SlideShare una empresa de Scribd logo
1 de 57
Descargar para leer sin conexión
ผศ.ดร.สุรพล บุญลือ	
ภาควิชาเทคโนโลยีและสื่อสารการศึกษา
ม.เทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี
! ทฤษฎีที่ว่าด้วยการสร้างความรู้
! ที่มาของ fischertechnik
! ความแตกต่างของ fischertechnik กับ LEGO
! การประยุกต์ใช้ fischertechnik สู่การเชื่อมโยงความรู้
! เราจะทําอย่างไร กับ fischertechnik ที่ได้รับมา
! ขอมากกว่า 5 ความคิดเห็น
! “Better learning will not come from finding better ways
for the teacher to instruct, but from giving the learner
better opportunities to construct”
! “ การเรียนรู้ที่ดีไม่ได้มาจาก
การหาวิธีการที่ดีกว่าให้ครูในการสอน
แต่มาจาก การให้โอกาสที่ดีกว่าแก่ผู้เรียนในการสร้างความรู้ ”
! ทฤษฎีการสร้างความรู้ด้วยตนเอง โดยการสร้างสรรค์ชิ้นงาน
เป็นทฤษฎีที่มีพื้นฐานมาจากทฤษฎีพัฒนาการทางสติปัญญาของเพียเจต์
แนวความคิดของทฤษฎีนี้ คือ
! การเรียนรู้ที่ดีเกิดจากการสร้างพลังความรู้ในตนเอง และด้วยตนเองของผู้
เขียน
! ผู้เรียนมีโอกาสได้สร้างความคิดและทําความคิดของตนเองไปสร้างสรรค์ชิ้น
งาน โดยอาศัยสื่อและเทคโนโลยีที่เหมาะสม จะได้เห็นความคิดนั้นเป็นรูป
ธรรม
! การสร้างความรู้ขึ้นในตนเองจะมีความหมายต่อผู้เรียน
จะอยู่คงทน ไม่ลืมง่าย และสามารถถ่ายทอดให้ผู้อื่นเข้าใจ
ความคิดของตนได้ดีและเป็นรากฐานให้ผู้เรียนสามารถ
สร้างความรู้ใหม่ต่อไปอย่างไม่มีที่สิ้นสุด
ศาสตราจารย์ ซีมัวร์ เพเพอร์ท 	
แห่งสถาบันเทคโนโลยีแมสซาชูเซต
! สามารถใช้สื่อ เทคโนโลยี วัสดุและอุปกรณ์ในการสร้างสาระการเรียนรู้และ
ผลงานด้วยตนเอง รวมทั้งการนําเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์มาใช้เป็นเครื่องมือ
ในการให้ผู้เรียนมีโอกาสสร้างความรู้ โดยเฉพาะวิชาคณิตศาสตร์และ
วิทยาศาสตร์
! ผู้เรียนสามารถควบคุมของเล่นในคอมพิวเตอร์ให้เคลื่อนไหว เดิน ฉายแสง
หรือ ตอบ สนองสิ่งเร้าต่างๆ ได้ตามต้องการ เพื่อให้เด็กใช้คณิตศาสตร์ในการ
สร้างรูปภาพ ภาพเคลื่อนไหว ดนตรี เกม
! การบูรณาการความรู้ในหลายๆด้าน ทั้งด้านวิทยาศาสตร์ สุนทรียศาสตร์
สถาปัตยกรรมศาสตร์ และ ศิลปะศาสตร์
ให้เป็นประโยชน์ต่อการสร้างสรรค์ผลงาน
รวมทั้งสถานการณ์จําลองด้วยคอมพิวเตอร์อื่นๆ
ในการสอน
! สื่อธรรมชาติและวัสดุทางศิลปะส่วนมากนํา มาใช้เป็นวัสดุในการสร้างความรู้
ได้ดีเช่น กระดาษ ดินเหนียว ไม้ โลหะ พลาสติก สบู่ และของเหลือใช้ต่างๆ
! สร้างบรรยากาศที่มีทางเลือกหลากหลาย เพื่อประโยชน์ในการเรียนรู้เช่น วัย
ความสามารถ ความถนัด และประสบการณ์
! สร้างบรรยากาศที่มีความเป็นมิตร เป็นกันเอง ซึ่งทําให้ผู้เรียนรู้สึกอบอุ่น
ปลอดภัย สบายใจ จะเอื้อให้การเรียนรู้เป็นไปอย่างมีความสุข
! ในการทํากิจกรรมที่พื้นจะช่วยให้เด็กเกิดความผ่อนคลายมากกว่าการนั่งเก้าอี้
! ทําให้เด็กเกิดความอิสระ + จินตนาการ
! งานที่ละเอียดควรใช้การนั่งเก้าอี้ เพราะเด็กจะได้มีสมาธิจรดจ่อ ไม่อิสระเกินไป
! ไม่ควรให้งานเกิน ทีละ 1 ขั้นตอน เพราะอาจจะยากต่อการจําและการสรุป
! หากต้องการให้เกิดความคิดสร้างสรรค์ไม่ควรให้เด็กทํางานกันหลายคนเพราะจะ
แย่งกัน
! หากต้องการ การทํางานเป็นกลุ่ม ควรแบ่งงานการทําแล้วนํามารวมกัน
! ควรฝึกเด็กให้มีการวางแผนโดยดูจากโจทย์ หรือแผนการสอน
! เมื่อทํางานเสร็จแล้ว ให้นํามารวมกัน
