SlideShare una empresa de Scribd logo
1 de 21
Descargar para leer sin conexión
 240 
ใบความรู้ 
เรื่อง การผสมวงดนตรีไทย 
ผลการเรียนรู้ที่คาดหวัง 
มีความรู้ มีความเข้าใจการผสมวงดนตรีไทย 
สาระการเรียนรู้ 
การผสมวงดนตรีไทย 
การผสมวงดนตรีไทยสมัยปัจจุบัน 
วงดนตรีของไทยในปัจจุบันแบ่งออกเป็น 3 ประเภทใหญ่ๆ คือ วงปี่พาทย์ วงเครื่องสาย และวงมโหรี 
หน่วยการเรียนรู้ที่ 8 ดนตรีไทย 
แผนภูมิแสดงประเภทของวงดนตรีไทยในปัจจุบัน 
วงมโหรี 
วงปี่พาทย์ 
วงดนตรีไทย 
วงเครื่องสาย
 241 
แผนภูมิแสดงวงดนตรีไทยประเภทต่างๆ 
วงปี่พาทย์ 
วงเครื่องสาย 
วงมโหรี 
ปี่พาทย์เครื่องห้า 
ปี่พาทย์เครื่องคู่ 
ปี่พาทย์เครื่องใหญ่ 
เครื่องสายวงเล็ก 
เครื่องสายเครื่องคู่ 
มโหรีเครื่องเล็ก 
มโหรีเครื่องคู่ 
มโหรีเครื่องใหญ่ 
วงปี่พาทย์นางหงส์ 
วงปี่พาทย์ดึกดาบรรพ์ 
เครื่องสายผสม 
วงปี่พาทย์มอญ 
วงดนตรีไทย
 242 
แผนภูมิแสดงประเภทของวงปี่พาทย์ 
วงปี่พาทย์ 
วงปี่พาทย์ไม้แข็ง 
วงปี่พาทย์ชาตรี 
วงปี่พาทย์นางหงส์ 
วงปี่พาทย์ดึกดาบรรพ์ 
วงปี่พาทย์มอญ 
วงปี่พาทย์ไม้นวม
 243 
วงปี่พาทย์เครื่องห้า 
1. วงปี่พาทย์ ประกอบด้วยเครื่องตีเป็นหลัก มีเครื่องเป่าคือปี่เป็นประธาน มีเครื่องกากับจังหวะเป็น ส่วนประกอบ วงปี่พาทย์สามารถแยก ตามวิธีการ ผสมเครื่องดนตรีและจานวนเครื่องดนตรีได้อีกดังนี้ 
1.1 วงปี่พาทย์ไม้แข็ง เป็นวงปี่พาทย์ธรรมดาสาหรับบรรเลงเพลงประกอบการแสดง และประโคมทั่วไป มี 3 ขนาด คือ 
1.1.1 วงปี่พาทย์เครื่องห้า ประกอบด้วย ระนาดเอก ตะโพน ฆ้องวงใหญ่ กลองทัด ฉิ่ง ปี่ใน 
1.1.2 วงปี่พาทย์เครื่องคู่ ประกอบด้วย ปี่ใน ปี่นอก ระนาดเอก ระนาดทุ้ม 
ฆ้องวงใหญ่ ฆ้องวงเล็ก ตะโพน กลองทัด ฉิ่ง ฉาบเล็ก 
1.1.3 วงปี่พาทย์เครื่องใหญ่ประกอบด้วย ปี่ใน ปี่นอก ระนาดเอก ระนาดทุ้ม ระนาดเอก เหล็ก ระนาดทุ้มเหล็ก ฆ้องวงใหญ่ ฆ้องวงเล็ก ตะโพน กลองทัด ฉิ่ง ฉาบเล็ก ฉาบใหญ่ กรับ โหม่ง 
1.2 วงปี่พาทย์ชาตรี เกิดขึ้นในสมัยอยุธยา ใช้บรรเลงประกอบ การแสดงละครชาตรี เรียกว่า ปี่พาทย์เครื่องห้าชนิดเบา ประกอบด้วย ปี่ใน ปี่นอก ฆ้องคู่ โทนชาตรี กลองชาตรี ฉิ่ง ฉาบเล็ก 
วงปี่พาทย์เครื่องคู่
 244 
1.3 วงปี่พาทย์นางหงส์ เป็นวงดนตรีที่มีเครื่องดนตรีเหมือนกับวงปี่พาทย์ธรรมดา แต่ ส่วนที่ต่างกันคือใช้ปี่ชวาแทนที่ปี่ในและปี่นอก ใช้กลองมลายูแทนตะโพนและกลองทัด เดิมที่เดียว ใช้กลองทัดควบคุมจังหวะหน้าทับเสียง “ครึ่ม ครึ่ม ครึ่ม ครึ่ม” วงปี่พาทย์นางหงส์ ใช้บรรเลงในงาน ศพเท่านั้น 
1.4 วงปี่พาทย์มอญ เป็นวงปี่พาทย์ที่นาเอาเครื่องดนตรีมอญบางชิ้นมาผสมกับเครื่อง ดนตรีไทย เครื่องดนตรีมอญที่นามาผสม ได้แก่ ปี่มอญ ฆ้องมอญ ตะโพนมอญ และเปิงมางคอก วงปี่พาทย์มอญเดิมใช้ได้ในทุกโอกาส แต่ปัจจุบันนิยมใช้ในงานศพเพียงอย่างเดียววงปี่พาทย์มอญ มี 3 ขนาด คือ 
1.4.1 วงปี่พาทย์มอญเครื่องห้า ประกอบด้วย ปี่มอญ ระนาดเอก ฉิ่ง ฆ้องมอญใหญ่ ตะโพน มอญ เปิงมางคอก 
1.4.2 วงปี่พาทย์มอญเครื่องคู่ ประกอบด้วย ระนาดเอก ปี่มอญ ระนาดทุ้ม 
ฆ้องมอญวงใหญ่ ฆ้องมอญวงเล็ก ตะโพนมอญ เปิงมางคอก โหม่ง 3 ใบ ฉิ่ง ฉาบเล็ก 
1.4.3 วงปี่พาทย์มอญเครื่องใหญ่ ประกอบด้วย ปี่มอญ ระนาดเอก ระนาดเอกเหล็ก ระนาดทุ้ม ระนาดทุ้มเหล็ก ฆ้องมอญวงใหญ่ ฆ้องมอญวงเล็ก กรับ ตะโพนมอญ เปิงมางคอก โหม่ง 3 ใบ ฉิ่ง ฉาบเล็ก ฉาบใหญ่ 
วงปี่พาทย์นางหงส์ 
วงปี่พาทย์มอญ
 245 
1.5 วงปี่พาทย์ไม้นวม เป็นวงปี่พาทย์ที่มีเครื่องดนตรีเหมือนกับวงปี่พาทย์ธรรมดาแต่มีส่วนที่ แตกต่างคือ ใช้ขลุ่ยเพียงออแทนปี่ เพิ่มซออู้เพื่อให้เสียงนุ่ม และใช้ไม้นวมตีระนาดเอกกับระนาดทุ้ม 
1.6 วงปี่พาทย์ดึกดาบรรพ์ เป็นวงปี่พาทย์ที่สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอเจ้าฟ้ากรมพระยา นริศรานุวัติวงศ์ ทรงปรับปรุงขึ้นใหม่ ใช้บรรเลงประกอบการแสดงละครดึกดาบรรพ์ ซึ่งเจ้าพระยา เทเวศร์วงศ์วิวัฒน์(ม.ร.ว.หลาน กุญชร) คิดปรับปรุงใหม่ โดยได้แบบอย่างมาจาก การแสดงอุปรากร ของยุโรป การแสดงนี้ได้นามาแสดงรับแขกเมืองครั้งแรก เมื่อ พ.ศ. 2442 ที่โรงละคร ดึกดาบรรพ์ จึง ได้ชื่อว่า “ละครดึกดาบรรพ์” และวงปี่พาทย์จึงเรียกว่า “วงปี่พาทย์ ดึกดาบรรพ์” ไปด้วย ในปัจจุบัน วงปี่พาทย์ดึกดาบรรพ์ไม่ค่อยได้รับนิยมนัก ส่วนมากใช้วงปี่พาทย์ไม้นวมแทนในการบรรเลง บางครั้ง มีการร้องรับประกอบการแสดงด้วย เพลงที่นามาเล่นมักเป็นทานองช้าๆ 
นอกจากบรรเลงประกอบการแสดงละครดึกดาบรรพ์แล้วยังใช้บรรเลงตามงานมงคลต่างๆ ด้วย วงปี่พาทย์ ดึกดาบรรพ์ ประกอบด้วย ระนาดเอก ระนาดทุ้ม ระนาดทุ้มเหล็ก ฆ้องวงใหญ่ ขลุ่ยเพียงออ ขลุ่ยอู้ ซออู้ ตะโพน ฆ้องหุ่ย(มี 7 ลูก เรียงลาดับ 7 เสียง) กลองตะโพน 2 ลูก ฉิ่ง กลองแขก กรับ 
วงปี่พาทย์ไม้นวม
 246 
2. วงเครื่องสาย เป็นวงดนตรีที่ประกอบด้วยด้วยเครื่องสีและเครื่องดีดเป็นหลัก มีเครื่องเป่า และ เครื่องตีเป็นส่วนประกอบ วงเครื่องสายมี -3 ประเภท ดังนี้ 
2.1 วงเครื่องสายไทย แบ่งเป็น 2 ขนาด คือ 
1) วงเครื่องสายวงเล็ก ประกอบด้วย ซอด้วง ซออู้ จะเข้ ขลุ่ยเพียงออ โทน รามะนา ฉิ่ง 
แผนภูมิแสดงประเภทของวงเครื่องสาย 
วงเครื่องสายผสม 
วงเครื่องสาย 
วงเครื่องสายปี่ชวา 
วงเครื่องสายวงเล็ก 
วงเครื่องสายไทย
 247 
2) วงเครื่องสายเครื่องคู่ ประกอบด้วย ซอด้วง 2 คัน ซออู้ 2 คัน จะเข้ 2 ตัว ขลุ่ยเพียงออ ขลุ่ยหลิบ โทน รามะนา ฉิ่ง ฉาบเหล็ก 
2.2 วงเครื่องสายผสม ในสมัยรัตนโกสินทร์ได้มีผู้นาเอาเครื่องดนตรีของต่างชาติเข้ามา บรรเลงกับวงเครื่องสาย ได้แก่ ไวโอลิน ออร์แกน ขิมหรือเปียโน เราจึงเรียกวงดนตรีชนิดนี้ว่า “วง เครื่องสายผสม” ถ้านาออร์แกนมาบรรเลงร่วมก็จะเรียกว่า “วงเครื่องสายผสมออร์แกน” หรือถ้านาขิมมา บรรเลงร่วมเรียกว่า วงเครื่องสายผสมขิม ซึ่งอาจผสม กับวงเครื่องสายวงเล็กหรือวงเครื่องสายเครื่องคู่ก็ได้ 
วงเครื่องสายผสม 
2.3 วงเครื่องสายปี่ชวา เกิดขึ้นในสมัยรัชกาลที่ 4 เป็นการนาเอาปี่ชวาและกลองแขกมา ประสมกับวงเครื่องสาย ซึ่งในสมัยนั้นเรียกว่า “วงกลองแขกเครื่องใหญ่ ” วงเครื่องสายปี่ชวา ประกอบด้วย ปี่ชวา ซอด้วง ซออู้ จะเข้ ขลุ่ยหลีบ กลองแขก ฉิ่ง ฉาบเล็ก 
วงเครื่องสายเครื่องคู่
 248 
3. วงมโหรี คือ วงดนตรีที่ประกอบด้วยเครื่องดนตรีประเภทเครื่องดีด สี ตี เป่า เป็น การนาเอาเครื่องดนตรีที่ใช้ในวงปี่พาทย์และวงเครื่องสายมารวมกัน แต่มีการแก้ไขตัดทอน และเพิ่มเติม เครื่องดนตรีบางชนิดเล็กน้อย วงมโหรีมี 3 ขนาด คือ 
3.1 วงมโหรีวงเล็ก ประกอบด้วย ซอสามสาย ซอด้วง ซออู้ จะเข้ ขลุ่ยเพียงออ ระนาด เอก ฆ้องวง(ฆ้องกลาง) โทน รามะนา ฉิ่ง 
3.2 วงมโหรีเครื่องคู่ ประกอบด้วย ซอสามสาย ซอสามสายหลีบ ซอด้วง 2 คัน ซออู้ 2 คัน จะเข้ 2 ตัว ขลุ่ยเพียงออ ขลุ่ยหลีบ ระนาดเอก ระนาดทุ้ม ฆ้องวง(ฆ้องกลาง) ฆ้องวงเล็ก โทน รามะนา ฉิ่ง ฉาบเล็ก กรับ โหม่ง 
วงมโหรีเครื่องใหญ่ 
วงมโหรีวงเล็ก(เดี่ยว) 
แผนภูมิแสดงประเภทของวงมโหรี 
วงมโหรีเครื่องคู่ 
วงมโหรี 
วงมโหรีวงเล็ก
 249 
3.3 วงมโหรีเครื่องใหญ่ ประกอบด้วย ซอสามสาย ซอสามสายหลีบ ซอด้วง 2 คัน ซออู้ 2 คัน จะเข้ 2 ตัว ขลุ่ยเพียงออ ขลุ่ยหลีบ ระนาดเอก ระนาดทุ้ม ระนาดเอกเหล็ก ระนาด ทุ้มเหล็ก ฆ้องวง(ฆ้องกลาง) ฆ้องวงเล็ก โทน รามะนา ฉิ่ง ฉาบเล็ก กรับ โหม่ง 
การใช้วงดนตรีไทยประเภทต่างๆ 
1. วงปี่พาทย์ เช่น วงปี่พาทย์ชาตรี ใช้แสดงละครชาตรีและหนังตะลุง วงปี่พาทย์ไม้นวม ใช้แสดงละคร วงปี่พาทย์นางหงส์ ใช้ในงานศพ วงปี่พาทย์มอญ ปัจจุบันนิยมใช้ในงานศพ 
2. วงเครื่องสายใช้ในงานมงคล เช่น งานทาบุญวันเกิด งานมงคลสมรส 
3. วงมโหรี ใช้ในงานมงคล เช่น งานแต่งงาน งานบวช 
สรุป 
การผสมวงดนตรีไทย เป็นการนาเอาเครื่องดนตรีไทยประเภทต่างๆ มาผสมวงกันบรรเลง ให้เสียงดนตรีเกิดความไพเราะ วงดนตรีไทยในปัจจุบัน มี 3 ประเภท คือ วงปี่พาทย์ วงเครื่องสาย และวงมโหรี การศึกษาวงดนตรีไทย เพื่อให้ผู้เรียนตระหนักถึงความสาคัญและอนุรักษ์ไว้ซึ่งความเป็น เอกลักษณ์ไทย ภูมิปัญญาไทย 
วงมโหรีเครื่องใหญ่
 253 
กิจกรรม 
เรื่อง รายงานการผสมวงดนตรีไทย 
http://wp.me/p3gHLQ-F 
เวลา 2 ชั่วโมง 
ผลการเรียนรู้ที่คาดหวัง 
มีความรู้ มีความเข้าใจการผสมวงดนตรีไทย 
วัสดุอุปกรณ์ 
1. สมุดจดงาน 
2. ใบความรู้ เรื่อง การผสมวงดนตรีไทย 
มอบหมายงาน 
1. ให้นักเรียนแบ่งกลุ่มออกเป็น 3 กลุ่ม ตัวแทนกลุ่มรับเอกสารประกอบการเรียน 
เรื่อง การผสมวงดนตรีไทย แล้วจับสลากหัวข้อรายงาน ดังนี้ 
- วงปี่พาทย์ 
- วงเครื่องสาย 
- วงมโหรี 
2. ให้ศึกษาค้นคว้า อภิปราย สรุปความรู้ แล้วส่งตัวแทนรายงานหน้าชั้นเรียน 
เรื่อง การผสมวงดนตรีไทย ตามหัวข้อที่กลุ่มรับผิดชอบ
 254 
ขั้นตอนการปฏิบัติ 
1. ให้นักเรียนดูวิดีทัศน์การแสดงวงดนตรีไทยประเภทต่างๆ 
2. ให้นักเรียนแบ่งกลุ่ม ออกเป็น 3 กลุ่ม โดยใช้กระบวนการกลุ่มในการทางาน ศึกษาใบความรู้ เรื่อง การผสมวงดนตรีไทย แล้วส่งตัวแทนจับสลากหัวข้อรายงาน 
3. ให้นักเรียนแต่ละกลุ่มศึกษาค้นคว้าอภิปราย สรุปความรู้จากใบความรู้เรื่องการผสมวงดนตรีไทย 
4. ส่งตัวแทนกลุ่มรายงานหน้าชั้นเรียน เรื่อง การผสมวงดนตรีไทย ตามหัวข้อที่กลุ่มรับผิดชอบ 
5. นักเรียนและครูร่วมกันสรุป เรื่อง การผสมวงดนตรีไทย 
6. ให้นักเรียนจดบันทึกความรู้ลงในสมุดจดงาน
 255 
แนวการรายงานกลุ่มที่ 1 เรื่อง วงปี่พาทย์ 
วงปี่พาทย์ 
วงปี่พาทย์ ประกอบด้วยเครื่องตีเป็นหลัก มีเครื่องเป่าคือปี่เป็นประธาน มีเครื่องกากับจังหวะ เป็นส่วนประกอบ วงปี่พาทย์สามารถแยกตามวิธีการผสมวงและจานวนเครื่องดนตรีได้อีก ได้แก่ 
