SlideShare una empresa de Scribd logo
1 de 14
Descargar para leer sin conexión
เอกสารประกอบการเรียนการสอน วิชาการจัดการและทักษะการเรียนในระดับอุดมศึกษา ครั้งที่ 3
หัวขอ เรียนอยางไรใหประสบความสําเร็จ บทความเลขที่ A03/1 ลงวันที่ 30 มิถุนายน 2548
                                         เรียนอยางไร ?
                                      ใหประสบความสําเร็จ


                                                                        โดย ผศ. บุษยมาส สินธุประมา

    เรียนมหาวิทยาลัยไปทําไม ?

         นักศึกษาอาจจะถูกตั้งคําถามนี้หลายครั้งเมื่อยางกาวเขามาในรั้วมหาวิทยาลัย และแมบางคน
อาจจะยังไมถูกถามก็นาจะถามตัวเอง เพราะถาไมอยางนั้นการเรียนระดับอุดมศึกษาในมหาวิทยาลัยก็คง
จะเปนเพียงขั้นตอนธรรมชาติสวนหนึ่งในชีวิตที่ “ตอยอด” มาจากมัธยมศึกษา หรืออีกนัยหนึ่งอุดมศึกษา
จะไมมความหมายในตัวของมันเอง และกลายเปน “ซุปเปอรมัธยม” ไปเทานั้น
       ี
         บางคนตอบว า การเรี ย นในมหาวิ ท ยาลั ย คื อ การพั ฒ นาตนเองเพื่ อ เตรี ย มไปประกอบอาชี พ
คํ า ตอบนี้ คงจะถู กเพี ยงส วนเดี ย ว เพราะถ า คํา ตอบนี้ถู กรอ ยเปอร เซ็น ต มหาวิท ยาลัย ก็ ค งไม ต า งจาก
“โรงเรียนฝกอาชีพ” เทานั้น
         ในความเปนจริง การอุดมศึกษายังมุงพัฒนาความเปน “มนุษย” หรือธรรมชาติสวนดีในตัว
นักศึกษาแตละคน เพื่อเสริมเขากับความรู ความสามารถ และทักษะในเชิงวิชาชีพ เพราะเมื่อนักศึกษา
เรียนสําเร็จเปนบัณฑิตออกไปแลว ไมเพียงแตไปประกอบอาชีพเทานั้น แตยังจะไปสรางครอบครัวและอยู
รวมกับผูคนอีกเปนจํานวนมากในสังคมดวย
         ความสําเร็จของการเรียนในมหาวิทยาลัย จึงตองเริ่มจากความตระหนักของนักศึกษาเองวาตนเขา
มาทําไม มีภารกิจอยางไร และกําลังมุงไปสูเปาหมายอะไร ?

   องคประกอบหลักที่จะนําไปสูความสําเร็จ
       เงื่อนไขปจจัยที่เปนตัวกําหนดวานักศึกษาจะประสบความสําเร็จ (หรือลมเหลว) ในการศึกษามาก
นอย หรือชาเร็วอยางไรนั้น มีอยูดวยกันมากมาย และสงผลตอกันอยางคอนขางจะซับซอน อยางไรก็ตาม
องคประกอบพื้นฐานที่สําคัญ ๔ สวนซึ่งจะนํานักศึกษาไปสูความสําเร็จก็คือ

