SlideShare a Scribd company logo
1 of 33
หน่วยการเรียนรู้ที่7 
บรรยากาศ 
(ตอนที่1)
บรรยากาศ (ตอนที่ 1) 
องค์ประกอบและ 
การแบ่งชั้นบรรยากาศ 
อุณหภูมิของอากาศ 
ความชื้นของอากาศ 
ความกดอากาศ
องค์ประกอบของบรรยากาศ
องค์ประกอบของบรรยากาศ 
บรรยากาศ หมายถึง ชั้นของแก๊สต่างๆ ที่ห่อหุ้มโลก มีความหนาประมาณ 500 
กิโลเมตร จากพื้นผิวโลก ซึ่งประกอบด้วยอากาศแห้ง ไอน้า และอนุภาคฝุ่นต่างๆ 
อากาศแห้ง 
เป็นองค์ประกอบหลักของบรรยากาศ ซึ่งประกอบด้วยแก๊สต่างๆ ดังนี้
ไอน้า 
• เกิดจากการระเหยของน้า ที่ผิวโลกและการคายน้า ของพืช 
• เป็นตัวการทา ให้เกิดปรากฏการณ์ต่างๆ ในบรรยากาศ เช่น เมฆ หมอก น้า ค้าง 
ฝน หิมะ เป็นต้น 
• บรรยากาศที่มีไอน้า ผสมอยู่ เรียกว่า อากาศชื้น 
• ถ้าอุณหภูมิสูง ไอน้า ในอากาศจะมีมาก แต่ถ้าอุณหภูมิต่า ไอน้า ในอากาศ จะ 
มีน้อย และถ้าอากาศไม่สามารถรับไอน้า ได้ เรียกว่า อากาศอมิ่ตวัด้วยไอน้า
เป็นของแข็งที่มีขนาดเล็กมาก โดยมีเส้นผ่านศูนย์กลาง 0.001 - 1,000 ไมครอน 
• อนุภาคที่เกิดจากกิจกรรมของมนุษย์ 
เช่น อนุภาคฝุ่นและควันจาก 
กระบวนการทางอุตสาหกรรมต่างๆ 
การเผาไหม้ เป็นต้น 
อนุภาคฝุ่นต่างๆ 
แบ่งออกเป็น 2 ชนิด ดังนี้ 
• อนุภาคฝุ่นที่เกิดขึ้นเองตามธรรมชาติ 
เช่น ผงฝุ่นจากภูเขาไฟ ไฟป่า 
ละอองเกสรพืช อนุภาคเกลือจาก 
ฟองคลื่นในทะเล เป็นต้น
• แก๊สคาร์บอนไดออกไซด์จา เป็นต่อกระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสงของพืช 
• แก๊สออกซิเจนจา เป็นต่อกระบวนการหายใจของสิ่งมีชีวิต 
• ไอน้า ในอากาศช่วยลดความร้อนจากแสงอาทิตย์ที่ส่องลงมายังโลก 
• ช่วยปรับอุณหภูมิของโลกให้เหมาะสมกับการดา รงชีวิต 
• ช่วยป้องกันอันตรายจากวัตถุต่างๆ จากอวกาศ 
บรรยากาศจะดูดกลืนพลังงานความร้อน 
บางส่วนจากดวงอาทิตย์ไว้ และสะท้อน 
พลังงานความร้อนบางส่วนกลับออก 
ไปสู่บรรยากาศ ซึ่งเป็นการช่วยปรับ 
อุณหภูมิของโลกให้เหมาะสมต่อการ 
ดา รงชีวิตของสิ่งมีชีวิต 
ความสาคัญของบรรยากาศ
การแบ่งชั้นบรรยากาศ 
เป็นชั้นบรรยากาศที่อยู่ถัดจาก 
พื้นโลกขึ้นไป 16-17 กิโลเมตร 
อุณหภูมิของอากาศจะลดลงตาม 
ระดับความสูง ปรากฏการณ์ทาง 
ธรรมชาติต่างๆ จะเกิดขึ้นในชั้นนี้ 
อยู่ถัดจากชั้นโทรโพสเฟียร์ 
ขึ้นไปถึงระดับความสูง 
ประมาณ 50 กิโลเมตร 
อุณหภูมิเพิ่มขึ้นตามระดับ 
ความสูง อากาศไม่ 
แปรปรวน เครื่องบินจึงมัก 
บินอยู่ในระดับนี้ 
อยู่สูงจากพื้นโลกประมาณ 50-80 
กิโลเมตร อุณหภูมิลดลงตามระดับ 
ความสูง วัตถุนอกโลกจะถูกเผา 
ไหม้ในบรรยากาศชั้นนี้ 
อยู่สูงจากพื้นโลกขึ้นไปจนถึงระดับ 
ความสูง 480 กิโลเมตร มีอุณหภูมิ 
ประมาณ 1,500 องศาเซลเซียส 
บรรยากาศชั้นนี้สามารถสะท้อน 
คลื่นวิทยุที่มีความถี่ไม่มากได้
อุณหภูมิของอากาศ
อุณหภูมิของอากาศ 
โลกมีการโคจรรอบดวงอาทิตย์ตลอดเวลา และขณะเคลื่อนที่โลกจะเอียงทา มุม 
23.5 องศา จากแนวดิ่งเสมอ ทา ให้แต่ละพื้นที่บนผิวโลกจะได้รับพลังงานความร้อน 
จากดวงอาทิตย์ไม่เท่ากันในแต่ละช่วงเวลา
• ด้านที่หันเข้าหาดวงอาทิตย์ ได้รับพลังงานความร้อนมากกว่า จะเป็นฤดูร้อน 
• ด้านที่อยู่ห่างดวงอาทิตย์ ได้รับพลังงานความร้อนน้อยกว่า จะเป็นฤดูหนาว 
• บริเวณที่มีลา แสงตกกระทบแนวตั้งฉากจะได้รับพลังงานความร้อนมากกว่าบริเวณ 
ที่มีลา แสงตกกระทบในแนวเฉียง 
ลา แสงแนวตั้งฉากจะได้รับพลังงานความร้อนมาก ลา แสงแนวเฉียงจะได้รับพลังงานความร้อนน้อย
ปัจจัยที่มีผลต่ออุณหภูมิของอากาศ 
ช่วงเวลาในรอบวัน 
• ช่วงเช้าพื้นผิวโลกดูดกลืนรังสีจากดวงอาทิตย์ไว้ และจะคายออกมาในรูปของ 
รังสีความร้อน 
• ในเวลาเที่ยงวัน พื้นผิวโลกจะได้รับรังสีจากดวงอาทิตย์มากที่สุด 
• หลังจากเที่ยงวันพื้นผิวโลกจะคายความร้อนมากขึ้น อากาศในช่วงบ่ายจึงมี 
อุณหภูมิสูงที่สุด และจะค่อยๆ เย็นลงจนกระทั่งถึงเวลากลางคืน 
ความสูงจากระดับน้าทะเล 
• อุณหภูมิของอากาศจะลดลงตามความสูง 
จากระดับน้า ทะเลที่เพิ่มขึ้นโดยการ 
เปลี่ยนแปลงจะเกิดขึ้นเฉพาะอากาศที่อยู่ 
ในระดับความสูงไม่เกิน 10 กิโลเมตร 
เหนือผิวโลก
เมฆปกคลุมท้องฟ้า 
• บริเวณที่มีเมฆปกคลุมมาก ตอนกลางวัน 
เมฆจะดูดกลืนความร้อนจากดวงอาทิตย์ให้ 
ผ่านมาสู่พื้นผิวโลกได้น้อยลง อุณหภูมิของ 
อากาศจึงไม่สูงมาก ส่วนตอนกลางคืนเมฆ 
จะสะท้อนรังสีความร้อนสู่พื้นโลก ทา ให้ 
อากาศอบอุ่น ไม่เย็นจนเกินไป 
• บริเวณท้องฟ้าโปร่ง ไม่มีเมฆปกคลุม ตอน 
กลางวันความร้อนจากดวงอาทิตย์จะส่อง 
ลงมายังพื้นโลกได้มาก อากาศจึงร้อนจัด 
ส่วนตอนกลางคืนรังสีความร้อน 
จะแผ่กระจายออกจากพื้นโลกได้มาก 
อากาศจึงเย็นจัด
ลักษณะของพื้นที่ 
• พื้นที่ที่มีสีอ่อน จะสะท้อนรังสีความร้อนจากดวงอาทิตย์ได้มากกว่าการดูดกลืน 
• พื้นที่ที่มีสีเข้ม จะดูดกลืนรังสีความร้อนจากดวงอาทิตย์ได้มากกว่าการสะท้อน 
• พื้นน้า จะดูดกลืนความร้อนช้า แต่เก็บความร้อนไว้ได้นานกว่าพื้นดิน 
• ป่าไม้ที่มีต้นไม้ขึ้นหนาแน่น แสงแดดส่องถึงพื้นดินได้น้อย จึงได้รับความร้อน 
น้อย ทา ให้อากาศในป่าไม้เย็นสบาย 
• ในเมืองใหญ่ ต้นไม้มีน้อย ได้รับความร้อนมาก อากาศจึงร้อน
การวัดอุณหภูมิของอากาศ 
เครื่องมือวัดอุณหภูมิของอากาศ 
• อุณหภูมิของอากาศมีการเปลี่ยนแปลงตลอดเวลา 
จึงต้องใช้เทอร์มอมิเตอร์ที่ทา ขึ้นเฉพาะ เพื่อใช้วัด 
อุณหภูมิของอากาศ เรียกว่า เทอร์มอมิเตอร์แบบ 
เกณฑ์สูงและเทอร์มอมิเตอร์แบบเกณฑ์ต่า 
• ตัวเทอร์มอมิเตอร์จะมีเครื่องหมายที่เรียกว่า 
ดรรชนี แสดงค่าอุณหภูมิสูงสุดและต่า สุด 
ในวันหนึ่งๆ
การติดตั้งเครื่องมือวัดอุณหภูมิ 
• ต้องติดตั้งในตู้สกรีนที่มีบานเกล็ดทั้ง 4 ด้าน เพื่อให้อากาศถ่ายเท 