1. วงปี่พาทย์ไม้แข็ง เป็นวงปี่พาทย์ธรรมดาสาหรับบรรเลงเพลงประกอบการแสดงและ ประโคมทั่วไป มี 3 ขนาด คือ 
1.1. วงปี่พาทย์เครื่องห้า ประกอบด้วย ปี่ใน ระนาดเอก ตะโพน ฆ้องวงใหญ่ 
กลองทัด ฉิ่ง 
1.2 วงปี่พาทย์เครื่องคู่ ประกอบด้วย ปี่ใน ปี่นอก ระนาดเอก ระนาดทุ้ม ฆ้องวงใหญ่ 
ฆ้องวงเล็ก ตะโพน กลองทัด ฉิ่ง ฉาบเล็ก 
1.3 วงปี่พาทย์เครื่องใหญ่ ประกอบด้วย ปี่ใน ปี่นอก ระนาดเอก ระนาดทุ้ม ระนาด เอกเหล็ก ฆ้องวงเล็ก ฆ้องวงใหญ่ ตะโพน กลองทัด ฉิ่ง ฉาบเล็ก ฉาบใหญ่ กรับ โหม่ง 
2. วงปี่พาทย์นางหงส์ เป็นวงดนตรีที่มีเครื่องดนตรีเหมือนกับวงปี่พาทย์ธรรมดา แต่ ส่วนที่ต่างกันคือใช้ปี่ชวาแทนที่ปี่ในและปี่นอก ใช้กลองมลายูแทนตะโพนและกลองทัด เดิมทีเดียวใช้ กลองทัดควบคุมจังหวะหน้าทับเสียง “ครึ่ม ครึ่ม ครึ่ม ครึ่ม” วงปี่พาทย์นางหงส์ ใช้บรรเลงในงานศพ เท่านั้น 
3. วงปี่พาทย์ชาตรี เกิดขึ้นในสมัยอยุธยา ใช้บรรเลงประกอบการแสดงละครชาตรี เรียกว่า ปี่พาทย์เครื่องห้าและหนังตะลุง ประกอบด้วย ปี่ใน ปี่นอก ฆ้องคู่ โทนชาตรี กลองชาตรี ฉิ่ง ฉาบเล็ก 
4. วงปี่พาทย์มอญ เป็นวงปี่พาทย์ที่นาเอาเครื่องดนตรีมอญบางชิ้นมาผสมกับ เครื่องดนตรี ไทย เครื่องดนตรีมอญที่นามาผสม ได้แก่ ปี่มอญ ฆ้องมอญ ตะโพนมอญ และเปิงมางคอก วงปี่พาทย์มอญ เดิมใช้ได้ในทุกโอกาส แต่ปัจจุบันใช้ในงานศพเพียงอย่างเดียว วงปี่พาทย์มอญ มี 3 ขนาด คือ 
4.1 วงปี่พาทย์มอญเครื่องห้า ประกอบด้วย ปี่มอญ ระนาดเอก ฉิ่ง ฆ้องมอญใหญ่ ตะโพนมอญ เปิงมางคอก 
เฉลยกิจกรรม 
เรื่อง รายงานการผสมวงดนตรีไทย
 256 
4.2 วงปี่พาทย์มอญเครื่องคู่ ประกอบด้วย ระนาดเอก ปี่มอญ ระนาดทุ้ม ฆ้องมอญวง ใหญ่ ฆ้องมอญวงเล็ก ตะโพนมอญ เปิงมางคอก โหม่ง 3 ใบ ฉิ่ง ฉาบเล็ก 
4.3 วงปี่พาทย์มอญเครื่องใหญ่ ประกอบด้วย ปี่มอญ ระนาดเอก ระนาดเอกเหล็ก ระนาดทุ้ม ระนาดทุ้มเหล็ก ฆ้องมอญวงใหญ่ ฆ้องมอญวงเล็ก กรับตะโพนมอญ เปิงมางคอก โหม่ง 3 ใบ ฉิ่ง ฉาบเล็ก ฉาบใหญ่ 
5. วงปี่พาทย์ไม้นวม เป็นวงปี่พาทย์ที่มีเครื่องดนตรีเหมือนกับ 
วงปี่พาทย์ธรรมดาแต่มีส่วนที่แตกต่าง คือ ใช้ขลุ่ยเพียงออแทนปี่ เพิ่มซออู้เพื่อให้เสียงนุ่ม และ ใช้ไม้นวม ตีระนาดเอกกับระนาดทุ้ม ใช้บรรเลงประกอบการแสดงละคร 
6. วงปี่พาทย์ดึกดาบรรพ์ เป็นวงปี่พาทย์ที่สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอเจ้าฟ้ากรมพระยา นริศรานุวัติวงศ์ ทรงปรับปรุงขึ้นใหม่ ใช้บรรเลงประกอบการแสดงละครดึกดาบรรพ์ ซึ่งเจ้าพระยา เทเวศร์วงศ์วิวัฒน์(ม.ร.ว.หลาน กุญชร) คิดปรับปรุงใหม่ โดยได้แบบอย่างมาจากการแสดงอุปรากรของ ยุโรป ในปัจจุบันวงปี่พาทย์วงปี่พาทย์ดึกดาบรรพ์ไม่นิยม จะใช้วงปี่พาทย์ไม้นวมแทน วงปี่พาทย์ดึกดา บรรพ์ ประกอบด้วย ระนาดเอก ระนาดทุ้ม ระนาดทุ้มเหล็ก ฆ้องวงใหญ่ ขลุ่ยเพียงออ ขลุ่ยอู้ ซออู้ ตะโพน ฆ้องหุ่ย กลองตะโพน ฉิ่ง กลองแขก กรับ 
แนวการรายงานกลุ่มที่ 2 เรื่อง วงเครื่องสาย 
วงเครื่องสาย 
วงเครื่องสาย เป็นวงดนตรีที่ประกอบด้วยด้วยเครื่องสีและเครื่องดีดเป็นหลัก มีเครื่องเป่า และ เครื่องตีเป็นส่วนประกอบ ใช้ในงานมงคลต่างๆ เช่น งานทาบุญวันเกิด งานมงคลสมรส วง เครื่องสายแบ่ง เป็น 
วงเครื่องสายไทย คือวงเครื่องสายที่ประกอบด้วยเครื่องดนตรีประเภท ที่มีเครื่องสาย เช่น ซอ ด้วง ซออู้ จะเข้ และเครื่องเป่า คือขลุ่ย เพื่อให้เกิด ความไพเราะ ยังมีเครื่องกากับจังหวะ ได้แก่ โทน รามะนา ฉิ่ง และฉาบ มี 2 ขนาด คือ 
1. วงเครื่องสายวงเล็ก ประกอบด้วย ซอด้วง ซออู้ จะเข้ ขลุ่ยเพียงออโทน รามะนา ฉิ่ง 
2. วงเครื่องสายเครื่องคู่ ประกอบด้วย ซอด้วง 2 คัน ซออู้ 2 คัน โทน จะเข้ 2 ตัว ขลุ่ย เพียงออ ขลุ่ยหลีบ รามะนา ฉิ่ง ฉาบเหล็ก นอกจากนี้วงเครื่องสายยังแบ่งได้ ดังนี้ 
วงเครื่องสายผสม ในสมัยรัตนโกสินทร์ได้มีผู้นาเอาเครื่องดนตรี ของต่างชาติเข้ามาบรรเลงกับ วงเครื่องสาย ได้แก่ ไวโอลิน ออร์แกน ขิมหรือเปียโน เราจึงเรียกวงดนตรีชนิดนี้ว่า “วงเครื่องสาย ผสม” ถ้านาออร์แกนมาบรรเลงร่วมก็จะเรียกว่า “วงเครื่องสายผสมออร์แกน” หรือถ้านาขิมมาบรรเลง เรียกว่า “วงเครื่องสายผสมขิม” ซึ่งอาจผสมกับวงเครื่องสายวงเล็กหรือวงเครื่องสายเครื่องคู่ก็ได้
 257 
วงเครื่องสายปี่ชวา เกิดขึ้นในสมัยรัชกาลที่ 4 เป็นการนาเอาปี่ชวา และกลองแขกมาประสม กับวงเครื่องสาย ซึ่งในสมัยนั้นเรียกว่า “วงกลองแขกเครื่องใหญ่ ” วงเครื่องสายปี่ชวา ประกอบด้วย ปี่ชวา ซอด้วง ซออู้ จะเข้ ขลุ่ยหลีบ กลองแขก ฉิ่ง ฉาบเล็ก 
แนวการรายงานกลุ่มที่ 3 เรื่อง วงมโหรี 
วงมโหรี 
วงมโหรี คือ วงดนตรีที่ประกอบด้วยเครื่องดนตรีประเภทเครื่องดีด สี ตี เป่า เป็นการนาเอา วงปี่พาทย์และวงเครื่องสายมารวมกัน แต่มีการแก้ไขตัดทอนและเพิ่มเติมเครื่องดนตรีบางชนิดเล็กน้อย ปัจจุบันวงมโหรีมี 3 ขนาด คือ 
1. วงมโหรีวงเล็ก ประกอบด้วย ซอสามสาย ซอด้วง ซออู้ จะเข้ ขลุ่ยเพียงออ ระนาดเอก ฆ้องวง โทน รามะนา ฉิ่ง 
2. วงมโหรีเครื่องคู่ ประกอบด้วย ซอสามสาย ซอสามสายหลีบ ซอด้วง 2 คัน ซออู้ 2 คัน จะเข้ 2 ตัว ขลุ่ยเพียงออ ขลุ่ยหลีบ ระนาดเอก ระนาดทุ้ม ฆ้องวง ฆ้องวงเล็ก โทน รามะนา ฉิ่ง ฉาบ เล็ก กรับ โหม่ง 
3. วงมโหรีเครื่องใหญ่ ประกอบด้วย ซอสามสาย ซอสามสายหลีบ ซอด้วง 2 คัน ซออู้ 2 คัน จะเข้ 2 ตัว ขลุ่ยเพียงออ ขลุ่ยหลีบ ระนาดเอก ระนาดทุ้ม ระนาดเอกเหล็ก ระนาดทุ้ม เหล็ก ฆ้องวง ฆ้องวงเล็ก โทน รามะนา ฉิ่ง ฉาบเล็ก กรับ โหม่ง
250 
เวลา 1 ชั่วโมง 
ผลการเรียนรู้ที่คาดหวัง 
มีความรู้ มีความเข้าใจการผสมวงดนตรีไทย 
วัสดุอุปกรณ์ 
1. กระดาษ ขนาด A4 จานวน 1 แผ่น 
2. สีไม้ หรือสีอื่นๆ 
3. ใบความรู้ เรื่อง การผสมวงดนตรีไทย 
มอบหมายงาน 
1. ให้นักเรียนแบ่งกลุ่ม กลุ่มละ 6-7 คน แต่ละกลุ่มเขียนแผนภูมิรูปภาพการผสมวงดนตรี ไทย ตามหัวข้อที่จับสลากได้ ลงบนกระดาษ ขนาด A4 แล้วระบายสีให้สวยงาม หัวข้อ จับสลากดังนี้ 
- วงปี่พาทย์ เช่น วงปี่พาทย์เครื่องห้า เครื่องคู่ เครื่องใหญ่ 
- วงเครื่องสาย เช่น วงเครื่องสายเครื่องเล็ก 
- วงมโหรี เช่น วงมโหรีเครื่องเดี่ยว วงมโหรีเครื่องคู่ วงมโหรีเครื่องใหญ่ 
2. ส่งงานเพื่อประเมิน 
กิจกรรม 
เรื่อง เขียนแผนภูมิรูปภาพการผสมวงดนตรีไทย
251 
ขั้นตอนการปฏิบัติ 
1. ให้นักเรียนดูรูปภาพวงดนตรีไทยประเภทต่างๆ 
2. ให้นักเรียนแบ่งกลุ่ม กลุ่มละ 6-7 คน ใช้กระบวนการกลุ่มในการทางาน 
ศึกษาใบความรู้ เรื่อง การผสมวงดนตรีไทย แล้วจับสลากหัวข้อที่ปฏิบัติงาน 
3. ให้นักเรียนแต่ละกลุ่มเขียนแผนภูมิรูปภาพเครื่องดนตรีไทยในวงดนตรีไทย 
ประเภทต่างๆ ตามหัวข้อที่จับสลากได้ ลงบนกระดาษ ขนาด A4 
4. ใช้สีไม้ หรือสีชนิดอื่นตกแต่งภาพให้สวยงาม 
5. ตรวจสอบความถูกต้อง 
6. ส่งงานเพื่อประเมิน 
เขียนภาพการผสมวงดนตรีไทย “วงมโหรี 
ภาพแสดงเขียนแผนภูมิรูปภาพเครื่องดนตรีไทยในวงดนตรีไทย
252 
เฉลยกิจกรรม 
เรื่อง เขียนแผนภูมิรูปภาพการผสมวงดนตรีไทย 
ฉิ่ง 
ฉาบ 
ซอด้วง 
ขลุ่ยเพียงออ 
ซออู้ 
จะเข้ 
โทน 
รามะนา 
ตัวอย่าง ภาพเขียนแผนภูมิรูปภาพ 
การผสมวงดนตรีไทยของวงเครื่องสายวงเล็ก
 258 
กระดาษคาตอบแบบทดสอบก่อนเรียน 
รายวิชา ศ 33103 ศิลปะพื้นฐาน ชื่อ ………………….…….….........ชั้น ม.3/…. เลขที่ …... 
คำสั่ง ให้นักเรียนเลือกคำตอบถูกที่สุดเพียงข้อเดียว โดยทำเครื่องหมำย  ลงในกระดำษคำตอบ 
ข้อ 
ก 
ข 
ค 
ง 
1 
2 
3 
4 
5 
6 
7 
8 
9 
10
 259 
แบบทดสอบก่อนเรียน 
หน่วยการเรียนรู้ที่ 8 
คาสั่ง ให้นักเรียนเลือกคาตอบถูกที่สุดเพียงข้อเดียว โดยทาเครื่องหมาย × ลงในกระดาษคาตอบ 
(10 คะแนน) 
1. ข้อใดเป็นชนิดของวงดนตรีไทยในปัจจุบัน 
ก. วงปี่พาทย์ วงเครื่องสาย วงมโหรี 
ข. วงมโหรี วงปี่พาทย์ชาตรี วงเครื่องสาย 
ค. วงปี่พาทย์เครื่องใหญ่ วงมโหรี วงปี่พาทย์ชาตรี 
ง. วงปี่พาทย์เครื่องห้า วงมโหรี วงปี่พาทย์นางหงส์ 
2. วงปี่พาทย์ มีเครื่องดนตรีอะไรเป็นประธาน 
ก. ปี่ 
ข. กลองทัด 
ค. ระนาดทุ้ม 
ง. ฆ้องวงใหญ่ 
3. ข้อใดเป็นเครื่องดนตรีไทยที่ร่วมอยู่ในวงปี่พาทย์เครื่องห้า 
ก. ระนาดเอก ตะโพน กลองทัด ปี่ใน ฆ้องวงเล็ก 
ข. ระนาดเอก ฆ้องวงใหญ่ ตะโพน ฉิ่ง ระนาดทุ้ม 
ค. ระนาดเอก ฆ้องวงใหญ่ ตะโพน กลองทัด ฉิ่ง ฉาบ 
ง. ระนาดเอก ฆ้องวงใหญ่ ตะโพน กลองทัด ฉิ่ง ปี่ใน 
4. ข้อใดเป็นวงดนตรีไทยที่ประกอบด้วย เครื่องดีด สี ตี เป่า 
ก. วงมโหรี 
ข. วงปี่พาทย์ 
ค. วงเครื่องสาย 
ง. วงเครื่องสายผสม 
5. วงเครื่องสายของไทยประกอบด้วยเครื่องดนตรีประเภทอะไรเป็นหลัก 
ก. ปะเภทเครื่องตี และเครื่องเป่า 
ข. ประเภทเครื่องตี และเครื่องสี 
ค. ประเภทเครื่องสี และเครื่องดีด 
ง. ประเภทเครื่องดีด และเครื่องตี
 260 
6. วงดนตรีไทยชนิดใดเป็นการนาเอาเครื่องดนตรีที่ใช้ในวงปี่พาทย์ และวงเครื่องสาย 
มาบรรเลงร่วมกัน 
ก. วงมโหรี 
ข. วงสะล้อ ซอ ซึง 
ค. วงเครื่องสายผสม 
ง. วงปี่พาทย์ดึกดาบรรพ์ 
7. ถ้านักเรียนจัดงานทาบุญขึ้นบ้านใหม่ จะใช้วงปี่พาทย์อะไรบรรเลง 
ก. วงปี่พาทย์มอญ 
ข. วงปี่พาทย์ไม้แข็ง 
ค. วงปี่พาทย์นางหงส์ 
ง. วงปี่พาทย์ดึกดาบรรพ์ 
8. ปัจจุบันนิยมใช้วงดนตรีใดบรรเลงในงานศพ 
ก. วงมโหรี 
ข. วงปี่พาทย์มอญ 
ค. วงปี่พาทย์ไม้นวม 
ง. วงปี่พาทย์ดึกดาบรรพ์ 
9. การขับร้องเพลงไทยใช้เครื่องดนตรีประเภทใดให้จังหวะ 
ก. เครื่องตี 
ข. เครื่องสี 
ค. เครื่องดีด 
ง. เครื่องเป่า 
10. การขับร้องเพลงไทยต่างกับเพลงสากล อย่างไร 
ก. การขับร้องเพลงไทยไม่มีเสียงเอื้อน แต่เพลงสากลมีเสียงเอื้อน 
ข. การขับร้องเพลงไทยไม่มีเสียงสูงต่า แต่เพลงสากลมีเสียงสูงต่า 
ค. การขับร้องเพลงไทยมีเสียงสูงต่า แต่เพลงสากลไม่มีเสียงสูงต่า 
ง. การขับร้องเพลงไทยมีเสียงเอื้อนเพื่อให้ครบทานองเพลง แต่เพลงสากลมักไม่มีเสียงเอื้อน