! มีข้อตกลงร่วมกัน ในการใช้เสียง การเคลื่อนที่
! ครูต้องทําหน้าที่อํานวยความสะดวกในการเรียนรู้ให้แก่ผู้เรียน ให้คําปรึกษา
ชี้แนะแก่ผู้เรียนเกื้อหนุนการเรียนรู้ของผู้เรียนเป็นสําคัญ
! การประเมินผลการเรียนรู้ จําเป็นต้องมีการประเมินทั้งด้านผลงาน (Product)
และกระบวนการ (Process)
! ใช้วิธีการที่หลากหลายในการประเมิน เช่น การประเมินตนเอง การประเมิน
โดยครูและเพื่อน การสังเกต การประเมินโดยแฟ้มสะสมงาน
! LEGO ถือกําเนิดขึ้นที่เมือลง บิลลุนด์ ประเทศ เดนมาร์กโดยช่างไม้ที่มีชื่อว่า Ole
Kirk Christiansen ซึ่งช่วงปี ค.ศ. 1932 ได้เกิดวิกฤตเศรษฐกิจตกต่ําอย่างรุนแรง
ทําให้เขาตัดสินใจที่จะผลิตสินค้าใหม่ๆ หลายชนิดมาจําหน่าย หนึ่งในนั้นก็คือ ของเล่น
ไม้ (Wooden Toys) และเปลี่ยนเป็นพลาสติก
! Fischertechnik, ผลิตใน Waldachtal ใน Black Forest จากของขวัญคริสต์มาสให้แก่
ลูกค้าและเด็กพิเศษมาเป็นสินค้าที่ขายดีใน ปี 1965 เป็นที่นิยมเนื่องจากสามารถ
ออกแบบความรู้ทางเทคนิคขั้นพื้นฐานที่ได้มาและได้รับการส่งเสริมจินตนาการ ให้
ความสนใจกับสื่อรอบด้าน สามารถดาวน์โหลดเสียงเครื่องยนต์หรือเสียงอื่นๆมา
ประกอบงานของเราได้
! LEGO Education แบ่งหลักสูตรออกเป็น 3 หลักสูตรคือ
! LEGO Eary Leaning ที่เหมาะสําหรับเด็กอายุ 3-7 ปี เป็นสื่อที่
สอนก่อนวัยเรียน เน้นในเรื่องการใช้ชีวิตประจําวันของเด็ก สอน
ให้รู้เกี่ยวกับคน สัตว์ สิ่งของ สี และรูปร่างต่างๆ รวมถึงการ
พัฒนากล้ามเนื้อมัดเล็ก
! หลักสูตรต่อมาคือ School Product จะแบ่งเป็นเนื้อหาในเรื่อง
ของวิทยาศาสตร์ คณิตศาสตร์ และไอซีที
! และหลักสูตรที่ได้รับความนิยมก็คือ สื่อการเรียนการสอนหุ่น
ยนต์
! ในปี ค.ศ. 1955 LEGO ได้จําหน่าย
ของเล่นชื่อ "LEGO System of Play"
มีทั้งหมด 28 ชุด กับรถแบบต่างๆ อีก
8 คัน ในชุดจะประกอบด้วย อาคาร
บ้าน ต้นไม้ รถยนต์ ป้ายสัญลักษณ์
จราจรและอื่นๆ
! ของเล่นชุดนี้ถือเป็นการปฏิวัติวงการ
ของเล่นเพราะผู้เล่นสามารถสร้างสรรค์
การเล่นได้ตามจินตนาการ โดยไม่ถูก
จํากัดให้ต้องทําตามคู่มือเท่านั้น
! ผลิตในเมือง Waldachtal เป็นชุดการก่อสร้าง
ทั้งหมดสามารถผนวกกับความคิดสร้างสรรค์
ของเล่นชุดนี้ได้การยอมรับจากพ่อแม่ครูอาจารย์
และวิศวกร fischertechnik จึงได้ทําชุดคิด
ทางการศึกษาซึ่งประสบความสําเร็จสูงสุดจากใน
โรงเรียนและมหาวิทยาลัย
! พื้นฐานของระบบมาจาก กลุ่มบล็อกซึ่งจะช่วย
ให้การเชื่อมต่อกัน สามารถทําได้ในทุกด้านไม่ว่า
จะเป็น บล็อกกับบล็อก หรือชิ้นส่วนอิเล็กทรอนิกส์
จํานวนมาก เช่นเซ็นเซอร์และมอเตอร์
fischertechnik ประกอบด้วยประมาณ 40 ชุดการ
ก่อสร้างและชุดเสริม
! fischertechnik ถูกคิดค้นในปี 1964 และตั้งใจ
จะให้เป็นของขวัญวันคริสต์มาสสําหรับเด็กและ
คู่ค้าทางธุรกิจของเขา
! ต่อมาในปี 1965 ของเล่นนี้เป็นที่นิยมเพราะ
สามารถออกแบบโดยใช้ความรู้ทางเทคนิคขั้น
พื้นฐาน และผนวกกับการส่งเสริมจินตนาการ
! สิ่งประดิษฐ์ของเขาที่ประสบความสําเร็จคือ
อุปกรณ์ขยายตัวในผนัง (PUCK) ,ของเล่นชุด
เพื่องานด้านเทคนิค Focus Kits,และของเล่น
เด็กทําจากแป้งมันฝรั่ง
! ปัจจุบัน บริษัทนี้ทําธุรกิจหลายๆด้าน เช่นชิ้น
ส่วนยานยนต์,ของเล่น,การก่อสร้างและอื่นๆ
"Wann	
  immer	
  man	
  etwas	
  Neues	
  schafft,	
  ist	
  Herzblut	
  gefragt“	
"เมื่อใดก็ตามที่คุณสร้างสิ่งใหม่ ๆ , การสูบฉีดเลือดและการเต้นของหัวใจจะ
เปลี่ยนไป	
  