• ตู้ต้องมีหลังคา เพื่อป้องกันไม่ให้เทอร์มอมิเตอร์ถูกแสงแดดโดยตรง 
• ตู้ต้องทาด้วยสีขาว เพื่อป้องกันการดูดกลืนรังสีความร้อน 
• ต้องตั้งตู้ให้สูงจากพื้นดิน เพื่อป้องกันการแผ่รังสีความร้อนจากพื้นดิน
ความชื้นของอากาศ
ความชื้นของอากาศ 
ไอน้า ในอากาศเกิดมาจากการระเหยของน้า จากแหล่งน้า ต่างๆ และการคายน้า 
ของพืช โดยไอน้า ที่เกิดขึ้นจะลอยปะปนอยู่ในอากาศ ซึ่งปริมาณไอน้า ที่มีอยู่ในอากาศ 
เรียกว่า ความชื้นของอากาศ 
การระเหยกับอุณหภูมิของอากาศ 
• อากาศที่มีอุณหภูมิสูงหรือมีไอน้า อยู่น้อย จะสามารถรับไอน้า จากการระเหยหรือ 
การคายน้า ได้มากกว่าอากาศที่มีอุณหภูมิต่า หรือมีไอน้า อยู่มาก 
• อากาศที่อยู่ในสภาพที่ไม่สามารถรับไอน้า เพิ่มได้อีก เรียกว่า อากาศอมิ่ตวั 
ด้วยไอน้า หรืออากาศอิ่มตัว
(มีหน่วยวัดเป็น กรัมต่อลูกบาศก์เมตร) 
• ความชื้นสัมบูรณ์ (absolute humidity) 
ความชื้นสัมบูรณ์ = มวลของไอน้าในอากาศ 
ปริมาตรของอากาศ ณ อุณหภูมิเดียวกัน 
• ความชื้นสัมพัทธ์ (relative humidity) 
ความชื้นสัมพัทธ์ = X 100% มวลของไอน้าที่มีอยู่จริง 
มวลของไอน้าอิ่มตัว 
(มีหน่วยวัดเป็น เปอร์เซ็นต์) 
การบอกค่าความชื้นของอากาศ
การวัดความชื้นของอากาศ 
• นิยมวัดเป็นความชื้นสัมพัทธ์ โดยแสดงผลเป็นเปอร์เซ็นต์ 
• ใช้เครื่องมือที่เรียกว่า ไฮกรอมิเตอร์ โดยนิยมใช้แบบกระเปาะแห้ง-กระเปาะเปียก 
ไฮกรอมิเตอร์
• การวัดค่าความชื้นสัมพัทธ์จะเอาผลต่างระหว่างอุณหภูมิระหว่างเทอร์มอมิเตอร์ 
กระเปาะแห้งและกระเปาะเปียกไปอ่านค่าความชื้นสัมพัทธ์จากตาราง ดังนี้
ความกดอากาศ
ความหนาแน่นของอากาศ 
ความหนาแน่นของอากาศ = 
มวลของอากาศ 
ปริมาตรของอากาศนั้น 
(มีหน่วยวัดเป็น กิโลกรัมกรัมต่อลูกบาศก์เมตร) 
• ความหนาแน่นของอากาศที่บริเวณระดับน้า ทะเลจะมีค่ามากที่สุดเท่ากับ 1.2 กิโลกรัม 
ต่อลูกบาศก์เมตร 
• ถ้าระดับความสูงจากระดับน้า ทะเลเพิ่มขึ้น ความหนาแน่นของอากาศจะลดลง 
• บริเวณที่มีอากาศเย็นจะมีความหนาแน่นของอากาศมากกว่าบริเวณที่มีอากาศร้อน
ความดันของอากาศ 
• ในการพยากรณ์อากาศจะเรียกว่า ความกดอากาศ 
• เป็นแรงกดอากาศที่กดลงบนพื้นที่ที่รองรับแรงกดนั้น 
• บริเวณใกล้พื้นผิวโลกจะมีความกดอากาศมาก และจะลดลงเมื่อขึ้นไปบนที่สูง 
• ความกดอากาศบนพื้นโลกในแต่ละที่จะแตกต่างกัน เนื่องจากได้รับพลังงาน 
ความร้อนจากดวงอาทิตย์ไม่เท่ากัน 
• ความกดอากาศจะลดลงตามความสูงของพื้นที่ 
• บริเวณที่มีอากาศร้อนจะมีความกดอากาศต่า กว่าบริเวณที่มีอากาศเย็น 
• บริเวณที่อากาศชื้นอยู่มากจะมีความกดอากาศต่า กว่าบริเวณที่อากาศแห้ง
บารอมิเตอร์ปรอท (murcury barometre) 
• ประกอบด้วยหลอดแก้วกลวงยาวประมาณ 
90 เซนติเมตร ที่ปลายด้านหนึ่งปิด โดย 
ภายในบรรจุปรอทไว้ และปากหลอดคว่า อยู่ 
ในภาชนะที่รองรับปรอท 
• ที่ความสูงที่ระดับน้า ทะเล (ความดัน 
1 บรรยากาศ) ปรอทในหลอดแก้วจะมีความ 
สูงเหนือระดับปรอทในภาชนะ 
76 เซนติเมตร หรือ 760 มิลลิเมตรปรอท 
(ความดัน 1 บรรยากาศ มีค่าเท่ากับ 
76 เซนติเมตร หรือ 760 มิลลิเมตร 
ปรอท หรือ 10.336 เมตรของน้า หรือ 
1.01325 บาร์ หรือ 1.01 x 105 N/m2) 
เครื่องมือวัดความดันอากาศ
แอนนิรอยด์บารอมิเตอร์ (aneroid 
barometre) 
• ประกอบด้วยตลับโลหะอะลูมิเนียม 
ซึ่งยึดด้านหนึ่งของตลับติดกับสปริง 
แล้วต่อไปที่คานและเข็มชี้ 
• ตลับจะยุบพองตามค่าความกดอากาศ 
โดยหากความกดอากาศสูง ตลับจะยุบตัว 
ทา ให้เข็มชี้ไปบนหน้าปัดที่มีตัวเลขแสดง 
ความกดอากาศเป็นมิลลิบาร์
บารอกราฟ (barograph) 
• ส่วนประกอบคล้ายกับแอนนิรอยด์ 
บารอมิเตอร์ แต่สามารถบันทึกข้อมูล 
ของความกดอากาศต่อเนื่อง และบอก 
เวลาได้ด้วย โดยบันทึกลงบนแผ่นกราฟ 
ที่พันอยู่รอบกระป๋องที่ต่อเข้ากับแกน 
ของมอเตอร์ 
• กระป๋องจะหมุนครบรอบภายใน 24 
ชั่วโมง ทา ให้อ่านค่าความกดอากาศใน 
ช่วงเวลาที่ผ่านมาได้
แอลติมิเตอร์ (altimetre) 
• ใช้หลักการเดียวกับแอนนิรอยด์ 
บารอมิเตอร์ แต่สามารถอ่านความสูง 
ได้ด้วย 
• อาศัยหลักการที่ว่า ความกดอากาศ 
จะลดลง 1 มิลลิเมตรของปรอท ทุกๆ 
ความสูง 11 เมตร จากระดับน้า ทะเล
หากทราบความกดอากาศที่ยอดเขาแห่งหนึ่ง ก็สามารถคา นวณความสูงของยอดเขานี้ได้
ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อความกดอากาศ 
• อุณหภูมิ อากาศที่มีอุณหภูมิสูงจะ 
ขยายตัว ทา ให้มีความกดอากาศต่า 
• ความชื้น อากาศชื้นมีไอน้า อยู่มาก 
จะเบากว่าอากาศแห้งที่มีปริมาตร 
เท่ากัน อากาศชื้นจึงมีความกดอากาศ 
ต่า กว่าอากาศแห้ง 
• ความสูง เมื่อความสูงจากระดับ 
น้า ทะเลเพิ่มขึ้น ความกดอากาศ 
จะมีค่าลดลง 
บนยอดเขาสูงๆ ความกดอากาศจะต่า มาก 
และมีปริมาณออกซิเจนน้อย จึงทา ให้นักปีนเขา 
เหนื่อยง่าย ดังนั้นในการปีนเขาจา เป็นต้องมี 
อุปกรณ์ต่างๆ เพื่อช่วยให้การปีนเขาง่ายขึ้น
สรุปทบทวนประจาหน่วยการเรียนรู้ที่7 
• ชั้นบรรยากาศที่ห่อหุ้มโลกจะช่วยปรับอุณหภูมิของโลกให้เหมาะสมกับการดา รงชีวิตของ 
สิ่งมีชีวิต ช่วยป้องกันอันตรายจากรังสีต่างๆ จากดวงอาทิตย์ และอันตรายจากอนุภาค 
ต่างๆ นอกโลก 
• อุณหภูมิของอากาศจะมีค่าสูงที่สุดบริเวณพื้นผิวโลก และจะมีค่าลดลงเมื่อระดับความสูง 
เพิ่มขึ้น 
• เครื่องมือที่ใช้วัดอุณหภูมิของอากาศ คือ เทอร์มอมิเตอร์ 
• ความชื้นของอากาศ คือ ปริมาณไอน้า ที่มีอยู่ในอากาศ ซึ่งเกิดจากการระเหยของน้า บน 
ผิวโลก 
• เครื่องมือที่ใช้วัดความชื้นของอากาศ คือ ไฮกรอมิเตอร์ 
• ความกดอากาศ คือ แรงกดของอากาศที่กดลงบนพื้นที่หนึ่งหน่วย โดยความกดอากาศของ 
แต่ละบริเวณจะไม่เท่ากัน ขึ้นอยู่กับอุณหภูมิ ความชื้น และความสูง 
• เครื่องมือที่ใช้วัดความกดอากาศ คือ บารอมิเตอร์

