SlideShare a Scribd company logo
1 of 27
Download to read offline
โครงการประยุกต์ใช้ดาวเทียมสาหรับการเฝ้าระวัง
  และระบบเตือนภัยดินถล่ม ภายใต้ความร่วมมือ
     องค์การความร่วมมือด้านอวกาศแห่งเอเชีย
                                    แปซิฟิก

                                         สรุปผลการดาเนินโครงการ
                                                  16 ธันวาคม 2553
โดย
      รศ.ดร.มงคล รักษาพัชรงศ์
       คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
บทนา
 วัตถุประสงค์
 การดาเนินกิจกรรมด้านวิศวกรรมดินถล่ม
 การดาเนินกิจกรรมแนวทางการประยุกต์ใช้ข้อมูลดาวเทียม
       การคาดการณ์ปริมาณน้าฝน
       การประเมินความสูง
       การประเมินสิ่งปกคลุมดิน
 สรุป
 การให้บริการข้อมูลดาวเทียม SMMS และดาวเทียมอื่นๆ ภายใต้
 โครงการแบ่งปันข้อมูลของ APSCO
วัตถุประสงค์ของโครงการ
เพื่อพัฒนาความร่วมมือภายใต้ความร่วมมือด้านอวกาศแห่งเอเชีย
 แปซิฟิก ในการใช้ข้อมูลร่วมกัน (Spatial Data Sharing) ในการ
 บริหารจัดการธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม ตลอดจนเพื่อประยุกต์ใช้
 ดาวเทียมสาหรับการเฝ้าระวังและระบบเตือนภัย
ศึกษาวิจัยการประยุกต์ใช้ภาพถ่ายดาวเทียมเพื่อประเมินความเสี่ยง
 ต่อการเกิดภาวะดินถล่มในพื้นที่เสี่ยงภัย เพื่อประโยชน์ในการพัฒนา
 ระบบแจ้งเตือนภัย
ขอบเขตการดาเนินงาน
          ศึกษาแนวทางการประมวลผลข้อมูลดาวเทียมเพื่อสนับสนุนการจัดทา
          แบบจาลองประเมินโอกาสการเกิดดินถล่ม
          • การประเมินปริมาณน้าฝนจากข้อมูลดาวเทียมอุตุนิยมวิทยา
          • การจัดทาข้อมูลความสูงของพื้นที่จากข้อมูล G-DEM


          ศึกษาบัจจัยที่ใช้ในการวิเคราะห์ มาประมวลผลสร้างเป็นแบบจาลองทาง
          คณิตศาสตร์ (Model)
          • สารวจข้อมูลจากพื้นที่เสี่ยงภัยดินถล่ม อย่างน้อย 2 จุด เพื่อจาแนกพื้นที่ที่มีโอกาศเกิด
            ดินถล่ม
          • ศึกษาปัจจัยที่ใช้วิเคราะห์พื้นที่เสี่ยงภัย เช่น พืชพรรฒ สภาพการใช้ดิน ลักษณะดิน
            ความลาดชัน ปริมาณน้าฝน รวมถึงใช้ข้อมูลสารสนเทศภูมิศาสตร์ มาประกอบใช้ในการ
            วิเคราะห์พื้นที่เสี่ยงต่อดินถล่ม




          จัดสัมมนา/ฝึกอบรมเพื่อวิภาคงานศึกษาและถ่ายทอดความรู้งานวิจัย
ผลการดาเนินกิจกรรมด้านแนวทางการประยุกต์ใช้ข้อมูล
ดาวเทียม
 จากการศึกษาด้านวิศวกรรมดินถล่มพบว่า ปริมาณน้าฝนเป็นปัจจัย
 หลักที่สามารถกระตุ้นให้เกิดดินถล่ม และยังมีปัจจัยที่เกิดจากความ
 ลาดชันของพื้นที่อีกด้วย
 สามารถประเมินค่าปริมาณน้าฝนที่คาดว่าจะตก (rainfall
 estimate) จากข้อมูลดาวเทียม FY-2D/E โดยให้ค่าความแม่นยา R2
 ในระดับที่น่าพอใจ (0.8-0.9 ขึ้นอยู่กับพื้นที่ศึกษา)
 สามารถนาข้อมูล G-DEM มาปรับใช้กับภาพถ่ายดาวเทียม เพื่อ
 จัดทาแผนที่ความสูงของพื้นที่ เพื่อนามาจัดทาเป็นผลิตภัณฑ์ข้อมูล
 ความชันของพื้นที่เสี่ยงภัยพพิบัติในอนาคต
การคาดการณ์ปริมาณน้าฝน
    ได้มีการศึกษาพฤติกรรมการเกิดปริมาณน้าฝนในพื้นที่ภาคเหนือ
    ตอนล่าง และข้อมูลจากกรมอุตุนิยมวิทยาและกรมชลประทาน มา
    ช่วยในการเริ่มต้นสร้างสมการความสัมพันธ์ จานวน 129 สถานี