                  กาย              อารมณ                 สังคม                 สติปญญา

        ๑. กาย รางกายที่แข็งแรงสมบูรณ เปนพื้นฐานเบื้องตนอันสําคัญที่สุด ถานักศึกษามานั่งเปนลม
เพราะหิวขาวตอนสาย ๆ ทุกวัน หรือเจ็บออด ๆ แอด ๆ เขาโรงพยาบาลภาคการศึกษาละสองเดือน ก็คง
ไมมีทางเรียนใหประสบความสําเร็จได
๒. อารมณ ในสวนนี้หมายถึงทั้งอารมณความรูสึก เชน โกรธ, เบื่อ, ขี้เกียจ, ขยัน, กระตือรือรน,
ไปจนถึงทัศนคติ เชน ความชอบ/ไมชอบ และอคติที่มีตอสิ่งตาง ๆ ดวย ปจจัยขอนี้ก็คงจะอธิบายไดไม
ยาก นักศึกษาจํานวนไมนอยเรียนภาษาอังกฤษหรือคณิตศาสตรไดไมดี (ออน) เนื่องจากสาเหตุพื้นฐาน
คือ อคติ/ความไมชอบ ที่มีตอวิชาทั้งสองนี้ เมื่อเขาเรียนทีไรก็จําใจเรียนอยางเบื่อหนาย ถาไมสามารถ
แกไขปรับปรุงองคประกอบขอนี้ไดก็ยากที่จะประสบความสําเร็จในการเรียนโดยรวม
         ๓. สังคม องคประกอบสองขอแรกนั้น เปนเรื่องของตัวเราเอง ที่เรายังสามารถควบคุมดูแล
ปรับปรุงพัฒนาไดดวยตนเอง แตเมื่อมาถึงขอที่สาม คือสังคม ที่เริ่มจากหนวยเล็กที่สุดคือครอบครัว
ขยายสูวงกวา ง เช น เพื่อ นฝู ง และคนรอบขา ง จะพบว า เงื่ อ นไขในองค ประกอบขอนี้ คอ นขางจะอยู
นอกเหนือการจัดการ ควบคุม ดูแล เพราะนอกจากครอบครัวที่เปนหนวยสังคมแลว ยังรวมเอาเงื่อนไข
ทางเศรษฐกิจผนวกเขาไวดวย ถึงแมวานักศึกษาอาจจะไมสามารถเขาไปแกไขปรับปรุงองคประกอบขอนี้
ไดมากนัก แตกเปนเรื่องสําคัญที่จะตองพิจารณาใหเขาใจ เพื่อจัดการใหสงผลกระทบในเชิงลบตอการเรียน
               ็                                                        
ของเราใหนอยที่สุด
         ๔. สติปญญา ขอนี้จัดไวทายสุดเพราะเปนคุณสมบัติติดตัวมาแตเกิด หรือพัฒนาอยูในชวงสั้น ๆ
ของวัยทารกเทานั้น อยางไรก็ตามองคประกอบขอนี้มิใชวาจะอยูนอกเหนือการควบคุมจนกระทั่งเราไม
ตองไปคิดถึงมันอีกเลย เพราะสติปญญาในขอนี้มิไดหมายถึงเพียงแตระดับความเฉลียวฉลาดที่ภาษาฝรั่ง
เรียกวา IQ เทานั้น แตยังตองพิจารณาลงไปถึงรายละเอียดทางองคประกอบของความสามารถทาง
สติปญญา ที่มาจากความแตกตางของสมองซีกซายกับซีกขวาดวย ซึ่งเราพบวา บางคนมีความสามารถเดน
ในเชิงตรรกะ เชน การใชเหตุผล การคิดคํานวณ การวางระบบและลําดับความคิด ในขณะที่อีกคนหนึ่ง
อาจจะโดดเดนมากกวาในการแสดงออกทางอารมณความรูสึก รวมไปถึงการรังสรรคงานทางดานศิลปะ
ดนตรี เปนตน นักศึกษาจึงตองประเมินและตระหนักถึงความสามารถเฉพาะตัวของแตละคน เพื่อจัดวาง
ทางเลือกที่เหมาะสมสําหรับตัวเองอยางดีที่สุด