More Related Content

What's hot

ความร้อนกับการเปลี่ยนแปลงอุณหภูมิของสสาร
ความร้อนกับการเปลี่ยนแปลงอุณหภูมิของสสารความร้อนกับการเปลี่ยนแปลงอุณหภูมิของสสาร
ความร้อนกับการเปลี่ยนแปลงอุณหภูมิของสสารdalarat
 
Microsoft power point ปฏิกิริยาเคมี
Microsoft power point   ปฏิกิริยาเคมีMicrosoft power point   ปฏิกิริยาเคมี
Microsoft power point ปฏิกิริยาเคมีThanyamon Chat.
 
บทที่ 1 โครงสร้างของโลก
บทที่ 1 โครงสร้างของโลกบทที่ 1 โครงสร้างของโลก
บทที่ 1 โครงสร้างของโลกTa Lattapol
 
หน่วยของสิ่งมีชีวิต
หน่วยของสิ่งมีชีวิตหน่วยของสิ่งมีชีวิต
หน่วยของสิ่งมีชีวิตnetzad
 
Aแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เรื่อง การถ่ายโอนพลังงานความร้อน
Aแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เรื่อง การถ่ายโอนพลังงานความร้อนAแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เรื่อง การถ่ายโอนพลังงานความร้อน
Aแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เรื่อง การถ่ายโอนพลังงานความร้อนkrupornpana55
 
บทที่ 3 พลังงานไฟฟ้า
บทที่ 3  พลังงานไฟฟ้าบทที่ 3  พลังงานไฟฟ้า
บทที่ 3 พลังงานไฟฟ้าPinutchaya Nakchumroon
 
บทที่ 1 การจำแนกสาร
บทที่ 1 การจำแนกสารบทที่ 1 การจำแนกสาร
บทที่ 1 การจำแนกสารPinutchaya Nakchumroon
 