Más contenido relacionado

La actualidad más candente

การฟื้นฟูศิลปวิทยาการ (Renaissance)
การฟื้นฟูศิลปวิทยาการ (Renaissance)การฟื้นฟูศิลปวิทยาการ (Renaissance)
การฟื้นฟูศิลปวิทยาการ (Renaissance)sudoooooo
 
พัฒนาการของอาณาจักรธนบุรี
พัฒนาการของอาณาจักรธนบุรีพัฒนาการของอาณาจักรธนบุรี
พัฒนาการของอาณาจักรธนบุรีพัน พัน
 
นาฏศิลป์สากล
นาฏศิลป์สากลนาฏศิลป์สากล
นาฏศิลป์สากลPonpirun Homsuwan
 
แผนการจัดการเรียนรู้
แผนการจัดการเรียนรู้ แผนการจัดการเรียนรู้
แผนการจัดการเรียนรู้ nongnoch
 
วิวัฒนาการของดนตรีสากล
วิวัฒนาการของดนตรีสากลวิวัฒนาการของดนตรีสากล
วิวัฒนาการของดนตรีสากลอำนาจ ศรีทิม
 
คำขอขมาพระอาจารย์และครูอาจารย์
คำขอขมาพระอาจารย์และครูอาจารย์คำขอขมาพระอาจารย์และครูอาจารย์
คำขอขมาพระอาจารย์และครูอาจารย์niralai
 
ข้อสอบ ม. 5 (วิเคราะห์)
ข้อสอบ ม. 5 (วิเคราะห์)ข้อสอบ ม. 5 (วิเคราะห์)
ข้อสอบ ม. 5 (วิเคราะห์)WoraWat Somwongsaa
 
ลิลิตตะเลงพ่าย
ลิลิตตะเลงพ่ายลิลิตตะเลงพ่าย
ลิลิตตะเลงพ่ายenksodsoon
 
โครงงานภาษาไทยเรื่องนิทาน
โครงงานภาษาไทยเรื่องนิทานโครงงานภาษาไทยเรื่องนิทาน
โครงงานภาษาไทยเรื่องนิทานRawinnipha Joy
 
พัฒนาการของอาณาจักรธนบุรี
พัฒนาการของอาณาจักรธนบุรีพัฒนาการของอาณาจักรธนบุรี
พัฒนาการของอาณาจักรธนบุรีพัน พัน
 
สารละลาย
สารละลายสารละลาย
สารละลายJariya Jaiyot
 
โครงงานเรื่อง การศึกษาต้นไม้ในโรงเรียน
โครงงานเรื่อง การศึกษาต้นไม้ในโรงเรียนโครงงานเรื่อง การศึกษาต้นไม้ในโรงเรียน
โครงงานเรื่อง การศึกษาต้นไม้ในโรงเรียนพัน พัน
 
กำหนดการโครงการต่าง ๆ
กำหนดการโครงการต่าง ๆกำหนดการโครงการต่าง ๆ
กำหนดการโครงการต่าง ๆLooktan Kp
 
โครงสร้างหลักสูตรประถม
โครงสร้างหลักสูตรประถมโครงสร้างหลักสูตรประถม
โครงสร้างหลักสูตรประถมwangasom
 
คำอธิบายรายวิชาดนตรี นาฎศิลป์ ม.4
คำอธิบายรายวิชาดนตรี   นาฎศิลป์ ม.4 คำอธิบายรายวิชาดนตรี   นาฎศิลป์ ม.4
คำอธิบายรายวิชาดนตรี นาฎศิลป์ ม.4 อำนาจ ศรีทิม
 