ศาสตราจารย์ Artur	
  Fischer	
  	
  
! จินตนาการที่ไม่มีขอบเขต
! การกําหนดความคิดสร้างสรรค์อย่าง
เป็นระบบ ด้วยขนาด สี รูปร่าง ลักษณะ
! การสื่อสารกับสิ่งอื่น ปุ่มที่ยื่นออกมาเรา
จะต้องต่อกับตัวอื่น และต้องให้ ตัวอื่น
มาต่อเราได้อีก
! การเลือกใช้ การใช้งานที่ต่างกัน
สามารถประยุกต์ใช้งานในสิ่งต่างๆได้
! ชิ้นส่วนย่อยจะทําให้เข้าใจเรื่องหน้าที่ใน
ฐานะสมาชิกของสังคม
!  จินตนาการด้านช่างที่ไม่มีขอบเขต
!  การกําหนดความคิดสร้างสรรค์อย่างเป็น
ระบบ ด้วยขนาด สี รูปร่าง ลักษณะของชิ้น
ส่วน
!  การสื่อสารกับสิ่งอื่น ด้วยรูปทรงสี่เหลี่ยมใน
การต่อกับชิ้นส่วนตัวอื่น การเชื่อมต่อที่
ยืดหยุ่น การเชื่อมต่อคําสั่ง
!  การเลือกใช้ชิ้นส่วนกับการใช้งานที่ต่างกัน
สามารถประยุกต์ใช้งานในสิ่งต่างๆได้
!  ชิ้นส่วนย่อยจะทําให้เข้าใจเรื่องหน้าที่ในฐานะ
สมาชิกของสังคม ทดแทนกันได้
! บล็อกการก่อสร้างเป็นพื้นฐาน ผลิตจากวัสดุ
ไนลอน
! บล็อกขนาด 15x15x30 มิลลิเมตร
! และขนาด 15x15x15 ส่วนปลายด้านหนึ่งจะเป็น
ส่วนต่อของอีกด้านทําให้เกิดการเชื่อมโยงอย่าง
หนาแน่นสามารถออกแบบได้เกือบทุกรูปทรง
! สามารถต่ออุปกรณ์ต่าง ๆ เช่นล้อสีแดงและ
อุปกรณ์เช่นมอเตอร์ไฟฟ้า แหล่งพลังงาน และต่อ
มาก็เพิ่มรูปชิ้นส่วนเกียร์ สิ่งก่อสร้างชิ้นอื่นเช่น เสา
เพิ่มการก่อสร้างสะพานทาวเวอร์เครน และแบบ
จําลองสอนฟิสิกส์ แบบจําลองชุดอุปกรณ์วัดเพื่อที่
จะได้ทดสอบ และการคํานวณเวกเตอร์ตรีโกณมิติ
! fischertechnik ชุดแรกมีความซับซ้อน สําหรับวิศวกร และ การใช้เครื่องใช้ไฟฟ้า และ
ส่วนประกอบอิเล็กทรอนิกส์ไม่ได้ใช้คําสั่งชั้นสูงโดยกลไกเช่น รีดสวิตช์แม่เหล็ก-สัมผัส
และเซลล์ ซึ่งตําแหน่ง และการทํางานของมอเตอร์จะเป็นพื้นฐานของงาน
อิเล็กทรอนิกส์ .โดยใช้การประกอบด้วยจากบล็อกที่เป็นส่วนปฏิบัติเกี่ยวกับเสียง กลไก
การเลื่อนตามวงจร
! ในช่วงปลายยุค 70 ชิ้นส่วนอิเล็กทรอนิกส์กับ ตรรกศาสตร์-ฐานโมดูล มีแนะนําว่า น่า
จะแบ่งแยกจากันในชัดเจนใน Model ต่างๆซึ่งจะง่ายต่อการออกแบบ
! ปลายยุค 80 มีการนําคอมพิวเตอร์ มาใช้มีการ เพิ่มโมดูลเคลื่อนไหวจากการ
โปรแกรมLLWIN ซึ่งเป็นซอฟต์แวร์ที่ใช้เป็นครั้งแรก
! ซึ่งในขณะเดียวกันที่เลโก้ขยายกําลังของผู้เชี่ยวชาญด้านเทคนิคและนํา
Mindstormsเข้ามาใช้ ดังนั้น fischertechnik Mindstormsต้องปรับตามกระบวนการ
และการควบคุม แม้ไม่เคยทํามาเพราะความยืดหยุ่น ของผลิตภัณฑ์เลโก้กับ
fischertechnikไม่เหมือนกันอย่างไรก็ตาม เลโก้มีความถนัดในการใช้ Mindstorms
มากกว่า fischertechnik
! เมื่อเลโก้พัฒนาขึ้นโดยใช้ความสามารถของ Mindstorms เน้นการเขียนโปรแกรมให้
เข้ากับ ชิ้นส่วนที่มีอยู่และผลิตเพิ่มเพื่อให้ใช้เหมาะสมกับ ชิ้นส่วนใหม่ๆ โดยเข้ากันได้
กับชุดเดิม แต่มีราคาแพง ในช่วงหลัง เลโก้หันมาทําการโปรแกรมที่ง่ายขึ้นและใช้กับ
ชิ้นส่วนที่ผลิตขึ้นมาเฉพาะ ทําให้เกิดการพัฒนาอย่างต่อเนื่องโดยเฉพาะด้านหุ่นยนต์
! ส่วนfischertechnik พยายามที่จะเปลี่ยนไปที่อีกกลุ่มหนึ่งคือเน้นความ "สนุก"
โดยใช้ชุดสําเร็จเพื่อต่อเป็นรูปแบบนั้นเช่น รถ อย่างไรก็ตามสิ่งที่ผลิตได้มีราคาแพง
มากกว่า lego fischertechnik จึงเข้าไปในตลาดของเล่น หรือผลิตภัณฑ์สําหรับ
โรงเรียน วิศวกร และผู้ที่เล่นเป็นงานอดิเรก ซึ่งยังไม่มีใครทํา
! ในปี 2549 โดยfischertechnik สร้างหาชุดควบคุมการใช้หุ่นยนต์ "โรโบ-โปร" ใช้
ซอฟต์แวร์และใช้หน่วยความจําแบบแฟลชรอมใช้คลื่นวิทยุ-คลื่นความถี่อินฟราเรด
และรีโมทคอนโทรล และใช้คอมพิวเตอร์ในการจําลองการเคลื่อนไหว การโปรแกรมหุ่น
ยนต์ตามคําสั่งสําเร็จรูป หรือการจําลองเส้นทางรถไฟบนพื้น การวิ่งผ่านเครื่องกีดขวาง
และการเปลี่ยนเส้นทาง การค้นหา และเคลื่อนย้ายวัตถุ และสามารถนําไปใช้ในชีวิต
ประจําวันเช่น ขายเครื่องจักรอุปกรณ์ ระบบลิฟต์โดยสาร และควบคุมไฟจราจร-
! เด็กอายุ 5 ปี
! เด็กอายุ 7 ปี
! เด็กอายุ 9 ปี