     มาตรวัดของกรมอุตุนิยมวิทยา     มาตรวัดของกรมชลประทาน
ซอฟต์แวร์ที่พัฒนาขึ้นเพื่อใช้คาดการณ์ปริมาณน้าฝน
(KU-MET)
การคาดการณ์ปริมาณน้าฝน




R2 ยังคงมีค่าต่าเกินกว่าที่จะนาไปใช้ได้ เนื่องจาก
ลักษณะของการเกิดฝนไม่ได้มีเพียงแบบเดียว
การคาดการณ์ปริมาณน้าฝน
 อย่างไรก็ตามปริมาณฝนที่เกิดขึ้นบ่อยครั้งไม่ได้เกิดจากเมฆ
 ประเภท Cumulonimbus (Cb) เพียงอย่างเดียว
 แต่อาจเกิดจากเมฆที่อยู่ระดับต่า ซึ่งมีอุณหภูมิยอดเมฆ
 ค่อนข้างสูง (มากกว่า 253 K) หรือที่เรียกกันว่าเมฆอุ่น (warm
 cloud) เช่น Stratocumulus
ผลการคาดการณ์ปริมาณน้าฝนที่เกิดจากเมฆ
CUMULONIMBUS
การใช้ข้อมูล G-DEM เพื่อจัดสร้างแผนที่ความสูง

                                ใช้ G-DEM ขนาดความละเอียด
                                30 เมตร มาประยุกต์ใช้ร่วมกับ
                                ภาพถ่ายดาวเทียม SMMS ด้วย
                                ซอฟต์แวร์ Global Mapper




        ลักษณะความสูงจะอยู่
ในช่วง 300-2,500 เมตรจาก
ระดับน้าทะเล และลักษณะของ
พื้นที่เป็นหุบเขา
ผลการดาเนินงานด้านวิศวกรรมดินถล่ม
   นาเสนอโดย ผศ.ดร. สุทธิศักดิ์ ศรลัมภ์ ในช่วงบ่าย
สรุป
    การประเมินปริมาณน้าฝน พบว่าไม่สามารถนาโมเดลที่มี
    การศึกษาในอดีตมาใช้ประเมินปริมาณน้าฝนได้ในทุกพื้นที่
        จาเป็นต้องมีการศึกษาลักษณะและพฤติกรรมของการเกิดฝน
        ควบคู่กัน เพื่อให้เกิดความถูกต้องมากยิ่งขึ้น
    การประเมินค่าความสูง เป็นการดาเนินการโดยใช้ข้อมูล G-
    DEM ซึ่งมีความเหมาะสมกับข้อมูลที่ใช้งาน
     ทาให้สามารถระบุความสูงของพื้นที่ และลักษณะภูมิประเทศใน
        เบื้องต้น
ตารางคุณลักษณะดาวเทียม HJ-1A/B/C ภายใต้องค์การ
APSCO
                                     Spectral     Spatial                       Side
                             Band                                                        Repetition     Data rate
Satellite      Payload                range     resolution     Swath (km)     looking
                              no.                                                 o     cycle (days)     (Mbps)
                                       (µm)        (m)                           ()
                              1     0.43-0.52       30
                              2     0.52-0.60       30
             CCD camera                                            700           -           4
                              3     0.63-0.69       30
 HJ-1A                                                                                                     120
                              4     0.76-0.90       30
            Hyperspectral
                             115    0.45-0.95       100            50          ±30           4
               Imager
                              1     0.43-0.52        30
                              2     0.52-0.60        30
             CCD camera                                            700           -           4
                              3     0.63-0.69        30
                              4     0.76-0.90        30
 HJ-1B                                                                                                     60
                              5     0.75-1.10        150
             Infrared
                              6     1.55-1.75        150
            Multispectral                                          720           -           4
                              7     3.50-3.90        150
              Camera
                              8     10.5-12.5        300
                                                20 (4 looks,
              Synthetic                         scan mode)                                                160x2
                                                                 100/40
 HJ-1C      Aperture Radar    1      S-band       5 (single                   31/44.5        4             (8:3
                                                               (scan/strip)
                (SAR)                            look, strip                                           compression)
                                                   mode)
ตัวอย่างประยุกต์การใช้ข้อมูล SAR-การประเมินการเคลื่อนตัว
ของพื้นดินจากแผ่นดินไหว
ตัวอย่างประยุกต์การใช้ข้อมูล SAR-การประเมินการเคลื่อน
ตัวของพื้นดินบริเวณภูเขาไฟเอทน่า อิตาลี
ตัวอย่างประยุกต์การใช้ข้อมูล SAR-การประเมินการเคลื่อน
ตัวของโครงสร้างของดิน
ศูนย์วิจัยและบริหารจัดการข้อมูลดาวเทียม
 ให้บริการข้อมูลดาวเทียมอุตุนิยมวิทยาและดาวเทียมสารวจโลก ที่
 ผลิตภัณฑ์ระดับ 2 โดยไม่คิดค่าใช้จ่าย (ผ่านเครือข่ายอินเตอร์เน็ต)
 ปรับแก้ข้อมูลดาวเทียมในเชิงแสงและเชิงพื้นที่
 ทาการวิจัยเพื่อจัดทาผลิตภัณฑ์จากข้อมูลดาวเทียมอุตุนิยมวิทยา
 และดาวเทียมสารวจโลก (Optical/SAR) เช่น
       ประเมินพื้นที่เพาะปลูก
       พื้นที่เสี่ยงภัยพิบัติดินถล่ม
       การตรวจจับการเปลี่ยนแปลงของพื้นที่ ฯลฯ
   ชั้น 9 อาคารวิศวกรรมโยธา คณะวิศวกรรมศาสตร์ เกษตรศาสตร์
ตัวอย่างผลิตภัณฑ์
Thank You for Your Attention
         Question??