ชุดการเรียนรู้ พัฒนาความคิดสร้างสรรค์เรื่อง ซากดึกดำบรรพ์ โดยครูกอบวิทย์ พิร...
ชุดการเรียนรู้ พัฒนาความคิดสร้างสรรค์เรื่อง ซากดึกดำบรรพ์ โดยครูกอบวิทย์  พิร...ชุดการเรียนรู้ พัฒนาความคิดสร้างสรรค์เรื่อง ซากดึกดำบรรพ์ โดยครูกอบวิทย์  พิร...
ชุดการเรียนรู้ พัฒนาความคิดสร้างสรรค์เรื่อง ซากดึกดำบรรพ์ โดยครูกอบวิทย์ พิร...Kobwit Piriyawat
 
แบบประเมินทักษะกระบวนการ
แบบประเมินทักษะกระบวนการแบบประเมินทักษะกระบวนการ
แบบประเมินทักษะกระบวนการsomdetpittayakom school
 

La actualidad más candente (20)

การฟื้นฟูศิลปวิทยาการ (Renaissance)
การฟื้นฟูศิลปวิทยาการ (Renaissance)การฟื้นฟูศิลปวิทยาการ (Renaissance)
การฟื้นฟูศิลปวิทยาการ (Renaissance)
 
Ans n1-w1-1
Ans n1-w1-1Ans n1-w1-1
Ans n1-w1-1
 
พัฒนาการของอาณาจักรธนบุรี
พัฒนาการของอาณาจักรธนบุรีพัฒนาการของอาณาจักรธนบุรี
พัฒนาการของอาณาจักรธนบุรี
 
นาฏศิลป์สากล
นาฏศิลป์สากลนาฏศิลป์สากล
นาฏศิลป์สากล
 
ใบงาน2
ใบงาน2ใบงาน2
ใบงาน2
 
แผนการจัดการเรียนรู้
แผนการจัดการเรียนรู้ แผนการจัดการเรียนรู้
แผนการจัดการเรียนรู้
 
วิวัฒนาการของดนตรีสากล
วิวัฒนาการของดนตรีสากลวิวัฒนาการของดนตรีสากล
วิวัฒนาการของดนตรีสากล
 
กลุ่มที่ ๒
กลุ่มที่ ๒กลุ่มที่ ๒
กลุ่มที่ ๒
 
คำขอขมาพระอาจารย์และครูอาจารย์
คำขอขมาพระอาจารย์และครูอาจารย์คำขอขมาพระอาจารย์และครูอาจารย์
คำขอขมาพระอาจารย์และครูอาจารย์
 
ข้อสอบ ม. 5 (วิเคราะห์)
ข้อสอบ ม. 5 (วิเคราะห์)ข้อสอบ ม. 5 (วิเคราะห์)
ข้อสอบ ม. 5 (วิเคราะห์)
 
ลิลิตตะเลงพ่าย
ลิลิตตะเลงพ่ายลิลิตตะเลงพ่าย
ลิลิตตะเลงพ่าย
 
โครงงานภาษาไทยเรื่องนิทาน
โครงงานภาษาไทยเรื่องนิทานโครงงานภาษาไทยเรื่องนิทาน
โครงงานภาษาไทยเรื่องนิทาน
 
พัฒนาการของอาณาจักรธนบุรี
พัฒนาการของอาณาจักรธนบุรีพัฒนาการของอาณาจักรธนบุรี
พัฒนาการของอาณาจักรธนบุรี
 
สารละลาย
สารละลายสารละลาย
สารละลาย
 
โครงงานเรื่อง การศึกษาต้นไม้ในโรงเรียน
โครงงานเรื่อง การศึกษาต้นไม้ในโรงเรียนโครงงานเรื่อง การศึกษาต้นไม้ในโรงเรียน
โครงงานเรื่อง การศึกษาต้นไม้ในโรงเรียน
 
กำหนดการโครงการต่าง ๆ
กำหนดการโครงการต่าง ๆกำหนดการโครงการต่าง ๆ
กำหนดการโครงการต่าง ๆ
 
โครงสร้างหลักสูตรประถม
โครงสร้างหลักสูตรประถมโครงสร้างหลักสูตรประถม
โครงสร้างหลักสูตรประถม
 
คำอธิบายรายวิชาดนตรี นาฎศิลป์ ม.4
คำอธิบายรายวิชาดนตรี   นาฎศิลป์ ม.4 คำอธิบายรายวิชาดนตรี   นาฎศิลป์ ม.4
คำอธิบายรายวิชาดนตรี นาฎศิลป์ ม.4
 
ชุดการเรียนรู้ พัฒนาความคิดสร้างสรรค์เรื่อง ซากดึกดำบรรพ์ โดยครูกอบวิทย์ พิร...
ชุดการเรียนรู้ พัฒนาความคิดสร้างสรรค์เรื่อง ซากดึกดำบรรพ์ โดยครูกอบวิทย์  พิร...ชุดการเรียนรู้ พัฒนาความคิดสร้างสรรค์เรื่อง ซากดึกดำบรรพ์ โดยครูกอบวิทย์  พิร...
ชุดการเรียนรู้ พัฒนาความคิดสร้างสรรค์เรื่อง ซากดึกดำบรรพ์ โดยครูกอบวิทย์ พิร...
 
แบบประเมินทักษะกระบวนการ
แบบประเมินทักษะกระบวนการแบบประเมินทักษะกระบวนการ
แบบประเมินทักษะกระบวนการ
 

Destacado

แผนนาฏศิลป์ 1
แผนนาฏศิลป์ 1แผนนาฏศิลป์ 1
แผนนาฏศิลป์ 10898230029
 
เครื่องดนตรีสากล
เครื่องดนตรีสากลเครื่องดนตรีสากล
เครื่องดนตรีสากลพัน พัน
 
โครงงานเรื่องจิตรกรรม
โครงงานเรื่องจิตรกรรมโครงงานเรื่องจิตรกรรม
โครงงานเรื่องจิตรกรรมPrachern Laorit
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1 ศ 32101 วิชาดนตรี ม.5 ครูอภิชิต กลีบม่วง
แผนการจัดการเรียนรู้ที่  1 ศ 32101 วิชาดนตรี ม.5  ครูอภิชิต กลีบม่วงแผนการจัดการเรียนรู้ที่  1 ศ 32101 วิชาดนตรี ม.5  ครูอภิชิต กลีบม่วง
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1 ศ 32101 วิชาดนตรี ม.5 ครูอภิชิต กลีบม่วงอภิชิต กลีบม่วง
 
โครงงานสีน้ำจากแป้งธรรมชาติ มมว.
โครงงานสีน้ำจากแป้งธรรมชาติ มมว.โครงงานสีน้ำจากแป้งธรรมชาติ มมว.
โครงงานสีน้ำจากแป้งธรรมชาติ มมว.Bunnaruenee
 
แผนพอเพียงอ21101
แผนพอเพียงอ21101แผนพอเพียงอ21101
แผนพอเพียงอ21101atthaniyamai2519
 
ดนตรี ม.3
ดนตรี ม.3ดนตรี ม.3
ดนตรี ม.3Kruanchalee
 
แบบทดสอบ ดนตรี นาฏศิลป์ ม.3
แบบทดสอบ ดนตรี นาฏศิลป์ ม.3แบบทดสอบ ดนตรี นาฏศิลป์ ม.3
แบบทดสอบ ดนตรี นาฏศิลป์ ม.3teerachon
 
แบบฟอร์ม แฟ้มสะสมผลงานนักเรียน
แบบฟอร์ม แฟ้มสะสมผลงานนักเรียนแบบฟอร์ม แฟ้มสะสมผลงานนักเรียน
แบบฟอร์ม แฟ้มสะสมผลงานนักเรียนธนิสร ยางคำ
 
โครงงานสิ่งประดิษฐ์เหลือใช้
โครงงานสิ่งประดิษฐ์เหลือใช้โครงงานสิ่งประดิษฐ์เหลือใช้
โครงงานสิ่งประดิษฐ์เหลือใช้thanapisit marakul na ayudhya
 
เอกสารประกอบการเรียนการสอนทฤษฎีความรู้ Tok วิทยาศาสตร์ ม.1 ขึ้นเว็บไซต์
เอกสารประกอบการเรียนการสอนทฤษฎีความรู้ Tok วิทยาศาสตร์ ม.1 ขึ้นเว็บไซต์เอกสารประกอบการเรียนการสอนทฤษฎีความรู้ Tok วิทยาศาสตร์ ม.1 ขึ้นเว็บไซต์
เอกสารประกอบการเรียนการสอนทฤษฎีความรู้ Tok วิทยาศาสตร์ ม.1 ขึ้นเว็บไซต์Kobwit Piriyawat
 
โครงงานการประดิษฐ์กระถางจากขวดพลาสติก
โครงงานการประดิษฐ์กระถางจากขวดพลาสติกโครงงานการประดิษฐ์กระถางจากขวดพลาสติก
โครงงานการประดิษฐ์กระถางจากขวดพลาสติกพัน พัน
 
โครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง สมุนไพรกำจัดปลวก
โครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง สมุนไพรกำจัดปลวกโครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง สมุนไพรกำจัดปลวก
โครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง สมุนไพรกำจัดปลวกพัน พัน
 

Destacado (16)

วงดนตรีไทย ม.2 56
วงดนตรีไทย ม.2 56วงดนตรีไทย ม.2 56
วงดนตรีไทย ม.2 56
 
แผนนาฏศิลป์ 1
แผนนาฏศิลป์ 1แผนนาฏศิลป์ 1
แผนนาฏศิลป์ 1
 
เครื่องดนตรีสากล
เครื่องดนตรีสากลเครื่องดนตรีสากล
เครื่องดนตรีสากล
 
ป.5
ป.5ป.5
ป.5
 
โครงงานเรื่องจิตรกรรม
โครงงานเรื่องจิตรกรรมโครงงานเรื่องจิตรกรรม
โครงงานเรื่องจิตรกรรม
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1 ศ 32101 วิชาดนตรี ม.5 ครูอภิชิต กลีบม่วง
แผนการจัดการเรียนรู้ที่  1 ศ 32101 วิชาดนตรี ม.5  ครูอภิชิต กลีบม่วงแผนการจัดการเรียนรู้ที่  1 ศ 32101 วิชาดนตรี ม.5  ครูอภิชิต กลีบม่วง
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1 ศ 32101 วิชาดนตรี ม.5 ครูอภิชิต กลีบม่วง
 
โครงงานสีน้ำจากแป้งธรรมชาติ มมว.
โครงงานสีน้ำจากแป้งธรรมชาติ มมว.โครงงานสีน้ำจากแป้งธรรมชาติ มมว.
โครงงานสีน้ำจากแป้งธรรมชาติ มมว.
 
แผนพอเพียงอ21101
แผนพอเพียงอ21101แผนพอเพียงอ21101
แผนพอเพียงอ21101
 
ดนตรี ม.3
ดนตรี ม.3ดนตรี ม.3
ดนตรี ม.3
 
Generation
GenerationGeneration
Generation
 
แบบทดสอบ ดนตรี นาฏศิลป์ ม.3
แบบทดสอบ ดนตรี นาฏศิลป์ ม.3แบบทดสอบ ดนตรี นาฏศิลป์ ม.3
แบบทดสอบ ดนตรี นาฏศิลป์ ม.3
 
แบบฟอร์ม แฟ้มสะสมผลงานนักเรียน
แบบฟอร์ม แฟ้มสะสมผลงานนักเรียนแบบฟอร์ม แฟ้มสะสมผลงานนักเรียน
แบบฟอร์ม แฟ้มสะสมผลงานนักเรียน
 
โครงงานสิ่งประดิษฐ์เหลือใช้
โครงงานสิ่งประดิษฐ์เหลือใช้โครงงานสิ่งประดิษฐ์เหลือใช้
โครงงานสิ่งประดิษฐ์เหลือใช้
 
เอกสารประกอบการเรียนการสอนทฤษฎีความรู้ Tok วิทยาศาสตร์ ม.1 ขึ้นเว็บไซต์
เอกสารประกอบการเรียนการสอนทฤษฎีความรู้ Tok วิทยาศาสตร์ ม.1 ขึ้นเว็บไซต์เอกสารประกอบการเรียนการสอนทฤษฎีความรู้ Tok วิทยาศาสตร์ ม.1 ขึ้นเว็บไซต์
เอกสารประกอบการเรียนการสอนทฤษฎีความรู้ Tok วิทยาศาสตร์ ม.1 ขึ้นเว็บไซต์
 
โครงงานการประดิษฐ์กระถางจากขวดพลาสติก
โครงงานการประดิษฐ์กระถางจากขวดพลาสติกโครงงานการประดิษฐ์กระถางจากขวดพลาสติก
โครงงานการประดิษฐ์กระถางจากขวดพลาสติก
 
โครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง สมุนไพรกำจัดปลวก
โครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง สมุนไพรกำจัดปลวกโครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง สมุนไพรกำจัดปลวก
โครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง สมุนไพรกำจัดปลวก
 

Similar a การผสมวงดนตรีไทย

วิชาดนตรี.pptx
วิชาดนตรี.pptxวิชาดนตรี.pptx
วิชาดนตรี.pptxssuser5334dc
 
ใบความรู้ ดนตรีไทย กศน
ใบความรู้ ดนตรีไทย กศนใบความรู้ ดนตรีไทย กศน
ใบความรู้ ดนตรีไทย กศนpeter dontoom
 
