานทางประวัติศาสตร์หลักฐานทางประวัติศาสตร์
หลักฐานทางประวัติศาสตร์Gob_duangkamon
 
เรื่องยุคประวัติศาสตร์สมัยโบราณ 1
เรื่องยุคประวัติศาสตร์สมัยโบราณ 1เรื่องยุคประวัติศาสตร์สมัยโบราณ 1
เรื่องยุคประวัติศาสตร์สมัยโบราณ 1cgame002
 
๐๑ วาเสฏฐสูตร มจร.pdf
๐๑ วาเสฏฐสูตร มจร.pdf๐๑ วาเสฏฐสูตร มจร.pdf
๐๑ วาเสฏฐสูตร มจร.pdfmaruay songtanin
 

Similar a ธรณีประวัติ (16)

nam
namnam
nam
 
ซากดึกดำบรรพ์ที่พบในประเทศไทย
ซากดึกดำบรรพ์ที่พบในประเทศไทยซากดึกดำบรรพ์ที่พบในประเทศไทย
ซากดึกดำบรรพ์ที่พบในประเทศไทย
 
บทที่ 3
บทที่ 3บทที่ 3
บทที่ 3
 
ธรณีกาล
ธรณีกาลธรณีกาล
ธรณีกาล
 
Mealy crab
Mealy crabMealy crab
Mealy crab
 
Mealy crab
Mealy crabMealy crab
Mealy crab
 
การแบ่งยุคสมัยประวัติศาสตร์
การแบ่งยุคสมัยประวัติศาสตร์การแบ่งยุคสมัยประวัติศาสตร์
การแบ่งยุคสมัยประวัติศาสตร์
 
Sea animals in Thailand
 Sea animals in Thailand Sea animals in Thailand
Sea animals in Thailand
 
ภูมิศาสตร์กายภาพประเทศไทย
ภูมิศาสตร์กายภาพประเทศไทยภูมิศาสตร์กายภาพประเทศไทย
ภูมิศาสตร์กายภาพประเทศไทย
 
ศิลปะศรีลังกา
ศิลปะศรีลังกาศิลปะศรีลังกา
ศิลปะศรีลังกา
 
7.สรุปและข้อเสนอแนะ
7.สรุปและข้อเสนอแนะ7.สรุปและข้อเสนอแนะ
7.สรุปและข้อเสนอแนะ
 
A2 thai-history
A2 thai-historyA2 thai-history
A2 thai-history
 
ธรณีกาล605
ธรณีกาล605ธรณีกาล605
ธรณีกาล605
 
หลักฐานทางประวัติศาสตร์
หลักฐานทางประวัติศาสตร์หลักฐานทางประวัติศาสตร์
หลักฐานทางประวัติศาสตร์
 
เรื่องยุคประวัติศาสตร์สมัยโบราณ 1
เรื่องยุคประวัติศาสตร์สมัยโบราณ 1เรื่องยุคประวัติศาสตร์สมัยโบราณ 1
เรื่องยุคประวัติศาสตร์สมัยโบราณ 1
 
๐๑ วาเสฏฐสูตร มจร.pdf
๐๑ วาเสฏฐสูตร มจร.pdf๐๑ วาเสฏฐสูตร มจร.pdf
๐๑ วาเสฏฐสูตร มจร.pdf
 

Más de พัน พัน

เรื่องระบบปฏิบัติการ
เรื่องระบบปฏิบัติการเรื่องระบบปฏิบัติการ
เรื่องระบบปฏิบัติการพัน พัน
 
เรื่องภาษาซี
เรื่องภาษาซีเรื่องภาษาซี
เรื่องภาษาซีพัน พัน
 
ประวัติความเป็นมาของคอมพิวเตอร์
ประวัติความเป็นมาของคอมพิวเตอร์ประวัติความเป็นมาของคอมพิวเตอร์
ประวัติความเป็นมาของคอมพิวเตอร์พัน พัน
 
การเปลี่ยนตัวเลขให้เป็นตัวอักษร
การเปลี่ยนตัวเลขให้เป็นตัวอักษรการเปลี่ยนตัวเลขให้เป็นตัวอักษร
การเปลี่ยนตัวเลขให้เป็นตัวอักษรพัน พัน
 
หลักการทำงาน บทบาทและอุปกรณ์พื้นฐานของคอมพิวเตอร์
หลักการทำงาน บทบาทและอุปกรณ์พื้นฐานของคอมพิวเตอร์หลักการทำงาน บทบาทและอุปกรณ์พื้นฐานของคอมพิวเตอร์
หลักการทำงาน บทบาทและอุปกรณ์พื้นฐานของคอมพิวเตอร์พัน พัน
 
รายงานเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์
รายงานเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์รายงานเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์
รายงานเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์พัน พัน
 
การทำงานพื้นฐานของคอมพิวเตอร์
การทำงานพื้นฐานของคอมพิวเตอร์การทำงานพื้นฐานของคอมพิวเตอร์
การทำงานพื้นฐานของคอมพิวเตอร์พัน พัน
 
การทำงานของคอมพิวเตอร์
การทำงานของคอมพิวเตอร์การทำงานของคอมพิวเตอร์
การทำงานของคอมพิวเตอร์พัน พัน
 
ระบบคอมพิวเตอร์และยุคสมัย
ระบบคอมพิวเตอร์และยุคสมัยระบบคอมพิวเตอร์และยุคสมัย
ระบบคอมพิวเตอร์และยุคสมัยพัน พัน
 