ธาตุและสารประกอบ
ธาตุและสารประกอบธาตุและสารประกอบ
ธาตุและสารประกอบwebsite22556
 
การเปลี่ยนแปลงพลังงานและการเกิดปฏิกิริยาเคมี
การเปลี่ยนแปลงพลังงานและการเกิดปฏิกิริยาเคมีการเปลี่ยนแปลงพลังงานและการเกิดปฏิกิริยาเคมี
การเปลี่ยนแปลงพลังงานและการเกิดปฏิกิริยาเคมีครูเสกสรรค์ สุวรรณสุข
 
แรงและการเคลื่อนที่
แรงและการเคลื่อนที่แรงและการเคลื่อนที่
แรงและการเคลื่อนที่Supaluk Juntap
 
อุณหภูมิของอากาศ
อุณหภูมิของอากาศอุณหภูมิของอากาศ
อุณหภูมิของอากาศKhwankamon Changwiriya
 
การสังเคราะห์ด้วยแสงของพืช
การสังเคราะห์ด้วยแสงของพืชการสังเคราะห์ด้วยแสงของพืช
การสังเคราะห์ด้วยแสงของพืชsukanya petin
 
บทที่5แรงในชีวิตประจำวันม 2
บทที่5แรงในชีวิตประจำวันม 2บทที่5แรงในชีวิตประจำวันม 2
บทที่5แรงในชีวิตประจำวันม 2Wichai Likitponrak
 
โลกและการเปลี่ยนแปลง
โลกและการเปลี่ยนแปลงโลกและการเปลี่ยนแปลง
โลกและการเปลี่ยนแปลงsmEduSlide
 
แบบทดสอบ วิทยาศาสตร์ 2 ชั้น ม.1 ชุดที่ 2
แบบทดสอบ วิทยาศาสตร์ 2 ชั้น ม.1 ชุดที่ 2แบบทดสอบ วิทยาศาสตร์ 2 ชั้น ม.1 ชุดที่ 2
แบบทดสอบ วิทยาศาสตร์ 2 ชั้น ม.1 ชุดที่ 2dnavaroj
 

What's hot (20)

ความร้อนกับการเปลี่ยนแปลงอุณหภูมิของสสาร
ความร้อนกับการเปลี่ยนแปลงอุณหภูมิของสสารความร้อนกับการเปลี่ยนแปลงอุณหภูมิของสสาร
ความร้อนกับการเปลี่ยนแปลงอุณหภูมิของสสาร
 
Microsoft power point ปฏิกิริยาเคมี
Microsoft power point   ปฏิกิริยาเคมีMicrosoft power point   ปฏิกิริยาเคมี
Microsoft power point ปฏิกิริยาเคมี
 
บทที่ 1 โครงสร้างของโลก
บทที่ 1 โครงสร้างของโลกบทที่ 1 โครงสร้างของโลก
บทที่ 1 โครงสร้างของโลก
 
หน่วยของสิ่งมีชีวิต
หน่วยของสิ่งมีชีวิตหน่วยของสิ่งมีชีวิต
หน่วยของสิ่งมีชีวิต
 
Aแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เรื่อง การถ่ายโอนพลังงานความร้อน
Aแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เรื่อง การถ่ายโอนพลังงานความร้อนAแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เรื่อง การถ่ายโอนพลังงานความร้อน
Aแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เรื่อง การถ่ายโอนพลังงานความร้อน
 
แรง (Force)
แรง (Force)แรง (Force)
แรง (Force)
 
น้ำ
น้ำน้ำ
น้ำ
 
บทที่ 3 พลังงานไฟฟ้า
บทที่ 3  พลังงานไฟฟ้าบทที่ 3  พลังงานไฟฟ้า
บทที่ 3 พลังงานไฟฟ้า
 
ดิน
ดินดิน
ดิน
 
บทที่ 1 การจำแนกสาร
บทที่ 1 การจำแนกสารบทที่ 1 การจำแนกสาร
บทที่ 1 การจำแนกสาร
 
ธาตุและสารประกอบ
ธาตุและสารประกอบธาตุและสารประกอบ
ธาตุและสารประกอบ
 
การเปลี่ยนแปลงพลังงานและการเกิดปฏิกิริยาเคมี
การเปลี่ยนแปลงพลังงานและการเกิดปฏิกิริยาเคมีการเปลี่ยนแปลงพลังงานและการเกิดปฏิกิริยาเคมี
การเปลี่ยนแปลงพลังงานและการเกิดปฏิกิริยาเคมี
 
แรงและการเคลื่อนที่
แรงและการเคลื่อนที่แรงและการเคลื่อนที่
แรงและการเคลื่อนที่
 
อุณหภูมิของอากาศ
อุณหภูมิของอากาศอุณหภูมิของอากาศ
อุณหภูมิของอากาศ
 
การสังเคราะห์ด้วยแสงของพืช
การสังเคราะห์ด้วยแสงของพืชการสังเคราะห์ด้วยแสงของพืช
การสังเคราะห์ด้วยแสงของพืช
 
บทที่5แรงในชีวิตประจำวันม 2
บทที่5แรงในชีวิตประจำวันม 2บทที่5แรงในชีวิตประจำวันม 2
บทที่5แรงในชีวิตประจำวันม 2
 
โลกและการเปลี่ยนแปลง
โลกและการเปลี่ยนแปลงโลกและการเปลี่ยนแปลง
โลกและการเปลี่ยนแปลง
 
แบบทดสอบ วิทยาศาสตร์ 2 ชั้น ม.1 ชุดที่ 2
แบบทดสอบ วิทยาศาสตร์ 2 ชั้น ม.1 ชุดที่ 2แบบทดสอบ วิทยาศาสตร์ 2 ชั้น ม.1 ชุดที่ 2
แบบทดสอบ วิทยาศาสตร์ 2 ชั้น ม.1 ชุดที่ 2
 
เรื่อง เมฆ
เรื่อง เมฆเรื่อง เมฆ
เรื่อง เมฆ
 
แสงและการมองเห็น
แสงและการมองเห็นแสงและการมองเห็น
แสงและการมองเห็น
 

Similar to บรรยากาศ

???.??????????? ?.1 ???? 2 ???????? 10
???.??????????? ?.1 ???? 2 ???????? 10???.??????????? ?.1 ???? 2 ???????? 10
???.??????????? ?.1 ???? 2 ???????? 10wachiphoke
 
บรรยากาศที่ห่อหุ้มโลก
บรรยากาศที่ห่อหุ้มโลกบรรยากาศที่ห่อหุ้มโลก
บรรยากาศที่ห่อหุ้มโลกSukanya Burana
 
องค์ประกอบและการแบ่งชั้นบรรยากาศ
องค์ประกอบและการแบ่งชั้นบรรยากาศองค์ประกอบและการแบ่งชั้นบรรยากาศ
องค์ประกอบและการแบ่งชั้นบรรยากาศdnavaroj
 
การสำรวจบรรยากาศ Globe tu64
การสำรวจบรรยากาศ Globe tu64การสำรวจบรรยากาศ Globe tu64
การสำรวจบรรยากาศ Globe tu64Wichai Likitponrak
 