              facebook.com/SMMSThailand

More Related Content

What's hot

อุบัติเหตุทางนิวเคลียร์และแผนระงับภัย
อุบัติเหตุทางนิวเคลียร์และแผนระงับภัยอุบัติเหตุทางนิวเคลียร์และแผนระงับภัย
อุบัติเหตุทางนิวเคลียร์และแผนระงับภัยOffice of Atoms for Peace
 
บทที่ 3 การวัดระยะทาง 2
บทที่ 3 การวัดระยะทาง 2บทที่ 3 การวัดระยะทาง 2
บทที่ 3 การวัดระยะทาง 2Chattichai
 
กล้องจุลทรรศน์
กล้องจุลทรรศน์กล้องจุลทรรศน์
กล้องจุลทรรศน์pongrawee
 
ชีววิทยา เรื่อง กล้องจุลทรรศน์ " Microscope"
ชีววิทยา เรื่อง กล้องจุลทรรศน์ " Microscope"ชีววิทยา เรื่อง กล้องจุลทรรศน์ " Microscope"
ชีววิทยา เรื่อง กล้องจุลทรรศน์ " Microscope"kasidid20309
 
กล้องจุลทรรศน์ (Microscope)
กล้องจุลทรรศน์ (Microscope)กล้องจุลทรรศน์ (Microscope)
กล้องจุลทรรศน์ (Microscope)Mew' Cifer
 
กากกัมมันตรังสีจากโรงไฟฟ้านิวเคลียร์
กากกัมมันตรังสีจากโรงไฟฟ้านิวเคลียร์กากกัมมันตรังสีจากโรงไฟฟ้านิวเคลียร์
กากกัมมันตรังสีจากโรงไฟฟ้านิวเคลียร์Office of Atoms for Peace
 

What's hot (11)

อุบัติเหตุทางนิวเคลียร์และแผนระงับภัย
อุบัติเหตุทางนิวเคลียร์และแผนระงับภัยอุบัติเหตุทางนิวเคลียร์และแผนระงับภัย
อุบัติเหตุทางนิวเคลียร์และแผนระงับภัย
 
แฟลช
แฟลชแฟลช
แฟลช
 
10วิธีแก้ปัญหาในการใช้กล้องดิจิตอล
10วิธีแก้ปัญหาในการใช้กล้องดิจิตอล10วิธีแก้ปัญหาในการใช้กล้องดิจิตอล
10วิธีแก้ปัญหาในการใช้กล้องดิจิตอล
 
Canon Eos1000d Thai
Canon Eos1000d ThaiCanon Eos1000d Thai
Canon Eos1000d Thai
 
1
 1  1
1
 
บทที่ 3 การวัดระยะทาง 2
บทที่ 3 การวัดระยะทาง 2บทที่ 3 การวัดระยะทาง 2
บทที่ 3 การวัดระยะทาง 2
 