    การตั้งเปาหมายที่เปนไปไดและควรจะเปน
       การเรียนก็เหมือนกับการทํากิจกรรมอื่น ๆ ในชีวิตอีกมากมาย คือ ตองมีเปาหมาย แตนักศึกษา
จํานวนไมนอยยังไมทราบ หรือแมแตไมเคยคิดวาเปาหมายในชีวิตของตนคืออะไร และเปาหมายในการเขา
มาเรียนในมหาวิทยาลัยคืออะไร เมื่อไมมีเปาหมายจึงไมรูวาจะวัดความสําเร็จไดอยางไร
                                                        




                                                                                                     ๒
ลักษณะของการตั้งเปาหมายที่ดี
      ๑. เปนสิ่งที่พงปรารถนา / เปนสิ่งกระตุนในทางที่ดี (ใครบางตั้งเปาจะจบไปเปนโจร ?)
                     ึ
      ๒. เปนสิ่งที่อยูในวิสัยจะเปนไปได (ถาอยากรวยกวา บิล เกตส จะมากไปไหม ?)
      ๓. วัดความสําเร็จได
      ๔. ทําสําเร็จไดภายในกําหนดเวลา (คงไมใช ชาติหนาตอนบาย ๆ ?)

        วิธีการตั้งเปาหมาย
                  แบงเปาหมายออกเปนระยะ ใหสอดคลองกันตั้งแตระยะสั้นจนถึงระยะยาว แลวพิจารณา
จากพื้นฐานองคประกอบสี่ประการ (กาย อารมณ สังคม สติปญญา) ที่ตัวเรามีอยู เพื่อตั้งเปาที่เปนไปได
และพึงประสงค (ถาเราเปนเด็กหัวดี IQ 190 ทางบานก็พอมีฐานะ จะตั้งเปาเอาแคผาน ๒.๐๐ เพื่อเรียน
ใหจบภายในหาป จะเปนเปาหมายที่ต่ําเกินไปหรือไม ?)
        ตัวอยาง นางสาว ป. สุขภาพแข็งแรง เรียนหนังสือพอใชได/คอนขางดี
                   สนใจดานคอมพิวเตอรและการทองเที่ยว
เปาหมายระยะยาว
                  จะเปนผูจดการบริษัทเล็ก ๆ ที่ใหบริการฐานขอมูลทางดานการทองเทียว
                            ั                                                      ่
              ทั้งในประเทศไทยและประเทศเพื่อนบานใกลเคียง (ภายในป พ.ศ. ๒๕ . . .)
เปาหมายระยะกลาง
                        จะเรียนที่ EAU ใหจบภายในสี่ป (อยางมากไมเกินสีปครึ่ง)
                                                                         ่
                         เกรดเฉลี่ยนาจะถึง ๓.๐๐ เผื่อสมัครเรียนปริญญาโทตอไป
เปาหมายระยะสั้น
                        จะเรียนเทอมแรกนี้ใหผาน อยางนอยนาจะไดสัก ๒.๗๕ นะ
                                               
        (และอาจมีเปาหมายระยะสั้น ๆ ยอยลงไปเปนรายเดือน รายสัปดาหอก ก็ยอมได)
                                                                           ี

    การวางแผนการเรียน
        ความสําคัญของการวางแผนการเรียน
        เมื่อมีเปาหมายที่ดีและสมจริง (คือเปนไปได) แลว ก็จําเปนตองมีวิธีการที่จะนําพาตนเองไปสู
เปาหมายที่วางไว การวางแผนการเรียนนั้น พูดกันงาย ๆ ก็คือการเตรียมวิธีการสําหรับตัวเราที่จะไปใหถึง
เปาหมายนั่นเอง อันที่จริงมหาวิทยาลัยไดเตรียมแผนในเชิงวิชาการไวสําหรับนักศึกษาทุกคนโดยสวนรวม
ในแตละหลักสูตรแลว ที่เรียกวา แผนการศึกษา หรือ Study Plan ซึ่งปรากฏอยูในหลักสูตรของนักศึกษา
นั่นเอง แตในสวนรายละเอียด นักศึกษาแตละคนมีลักษณะองคประกอบที่แตกตางกัน มีเปาหมายที่
ตางกัน จึงตองวางแผนเฉพาะสําหรับตัวเองดวย