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 3 เรื่อง ลักษณะของวงดนตรีสากล.pdf
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 3 เรื่อง ลักษณะของวงดนตรีสากล.pdfใบความรู้ที่ 1 บทที่ 3 เรื่อง ลักษณะของวงดนตรีสากล.pdf
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 3 เรื่อง ลักษณะของวงดนตรีสากล.pdfPingladaPingladaz
 
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 3 เรื่อง ลักษณะของวงดนตรีสากล
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 3 เรื่อง ลักษณะของวงดนตรีสากลใบความรู้ที่ 1 บทที่ 3 เรื่อง ลักษณะของวงดนตรีสากล
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 3 เรื่อง ลักษณะของวงดนตรีสากลleemeanshun minzstar
 
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 3 เรื่อง ลักษณะของวงดนตรีสากล.pdf
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 3 เรื่อง ลักษณะของวงดนตรีสากล.pdfใบความรู้ที่ 1 บทที่ 3 เรื่อง ลักษณะของวงดนตรีสากล.pdf
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 3 เรื่อง ลักษณะของวงดนตรีสากล.pdfpinglada
 
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 3 เรื่อง ลักษณะของวงดนตรีสากล
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 3 เรื่อง ลักษณะของวงดนตรีสากลใบความรู้ที่ 1 บทที่ 3 เรื่อง ลักษณะของวงดนตรีสากล
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 3 เรื่อง ลักษณะของวงดนตรีสากลleemeanxun
 
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 3 เรื่อง ลักษณะของวงดนตรีสากล
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 3 เรื่อง ลักษณะของวงดนตรีสากลใบความรู้ที่ 1 บทที่ 3 เรื่อง ลักษณะของวงดนตรีสากล
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 3 เรื่อง ลักษณะของวงดนตรีสากลleemeanshun minzstar
 
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 3 เรื่อง ลักษณะของวงดนตรีสากล.pdf
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 3 เรื่อง ลักษณะของวงดนตรีสากล.pdfใบความรู้ที่ 1 บทที่ 3 เรื่อง ลักษณะของวงดนตรีสากล.pdf
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 3 เรื่อง ลักษณะของวงดนตรีสากล.pdfเวียงพิงค์ พิงค์ลดา
 
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 3 เรื่อง ลักษณะของวงดนตรีสากล
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 3 เรื่อง ลักษณะของวงดนตรีสากลใบความรู้ที่ 1 บทที่ 3 เรื่อง ลักษณะของวงดนตรีสากล
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 3 เรื่อง ลักษณะของวงดนตรีสากลsangkeetwittaya stourajini
 
สาระที่ 2 หน่วยที่ 6
สาระที่ 2 หน่วยที่ 6  สาระที่ 2 หน่วยที่ 6
สาระที่ 2 หน่วยที่ 6 khomkrit2511
 
ลักษณะเด่นของดนตรีในแต่ละวัฒนธรรม
ลักษณะเด่นของดนตรีในแต่ละวัฒนธรรมลักษณะเด่นของดนตรีในแต่ละวัฒนธรรม
ลักษณะเด่นของดนตรีในแต่ละวัฒนธรรมอำนาจ ศรีทิม
 
บทเรียนอิเล็กทรอนิกส์ ดนตรีพื้นบ้านปฏิบัติตีโปงลาง
บทเรียนอิเล็กทรอนิกส์ ดนตรีพื้นบ้านปฏิบัติตีโปงลางบทเรียนอิเล็กทรอนิกส์ ดนตรีพื้นบ้านปฏิบัติตีโปงลาง
บทเรียนอิเล็กทรอนิกส์ ดนตรีพื้นบ้านปฏิบัติตีโปงลางฏิวัตต์ สันทาลุนัย
 
ความหมายของเครื่องดนตรี
ความหมายของเครื่องดนตรีความหมายของเครื่องดนตรี
ความหมายของเครื่องดนตรีleemeanxun
 
การประยุกต์ดนตรีไทยและดนตรีสากล
การประยุกต์ดนตรีไทยและดนตรีสากลการประยุกต์ดนตรีไทยและดนตรีสากล
การประยุกต์ดนตรีไทยและดนตรีสากลThanakrit Muangjun
 
บทเรียนอิเล็กทรอนิกส์ ดนตรีพื้นบ้านปฏิบัติรวมวงและเครื่องประกอบจังหวะ
บทเรียนอิเล็กทรอนิกส์ ดนตรีพื้นบ้านปฏิบัติรวมวงและเครื่องประกอบจังหวะบทเรียนอิเล็กทรอนิกส์ ดนตรีพื้นบ้านปฏิบัติรวมวงและเครื่องประกอบจังหวะ
บทเรียนอิเล็กทรอนิกส์ ดนตรีพื้นบ้านปฏิบัติรวมวงและเครื่องประกอบจังหวะฏิวัตต์ สันทาลุนัย
 

Similar a การผสมวงดนตรีไทย (20)

วิชาดนตรี.pptx
วิชาดนตรี.pptxวิชาดนตรี.pptx
วิชาดนตรี.pptx
 
ใบความรู้ ดนตรีไทย กศน
ใบความรู้ ดนตรีไทย กศนใบความรู้ ดนตรีไทย กศน
ใบความรู้ ดนตรีไทย กศน
 
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 3 เรื่อง ลักษณะของวงดนตรีสากล.pdf
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 3 เรื่อง ลักษณะของวงดนตรีสากล.pdfใบความรู้ที่ 1 บทที่ 3 เรื่อง ลักษณะของวงดนตรีสากล.pdf
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 3 เรื่อง ลักษณะของวงดนตรีสากล.pdf
 
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 3 เรื่อง ลักษณะของวงดนตรีสากล
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 3 เรื่อง ลักษณะของวงดนตรีสากลใบความรู้ที่ 1 บทที่ 3 เรื่อง ลักษณะของวงดนตรีสากล
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 3 เรื่อง ลักษณะของวงดนตรีสากล
 
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 3 เรื่อง ลักษณะของวงดนตรีสากล.pdf
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 3 เรื่อง ลักษณะของวงดนตรีสากล.pdfใบความรู้ที่ 1 บทที่ 3 เรื่อง ลักษณะของวงดนตรีสากล.pdf
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 3 เรื่อง ลักษณะของวงดนตรีสากล.pdf
 
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 3 เรื่อง ลักษณะของวงดนตรีสากล
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 3 เรื่อง ลักษณะของวงดนตรีสากลใบความรู้ที่ 1 บทที่ 3 เรื่อง ลักษณะของวงดนตรีสากล
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 3 เรื่อง ลักษณะของวงดนตรีสากล
 
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 3 เรื่อง ลักษณะของวงดนตรีสากล
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 3 เรื่อง ลักษณะของวงดนตรีสากลใบความรู้ที่ 1 บทที่ 3 เรื่อง ลักษณะของวงดนตรีสากล
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 3 เรื่อง ลักษณะของวงดนตรีสากล
 
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 3 เรื่อง ลักษณะของวงดนตรีสากล.pdf
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 3 เรื่อง ลักษณะของวงดนตรีสากล.pdfใบความรู้ที่ 1 บทที่ 3 เรื่อง ลักษณะของวงดนตรีสากล.pdf
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 3 เรื่อง ลักษณะของวงดนตรีสากล.pdf
 
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 3 เรื่อง ลักษณะของวงดนตรีสากล
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 3 เรื่อง ลักษณะของวงดนตรีสากลใบความรู้ที่ 1 บทที่ 3 เรื่อง ลักษณะของวงดนตรีสากล
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 3 เรื่อง ลักษณะของวงดนตรีสากล
 
สาระที่ 2 หน่วยที่ 6
สาระที่ 2 หน่วยที่ 6  สาระที่ 2 หน่วยที่ 6
สาระที่ 2 หน่วยที่ 6
 
ลักษณะเด่นของดนตรีในแต่ละวัฒนธรรม
ลักษณะเด่นของดนตรีในแต่ละวัฒนธรรมลักษณะเด่นของดนตรีในแต่ละวัฒนธรรม
ลักษณะเด่นของดนตรีในแต่ละวัฒนธรรม
 
บทเรียนอิเล็กทรอนิกส์ ดนตรีพื้นบ้านปฏิบัติตีโปงลาง
บทเรียนอิเล็กทรอนิกส์ ดนตรีพื้นบ้านปฏิบัติตีโปงลางบทเรียนอิเล็กทรอนิกส์ ดนตรีพื้นบ้านปฏิบัติตีโปงลาง
บทเรียนอิเล็กทรอนิกส์ ดนตรีพื้นบ้านปฏิบัติตีโปงลาง
 
ความหมายของเครื่องดนตรี
ความหมายของเครื่องดนตรีความหมายของเครื่องดนตรี
ความหมายของเครื่องดนตรี
 
วงดนตรีสากล
วงดนตรีสากลวงดนตรีสากล
วงดนตรีสากล
 
การประยุกต์ดนตรีไทยและดนตรีสากล
การประยุกต์ดนตรีไทยและดนตรีสากลการประยุกต์ดนตรีไทยและดนตรีสากล
การประยุกต์ดนตรีไทยและดนตรีสากล
 
หลักสูตรศิลปะ มัธยมศึกษาตอนปลาย
หลักสูตรศิลปะ มัธยมศึกษาตอนปลายหลักสูตรศิลปะ มัธยมศึกษาตอนปลาย
หลักสูตรศิลปะ มัธยมศึกษาตอนปลาย
 
Com (1)
Com (1)Com (1)
Com (1)
 
Music
MusicMusic
Music
 
บทเรียนอิเล็กทรอนิกส์ ดนตรีพื้นบ้านปฏิบัติรวมวงและเครื่องประกอบจังหวะ
บทเรียนอิเล็กทรอนิกส์ ดนตรีพื้นบ้านปฏิบัติรวมวงและเครื่องประกอบจังหวะบทเรียนอิเล็กทรอนิกส์ ดนตรีพื้นบ้านปฏิบัติรวมวงและเครื่องประกอบจังหวะ
บทเรียนอิเล็กทรอนิกส์ ดนตรีพื้นบ้านปฏิบัติรวมวงและเครื่องประกอบจังหวะ
 
Music drama
Music dramaMusic drama
Music drama
 

Más de พัน พัน

เรื่องระบบปฏิบัติการ
เรื่องระบบปฏิบัติการเรื่องระบบปฏิบัติการ
เรื่องระบบปฏิบัติการพัน พัน
 
เรื่องภาษาซี
เรื่องภาษาซีเรื่องภาษาซี
เรื่องภาษาซีพัน พัน
 
ประวัติความเป็นมาของคอมพิวเตอร์
ประวัติความเป็นมาของคอมพิวเตอร์ประวัติความเป็นมาของคอมพิวเตอร์
ประวัติความเป็นมาของคอมพิวเตอร์พัน พัน
 
การเปลี่ยนตัวเลขให้เป็นตัวอักษร
การเปลี่ยนตัวเลขให้เป็นตัวอักษรการเปลี่ยนตัวเลขให้เป็นตัวอักษร
การเปลี่ยนตัวเลขให้เป็นตัวอักษรพัน พัน
 
หลักการทำงาน บทบาทและอุปกรณ์พื้นฐานของคอมพิวเตอร์
หลักการทำงาน บทบาทและอุปกรณ์พื้นฐานของคอมพิวเตอร์หลักการทำงาน บทบาทและอุปกรณ์พื้นฐานของคอมพิวเตอร์
หลักการทำงาน บทบาทและอุปกรณ์พื้นฐานของคอมพิวเตอร์พัน พัน
 
รายงานเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์
รายงานเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์รายงานเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์
รายงานเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์พัน พัน
 
การทำงานพื้นฐานของคอมพิวเตอร์
การทำงานพื้นฐานของคอมพิวเตอร์การทำงานพื้นฐานของคอมพิวเตอร์
การทำงานพื้นฐานของคอมพิวเตอร์พัน พัน
 
การทำงานของคอมพิวเตอร์
การทำงานของคอมพิวเตอร์การทำงานของคอมพิวเตอร์
การทำงานของคอมพิวเตอร์พัน พัน
 
ระบบคอมพิวเตอร์และยุคสมัย
ระบบคอมพิวเตอร์และยุคสมัยระบบคอมพิวเตอร์และยุคสมัย
ระบบคอมพิวเตอร์และยุคสมัยพัน พัน
 
เรื่องเทคโนโลยีสารสนเทศ
เรื่องเทคโนโลยีสารสนเทศเรื่องเทคโนโลยีสารสนเทศ
เรื่องเทคโนโลยีสารสนเทศพัน พัน
 
ประเภทของคอมพิวเตอร์
ประเภทของคอมพิวเตอร์ประเภทของคอมพิวเตอร์
ประเภทของคอมพิวเตอร์พัน พัน
 
เครือข่ายคอมพิวเตอร์เบื้องต้น
เครือข่ายคอมพิวเตอร์เบื้องต้นเครือข่ายคอมพิวเตอร์เบื้องต้น
เครือข่ายคอมพิวเตอร์เบื้องต้นพัน พัน
 