อากาศภาค
อากาศภาคอากาศภาค
อากาศภาคPa'rig Prig
 
บรรยากาศ
บรรยากาศบรรยากาศ
บรรยากาศkulruedee_chm
 
บรรยากาศ(Atmosphere)
บรรยากาศ(Atmosphere)บรรยากาศ(Atmosphere)
บรรยากาศ(Atmosphere)พัน พัน
 
การแบ่งเขตภูมิอากาศ
การแบ่งเขตภูมิอากาศการแบ่งเขตภูมิอากาศ
การแบ่งเขตภูมิอากาศพัน พัน
 
ปรากฏการทางลมฟ้าอากาศ
ปรากฏการทางลมฟ้าอากาศปรากฏการทางลมฟ้าอากาศ
ปรากฏการทางลมฟ้าอากาศdnavaroj
 
แบบฝึกหัดทบทวนก่อนสอบกลางภาค2 ม.1 2 55
แบบฝึกหัดทบทวนก่อนสอบกลางภาค2 ม.1 2 55แบบฝึกหัดทบทวนก่อนสอบกลางภาค2 ม.1 2 55
แบบฝึกหัดทบทวนก่อนสอบกลางภาค2 ม.1 2 55krupornpana55
 
บรรยากาศ (Atmosphere)
บรรยากาศ (Atmosphere)บรรยากาศ (Atmosphere)
บรรยากาศ (Atmosphere)พัน พัน
 
โครงสร้างบรรยากาศ
โครงสร้างบรรยากาศโครงสร้างบรรยากาศ
โครงสร้างบรรยากาศSunflower_aiaui
 
บรรยากาศที่ห่อหุ้มโลก
บรรยากาศที่ห่อหุ้มโลกบรรยากาศที่ห่อหุ้มโลก
บรรยากาศที่ห่อหุ้มโลกKhwankamon Changwiriya
 
แบบฝึกหัดทบทวนก่อนสอบกลางภาค2 ม.1 2 55
แบบฝึกหัดทบทวนก่อนสอบกลางภาค2 ม.1 2 55แบบฝึกหัดทบทวนก่อนสอบกลางภาค2 ม.1 2 55
แบบฝึกหัดทบทวนก่อนสอบกลางภาค2 ม.1 2 55krupornpana55
 
โครงการในพระราชดำริฝนหลวง
โครงการในพระราชดำริฝนหลวงโครงการในพระราชดำริฝนหลวง
โครงการในพระราชดำริฝนหลวงTanwalai Kullawong
 
โครงการฝนหลวง
โครงการฝนหลวงโครงการฝนหลวง
โครงการฝนหลวงWannaporn Sukthawee
 
โครงการฝนหลวง
โครงการฝนหลวงโครงการฝนหลวง
โครงการฝนหลวงWannaporn Sukthawee
 
โครงการฝนหลวง
โครงการฝนหลวงโครงการฝนหลวง
โครงการฝนหลวงWannaporn Sukthawee
 

Similar to บรรยากาศ (20)

???.??????????? ?.1 ???? 2 ???????? 10
???.??????????? ?.1 ???? 2 ???????? 10???.??????????? ?.1 ???? 2 ???????? 10
???.??????????? ?.1 ???? 2 ???????? 10
 
บรรยากาศที่ห่อหุ้มโลก
บรรยากาศที่ห่อหุ้มโลกบรรยากาศที่ห่อหุ้มโลก
บรรยากาศที่ห่อหุ้มโลก
 
องค์ประกอบและการแบ่งชั้นบรรยากาศ
องค์ประกอบและการแบ่งชั้นบรรยากาศองค์ประกอบและการแบ่งชั้นบรรยากาศ
องค์ประกอบและการแบ่งชั้นบรรยากาศ
 
การสำรวจบรรยากาศ Globe tu64
การสำรวจบรรยากาศ Globe tu64การสำรวจบรรยากาศ Globe tu64
การสำรวจบรรยากาศ Globe tu64
 
อากาศภาค
อากาศภาคอากาศภาค
อากาศภาค
 
บรรยากาศ
บรรยากาศบรรยากาศ
บรรยากาศ
 
บรรยากาศ(Atmosphere)
บรรยากาศ(Atmosphere)บรรยากาศ(Atmosphere)
บรรยากาศ(Atmosphere)
 
Sci31101 cloud
Sci31101 cloudSci31101 cloud
Sci31101 cloud
 
Atmosphere
AtmosphereAtmosphere
Atmosphere
 
การแบ่งเขตภูมิอากาศ
การแบ่งเขตภูมิอากาศการแบ่งเขตภูมิอากาศ
การแบ่งเขตภูมิอากาศ
 
ปรากฏการทางลมฟ้าอากาศ
ปรากฏการทางลมฟ้าอากาศปรากฏการทางลมฟ้าอากาศ
ปรากฏการทางลมฟ้าอากาศ
 
แบบฝึกหัดทบทวนก่อนสอบกลางภาค2 ม.1 2 55
แบบฝึกหัดทบทวนก่อนสอบกลางภาค2 ม.1 2 55แบบฝึกหัดทบทวนก่อนสอบกลางภาค2 ม.1 2 55
แบบฝึกหัดทบทวนก่อนสอบกลางภาค2 ม.1 2 55
 
บรรยากาศ (Atmosphere)
บรรยากาศ (Atmosphere)บรรยากาศ (Atmosphere)
บรรยากาศ (Atmosphere)
 
โครงสร้างบรรยากาศ
โครงสร้างบรรยากาศโครงสร้างบรรยากาศ
โครงสร้างบรรยากาศ
 
บรรยากาศที่ห่อหุ้มโลก
บรรยากาศที่ห่อหุ้มโลกบรรยากาศที่ห่อหุ้มโลก
บรรยากาศที่ห่อหุ้มโลก
 
แบบฝึกหัดทบทวนก่อนสอบกลางภาค2 ม.1 2 55
แบบฝึกหัดทบทวนก่อนสอบกลางภาค2 ม.1 2 55แบบฝึกหัดทบทวนก่อนสอบกลางภาค2 ม.1 2 55
แบบฝึกหัดทบทวนก่อนสอบกลางภาค2 ม.1 2 55
 
โครงการในพระราชดำริฝนหลวง
โครงการในพระราชดำริฝนหลวงโครงการในพระราชดำริฝนหลวง
โครงการในพระราชดำริฝนหลวง
 
โครงการฝนหลวง
โครงการฝนหลวงโครงการฝนหลวง
โครงการฝนหลวง
 
โครงการฝนหลวง
โครงการฝนหลวงโครงการฝนหลวง
โครงการฝนหลวง
 
โครงการฝนหลวง
โครงการฝนหลวงโครงการฝนหลวง
โครงการฝนหลวง
 

More from Supaluk Juntap

ไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์ หน่วยการเรียนรู้ที่ 6
ไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์ หน่วยการเรียนรู้ที่  6ไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์ หน่วยการเรียนรู้ที่  6
ไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์ หน่วยการเรียนรู้ที่ 6Supaluk Juntap
 
แรงและการเคลื่อนที่ พลังงาน ม.3
แรงและการเคลื่อนที่ พลังงาน ม.3 แรงและการเคลื่อนที่ พลังงาน ม.3
แรงและการเคลื่อนที่ พลังงาน ม.3 Supaluk Juntap
 