! มีชุดเสริมเพื่อเพิ่มความสามารถอื่นๆจากสิ่งที่มีอยู่ได้
! และการนํามาใช้กับการเรียนการสอน เน้นตามโรงเรียนสถาบัน
เทคนิค
! เน้นการประสานมือกับพัฒนาสายตา ควบคู่กัน
! พัฒนาทักษะเกี่ยวกับเครื่องยนต์ทั้งภาพรวมและด้านลึก
! พัฒนาความสามารถในการจินตนาการเกี่ยวกับพื้นที่
! พัฒนาจินตนาการและความคิดสร้างสรรค์
! พัฒนาความสามารถในการคิดเชิงตรรกะ
! การพัฒนาความเข้าใจพื้นฐานของเทคโนโลยีด้านต่างๆ
! คุณสมบัติผลิตภัณฑ์
! ARM 9 32 บิตประมวลผล
! ความสามารถในการจัดเก็บ : RAM 8MB, 2MB
แฟลช
! 8 ใส่ Universal : ดิจิตอล, อนาล็อก
* SIEMENS LOGO คืออุปกรณ์ควบคุมลําดับการทํางานอัตโนมัติ ที่
สะดวกในการโปรแกรมและแก้ไขคําสั่ง ซึ่งจะทําหน้าที่ควบคุมการทํางาน
ของอุปกรณ์ไฟฟ้าต่าง ๆ โปรแกรมควบคุมการทํางานสามารถเขียน
โปรแกรมได้ทั้งแบบ Ladder และ FBD (Function Block Diagram)
* ข้อดีของการใช้ SIEMENS LOGO!
!  - มีหน้าจอแสดงผลการทํางาน ง่ายต่อการใช้งานด้วยฟังก์ชั่นการ
ทํางานต่าง ๆ ที่ใช้ในการแสดงผล
!  - มีคีย์บอร์ด สามารถเขียนโปรแกรม แก้ไข หรือปรับปรุง ที่ตัวเครื่องได้
โดยไม่ต้องใช้ Computer
!  - ราคาของ SIEMENS LOGO! ที่ถูกกว่า PLC
!  - ง่ายต่อการโปรแกรมด้วย LOGO! Soft Comfort V6.0 ที่สามารถ
Simulation ได้โดยไม่ต้องต่อ Hardware
!  - สามารถต่อ Text Display เพิ่มเติมได้
!  - สามารถขยาย Modules เพิ่มได้ สูงสุดดังนี้ 28 Digital Input + 8
Analog Input + 16 Digital Output + 2 Analog Output
! สิ่งที่เหมือนกันคือ	
! ชิ้นส่วน ที่เท่า
กัน	
! เวลาเท่ากัน	
! สมาชิกเท่ากัน	
! การสื่อสาร ใน
กลุ่ม	
! อาจารย์ที่
ปรึกษา 	
! โจทย์ สิ่งเร้า	
! สิ่งที่แตกต่างกันคือ	
! ความคิด สร้างสรรค์	
! ทีมงาน ที่ต่างกัน	
! ประสบการณ์ต่างกัน	
! ภาวะผู้นําที่ต่างกัน	
! การควบคุมของหัวหน้ากลุ่ม	
! อาจารย์ที่ปรึกษา 	
! การแก้โจทย์และสิ่งเร้าไม่เท่า
กัน
! ควรจัดการแข่งขันในลักษณะต่างๆเพื่อ ก่อให้เกิดการพัฒนา
อย่างต่อเนื่อง
! ชุดโครงสร้าง
! ชุดเครื่องกล
! ชุดไฟฟ้า
! คู่มือครู หน้า 101 – 117 ซึ่งจะแสดงให้คุณครูมีแนวทางในการ
สอนอะไร และมีเนื้อหาอะไร
นําไปทําแผนการสอนได้
! ครูควรจะอ่าน คู่มือก่อนและใช้ประกอบการทดลองเสมอ
! แบบฝึกหัด การประกอบชุดโครงสร้าง ด้านบนสุด เอกสารหน้า
5
! ความยากง่าย ประถมปลาย,มัธยมศึกษาตอนต้น
! วัตถุประสงค์
! โครงสร้างกับการรับน้ําหนัก
! การเปลี่ยนแปลงรูปแบบโครงสร้างที่ส่งผลต่อการรับน้ําหนัก
! อยู่ด้านบนสุดของชุดคิด
! เรียงอุปกรณ์ดังภาพ
! ขั้นตอนการทํางาน ประกอบตามรูปแบบ
! ข้อควรระวัง ต้องดูตามคู่มือเป็นหลัก
! การทํางาน จะไม่มีการบอกว่าผิดถูกตรงไหน สามารถปรับ
เปลี่ยนได้ ระยะห่างจะทําให้เกิดงานใหม่ได้
! ชิ้นส่วนทุกชิ้นได้มาตรฐาน มีคุณภาพ
! แบบฝึกหัด การประกอบชุดเครื่องกล สามารถประกอบได้สองชุด
! ความยากง่าย มัธยมศึกษาตอนต้น
! วัตถุประสงค์
! เรียนรู้ชุดเครื่องกลที่ส่งผ่านการเคลื่อนที่แบบหมุน ระหว่างเพลาขนานและ
เปลี่ยนทิศทางการเคลื่อนที่
! เพื่อให้เข้าใจหลักการของเครื่องกลสามารถใช้เปลี่ยนแปลงความเร็วและ
แรงบิด ซึ่งสัมพันธ์กัน
! อุปกรณ์ ดังภาพ
! ขั้นตอนการทํางาน ประกอบตามรูปแบบ
! ข้อควรระวัง ต้องดูตามคู่มือเป็นหลัก
! การทํางานในหนังสือ จะไม่มีการบอกว่าผิดถูกตรงไหน สามารถ
ปรับเปลี่ยนได้ ระยะห่างจะทําให้เกิดงานใหม่ได้
! แบบฝึกหัด การประกอบชุดไฟฟ้า
! ความยากง่าย ประถมศึกษาตอนต้น
! วัตถุประสงค์
! เรียนรู้การต่อวงจรไฟฟ้า กับโหลดต่างๆ เช่นหลอดไฟ,มอเตอร์
! เพื่อให้เข้าใจหลักการของการต่อไฟฟ้า แบบขนาดและอนุกรม
! อุปกรณ์ ดังภาพ
! ขั้นตอนการทํางาน ศึกษาคู่มือ
! ข้อควรระวัง ต้องดูตามคู่มือเป็นหลัก
! ตรวจสอบวงจร ก่อนเปิดสวิทช์
! สามารถกลับขั้วกระแสไฟฟ้า เพื่อทดสอบการกลับทิศทางการ
หมุนของ มอเตอร์ได้
! ฝึกการคิดแบบองค์รวม	
! เป็นการใช้ความรู้ในหลายๆด้าน 	
! เป็นการต่อยอดความรู้	
  