เรื่องคอมพิวเตอร์เบื้องต้น
เรื่องคอมพิวเตอร์เบื้องต้นเรื่องคอมพิวเตอร์เบื้องต้น
เรื่องคอมพิวเตอร์เบื้องต้นพัน พัน
 
เรื่องด้านคอมพิวเตอร์
เรื่องด้านคอมพิวเตอร์เรื่องด้านคอมพิวเตอร์
เรื่องด้านคอมพิวเตอร์พัน พัน
 
เรื่องคอมพิวเตอร์
เรื่องคอมพิวเตอร์เรื่องคอมพิวเตอร์
เรื่องคอมพิวเตอร์พัน พัน
 
ปัญหาทรัพยากรป่าไม้
ปัญหาทรัพยากรป่าไม้ปัญหาทรัพยากรป่าไม้
ปัญหาทรัพยากรป่าไม้พัน พัน
 

Más de พัน พัน (20)

เรื่องระบบปฏิบัติการ
เรื่องระบบปฏิบัติการเรื่องระบบปฏิบัติการ
เรื่องระบบปฏิบัติการ
 
เรื่องภาษาซี
เรื่องภาษาซีเรื่องภาษาซี
เรื่องภาษาซี
 
ประวัติความเป็นมาของคอมพิวเตอร์
ประวัติความเป็นมาของคอมพิวเตอร์ประวัติความเป็นมาของคอมพิวเตอร์
ประวัติความเป็นมาของคอมพิวเตอร์
 
การเปลี่ยนตัวเลขให้เป็นตัวอักษร
การเปลี่ยนตัวเลขให้เป็นตัวอักษรการเปลี่ยนตัวเลขให้เป็นตัวอักษร
การเปลี่ยนตัวเลขให้เป็นตัวอักษร
 
หลักการทำงาน บทบาทและอุปกรณ์พื้นฐานของคอมพิวเตอร์
หลักการทำงาน บทบาทและอุปกรณ์พื้นฐานของคอมพิวเตอร์หลักการทำงาน บทบาทและอุปกรณ์พื้นฐานของคอมพิวเตอร์
หลักการทำงาน บทบาทและอุปกรณ์พื้นฐานของคอมพิวเตอร์
 
รายงานเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์
รายงานเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์รายงานเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์
รายงานเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์
 
การทำงานพื้นฐานของคอมพิวเตอร์
การทำงานพื้นฐานของคอมพิวเตอร์การทำงานพื้นฐานของคอมพิวเตอร์
การทำงานพื้นฐานของคอมพิวเตอร์
 
การทำงานของคอมพิวเตอร์
การทำงานของคอมพิวเตอร์การทำงานของคอมพิวเตอร์
การทำงานของคอมพิวเตอร์
 
ระบบคอมพิวเตอร์และยุคสมัย
ระบบคอมพิวเตอร์และยุคสมัยระบบคอมพิวเตอร์และยุคสมัย
ระบบคอมพิวเตอร์และยุคสมัย
 
เรื่องเทคโนโลยีสารสนเทศ
เรื่องเทคโนโลยีสารสนเทศเรื่องเทคโนโลยีสารสนเทศ
เรื่องเทคโนโลยีสารสนเทศ
 
ประเภทของคอมพิวเตอร์
ประเภทของคอมพิวเตอร์ประเภทของคอมพิวเตอร์
ประเภทของคอมพิวเตอร์
 
เครือข่ายคอมพิวเตอร์เบื้องต้น
เครือข่ายคอมพิวเตอร์เบื้องต้นเครือข่ายคอมพิวเตอร์เบื้องต้น
เครือข่ายคอมพิวเตอร์เบื้องต้น
 
เรื่องคอมพิวเตอร์เบื้องต้น
เรื่องคอมพิวเตอร์เบื้องต้นเรื่องคอมพิวเตอร์เบื้องต้น
เรื่องคอมพิวเตอร์เบื้องต้น
 
เรื่องด้านคอมพิวเตอร์
เรื่องด้านคอมพิวเตอร์เรื่องด้านคอมพิวเตอร์
เรื่องด้านคอมพิวเตอร์
 