กล้องจุลทรรศน์
กล้องจุลทรรศน์กล้องจุลทรรศน์
กล้องจุลทรรศน์
 
ชีววิทยา เรื่อง กล้องจุลทรรศน์ " Microscope"
ชีววิทยา เรื่อง กล้องจุลทรรศน์ " Microscope"ชีววิทยา เรื่อง กล้องจุลทรรศน์ " Microscope"
ชีววิทยา เรื่อง กล้องจุลทรรศน์ " Microscope"
 
กล้องจุลทรรศน์ (Microscope)
กล้องจุลทรรศน์ (Microscope)กล้องจุลทรรศน์ (Microscope)
กล้องจุลทรรศน์ (Microscope)
 
Electron microscope
Electron microscopeElectron microscope
Electron microscope
 
กากกัมมันตรังสีจากโรงไฟฟ้านิวเคลียร์
กากกัมมันตรังสีจากโรงไฟฟ้านิวเคลียร์กากกัมมันตรังสีจากโรงไฟฟ้านิวเคลียร์
กากกัมมันตรังสีจากโรงไฟฟ้านิวเคลียร์
 

Viewers also liked

ภาพรวมของการพัฒนาการบริหารจัดการภาครัฐ (New)
ภาพรวมของการพัฒนาการบริหารจัดการภาครัฐ (New)ภาพรวมของการพัฒนาการบริหารจัดการภาครัฐ (New)
ภาพรวมของการพัฒนาการบริหารจัดการภาครัฐ (New)M.L. Kamalasana
 
Galicia Calidade
Galicia CalidadeGalicia Calidade
Galicia CalidadeAntonio
 
คุณสมบัตินายทหารเรือไทย
คุณสมบัตินายทหารเรือไทยคุณสมบัตินายทหารเรือไทย
คุณสมบัตินายทหารเรือไทยM.L. Kamalasana
 
คู่มือการใช้งาน Narai uav ฉบับแก้ไข pdf.
คู่มือการใช้งาน  Narai uav ฉบับแก้ไข pdf.คู่มือการใช้งาน  Narai uav ฉบับแก้ไข pdf.
คู่มือการใช้งาน Narai uav ฉบับแก้ไข pdf.M.L. Kamalasana
 
SMMS 53 Spectrum Library
SMMS 53 Spectrum LibrarySMMS 53 Spectrum Library
SMMS 53 Spectrum LibrarySunt Uttayarath
 
เเผนที่ดินถล่ม 16 Dec 2010
เเผนที่ดินถล่ม 16  Dec 2010เเผนที่ดินถล่ม 16  Dec 2010
เเผนที่ดินถล่ม 16 Dec 2010Sunt Uttayarath
 
สรุปโครงการ APSCO 53
สรุปโครงการ APSCO 53สรุปโครงการ APSCO 53
สรุปโครงการ APSCO 53Sunt Uttayarath
 
แผนการสอน Illurtrator CS4 เรื่อง เครื่องมือ Blend Tool
แผนการสอน Illurtrator CS4 เรื่อง เครื่องมือ Blend Toolแผนการสอน Illurtrator CS4 เรื่อง เครื่องมือ Blend Tool
แผนการสอน Illurtrator CS4 เรื่อง เครื่องมือ Blend ToolOrasa Deethung
 
Bio Center@CPN
Bio Center@CPNBio Center@CPN
Bio Center@CPNpantapong
 
โครงการฝนหลวง
โครงการฝนหลวงโครงการฝนหลวง
โครงการฝนหลวงChutikan Mint
 
NIA PEA Conference 2016
NIA PEA Conference 2016NIA PEA Conference 2016
NIA PEA Conference 2016pantapong
 
Hyperspectral Imagery for Environmental Mapping and Monitoring
Hyperspectral Imagery for Environmental Mapping and MonitoringHyperspectral Imagery for Environmental Mapping and Monitoring
Hyperspectral Imagery for Environmental Mapping and Monitoring Dominique BUFFET
 
การใช้งาน Adobe photoshop cs5
การใช้งาน Adobe photoshop cs5การใช้งาน Adobe photoshop cs5
การใช้งาน Adobe photoshop cs5Rattapadol Gunhakoon
 
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับโปรแกรม Dreamweaver CS6
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับโปรแกรม Dreamweaver CS6ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับโปรแกรม Dreamweaver CS6
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับโปรแกรม Dreamweaver CS6Khon Kaen University
 

Viewers also liked (20)