เรื่องเทคโนโลยีสารสนเทศ
เรื่องเทคโนโลยีสารสนเทศเรื่องเทคโนโลยีสารสนเทศ
เรื่องเทคโนโลยีสารสนเทศพัน พัน
 
ประเภทของคอมพิวเตอร์
ประเภทของคอมพิวเตอร์ประเภทของคอมพิวเตอร์
ประเภทของคอมพิวเตอร์พัน พัน
 
เครือข่ายคอมพิวเตอร์เบื้องต้น
เครือข่ายคอมพิวเตอร์เบื้องต้นเครือข่ายคอมพิวเตอร์เบื้องต้น
เครือข่ายคอมพิวเตอร์เบื้องต้นพัน พัน
 
เรื่องคอมพิวเตอร์เบื้องต้น
เรื่องคอมพิวเตอร์เบื้องต้นเรื่องคอมพิวเตอร์เบื้องต้น
เรื่องคอมพิวเตอร์เบื้องต้นพัน พัน
 
เรื่องด้านคอมพิวเตอร์
เรื่องด้านคอมพิวเตอร์เรื่องด้านคอมพิวเตอร์
เรื่องด้านคอมพิวเตอร์พัน พัน
 
เรื่องคอมพิวเตอร์
เรื่องคอมพิวเตอร์เรื่องคอมพิวเตอร์
เรื่องคอมพิวเตอร์พัน พัน
 
ปัญหาทรัพยากรป่าไม้
ปัญหาทรัพยากรป่าไม้ปัญหาทรัพยากรป่าไม้
ปัญหาทรัพยากรป่าไม้พัน พัน
 

Más de พัน พัน (20)

เรื่องระบบปฏิบัติการ
เรื่องระบบปฏิบัติการเรื่องระบบปฏิบัติการ
เรื่องระบบปฏิบัติการ
 
เรื่องภาษาซี
เรื่องภาษาซีเรื่องภาษาซี
เรื่องภาษาซี
 
ประวัติความเป็นมาของคอมพิวเตอร์
ประวัติความเป็นมาของคอมพิวเตอร์ประวัติความเป็นมาของคอมพิวเตอร์
ประวัติความเป็นมาของคอมพิวเตอร์
 
การเปลี่ยนตัวเลขให้เป็นตัวอักษร
การเปลี่ยนตัวเลขให้เป็นตัวอักษรการเปลี่ยนตัวเลขให้เป็นตัวอักษร
การเปลี่ยนตัวเลขให้เป็นตัวอักษร
 
หลักการทำงาน บทบาทและอุปกรณ์พื้นฐานของคอมพิวเตอร์
หลักการทำงาน บทบาทและอุปกรณ์พื้นฐานของคอมพิวเตอร์หลักการทำงาน บทบาทและอุปกรณ์พื้นฐานของคอมพิวเตอร์
หลักการทำงาน บทบาทและอุปกรณ์พื้นฐานของคอมพิวเตอร์
 
รายงานเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์
รายงานเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์รายงานเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์
รายงานเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์
 
การทำงานพื้นฐานของคอมพิวเตอร์
การทำงานพื้นฐานของคอมพิวเตอร์การทำงานพื้นฐานของคอมพิวเตอร์
การทำงานพื้นฐานของคอมพิวเตอร์
 
การทำงานของคอมพิวเตอร์
การทำงานของคอมพิวเตอร์การทำงานของคอมพิวเตอร์
การทำงานของคอมพิวเตอร์
 
ระบบคอมพิวเตอร์และยุคสมัย
ระบบคอมพิวเตอร์และยุคสมัยระบบคอมพิวเตอร์และยุคสมัย
ระบบคอมพิวเตอร์และยุคสมัย
 
เรื่องเทคโนโลยีสารสนเทศ
เรื่องเทคโนโลยีสารสนเทศเรื่องเทคโนโลยีสารสนเทศ
เรื่องเทคโนโลยีสารสนเทศ
 
ประเภทของคอมพิวเตอร์
ประเภทของคอมพิวเตอร์ประเภทของคอมพิวเตอร์
ประเภทของคอมพิวเตอร์
 
เครือข่ายคอมพิวเตอร์เบื้องต้น
เครือข่ายคอมพิวเตอร์เบื้องต้นเครือข่ายคอมพิวเตอร์เบื้องต้น
เครือข่ายคอมพิวเตอร์เบื้องต้น
 
เรื่องคอมพิวเตอร์เบื้องต้น
เรื่องคอมพิวเตอร์เบื้องต้นเรื่องคอมพิวเตอร์เบื้องต้น
เรื่องคอมพิวเตอร์เบื้องต้น
 
เรื่องด้านคอมพิวเตอร์
เรื่องด้านคอมพิวเตอร์เรื่องด้านคอมพิวเตอร์
เรื่องด้านคอมพิวเตอร์
 
เรื่องคอมพิวเตอร์
เรื่องคอมพิวเตอร์เรื่องคอมพิวเตอร์
เรื่องคอมพิวเตอร์
 
โครงงานคอม
โครงงานคอมโครงงานคอม
โครงงานคอม
 
การปริ้น
การปริ้นการปริ้น
การปริ้น
 
Office
OfficeOffice
Office
 
ปัญหาทรัพยากรป่าไม้
ปัญหาทรัพยากรป่าไม้ปัญหาทรัพยากรป่าไม้
ปัญหาทรัพยากรป่าไม้
 
ยาเสพติด
ยาเสพติดยาเสพติด
ยาเสพติด
 

ธรณีประวัติ