ให้รู้จักชิ้นส่วนต่างๆ	
ฝึกทักษะการคิดเรื่องการเชื่อมต่อชิ้นส่วนต่างๆ	
ฝึกการเล่าเรื่องราว	
การสมมุติสถานการณ์
• 2010
!  รางวัลที่เสนอชื่อเข้าชิง"ม้าโยกสีทอง“ หมวดหมู่ : Play & เทคนิค การก่อสร้างตั้ง :
Revolutions เทคนิค PROFI
• 2009
!  รางวัลชนะเลิศประเภทสําหรับ"ม้าโยกสีทอง“ หมวดหมู่ : Play & เทคนิค การก่อสร้าง
ตั้ง : PROFI Oeco เทค
• 2008
!  รางวัลที่เสนอชื่อเข้าชิง"ม้าโยกสีทอง“ หมวดหมู่ : Play & เทคนิค การก่อสร้างชุดเครื่องดา
วินชี PROFI
!  รางวัลชนะเลิศประเภท"Speelgoed รถตู้ HET Jaar"(ของเล่นแห่งปี / เบลเยียม) หมวด
หมู่ : ของเล่นก่อสร้าง
!  การก่อสร้างชุดเครื่องดาวินชี PROFI
• 2007
!  รางวัลที่เสนอชื่อเข้าชิง"TOP 10 ของเล่น“ หมวดหมู่ : เด็ก คอนสตรัคชุดเรือขั้นสูง + เพิ่ม
เติม
! สรุป สิ่งที่จะทําได้
!  ^ http://www.fischertechnik.de/en/products/index.aspx?
KatID=6&sprache=&ArtID=500882
!  ^ http://www.fischerwerke.de/en/desktopdefault.aspx/tabid-253/249_read-1315/
!  ^ http://www.fischertechnik.de/en/products/index.aspx?
KatID=5&sprache=&ArtID=508778
!  ^ Hobby Engineering: Aluminum Girder 210 mm from Fischertechnik
!  ^ Staudinger: fischertechnik-compatible aluminium profiles
!  http://th.asiaonline.com/article?article=Fischertechnik