Teachingreading Mattayomsuksa 5
Teachingreading  Mattayomsuksa 5Teachingreading  Mattayomsuksa 5
Teachingreading Mattayomsuksa 5Supaluk Juntap
 
Interest/opinion Matthayomsuksa 5
Interest/opinion  Matthayomsuksa 5Interest/opinion  Matthayomsuksa 5
Interest/opinion Matthayomsuksa 5Supaluk Juntap
 
ความหลากหลายทางชีวภาพ
ความหลากหลายทางชีวภาพความหลากหลายทางชีวภาพ
ความหลากหลายทางชีวภาพSupaluk Juntap
 
สารละลายกรดเบส
สารละลายกรดเบสสารละลายกรดเบส
สารละลายกรดเบสSupaluk Juntap
 
สมบัติของสารและการจำแนก
สมบัติของสารและการจำแนกสมบัติของสารและการจำแนก
สมบัติของสารและการจำแนกSupaluk Juntap
 
สมบัติของสารและการจำแนก
สมบัติของสารและการจำแนกสมบัติของสารและการจำแนก
สมบัติของสารและการจำแนกSupaluk Juntap
 
ระบบนิเวศ
ระบบนิเวศระบบนิเวศ
ระบบนิเวศSupaluk Juntap
 

More from Supaluk Juntap (12)

ไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์ หน่วยการเรียนรู้ที่ 6
ไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์ หน่วยการเรียนรู้ที่  6ไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์ หน่วยการเรียนรู้ที่  6
ไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์ หน่วยการเรียนรู้ที่ 6
 
แรงและการเคลื่อนที่ พลังงาน ม.3
แรงและการเคลื่อนที่ พลังงาน ม.3 แรงและการเคลื่อนที่ พลังงาน ม.3
แรงและการเคลื่อนที่ พลังงาน ม.3
 
Teachingreading Mattayomsuksa 5
Teachingreading  Mattayomsuksa 5Teachingreading  Mattayomsuksa 5
Teachingreading Mattayomsuksa 5
 
Interest/opinion Matthayomsuksa 5
Interest/opinion  Matthayomsuksa 5Interest/opinion  Matthayomsuksa 5
Interest/opinion Matthayomsuksa 5
 
Interest/opinion
Interest/opinionInterest/opinion
Interest/opinion
 
ความหลากหลายทางชีวภาพ
ความหลากหลายทางชีวภาพความหลากหลายทางชีวภาพ
ความหลากหลายทางชีวภาพ
 
Prepositions of Place
Prepositions of PlacePrepositions of Place
Prepositions of Place
 
สารละลายกรดเบส
สารละลายกรดเบสสารละลายกรดเบส
สารละลายกรดเบส
 
สมบัติของสารและการจำแนก
สมบัติของสารและการจำแนกสมบัติของสารและการจำแนก
สมบัติของสารและการจำแนก
 
สมบัติของสารและการจำแนก
สมบัติของสารและการจำแนกสมบัติของสารและการจำแนก
สมบัติของสารและการจำแนก
 