                                                                                                  ๓
วิธีการวางแผนการเรียน
                 การมีขอมูลที่ถกตองและครบถวน
                                  ู
                 ปจจุบันนี้เราอยูในยุคขาวสารขอมูล (Information Age) การมีขอมูลที่ถูกตองและ
ครบถวนสําหรับการวางแผนการเรียนจึงเปนสิ่งสําคัญที่สุด นับตั้งแตหลักสูตรและระเบียบการศึกษา (ซึ่ง
มี Study Plan รวมไวใหแลว ดังที่กลาวขางตน) รวมถึงประกาศและขาวสารจากทางมหาวิทยาลัย จากคณะ
จากภาควิชา และจากอาจารยผูสอนแตละทาน ในแตละภาคการศึกษา นักศึกษาตองใสใจติดตามขาวสาร
ขอมูลทางการศึกษาเหลานี้ เพราะถาพลาดพลั้งไป จะอางวา “ไมทราบ” นั้นไมได
                 ขอมูลสําคัญประการหนึ่ง สําหรับแตละรายวิชาที่นักศึกษาลงทะเบียนเรียน คือ เคาโครง
รายวิชา (Course Syllabus) ที่อาจารยผูสอนแจกใหและอธิบายในชั่วโมงแรกของการเรียน นักศึกษาหลาย
คนมองขามความสําคัญของขอมูลชิ้นนี้ ไมเขาเรียนครั้งแรก และ/หรือ โยนเคาโครงรายวิชาทิ้งไป ทั้งๆ ที่
มันคือเครื่องมือชิ้นสําคัญที่จะชวยเราสําหรับการวางแผนการเรียนในแตละวิชาได

                  การบริหารเวลา
                  เราสามารถวาดฝนที่จะทําอะไรไดมากมาย แตในโลกแหงความจริงเราจะตองมีเวลา และ
สามารถจัดสรรเวลาที่จะทําสิ่งตาง ๆ ที่วางแผนไวใหสําเร็จ การบริหารเวลาจึงเปนสิ่งจําเปนอยางมาก
สําหรับการเรียนในมหาวิทยาลัย โดยในเบื้องตนเราตองใชขอมูลที่มีอยูทั้งหมดมาประมวลเปนตัวกําหนด
วาเราจะแบงใชเวลาในแตละเทอม แตละเดือน แตละสัปดาห จนถึงแตละวันอยางไร
                  ตัวอยาง เชน ถาเราทราบวา ในภาคเรียนนี้จะตองทํารายงานถึงสามชิ้น สําหรับสามวิชา
เพื่อสงในตอนปลายภาค (กอนสอบไล) เราจะจัดแบงเวลาสําหรับงานทั้งสามชิ้นนั้นอยางไร ไมใชรอไป
เรงทําในชวงสัปดาหสุดทาย ซึ่งในที่สุดก็จะไดงานคุณภาพต่ําทั้งสามวิชา
                  เครื่องมือที่จะชวยสําหรับบริหารเวลาในปจจุบันมีอยูมากมาย เริ่มตั้งแตสมุดบันทึกเล็ก ๆ
เพื่อจดกิจกรรมหรืองานที่จะตองทํา หรือตารางปฏิทินที่ใชสําหรับการวางแผน (Planner) จะซื้อที่เขาทํา
ขายหรือจะตีตารางทําเองก็ได ในคอมพิวเตอรก็มี (เชน ในโปรแกรม Microsoft Outlook) แผนตาราง
พวกนี้ใชไดทั้งการวางแผนบริหารเวลาในการเรียน รวมไปถึงการดําเนินชีวิตในดานอื่น ๆ อยางเปนระบบ
ดวย (เชน จัดหลีกไมใหรถไฟชนกัน??) นักศึกษาสามารถวางแผนการใชเวลาลวงหนาไดนับตั้งแตรายป
รายสี่เดือน (ภาคการศึกษา) รายสัปดาห จนถึงรายชั่วโมงในแตละวัน
                  เราทราบวา วันหนึ่งมีเพียง ๒๔ ชั่วโมง สัปดาหหนึ่งมีเพียง ๗ วัน . . . แตถารูจักบริหาร
เวลาใหดี ก็จะสามารถใชเวลาที่มีอยูทั้งหมดไดอยางคุมคาและมีประสิทธิภาพ ปญหาของนักศึกษาจํานวน
มาก มักจะปลอยเวลาชวงตนเทอมใหผานไปอยางหนายเนือย (slow motion) แลวไปเรงทํางานหรือทอง
หนังสือเอาตอนปลายภาค ทําใหไมประสบความสําเร็จเทาที่ควร
                  อยาลืมภาษิตที่วา “เวลา และ วารี ไมเคยที่จะคอยใคร”
                           (TIME AND TIDE WAIT FOR NOBODY)