Más contenido relacionado

Similar a Fischertechnik training

ความคิดสร้างสรรค์
ความคิดสร้างสรรค์ความคิดสร้างสรรค์
ความคิดสร้างสรรค์Surapon Boonlue
 
Borai organizational culture
Borai organizational cultureBorai organizational culture
Borai organizational cultureKomsun See
 
เอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้องกับการสอนแบบ 4 mat
เอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้องกับการสอนแบบ 4 matเอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้องกับการสอนแบบ 4 mat
เอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้องกับการสอนแบบ 4 matSiriphan Kristiansen
 
สุนทรียสนทนา
สุนทรียสนทนาสุนทรียสนทนา
สุนทรียสนทนาEkarach Inthajan
 
บทความ
บทความบทความ
บทความaorchalisa
 
บทความทางวิชาการ
บทความทางวิชาการบทความทางวิชาการ
บทความทางวิชาการขวัญ ฤทัย
 
บทความทางวิชาการ
บทความทางวิชาการบทความทางวิชาการ
บทความทางวิชาการขวัญ ฤทัย
 
บทที่ 2-แก้ใหม่ครั้งที่
บทที่ 2-แก้ใหม่ครั้งที่บทที่ 2-แก้ใหม่ครั้งที่
บทที่ 2-แก้ใหม่ครั้งที่T Ton Ton
 
Social problem analysis - Workshop
Social problem analysis - WorkshopSocial problem analysis - Workshop
Social problem analysis - Workshopinanza
 
ทฤษฎีพหุปัญญา (Theory of multiple intelligences)
ทฤษฎีพหุปัญญา (Theory of multiple intelligences)ทฤษฎีพหุปัญญา (Theory of multiple intelligences)
ทฤษฎีพหุปัญญา (Theory of multiple intelligences)Namchai
 
บทความวิชาการ
บทความวิชาการบทความวิชาการ
บทความวิชาการSupattra Rakchat
 
พิมพ์_2009_คุณธรรม
พิมพ์_2009_คุณธรรมพิมพ์_2009_คุณธรรม
พิมพ์_2009_คุณธรรมSirirat Channok
 
Presentation 5
Presentation 5Presentation 5
Presentation 5moohmed
 
อบรม "ห้องเรียนสร้างสรรค์" วันที่ 1
อบรม "ห้องเรียนสร้างสรรค์" วันที่ 1อบรม "ห้องเรียนสร้างสรรค์" วันที่ 1
อบรม "ห้องเรียนสร้างสรรค์" วันที่ 1Wichit Thepprasit
 
Quiet leadership ผู้นำแบบคมในฝัก
Quiet leadership ผู้นำแบบคมในฝักQuiet leadership ผู้นำแบบคมในฝัก
Quiet leadership ผู้นำแบบคมในฝักmaruay songtanin
 
Deliberative democracy public
Deliberative democracy publicDeliberative democracy public
Deliberative democracy publicKan Yuenyong
 
คอนสตรัคติวัสต์
คอนสตรัคติวัสต์คอนสตรัคติวัสต์
คอนสตรัคติวัสต์Eye E'mon Rattanasiha
 

Similar a Fischertechnik training (20)

ความคิดสร้างสรรค์
ความคิดสร้างสรรค์ความคิดสร้างสรรค์
ความคิดสร้างสรรค์
 
Borai organizational culture
Borai organizational cultureBorai organizational culture
Borai organizational culture
 
เอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้องกับการสอนแบบ 4 mat
เอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้องกับการสอนแบบ 4 matเอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้องกับการสอนแบบ 4 mat
เอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้องกับการสอนแบบ 4 mat
 
สุนทรียสนทนา
สุนทรียสนทนาสุนทรียสนทนา
สุนทรียสนทนา
 
บทความ
บทความบทความ
บทความ
 
กระบวนการค ด
กระบวนการค ดกระบวนการค ด
กระบวนการค ด
 
บทความทางวิชาการ
บทความทางวิชาการบทความทางวิชาการ
บทความทางวิชาการ
 
บทความทางวิชาการ
บทความทางวิชาการบทความทางวิชาการ
บทความทางวิชาการ
 
บทที่ 2-แก้ใหม่ครั้งที่
บทที่ 2-แก้ใหม่ครั้งที่บทที่ 2-แก้ใหม่ครั้งที่
บทที่ 2-แก้ใหม่ครั้งที่
 
Social problem analysis - Workshop
Social problem analysis - WorkshopSocial problem analysis - Workshop
Social problem analysis - Workshop
 
ทฤษฎีพหุปัญญา (Theory of multiple intelligences)
ทฤษฎีพหุปัญญา (Theory of multiple intelligences)ทฤษฎีพหุปัญญา (Theory of multiple intelligences)
ทฤษฎีพหุปัญญา (Theory of multiple intelligences)
 
บทความวิชาการ
บทความวิชาการบทความวิชาการ
บทความวิชาการ
 
ลองของ
ลองของลองของ
ลองของ
 
พิมพ์_2009_คุณธรรม
พิมพ์_2009_คุณธรรมพิมพ์_2009_คุณธรรม
พิมพ์_2009_คุณธรรม
 
Presentation 5
Presentation 5Presentation 5
Presentation 5
 
Expand
ExpandExpand
Expand
 
อบรม "ห้องเรียนสร้างสรรค์" วันที่ 1
อบรม "ห้องเรียนสร้างสรรค์" วันที่ 1อบรม "ห้องเรียนสร้างสรรค์" วันที่ 1
อบรม "ห้องเรียนสร้างสรรค์" วันที่ 1
 