ภาพรวมของการพัฒนาการบริหารจัดการภาครัฐ (New)
ภาพรวมของการพัฒนาการบริหารจัดการภาครัฐ (New)ภาพรวมของการพัฒนาการบริหารจัดการภาครัฐ (New)
ภาพรวมของการพัฒนาการบริหารจัดการภาครัฐ (New)
 
Galicia Calidade
Galicia CalidadeGalicia Calidade
Galicia Calidade
 
คุณสมบัตินายทหารเรือไทย
คุณสมบัตินายทหารเรือไทยคุณสมบัตินายทหารเรือไทย
คุณสมบัตินายทหารเรือไทย
 
คู่มือการใช้งาน Narai uav ฉบับแก้ไข pdf.
คู่มือการใช้งาน  Narai uav ฉบับแก้ไข pdf.คู่มือการใช้งาน  Narai uav ฉบับแก้ไข pdf.
คู่มือการใช้งาน Narai uav ฉบับแก้ไข pdf.
 
SMMS 53 Spectrum Library
SMMS 53 Spectrum LibrarySMMS 53 Spectrum Library
SMMS 53 Spectrum Library
 
Illustration
IllustrationIllustration
Illustration
 
เเผนที่ดินถล่ม 16 Dec 2010
เเผนที่ดินถล่ม 16  Dec 2010เเผนที่ดินถล่ม 16  Dec 2010
เเผนที่ดินถล่ม 16 Dec 2010
 
สรุปโครงการ APSCO 53
สรุปโครงการ APSCO 53สรุปโครงการ APSCO 53
สรุปโครงการ APSCO 53
 
SMMS ฝนหลวง
SMMS ฝนหลวงSMMS ฝนหลวง
SMMS ฝนหลวง
 
Drone Maker Workshop
Drone Maker Workshop Drone Maker Workshop
Drone Maker Workshop
 
Adobe illustrator cs6 basic workshop
Adobe illustrator cs6 basic workshopAdobe illustrator cs6 basic workshop
Adobe illustrator cs6 basic workshop
 
Unit1 2
Unit1 2Unit1 2
Unit1 2
 
แผนการสอน Illurtrator CS4 เรื่อง เครื่องมือ Blend Tool
แผนการสอน Illurtrator CS4 เรื่อง เครื่องมือ Blend Toolแผนการสอน Illurtrator CS4 เรื่อง เครื่องมือ Blend Tool
แผนการสอน Illurtrator CS4 เรื่อง เครื่องมือ Blend Tool
 
Bio Center@CPN
Bio Center@CPNBio Center@CPN
Bio Center@CPN
 
โครงการฝนหลวง
โครงการฝนหลวงโครงการฝนหลวง
โครงการฝนหลวง
 
NIA PEA Conference 2016
NIA PEA Conference 2016NIA PEA Conference 2016
NIA PEA Conference 2016
 
Hyperspectral Imagery for Environmental Mapping and Monitoring
Hyperspectral Imagery for Environmental Mapping and MonitoringHyperspectral Imagery for Environmental Mapping and Monitoring
Hyperspectral Imagery for Environmental Mapping and Monitoring
 
การใช้งาน Adobe photoshop cs5
การใช้งาน Adobe photoshop cs5การใช้งาน Adobe photoshop cs5
การใช้งาน Adobe photoshop cs5
 
การสร้างภาพพื้นหลัง
การสร้างภาพพื้นหลังการสร้างภาพพื้นหลัง
การสร้างภาพพื้นหลัง
 
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับโปรแกรม Dreamweaver CS6
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับโปรแกรม Dreamweaver CS6ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับโปรแกรม Dreamweaver CS6
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับโปรแกรม Dreamweaver CS6
 

More from Sunt Uttayarath

More from Sunt Uttayarath (6)

SMMS Application
SMMS ApplicationSMMS Application
SMMS Application
 
SMMS 53 R S Software
SMMS 53  R S  SoftwareSMMS 53  R S  Software
SMMS 53 R S Software
 
SMMS Rainfall
SMMS  RainfallSMMS  Rainfall
SMMS Rainfall
 
SMMS Landslide
SMMS  LandslideSMMS  Landslide
SMMS Landslide
 
ลักษณะดินถล่ม 16 Dec 2010
ลักษณะดินถล่ม 16  Dec 2010ลักษณะดินถล่ม 16  Dec 2010
ลักษณะดินถล่ม 16 Dec 2010
 
Presentation SMMS Application
Presentation SMMS ApplicationPresentation SMMS Application
Presentation SMMS Application
 

โครงการ Apsco 53