เรื่องคอมพิวเตอร์
เรื่องคอมพิวเตอร์เรื่องคอมพิวเตอร์
เรื่องคอมพิวเตอร์
 
โครงงานคอม
โครงงานคอมโครงงานคอม
โครงงานคอม
 
การปริ้น
การปริ้นการปริ้น
การปริ้น
 
Office
OfficeOffice
Office
 
ปัญหาทรัพยากรป่าไม้
ปัญหาทรัพยากรป่าไม้ปัญหาทรัพยากรป่าไม้
ปัญหาทรัพยากรป่าไม้
 
ยาเสพติด
ยาเสพติดยาเสพติด
ยาเสพติด
 

การผสมวงดนตรีไทย

  • 1.  240 ใบความรู้ เรื่อง การผสมวงดนตรีไทย ผลการเรียนรู้ที่คาดหวัง มีความรู้ มีความเข้าใจการผสมวงดนตรีไทย สาระการเรียนรู้ การผสมวงดนตรีไทย การผสมวงดนตรีไทยสมัยปัจจุบัน วงดนตรีของไทยในปัจจุบันแบ่งออกเป็น 3 ประเภทใหญ่ๆ คือ วงปี่พาทย์ วงเครื่องสาย และวงมโหรี หน่วยการเรียนรู้ที่ 8 ดนตรีไทย แผนภูมิแสดงประเภทของวงดนตรีไทยในปัจจุบัน วงมโหรี วงปี่พาทย์ วงดนตรีไทย วงเครื่องสาย
  • 2.  241 แผนภูมิแสดงวงดนตรีไทยประเภทต่างๆ วงปี่พาทย์ วงเครื่องสาย วงมโหรี ปี่พาทย์เครื่องห้า ปี่พาทย์เครื่องคู่ ปี่พาทย์เครื่องใหญ่ เครื่องสายวงเล็ก เครื่องสายเครื่องคู่ มโหรีเครื่องเล็ก มโหรีเครื่องคู่ มโหรีเครื่องใหญ่ วงปี่พาทย์นางหงส์ วงปี่พาทย์ดึกดาบรรพ์ เครื่องสายผสม วงปี่พาทย์มอญ วงดนตรีไทย
  • 3.  242 แผนภูมิแสดงประเภทของวงปี่พาทย์ วงปี่พาทย์ วงปี่พาทย์ไม้แข็ง วงปี่พาทย์ชาตรี วงปี่พาทย์นางหงส์ วงปี่พาทย์ดึกดาบรรพ์ วงปี่พาทย์มอญ วงปี่พาทย์ไม้นวม
  • 4.  243 วงปี่พาทย์เครื่องห้า 1. วงปี่พาทย์ ประกอบด้วยเครื่องตีเป็นหลัก มีเครื่องเป่าคือปี่เป็นประธาน มีเครื่องกากับจังหวะเป็น ส่วนประกอบ วงปี่พาทย์สามารถแยก ตามวิธีการ ผสมเครื่องดนตรีและจานวนเครื่องดนตรีได้อีกดังนี้ 1.1 วงปี่พาทย์ไม้แข็ง เป็นวงปี่พาทย์ธรรมดาสาหรับบรรเลงเพลงประกอบการแสดง และประโคมทั่วไป มี 3 ขนาด คือ 1.1.1 วงปี่พาทย์เครื่องห้า ประกอบด้วย ระนาดเอก ตะโพน ฆ้องวงใหญ่ กลองทัด ฉิ่ง ปี่ใน 1.1.2 วงปี่พาทย์เครื่องคู่ ประกอบด้วย ปี่ใน ปี่นอก ระนาดเอก ระนาดทุ้ม ฆ้องวงใหญ่ ฆ้องวงเล็ก ตะโพน กลองทัด ฉิ่ง ฉาบเล็ก 1.1.3 วงปี่พาทย์เครื่องใหญ่ประกอบด้วย ปี่ใน ปี่นอก ระนาดเอก ระนาดทุ้ม ระนาดเอก เหล็ก ระนาดทุ้มเหล็ก ฆ้องวงใหญ่ ฆ้องวงเล็ก ตะโพน กลองทัด ฉิ่ง ฉาบเล็ก ฉาบใหญ่ กรับ โหม่ง 1.2 วงปี่พาทย์ชาตรี เกิดขึ้นในสมัยอยุธยา ใช้บรรเลงประกอบ การแสดงละครชาตรี เรียกว่า ปี่พาทย์เครื่องห้าชนิดเบา ประกอบด้วย ปี่ใน ปี่นอก ฆ้องคู่ โทนชาตรี กลองชาตรี ฉิ่ง ฉาบเล็ก วงปี่พาทย์เครื่องคู่
  • 5.  244 1.3 วงปี่พาทย์นางหงส์ เป็นวงดนตรีที่มีเครื่องดนตรีเหมือนกับวงปี่พาทย์ธรรมดา แต่ ส่วนที่ต่างกันคือใช้ปี่ชวาแทนที่ปี่ในและปี่นอก ใช้กลองมลายูแทนตะโพนและกลองทัด เดิมที่เดียว ใช้กลองทัดควบคุมจังหวะหน้าทับเสียง “ครึ่ม ครึ่ม ครึ่ม ครึ่ม” วงปี่พาทย์นางหงส์ ใช้บรรเลงในงาน ศพเท่านั้น 1.4 วงปี่พาทย์มอญ เป็นวงปี่พาทย์ที่นาเอาเครื่องดนตรีมอญบางชิ้นมาผสมกับเครื่อง ดนตรีไทย เครื่องดนตรีมอญที่นามาผสม ได้แก่ ปี่มอญ ฆ้องมอญ ตะโพนมอญ และเปิงมางคอก วงปี่พาทย์มอญเดิมใช้ได้ในทุกโอกาส แต่ปัจจุบันนิยมใช้ในงานศพเพียงอย่างเดียววงปี่พาทย์มอญ มี 3 ขนาด คือ 1.4.1 วงปี่พาทย์มอญเครื่องห้า ประกอบด้วย ปี่มอญ ระนาดเอก ฉิ่ง ฆ้องมอญใหญ่ ตะโพน มอญ เปิงมางคอก 1.4.2 วงปี่พาทย์มอญเครื่องคู่ ประกอบด้วย ระนาดเอก ปี่มอญ ระนาดทุ้ม ฆ้องมอญวงใหญ่ ฆ้องมอญวงเล็ก ตะโพนมอญ เปิงมางคอก โหม่ง 3 ใบ ฉิ่ง ฉาบเล็ก 1.4.3 วงปี่พาทย์มอญเครื่องใหญ่ ประกอบด้วย ปี่มอญ ระนาดเอก ระนาดเอกเหล็ก ระนาดทุ้ม ระนาดทุ้มเหล็ก ฆ้องมอญวงใหญ่ ฆ้องมอญวงเล็ก กรับ ตะโพนมอญ เปิงมางคอก โหม่ง 3 ใบ ฉิ่ง ฉาบเล็ก ฉาบใหญ่ วงปี่พาทย์นางหงส์ วงปี่พาทย์มอญ
  • 6.  245 1.5 วงปี่พาทย์ไม้นวม เป็นวงปี่พาทย์ที่มีเครื่องดนตรีเหมือนกับวงปี่พาทย์ธรรมดาแต่มีส่วนที่ แตกต่างคือ ใช้ขลุ่ยเพียงออแทนปี่ เพิ่มซออู้เพื่อให้เสียงนุ่ม และใช้ไม้นวมตีระนาดเอกกับระนาดทุ้ม 1.6 วงปี่พาทย์ดึกดาบรรพ์ เป็นวงปี่พาทย์ที่สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอเจ้าฟ้ากรมพระยา นริศรานุวัติวงศ์ ทรงปรับปรุงขึ้นใหม่ ใช้บรรเลงประกอบการแสดงละครดึกดาบรรพ์ ซึ่งเจ้าพระยา เทเวศร์วงศ์วิวัฒน์(ม.ร.ว.หลาน กุญชร) คิดปรับปรุงใหม่ โดยได้แบบอย่างมาจาก การแสดงอุปรากร ของยุโรป การแสดงนี้ได้นามาแสดงรับแขกเมืองครั้งแรก เมื่อ พ.ศ. 2442 ที่โรงละคร ดึกดาบรรพ์ จึง ได้ชื่อว่า “ละครดึกดาบรรพ์” และวงปี่พาทย์จึงเรียกว่า “วงปี่พาทย์ ดึกดาบรรพ์” ไปด้วย ในปัจจุบัน วงปี่พาทย์ดึกดาบรรพ์ไม่ค่อยได้รับนิยมนัก ส่วนมากใช้วงปี่พาทย์ไม้นวมแทนในการบรรเลง บางครั้ง มีการร้องรับประกอบการแสดงด้วย เพลงที่นามาเล่นมักเป็นทานองช้าๆ นอกจากบรรเลงประกอบการแสดงละครดึกดาบรรพ์แล้วยังใช้บรรเลงตามงานมงคลต่างๆ ด้วย วงปี่พาทย์ ดึกดาบรรพ์ ประกอบด้วย ระนาดเอก ระนาดทุ้ม ระนาดทุ้มเหล็ก ฆ้องวงใหญ่ ขลุ่ยเพียงออ ขลุ่ยอู้ ซออู้ ตะโพน ฆ้องหุ่ย(มี 7 ลูก เรียงลาดับ 7 เสียง) กลองตะโพน 2 ลูก ฉิ่ง กลองแขก กรับ วงปี่พาทย์ไม้นวม
  • 7.  246 2. วงเครื่องสาย เป็นวงดนตรีที่ประกอบด้วยด้วยเครื่องสีและเครื่องดีดเป็นหลัก มีเครื่องเป่า และ เครื่องตีเป็นส่วนประกอบ วงเครื่องสายมี -3 ประเภท ดังนี้ 2.1 วงเครื่องสายไทย แบ่งเป็น 2 ขนาด คือ 1) วงเครื่องสายวงเล็ก ประกอบด้วย ซอด้วง ซออู้ จะเข้ ขลุ่ยเพียงออ โทน รามะนา ฉิ่ง แผนภูมิแสดงประเภทของวงเครื่องสาย วงเครื่องสายผสม วงเครื่องสาย วงเครื่องสายปี่ชวา วงเครื่องสายวงเล็ก วงเครื่องสายไทย
  • 8.  247 2) วงเครื่องสายเครื่องคู่ ประกอบด้วย ซอด้วง 2 คัน ซออู้ 2 คัน จะเข้ 2 ตัว ขลุ่ยเพียงออ ขลุ่ยหลิบ โทน รามะนา ฉิ่ง ฉาบเหล็ก 2.2 วงเครื่องสายผสม ในสมัยรัตนโกสินทร์ได้มีผู้นาเอาเครื่องดนตรีของต่างชาติเข้ามา บรรเลงกับวงเครื่องสาย ได้แก่ ไวโอลิน ออร์แกน ขิมหรือเปียโน เราจึงเรียกวงดนตรีชนิดนี้ว่า “วง เครื่องสายผสม” ถ้านาออร์แกนมาบรรเลงร่วมก็จะเรียกว่า “วงเครื่องสายผสมออร์แกน” หรือถ้านาขิมมา บรรเลงร่วมเรียกว่า วงเครื่องสายผสมขิม ซึ่งอาจผสม กับวงเครื่องสายวงเล็กหรือวงเครื่องสายเครื่องคู่ก็ได้ วงเครื่องสายผสม 2.3 วงเครื่องสายปี่ชวา เกิดขึ้นในสมัยรัชกาลที่ 4 เป็นการนาเอาปี่ชวาและกลองแขกมา ประสมกับวงเครื่องสาย ซึ่งในสมัยนั้นเรียกว่า “วงกลองแขกเครื่องใหญ่ ” วงเครื่องสายปี่ชวา ประกอบด้วย ปี่ชวา ซอด้วง ซออู้ จะเข้ ขลุ่ยหลีบ กลองแขก ฉิ่ง ฉาบเล็ก วงเครื่องสายเครื่องคู่
  • 9.  248 3. วงมโหรี คือ วงดนตรีที่ประกอบด้วยเครื่องดนตรีประเภทเครื่องดีด สี ตี เป่า เป็น การนาเอาเครื่องดนตรีที่ใช้ในวงปี่พาทย์และวงเครื่องสายมารวมกัน แต่มีการแก้ไขตัดทอน และเพิ่มเติม เครื่องดนตรีบางชนิดเล็กน้อย วงมโหรีมี 3 ขนาด คือ 3.1 วงมโหรีวงเล็ก ประกอบด้วย ซอสามสาย ซอด้วง ซออู้ จะเข้ ขลุ่ยเพียงออ ระนาด เอก ฆ้องวง(ฆ้องกลาง) โทน รามะนา ฉิ่ง 3.2 วงมโหรีเครื่องคู่ ประกอบด้วย ซอสามสาย ซอสามสายหลีบ ซอด้วง 2 คัน ซออู้ 2 คัน จะเข้ 2 ตัว ขลุ่ยเพียงออ ขลุ่ยหลีบ ระนาดเอก ระนาดทุ้ม ฆ้องวง(ฆ้องกลาง) ฆ้องวงเล็ก โทน รามะนา ฉิ่ง ฉาบเล็ก กรับ โหม่ง วงมโหรีเครื่องใหญ่ วงมโหรีวงเล็ก(เดี่ยว) แผนภูมิแสดงประเภทของวงมโหรี วงมโหรีเครื่องคู่ วงมโหรี วงมโหรีวงเล็ก
  • 10.  249 3.3 วงมโหรีเครื่องใหญ่ ประกอบด้วย ซอสามสาย ซอสามสายหลีบ ซอด้วง 2 คัน ซออู้ 2 คัน จะเข้ 2 ตัว ขลุ่ยเพียงออ ขลุ่ยหลีบ ระนาดเอก ระนาดทุ้ม ระนาดเอกเหล็ก ระนาด ทุ้มเหล็ก ฆ้องวง(ฆ้องกลาง) ฆ้องวงเล็ก โทน รามะนา ฉิ่ง ฉาบเล็ก กรับ โหม่ง การใช้วงดนตรีไทยประเภทต่างๆ 1. วงปี่พาทย์ เช่น วงปี่พาทย์ชาตรี ใช้แสดงละครชาตรีและหนังตะลุง วงปี่พาทย์ไม้นวม ใช้แสดงละคร วงปี่พาทย์นางหงส์ ใช้ในงานศพ วงปี่พาทย์มอญ ปัจจุบันนิยมใช้ในงานศพ 2. วงเครื่องสายใช้ในงานมงคล เช่น งานทาบุญวันเกิด งานมงคลสมรส 3. วงมโหรี ใช้ในงานมงคล เช่น งานแต่งงาน งานบวช สรุป การผสมวงดนตรีไทย เป็นการนาเอาเครื่องดนตรีไทยประเภทต่างๆ มาผสมวงกันบรรเลง ให้เสียงดนตรีเกิดความไพเราะ วงดนตรีไทยในปัจจุบัน มี 3 ประเภท คือ วงปี่พาทย์ วงเครื่องสาย และวงมโหรี การศึกษาวงดนตรีไทย เพื่อให้ผู้เรียนตระหนักถึงความสาคัญและอนุรักษ์ไว้ซึ่งความเป็น เอกลักษณ์ไทย ภูมิปัญญาไทย วงมโหรีเครื่องใหญ่
  • 11.  253 กิจกรรม เรื่อง รายงานการผสมวงดนตรีไทย http://wp.me/p3gHLQ-F เวลา 2 ชั่วโมง ผลการเรียนรู้ที่คาดหวัง มีความรู้ มีความเข้าใจการผสมวงดนตรีไทย วัสดุอุปกรณ์ 1. สมุดจดงาน 2. ใบความรู้ เรื่อง การผสมวงดนตรีไทย มอบหมายงาน 1. ให้นักเรียนแบ่งกลุ่มออกเป็น 3 กลุ่ม ตัวแทนกลุ่มรับเอกสารประกอบการเรียน เรื่อง การผสมวงดนตรีไทย แล้วจับสลากหัวข้อรายงาน ดังนี้ - วงปี่พาทย์ - วงเครื่องสาย - วงมโหรี 2. ให้ศึกษาค้นคว้า อภิปราย สรุปความรู้ แล้วส่งตัวแทนรายงานหน้าชั้นเรียน เรื่อง การผสมวงดนตรีไทย ตามหัวข้อที่กลุ่มรับผิดชอบ
  • 12.  254 ขั้นตอนการปฏิบัติ 1. ให้นักเรียนดูวิดีทัศน์การแสดงวงดนตรีไทยประเภทต่างๆ 2. ให้นักเรียนแบ่งกลุ่ม ออกเป็น 3 กลุ่ม โดยใช้กระบวนการกลุ่มในการทางาน ศึกษาใบความรู้ เรื่อง การผสมวงดนตรีไทย แล้วส่งตัวแทนจับสลากหัวข้อรายงาน 3. ให้นักเรียนแต่ละกลุ่มศึกษาค้นคว้าอภิปราย สรุปความรู้จากใบความรู้เรื่องการผสมวงดนตรีไทย 4. ส่งตัวแทนกลุ่มรายงานหน้าชั้นเรียน เรื่อง การผสมวงดนตรีไทย ตามหัวข้อที่กลุ่มรับผิดชอบ 5. นักเรียนและครูร่วมกันสรุป เรื่อง การผสมวงดนตรีไทย 6. ให้นักเรียนจดบันทึกความรู้ลงในสมุดจดงาน