ระบบนิเวศ
ระบบนิเวศระบบนิเวศ
ระบบนิเวศ
 
Homophones
HomophonesHomophones
Homophones
 

บรรยากาศ

  • 2. บรรยากาศ (ตอนที่ 1) องค์ประกอบและ การแบ่งชั้นบรรยากาศ อุณหภูมิของอากาศ ความชื้นของอากาศ ความกดอากาศ
  • 4. องค์ประกอบของบรรยากาศ บรรยากาศ หมายถึง ชั้นของแก๊สต่างๆ ที่ห่อหุ้มโลก มีความหนาประมาณ 500 กิโลเมตร จากพื้นผิวโลก ซึ่งประกอบด้วยอากาศแห้ง ไอน้า และอนุภาคฝุ่นต่างๆ อากาศแห้ง เป็นองค์ประกอบหลักของบรรยากาศ ซึ่งประกอบด้วยแก๊สต่างๆ ดังนี้
  • 5. ไอน้า • เกิดจากการระเหยของน้า ที่ผิวโลกและการคายน้า ของพืช • เป็นตัวการทา ให้เกิดปรากฏการณ์ต่างๆ ในบรรยากาศ เช่น เมฆ หมอก น้า ค้าง ฝน หิมะ เป็นต้น • บรรยากาศที่มีไอน้า ผสมอยู่ เรียกว่า อากาศชื้น • ถ้าอุณหภูมิสูง ไอน้า ในอากาศจะมีมาก แต่ถ้าอุณหภูมิต่า ไอน้า ในอากาศ จะ มีน้อย และถ้าอากาศไม่สามารถรับไอน้า ได้ เรียกว่า อากาศอมิ่ตวัด้วยไอน้า
  • 6. เป็นของแข็งที่มีขนาดเล็กมาก โดยมีเส้นผ่านศูนย์กลาง 0.001 - 1,000 ไมครอน • อนุภาคที่เกิดจากกิจกรรมของมนุษย์ เช่น อนุภาคฝุ่นและควันจาก กระบวนการทางอุตสาหกรรมต่างๆ การเผาไหม้ เป็นต้น อนุภาคฝุ่นต่างๆ แบ่งออกเป็น 2 ชนิด ดังนี้ • อนุภาคฝุ่นที่เกิดขึ้นเองตามธรรมชาติ เช่น ผงฝุ่นจากภูเขาไฟ ไฟป่า ละอองเกสรพืช อนุภาคเกลือจาก ฟองคลื่นในทะเล เป็นต้น
  • 7. • แก๊สคาร์บอนไดออกไซด์จา เป็นต่อกระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสงของพืช • แก๊สออกซิเจนจา เป็นต่อกระบวนการหายใจของสิ่งมีชีวิต • ไอน้า ในอากาศช่วยลดความร้อนจากแสงอาทิตย์ที่ส่องลงมายังโลก • ช่วยปรับอุณหภูมิของโลกให้เหมาะสมกับการดา รงชีวิต • ช่วยป้องกันอันตรายจากวัตถุต่างๆ จากอวกาศ บรรยากาศจะดูดกลืนพลังงานความร้อน บางส่วนจากดวงอาทิตย์ไว้ และสะท้อน พลังงานความร้อนบางส่วนกลับออก ไปสู่บรรยากาศ ซึ่งเป็นการช่วยปรับ อุณหภูมิของโลกให้เหมาะสมต่อการ ดา รงชีวิตของสิ่งมีชีวิต ความสาคัญของบรรยากาศ
  • 8. การแบ่งชั้นบรรยากาศ เป็นชั้นบรรยากาศที่อยู่ถัดจาก พื้นโลกขึ้นไป 16-17 กิโลเมตร อุณหภูมิของอากาศจะลดลงตาม ระดับความสูง ปรากฏการณ์ทาง ธรรมชาติต่างๆ จะเกิดขึ้นในชั้นนี้ อยู่ถัดจากชั้นโทรโพสเฟียร์ ขึ้นไปถึงระดับความสูง ประมาณ 50 กิโลเมตร อุณหภูมิเพิ่มขึ้นตามระดับ ความสูง อากาศไม่ แปรปรวน เครื่องบินจึงมัก บินอยู่ในระดับนี้ อยู่สูงจากพื้นโลกประมาณ 50-80 กิโลเมตร อุณหภูมิลดลงตามระดับ ความสูง วัตถุนอกโลกจะถูกเผา ไหม้ในบรรยากาศชั้นนี้ อยู่สูงจากพื้นโลกขึ้นไปจนถึงระดับ ความสูง 480 กิโลเมตร มีอุณหภูมิ ประมาณ 1,500 องศาเซลเซียส บรรยากาศชั้นนี้สามารถสะท้อน คลื่นวิทยุที่มีความถี่ไม่มากได้
  • 10. อุณหภูมิของอากาศ โลกมีการโคจรรอบดวงอาทิตย์ตลอดเวลา และขณะเคลื่อนที่โลกจะเอียงทา มุม 23.5 องศา จากแนวดิ่งเสมอ ทา ให้แต่ละพื้นที่บนผิวโลกจะได้รับพลังงานความร้อน จากดวงอาทิตย์ไม่เท่ากันในแต่ละช่วงเวลา
  • 11. • ด้านที่หันเข้าหาดวงอาทิตย์ ได้รับพลังงานความร้อนมากกว่า จะเป็นฤดูร้อน • ด้านที่อยู่ห่างดวงอาทิตย์ ได้รับพลังงานความร้อนน้อยกว่า จะเป็นฤดูหนาว • บริเวณที่มีลา แสงตกกระทบแนวตั้งฉากจะได้รับพลังงานความร้อนมากกว่าบริเวณ ที่มีลา แสงตกกระทบในแนวเฉียง ลา แสงแนวตั้งฉากจะได้รับพลังงานความร้อนมาก ลา แสงแนวเฉียงจะได้รับพลังงานความร้อนน้อย
  • 12. ปัจจัยที่มีผลต่ออุณหภูมิของอากาศ ช่วงเวลาในรอบวัน • ช่วงเช้าพื้นผิวโลกดูดกลืนรังสีจากดวงอาทิตย์ไว้ และจะคายออกมาในรูปของ รังสีความร้อน • ในเวลาเที่ยงวัน พื้นผิวโลกจะได้รับรังสีจากดวงอาทิตย์มากที่สุด • หลังจากเที่ยงวันพื้นผิวโลกจะคายความร้อนมากขึ้น อากาศในช่วงบ่ายจึงมี อุณหภูมิสูงที่สุด และจะค่อยๆ เย็นลงจนกระทั่งถึงเวลากลางคืน ความสูงจากระดับน้าทะเล • อุณหภูมิของอากาศจะลดลงตามความสูง จากระดับน้า ทะเลที่เพิ่มขึ้นโดยการ เปลี่ยนแปลงจะเกิดขึ้นเฉพาะอากาศที่อยู่ ในระดับความสูงไม่เกิน 10 กิโลเมตร เหนือผิวโลก
  • 13. เมฆปกคลุมท้องฟ้า • บริเวณที่มีเมฆปกคลุมมาก ตอนกลางวัน เมฆจะดูดกลืนความร้อนจากดวงอาทิตย์ให้ ผ่านมาสู่พื้นผิวโลกได้น้อยลง อุณหภูมิของ อากาศจึงไม่สูงมาก ส่วนตอนกลางคืนเมฆ จะสะท้อนรังสีความร้อนสู่พื้นโลก ทา ให้ อากาศอบอุ่น ไม่เย็นจนเกินไป • บริเวณท้องฟ้าโปร่ง ไม่มีเมฆปกคลุม ตอน กลางวันความร้อนจากดวงอาทิตย์จะส่อง ลงมายังพื้นโลกได้มาก อากาศจึงร้อนจัด ส่วนตอนกลางคืนรังสีความร้อน จะแผ่กระจายออกจากพื้นโลกได้มาก อากาศจึงเย็นจัด
  • 14. ลักษณะของพื้นที่ • พื้นที่ที่มีสีอ่อน จะสะท้อนรังสีความร้อนจากดวงอาทิตย์ได้มากกว่าการดูดกลืน • พื้นที่ที่มีสีเข้ม จะดูดกลืนรังสีความร้อนจากดวงอาทิตย์ได้มากกว่าการสะท้อน • พื้นน้า จะดูดกลืนความร้อนช้า แต่เก็บความร้อนไว้ได้นานกว่าพื้นดิน • ป่าไม้ที่มีต้นไม้ขึ้นหนาแน่น แสงแดดส่องถึงพื้นดินได้น้อย จึงได้รับความร้อน น้อย ทา ให้อากาศในป่าไม้เย็นสบาย • ในเมืองใหญ่ ต้นไม้มีน้อย ได้รับความร้อนมาก อากาศจึงร้อน
  • 15. การวัดอุณหภูมิของอากาศ เครื่องมือวัดอุณหภูมิของอากาศ • อุณหภูมิของอากาศมีการเปลี่ยนแปลงตลอดเวลา จึงต้องใช้เทอร์มอมิเตอร์ที่ทา ขึ้นเฉพาะ เพื่อใช้วัด อุณหภูมิของอากาศ เรียกว่า เทอร์มอมิเตอร์แบบ เกณฑ์สูงและเทอร์มอมิเตอร์แบบเกณฑ์ต่า • ตัวเทอร์มอมิเตอร์จะมีเครื่องหมายที่เรียกว่า ดรรชนี แสดงค่าอุณหภูมิสูงสุดและต่า สุด ในวันหนึ่งๆ