Quiet leadership ผู้นำแบบคมในฝัก
Quiet leadership ผู้นำแบบคมในฝักQuiet leadership ผู้นำแบบคมในฝัก
Quiet leadership ผู้นำแบบคมในฝัก
 
Deliberative democracy public
Deliberative democracy publicDeliberative democracy public
Deliberative democracy public
 
คอนสตรัคติวัสต์
คอนสตรัคติวัสต์คอนสตรัคติวัสต์
คอนสตรัคติวัสต์
 

Más de Surapon Boonlue

สัมมนาการพัฒนาศักยภาพองค์กร 2021
สัมมนาการพัฒนาศักยภาพองค์กร 2021สัมมนาการพัฒนาศักยภาพองค์กร 2021
สัมมนาการพัฒนาศักยภาพองค์กร 2021Surapon Boonlue
 
มาตรฐานMoocมจธ
มาตรฐานMoocมจธมาตรฐานMoocมจธ
มาตรฐานMoocมจธSurapon Boonlue
 
Learning Space: Design Tips for Classroom ห้องสมุด ในยุค 4.0
Learning Space: Design Tips for Classroom ห้องสมุด ในยุค 4.0Learning Space: Design Tips for Classroom ห้องสมุด ในยุค 4.0
Learning Space: Design Tips for Classroom ห้องสมุด ในยุค 4.0Surapon Boonlue
 
การจัดการเรียนการสอนในยุคดิจิทัล
การจัดการเรียนการสอนในยุคดิจิทัลการจัดการเรียนการสอนในยุคดิจิทัล
การจัดการเรียนการสอนในยุคดิจิทัลSurapon Boonlue
 
การบริหารจัดการห้องเรียนด้วย Classdojo
การบริหารจัดการห้องเรียนด้วย Classdojoการบริหารจัดการห้องเรียนด้วย Classdojo
การบริหารจัดการห้องเรียนด้วย ClassdojoSurapon Boonlue
 
การวิจัยโดยใช้เกมมิฟิเคชั่นเป็นฐาน
การวิจัยโดยใช้เกมมิฟิเคชั่นเป็นฐานการวิจัยโดยใช้เกมมิฟิเคชั่นเป็นฐาน
การวิจัยโดยใช้เกมมิฟิเคชั่นเป็นฐานSurapon Boonlue
 
Smart Learning มิติใหม่ในยุคการศึกษา 4.0
Smart Learning  มิติใหม่ในยุคการศึกษา 4.0Smart Learning  มิติใหม่ในยุคการศึกษา 4.0
Smart Learning มิติใหม่ในยุคการศึกษา 4.0Surapon Boonlue
 
การประยุกต์เทคโนโลยีอุบัติใหม่เพื่อการศึกษา Emerging Technology for Education
การประยุกต์เทคโนโลยีอุบัติใหม่เพื่อการศึกษา Emerging Technology for Educationการประยุกต์เทคโนโลยีอุบัติใหม่เพื่อการศึกษา Emerging Technology for Education
การประยุกต์เทคโนโลยีอุบัติใหม่เพื่อการศึกษา Emerging Technology for EducationSurapon Boonlue
 
การประยุกต์ใช้ซอฟต์แวร์เพื่อพัฒนา “มัลติมีเดียเชิงปฎิสัมพันธ์”
การประยุกต์ใช้ซอฟต์แวร์เพื่อพัฒนา “มัลติมีเดียเชิงปฎิสัมพันธ์” การประยุกต์ใช้ซอฟต์แวร์เพื่อพัฒนา “มัลติมีเดียเชิงปฎิสัมพันธ์”
การประยุกต์ใช้ซอฟต์แวร์เพื่อพัฒนา “มัลติมีเดียเชิงปฎิสัมพันธ์” Surapon Boonlue
 
การบริหารจัดการเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อพัฒนาการบริหารการศึกษา
การบริหารจัดการเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อพัฒนาการบริหารการศึกษาการบริหารจัดการเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อพัฒนาการบริหารการศึกษา
การบริหารจัดการเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อพัฒนาการบริหารการศึกษาSurapon Boonlue
 
Online content development and video production
Online content development and video production  Online content development and video production
Online content development and video production Surapon Boonlue
 
Management technology in classroom for 21
Management technology in classroom for 21Management technology in classroom for 21
Management technology in classroom for 21Surapon Boonlue
 
Smart classroom ความสมาร์ทในความเสมือน
Smart classroom  ความสมาร์ทในความเสมือนSmart classroom  ความสมาร์ทในความเสมือน
Smart classroom ความสมาร์ทในความเสมือนSurapon Boonlue
 
New media@kmut tbysurapon
New media@kmut tbysuraponNew media@kmut tbysurapon
New media@kmut tbysuraponSurapon Boonlue
 
การใช้เทคโนโลยีในการเรียนการสอนและ e-Learning
การใช้เทคโนโลยีในการเรียนการสอนและ e-Learning  การใช้เทคโนโลยีในการเรียนการสอนและ e-Learning
การใช้เทคโนโลยีในการเรียนการสอนและ e-Learning Surapon Boonlue
 