  • 13.  255 แนวการรายงานกลุ่มที่ 1 เรื่อง วงปี่พาทย์ วงปี่พาทย์ วงปี่พาทย์ ประกอบด้วยเครื่องตีเป็นหลัก มีเครื่องเป่าคือปี่เป็นประธาน มีเครื่องกากับจังหวะ เป็นส่วนประกอบ วงปี่พาทย์สามารถแยกตามวิธีการผสมวงและจานวนเครื่องดนตรีได้อีก ได้แก่ 1. วงปี่พาทย์ไม้แข็ง เป็นวงปี่พาทย์ธรรมดาสาหรับบรรเลงเพลงประกอบการแสดงและ ประโคมทั่วไป มี 3 ขนาด คือ 1.1. วงปี่พาทย์เครื่องห้า ประกอบด้วย ปี่ใน ระนาดเอก ตะโพน ฆ้องวงใหญ่ กลองทัด ฉิ่ง 1.2 วงปี่พาทย์เครื่องคู่ ประกอบด้วย ปี่ใน ปี่นอก ระนาดเอก ระนาดทุ้ม ฆ้องวงใหญ่ ฆ้องวงเล็ก ตะโพน กลองทัด ฉิ่ง ฉาบเล็ก 1.3 วงปี่พาทย์เครื่องใหญ่ ประกอบด้วย ปี่ใน ปี่นอก ระนาดเอก ระนาดทุ้ม ระนาด เอกเหล็ก ฆ้องวงเล็ก ฆ้องวงใหญ่ ตะโพน กลองทัด ฉิ่ง ฉาบเล็ก ฉาบใหญ่ กรับ โหม่ง 2. วงปี่พาทย์นางหงส์ เป็นวงดนตรีที่มีเครื่องดนตรีเหมือนกับวงปี่พาทย์ธรรมดา แต่ ส่วนที่ต่างกันคือใช้ปี่ชวาแทนที่ปี่ในและปี่นอก ใช้กลองมลายูแทนตะโพนและกลองทัด เดิมทีเดียวใช้ กลองทัดควบคุมจังหวะหน้าทับเสียง “ครึ่ม ครึ่ม ครึ่ม ครึ่ม” วงปี่พาทย์นางหงส์ ใช้บรรเลงในงานศพ เท่านั้น 3. วงปี่พาทย์ชาตรี เกิดขึ้นในสมัยอยุธยา ใช้บรรเลงประกอบการแสดงละครชาตรี เรียกว่า ปี่พาทย์เครื่องห้าและหนังตะลุง ประกอบด้วย ปี่ใน ปี่นอก ฆ้องคู่ โทนชาตรี กลองชาตรี ฉิ่ง ฉาบเล็ก 4. วงปี่พาทย์มอญ เป็นวงปี่พาทย์ที่นาเอาเครื่องดนตรีมอญบางชิ้นมาผสมกับ เครื่องดนตรี ไทย เครื่องดนตรีมอญที่นามาผสม ได้แก่ ปี่มอญ ฆ้องมอญ ตะโพนมอญ และเปิงมางคอก วงปี่พาทย์มอญ เดิมใช้ได้ในทุกโอกาส แต่ปัจจุบันใช้ในงานศพเพียงอย่างเดียว วงปี่พาทย์มอญ มี 3 ขนาด คือ 4.1 วงปี่พาทย์มอญเครื่องห้า ประกอบด้วย ปี่มอญ ระนาดเอก ฉิ่ง ฆ้องมอญใหญ่ ตะโพนมอญ เปิงมางคอก เฉลยกิจกรรม เรื่อง รายงานการผสมวงดนตรีไทย
  • 14.  256 4.2 วงปี่พาทย์มอญเครื่องคู่ ประกอบด้วย ระนาดเอก ปี่มอญ ระนาดทุ้ม ฆ้องมอญวง ใหญ่ ฆ้องมอญวงเล็ก ตะโพนมอญ เปิงมางคอก โหม่ง 3 ใบ ฉิ่ง ฉาบเล็ก 4.3 วงปี่พาทย์มอญเครื่องใหญ่ ประกอบด้วย ปี่มอญ ระนาดเอก ระนาดเอกเหล็ก ระนาดทุ้ม ระนาดทุ้มเหล็ก ฆ้องมอญวงใหญ่ ฆ้องมอญวงเล็ก กรับตะโพนมอญ เปิงมางคอก โหม่ง 3 ใบ ฉิ่ง ฉาบเล็ก ฉาบใหญ่ 5. วงปี่พาทย์ไม้นวม เป็นวงปี่พาทย์ที่มีเครื่องดนตรีเหมือนกับ วงปี่พาทย์ธรรมดาแต่มีส่วนที่แตกต่าง คือ ใช้ขลุ่ยเพียงออแทนปี่ เพิ่มซออู้เพื่อให้เสียงนุ่ม และ ใช้ไม้นวม ตีระนาดเอกกับระนาดทุ้ม ใช้บรรเลงประกอบการแสดงละคร 6. วงปี่พาทย์ดึกดาบรรพ์ เป็นวงปี่พาทย์ที่สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอเจ้าฟ้ากรมพระยา นริศรานุวัติวงศ์ ทรงปรับปรุงขึ้นใหม่ ใช้บรรเลงประกอบการแสดงละครดึกดาบรรพ์ ซึ่งเจ้าพระยา เทเวศร์วงศ์วิวัฒน์(ม.ร.ว.หลาน กุญชร) คิดปรับปรุงใหม่ โดยได้แบบอย่างมาจากการแสดงอุปรากรของ ยุโรป ในปัจจุบันวงปี่พาทย์วงปี่พาทย์ดึกดาบรรพ์ไม่นิยม จะใช้วงปี่พาทย์ไม้นวมแทน วงปี่พาทย์ดึกดา บรรพ์ ประกอบด้วย ระนาดเอก ระนาดทุ้ม ระนาดทุ้มเหล็ก ฆ้องวงใหญ่ ขลุ่ยเพียงออ ขลุ่ยอู้ ซออู้ ตะโพน ฆ้องหุ่ย กลองตะโพน ฉิ่ง กลองแขก กรับ แนวการรายงานกลุ่มที่ 2 เรื่อง วงเครื่องสาย วงเครื่องสาย วงเครื่องสาย เป็นวงดนตรีที่ประกอบด้วยด้วยเครื่องสีและเครื่องดีดเป็นหลัก มีเครื่องเป่า และ เครื่องตีเป็นส่วนประกอบ ใช้ในงานมงคลต่างๆ เช่น งานทาบุญวันเกิด งานมงคลสมรส วง เครื่องสายแบ่ง เป็น วงเครื่องสายไทย คือวงเครื่องสายที่ประกอบด้วยเครื่องดนตรีประเภท ที่มีเครื่องสาย เช่น ซอ ด้วง ซออู้ จะเข้ และเครื่องเป่า คือขลุ่ย เพื่อให้เกิด ความไพเราะ ยังมีเครื่องกากับจังหวะ ได้แก่ โทน รามะนา ฉิ่ง และฉาบ มี 2 ขนาด คือ 1. วงเครื่องสายวงเล็ก ประกอบด้วย ซอด้วง ซออู้ จะเข้ ขลุ่ยเพียงออโทน รามะนา ฉิ่ง 2. วงเครื่องสายเครื่องคู่ ประกอบด้วย ซอด้วง 2 คัน ซออู้ 2 คัน โทน จะเข้ 2 ตัว ขลุ่ย เพียงออ ขลุ่ยหลีบ รามะนา ฉิ่ง ฉาบเหล็ก นอกจากนี้วงเครื่องสายยังแบ่งได้ ดังนี้ วงเครื่องสายผสม ในสมัยรัตนโกสินทร์ได้มีผู้นาเอาเครื่องดนตรี ของต่างชาติเข้ามาบรรเลงกับ วงเครื่องสาย ได้แก่ ไวโอลิน ออร์แกน ขิมหรือเปียโน เราจึงเรียกวงดนตรีชนิดนี้ว่า “วงเครื่องสาย ผสม” ถ้านาออร์แกนมาบรรเลงร่วมก็จะเรียกว่า “วงเครื่องสายผสมออร์แกน” หรือถ้านาขิมมาบรรเลง เรียกว่า “วงเครื่องสายผสมขิม” ซึ่งอาจผสมกับวงเครื่องสายวงเล็กหรือวงเครื่องสายเครื่องคู่ก็ได้
  • 15.  257 วงเครื่องสายปี่ชวา เกิดขึ้นในสมัยรัชกาลที่ 4 เป็นการนาเอาปี่ชวา และกลองแขกมาประสม กับวงเครื่องสาย ซึ่งในสมัยนั้นเรียกว่า “วงกลองแขกเครื่องใหญ่ ” วงเครื่องสายปี่ชวา ประกอบด้วย ปี่ชวา ซอด้วง ซออู้ จะเข้ ขลุ่ยหลีบ กลองแขก ฉิ่ง ฉาบเล็ก แนวการรายงานกลุ่มที่ 3 เรื่อง วงมโหรี วงมโหรี วงมโหรี คือ วงดนตรีที่ประกอบด้วยเครื่องดนตรีประเภทเครื่องดีด สี ตี เป่า เป็นการนาเอา วงปี่พาทย์และวงเครื่องสายมารวมกัน แต่มีการแก้ไขตัดทอนและเพิ่มเติมเครื่องดนตรีบางชนิดเล็กน้อย ปัจจุบันวงมโหรีมี 3 ขนาด คือ 1. วงมโหรีวงเล็ก ประกอบด้วย ซอสามสาย ซอด้วง ซออู้ จะเข้ ขลุ่ยเพียงออ ระนาดเอก ฆ้องวง โทน รามะนา ฉิ่ง 2. วงมโหรีเครื่องคู่ ประกอบด้วย ซอสามสาย ซอสามสายหลีบ ซอด้วง 2 คัน ซออู้ 2 คัน จะเข้ 2 ตัว ขลุ่ยเพียงออ ขลุ่ยหลีบ ระนาดเอก ระนาดทุ้ม ฆ้องวง ฆ้องวงเล็ก โทน รามะนา ฉิ่ง ฉาบ เล็ก กรับ โหม่ง 3. วงมโหรีเครื่องใหญ่ ประกอบด้วย ซอสามสาย ซอสามสายหลีบ ซอด้วง 2 คัน ซออู้ 2 คัน จะเข้ 2 ตัว ขลุ่ยเพียงออ ขลุ่ยหลีบ ระนาดเอก ระนาดทุ้ม ระนาดเอกเหล็ก ระนาดทุ้ม เหล็ก ฆ้องวง ฆ้องวงเล็ก โทน รามะนา ฉิ่ง ฉาบเล็ก กรับ โหม่ง
  • 16. 250 เวลา 1 ชั่วโมง ผลการเรียนรู้ที่คาดหวัง มีความรู้ มีความเข้าใจการผสมวงดนตรีไทย วัสดุอุปกรณ์ 1. กระดาษ ขนาด A4 จานวน 1 แผ่น 2. สีไม้ หรือสีอื่นๆ 3. ใบความรู้ เรื่อง การผสมวงดนตรีไทย มอบหมายงาน 1. ให้นักเรียนแบ่งกลุ่ม กลุ่มละ 6-7 คน แต่ละกลุ่มเขียนแผนภูมิรูปภาพการผสมวงดนตรี ไทย ตามหัวข้อที่จับสลากได้ ลงบนกระดาษ ขนาด A4 แล้วระบายสีให้สวยงาม หัวข้อ จับสลากดังนี้ - วงปี่พาทย์ เช่น วงปี่พาทย์เครื่องห้า เครื่องคู่ เครื่องใหญ่ - วงเครื่องสาย เช่น วงเครื่องสายเครื่องเล็ก - วงมโหรี เช่น วงมโหรีเครื่องเดี่ยว วงมโหรีเครื่องคู่ วงมโหรีเครื่องใหญ่ 2. ส่งงานเพื่อประเมิน กิจกรรม เรื่อง เขียนแผนภูมิรูปภาพการผสมวงดนตรีไทย
  • 17. 251 ขั้นตอนการปฏิบัติ 1. ให้นักเรียนดูรูปภาพวงดนตรีไทยประเภทต่างๆ 2. ให้นักเรียนแบ่งกลุ่ม กลุ่มละ 6-7 คน ใช้กระบวนการกลุ่มในการทางาน ศึกษาใบความรู้ เรื่อง การผสมวงดนตรีไทย แล้วจับสลากหัวข้อที่ปฏิบัติงาน 3. ให้นักเรียนแต่ละกลุ่มเขียนแผนภูมิรูปภาพเครื่องดนตรีไทยในวงดนตรีไทย ประเภทต่างๆ ตามหัวข้อที่จับสลากได้ ลงบนกระดาษ ขนาด A4 4. ใช้สีไม้ หรือสีชนิดอื่นตกแต่งภาพให้สวยงาม 5. ตรวจสอบความถูกต้อง 6. ส่งงานเพื่อประเมิน เขียนภาพการผสมวงดนตรีไทย “วงมโหรี ภาพแสดงเขียนแผนภูมิรูปภาพเครื่องดนตรีไทยในวงดนตรีไทย
  • 18. 252 เฉลยกิจกรรม เรื่อง เขียนแผนภูมิรูปภาพการผสมวงดนตรีไทย ฉิ่ง ฉาบ ซอด้วง ขลุ่ยเพียงออ ซออู้ จะเข้ โทน รามะนา ตัวอย่าง ภาพเขียนแผนภูมิรูปภาพ การผสมวงดนตรีไทยของวงเครื่องสายวงเล็ก
  • 19.  258 กระดาษคาตอบแบบทดสอบก่อนเรียน รายวิชา ศ 33103 ศิลปะพื้นฐาน ชื่อ ………………….…….….........ชั้น ม.3/…. เลขที่ …... คำสั่ง ให้นักเรียนเลือกคำตอบถูกที่สุดเพียงข้อเดียว โดยทำเครื่องหมำย  ลงในกระดำษคำตอบ ข้อ ก ข ค ง 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10
  • 20.  259 แบบทดสอบก่อนเรียน หน่วยการเรียนรู้ที่ 8 คาสั่ง ให้นักเรียนเลือกคาตอบถูกที่สุดเพียงข้อเดียว โดยทาเครื่องหมาย × ลงในกระดาษคาตอบ (10 คะแนน) 1. ข้อใดเป็นชนิดของวงดนตรีไทยในปัจจุบัน ก. วงปี่พาทย์ วงเครื่องสาย วงมโหรี ข. วงมโหรี วงปี่พาทย์ชาตรี วงเครื่องสาย ค. วงปี่พาทย์เครื่องใหญ่ วงมโหรี วงปี่พาทย์ชาตรี ง. วงปี่พาทย์เครื่องห้า วงมโหรี วงปี่พาทย์นางหงส์ 2. วงปี่พาทย์ มีเครื่องดนตรีอะไรเป็นประธาน ก. ปี่ ข. กลองทัด ค. ระนาดทุ้ม ง. ฆ้องวงใหญ่ 3. ข้อใดเป็นเครื่องดนตรีไทยที่ร่วมอยู่ในวงปี่พาทย์เครื่องห้า ก. ระนาดเอก ตะโพน กลองทัด ปี่ใน ฆ้องวงเล็ก ข. ระนาดเอก ฆ้องวงใหญ่ ตะโพน ฉิ่ง ระนาดทุ้ม ค. ระนาดเอก ฆ้องวงใหญ่ ตะโพน กลองทัด ฉิ่ง ฉาบ ง. ระนาดเอก ฆ้องวงใหญ่ ตะโพน กลองทัด ฉิ่ง ปี่ใน 4. ข้อใดเป็นวงดนตรีไทยที่ประกอบด้วย เครื่องดีด สี ตี เป่า ก. วงมโหรี ข. วงปี่พาทย์ ค. วงเครื่องสาย ง. วงเครื่องสายผสม 5. วงเครื่องสายของไทยประกอบด้วยเครื่องดนตรีประเภทอะไรเป็นหลัก ก. ปะเภทเครื่องตี และเครื่องเป่า ข. ประเภทเครื่องตี และเครื่องสี ค. ประเภทเครื่องสี และเครื่องดีด ง. ประเภทเครื่องดีด และเครื่องตี
  • 21.  260 6. วงดนตรีไทยชนิดใดเป็นการนาเอาเครื่องดนตรีที่ใช้ในวงปี่พาทย์ และวงเครื่องสาย มาบรรเลงร่วมกัน ก. วงมโหรี ข. วงสะล้อ ซอ ซึง ค. วงเครื่องสายผสม ง. วงปี่พาทย์ดึกดาบรรพ์ 7. ถ้านักเรียนจัดงานทาบุญขึ้นบ้านใหม่ จะใช้วงปี่พาทย์อะไรบรรเลง ก. วงปี่พาทย์มอญ ข. วงปี่พาทย์ไม้แข็ง ค. วงปี่พาทย์นางหงส์ ง. วงปี่พาทย์ดึกดาบรรพ์ 8. ปัจจุบันนิยมใช้วงดนตรีใดบรรเลงในงานศพ ก. วงมโหรี ข. วงปี่พาทย์มอญ ค. วงปี่พาทย์ไม้นวม ง. วงปี่พาทย์ดึกดาบรรพ์ 9. การขับร้องเพลงไทยใช้เครื่องดนตรีประเภทใดให้จังหวะ ก. เครื่องตี ข. เครื่องสี ค. เครื่องดีด ง. เครื่องเป่า 10. การขับร้องเพลงไทยต่างกับเพลงสากล อย่างไร ก. การขับร้องเพลงไทยไม่มีเสียงเอื้อน แต่เพลงสากลมีเสียงเอื้อน ข. การขับร้องเพลงไทยไม่มีเสียงสูงต่า แต่เพลงสากลมีเสียงสูงต่า ค. การขับร้องเพลงไทยมีเสียงสูงต่า แต่เพลงสากลไม่มีเสียงสูงต่า ง. การขับร้องเพลงไทยมีเสียงเอื้อนเพื่อให้ครบทานองเพลง แต่เพลงสากลมักไม่มีเสียงเอื้อน