  • 16. การติดตั้งเครื่องมือวัดอุณหภูมิ • ต้องติดตั้งในตู้สกรีนที่มีบานเกล็ดทั้ง 4 ด้าน เพื่อให้อากาศถ่ายเท • ตู้ต้องมีหลังคา เพื่อป้องกันไม่ให้เทอร์มอมิเตอร์ถูกแสงแดดโดยตรง • ตู้ต้องทาด้วยสีขาว เพื่อป้องกันการดูดกลืนรังสีความร้อน • ต้องตั้งตู้ให้สูงจากพื้นดิน เพื่อป้องกันการแผ่รังสีความร้อนจากพื้นดิน
  • 18. ความชื้นของอากาศ ไอน้า ในอากาศเกิดมาจากการระเหยของน้า จากแหล่งน้า ต่างๆ และการคายน้า ของพืช โดยไอน้า ที่เกิดขึ้นจะลอยปะปนอยู่ในอากาศ ซึ่งปริมาณไอน้า ที่มีอยู่ในอากาศ เรียกว่า ความชื้นของอากาศ การระเหยกับอุณหภูมิของอากาศ • อากาศที่มีอุณหภูมิสูงหรือมีไอน้า อยู่น้อย จะสามารถรับไอน้า จากการระเหยหรือ การคายน้า ได้มากกว่าอากาศที่มีอุณหภูมิต่า หรือมีไอน้า อยู่มาก • อากาศที่อยู่ในสภาพที่ไม่สามารถรับไอน้า เพิ่มได้อีก เรียกว่า อากาศอมิ่ตวั ด้วยไอน้า หรืออากาศอิ่มตัว
  • 19. (มีหน่วยวัดเป็น กรัมต่อลูกบาศก์เมตร) • ความชื้นสัมบูรณ์ (absolute humidity) ความชื้นสัมบูรณ์ = มวลของไอน้าในอากาศ ปริมาตรของอากาศ ณ อุณหภูมิเดียวกัน • ความชื้นสัมพัทธ์ (relative humidity) ความชื้นสัมพัทธ์ = X 100% มวลของไอน้าที่มีอยู่จริง มวลของไอน้าอิ่มตัว (มีหน่วยวัดเป็น เปอร์เซ็นต์) การบอกค่าความชื้นของอากาศ
  • 20.
  • 21. การวัดความชื้นของอากาศ • นิยมวัดเป็นความชื้นสัมพัทธ์ โดยแสดงผลเป็นเปอร์เซ็นต์ • ใช้เครื่องมือที่เรียกว่า ไฮกรอมิเตอร์ โดยนิยมใช้แบบกระเปาะแห้ง-กระเปาะเปียก ไฮกรอมิเตอร์
  • 23.
  • 25. ความหนาแน่นของอากาศ ความหนาแน่นของอากาศ = มวลของอากาศ ปริมาตรของอากาศนั้น (มีหน่วยวัดเป็น กิโลกรัมกรัมต่อลูกบาศก์เมตร) • ความหนาแน่นของอากาศที่บริเวณระดับน้า ทะเลจะมีค่ามากที่สุดเท่ากับ 1.2 กิโลกรัม ต่อลูกบาศก์เมตร • ถ้าระดับความสูงจากระดับน้า ทะเลเพิ่มขึ้น ความหนาแน่นของอากาศจะลดลง • บริเวณที่มีอากาศเย็นจะมีความหนาแน่นของอากาศมากกว่าบริเวณที่มีอากาศร้อน
  • 26. ความดันของอากาศ • ในการพยากรณ์อากาศจะเรียกว่า ความกดอากาศ • เป็นแรงกดอากาศที่กดลงบนพื้นที่ที่รองรับแรงกดนั้น • บริเวณใกล้พื้นผิวโลกจะมีความกดอากาศมาก และจะลดลงเมื่อขึ้นไปบนที่สูง • ความกดอากาศบนพื้นโลกในแต่ละที่จะแตกต่างกัน เนื่องจากได้รับพลังงาน ความร้อนจากดวงอาทิตย์ไม่เท่ากัน • ความกดอากาศจะลดลงตามความสูงของพื้นที่ • บริเวณที่มีอากาศร้อนจะมีความกดอากาศต่า กว่าบริเวณที่มีอากาศเย็น • บริเวณที่อากาศชื้นอยู่มากจะมีความกดอากาศต่า กว่าบริเวณที่อากาศแห้ง
  • 27. บารอมิเตอร์ปรอท (murcury barometre) • ประกอบด้วยหลอดแก้วกลวงยาวประมาณ 90 เซนติเมตร ที่ปลายด้านหนึ่งปิด โดย ภายในบรรจุปรอทไว้ และปากหลอดคว่า อยู่ ในภาชนะที่รองรับปรอท • ที่ความสูงที่ระดับน้า ทะเล (ความดัน 1 บรรยากาศ) ปรอทในหลอดแก้วจะมีความ สูงเหนือระดับปรอทในภาชนะ 76 เซนติเมตร หรือ 760 มิลลิเมตรปรอท (ความดัน 1 บรรยากาศ มีค่าเท่ากับ 76 เซนติเมตร หรือ 760 มิลลิเมตร ปรอท หรือ 10.336 เมตรของน้า หรือ 1.01325 บาร์ หรือ 1.01 x 105 N/m2) เครื่องมือวัดความดันอากาศ
  • 28. แอนนิรอยด์บารอมิเตอร์ (aneroid barometre) • ประกอบด้วยตลับโลหะอะลูมิเนียม ซึ่งยึดด้านหนึ่งของตลับติดกับสปริง แล้วต่อไปที่คานและเข็มชี้ • ตลับจะยุบพองตามค่าความกดอากาศ โดยหากความกดอากาศสูง ตลับจะยุบตัว ทา ให้เข็มชี้ไปบนหน้าปัดที่มีตัวเลขแสดง ความกดอากาศเป็นมิลลิบาร์
  • 29. บารอกราฟ (barograph) • ส่วนประกอบคล้ายกับแอนนิรอยด์ บารอมิเตอร์ แต่สามารถบันทึกข้อมูล ของความกดอากาศต่อเนื่อง และบอก เวลาได้ด้วย โดยบันทึกลงบนแผ่นกราฟ ที่พันอยู่รอบกระป๋องที่ต่อเข้ากับแกน ของมอเตอร์ • กระป๋องจะหมุนครบรอบภายใน 24 ชั่วโมง ทา ให้อ่านค่าความกดอากาศใน ช่วงเวลาที่ผ่านมาได้
  • 30. แอลติมิเตอร์ (altimetre) • ใช้หลักการเดียวกับแอนนิรอยด์ บารอมิเตอร์ แต่สามารถอ่านความสูง ได้ด้วย • อาศัยหลักการที่ว่า ความกดอากาศ จะลดลง 1 มิลลิเมตรของปรอท ทุกๆ ความสูง 11 เมตร จากระดับน้า ทะเล
  • 32. ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อความกดอากาศ • อุณหภูมิ อากาศที่มีอุณหภูมิสูงจะ ขยายตัว ทา ให้มีความกดอากาศต่า • ความชื้น อากาศชื้นมีไอน้า อยู่มาก จะเบากว่าอากาศแห้งที่มีปริมาตร เท่ากัน อากาศชื้นจึงมีความกดอากาศ ต่า กว่าอากาศแห้ง • ความสูง เมื่อความสูงจากระดับ น้า ทะเลเพิ่มขึ้น ความกดอากาศ จะมีค่าลดลง บนยอดเขาสูงๆ ความกดอากาศจะต่า มาก และมีปริมาณออกซิเจนน้อย จึงทา ให้นักปีนเขา เหนื่อยง่าย ดังนั้นในการปีนเขาจา เป็นต้องมี อุปกรณ์ต่างๆ เพื่อช่วยให้การปีนเขาง่ายขึ้น
  • 33. สรุปทบทวนประจาหน่วยการเรียนรู้ที่7 • ชั้นบรรยากาศที่ห่อหุ้มโลกจะช่วยปรับอุณหภูมิของโลกให้เหมาะสมกับการดา รงชีวิตของ สิ่งมีชีวิต ช่วยป้องกันอันตรายจากรังสีต่างๆ จากดวงอาทิตย์ และอันตรายจากอนุภาค ต่างๆ นอกโลก • อุณหภูมิของอากาศจะมีค่าสูงที่สุดบริเวณพื้นผิวโลก และจะมีค่าลดลงเมื่อระดับความสูง เพิ่มขึ้น • เครื่องมือที่ใช้วัดอุณหภูมิของอากาศ คือ เทอร์มอมิเตอร์ • ความชื้นของอากาศ คือ ปริมาณไอน้า ที่มีอยู่ในอากาศ ซึ่งเกิดจากการระเหยของน้า บน ผิวโลก • เครื่องมือที่ใช้วัดความชื้นของอากาศ คือ ไฮกรอมิเตอร์ • ความกดอากาศ คือ แรงกดของอากาศที่กดลงบนพื้นที่หนึ่งหน่วย โดยความกดอากาศของ แต่ละบริเวณจะไม่เท่ากัน ขึ้นอยู่กับอุณหภูมิ ความชื้น และความสูง • เครื่องมือที่ใช้วัดความกดอากาศ คือ บารอมิเตอร์