หลักพื้นฐาน 12 ข้อสำหรับสร้างแอนิเมชัน
หลักพื้นฐาน 12 ข้อสำหรับสร้างแอนิเมชันหลักพื้นฐาน 12 ข้อสำหรับสร้างแอนิเมชัน
หลักพื้นฐาน 12 ข้อสำหรับสร้างแอนิเมชันSurapon Boonlue
 
Ict for edu primary school surapon
Ict for edu primary school  suraponIct for edu primary school  surapon
Ict for edu primary school suraponSurapon Boonlue
 

Más de Surapon Boonlue (20)

สัมมนาการพัฒนาศักยภาพองค์กร 2021
สัมมนาการพัฒนาศักยภาพองค์กร 2021สัมมนาการพัฒนาศักยภาพองค์กร 2021
สัมมนาการพัฒนาศักยภาพองค์กร 2021
 
มาตรฐานMoocมจธ
มาตรฐานMoocมจธมาตรฐานMoocมจธ
มาตรฐานMoocมจธ
 
Learning Space: Design Tips for Classroom ห้องสมุด ในยุค 4.0
Learning Space: Design Tips for Classroom ห้องสมุด ในยุค 4.0Learning Space: Design Tips for Classroom ห้องสมุด ในยุค 4.0
Learning Space: Design Tips for Classroom ห้องสมุด ในยุค 4.0
 
การจัดการเรียนการสอนในยุคดิจิทัล
การจัดการเรียนการสอนในยุคดิจิทัลการจัดการเรียนการสอนในยุคดิจิทัล
การจัดการเรียนการสอนในยุคดิจิทัล
 
การบริหารจัดการห้องเรียนด้วย Classdojo
การบริหารจัดการห้องเรียนด้วย Classdojoการบริหารจัดการห้องเรียนด้วย Classdojo
การบริหารจัดการห้องเรียนด้วย Classdojo
 
Ar in active learning
Ar in active learning Ar in active learning
Ar in active learning
 
การวิจัยโดยใช้เกมมิฟิเคชั่นเป็นฐาน
การวิจัยโดยใช้เกมมิฟิเคชั่นเป็นฐานการวิจัยโดยใช้เกมมิฟิเคชั่นเป็นฐาน
การวิจัยโดยใช้เกมมิฟิเคชั่นเป็นฐาน
 
Smart Learning มิติใหม่ในยุคการศึกษา 4.0
Smart Learning  มิติใหม่ในยุคการศึกษา 4.0Smart Learning  มิติใหม่ในยุคการศึกษา 4.0
Smart Learning มิติใหม่ในยุคการศึกษา 4.0
 
การประยุกต์เทคโนโลยีอุบัติใหม่เพื่อการศึกษา Emerging Technology for Education
การประยุกต์เทคโนโลยีอุบัติใหม่เพื่อการศึกษา Emerging Technology for Educationการประยุกต์เทคโนโลยีอุบัติใหม่เพื่อการศึกษา Emerging Technology for Education
การประยุกต์เทคโนโลยีอุบัติใหม่เพื่อการศึกษา Emerging Technology for Education
 
การประยุกต์ใช้ซอฟต์แวร์เพื่อพัฒนา “มัลติมีเดียเชิงปฎิสัมพันธ์”
การประยุกต์ใช้ซอฟต์แวร์เพื่อพัฒนา “มัลติมีเดียเชิงปฎิสัมพันธ์” การประยุกต์ใช้ซอฟต์แวร์เพื่อพัฒนา “มัลติมีเดียเชิงปฎิสัมพันธ์”
การประยุกต์ใช้ซอฟต์แวร์เพื่อพัฒนา “มัลติมีเดียเชิงปฎิสัมพันธ์”
 
การบริหารจัดการเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อพัฒนาการบริหารการศึกษา
การบริหารจัดการเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อพัฒนาการบริหารการศึกษาการบริหารจัดการเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อพัฒนาการบริหารการศึกษา
การบริหารจัดการเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อพัฒนาการบริหารการศึกษา
 
Online content development and video production
Online content development and video production  Online content development and video production
Online content development and video production
 
Management technology in classroom for 21
Management technology in classroom for 21Management technology in classroom for 21
Management technology in classroom for 21
 
Lms & MOOCs surapon
Lms & MOOCs suraponLms & MOOCs surapon
Lms & MOOCs surapon
 
Smart classroom ความสมาร์ทในความเสมือน
Smart classroom  ความสมาร์ทในความเสมือนSmart classroom  ความสมาร์ทในความเสมือน
Smart classroom ความสมาร์ทในความเสมือน
 
New media@kmut tbysurapon
New media@kmut tbysuraponNew media@kmut tbysurapon
New media@kmut tbysurapon
 
การใช้เทคโนโลยีในการเรียนการสอนและ e-Learning
การใช้เทคโนโลยีในการเรียนการสอนและ e-Learning  การใช้เทคโนโลยีในการเรียนการสอนและ e-Learning
การใช้เทคโนโลยีในการเรียนการสอนและ e-Learning
 
หลักพื้นฐาน 12 ข้อสำหรับสร้างแอนิเมชัน
หลักพื้นฐาน 12 ข้อสำหรับสร้างแอนิเมชันหลักพื้นฐาน 12 ข้อสำหรับสร้างแอนิเมชัน
หลักพื้นฐาน 12 ข้อสำหรับสร้างแอนิเมชัน
 
Ict for edu primary school surapon
Ict for edu primary school  suraponIct for edu primary school  surapon
Ict for edu primary school surapon
 
Social network training
Social network trainingSocial network training
Social network training
 

Fischertechnik training