                                                                                                        ๔
เทคนิควิธีการเรียนใหประสบความสําเร็จ

         การศึกษาในมหาวิทยาลัยกําหนดใหนักศึกษาตองคนควาหาความรูดวยตนเองเปนหลักสําคัญ
การเขาชั้นเรียนเพื่อฟงคําบรรยาย (lecture) จากอาจารย เปนเพียงการฟงคําชี้แนะแนวทางในการศึกษา
คนควาเทานั้น อยางไรก็ตาม นักศึกษาจํานวนมากยังหวังเพียงพึ่งพิงความรูที่อาจารยหยิบยื่นใหจากคํา
บรรยายเทานั้น ซึ่งที่จริงแลวยังไมพอ
         การเขาชั้นเรียน
                 การเตรียมตัวกอนเรียน
                 การรับฟงคําบรรยายในชั้นเรียนใหมีประสิทธิภาพนั้น ตองมีการเตรียมตัวมากอน มิใช
เดินเลนตามสบายเขาไปนั่งฟงบางไมฟงบาง การเตรียมตัว เชน ตองทราบวาชั่วโมงนั้นจะเรียนอะไร มี
เอกสาร ตํารา หรือหนังสือที่อาจารยสั่งใหไปเตรียมอานมากอนหรือไม ถาจะใหดีตองเปดดูสมุดจดคํา
บรรยาย (lecture) ชั่วโมงที่แลววาเรียนอะไรไปถึงไหน
                 วิธีการปฏิบัติตนในชั้นเรียน
                 เพื่อใหประสบความสําเร็จสูงสุดในการเรียนรูรวมกับอาจารยผูสอน แนวทางที่ดีคือ การ
ปฏิบัติตามหลักที่รูจักกันในนาม “หัวใจนักปราชญ” คือ การฟง, คิด, ถาม, และเขียน เปนการฟงคํา
บรรยายอยางตั้งใจ แลวคิดตามไปดวย หากมีขอสงสัยใหรีบถาม (หรือจดไวถามในชวงที่อาจารยเปด
โอกาสใหซักถาม) เมื่อฟงและคิดแลวก็ตองเขียน คือจดบันทึกสิ่งที่ไดฟงและเขาใจนั้นลงไว เพื่อเตือน
ความจําและเพื่อทบทวนในโอกาสตอไป
                 ปจจุบันนักศึกษาหลายคนใชหลัก “หัวใจเครื่องถายเอกสาร” คือใชวิธีการถายเอกสารคํา
บรรยายจากเพื่อน ไมวานักศึกษาจะไมเขาชั้นเรียนหรือเขาหองเรียนแตไมจดเองก็ตาม ซึ่งการใชวิธีการ
ถายเอกสารนี้เปนวิถีทางที่ตรงขามกับหัวใจนักปราชญ เพราะไมไดผานการฟงดวยหูของตนเอง (บางคน
เขาเรียนแตก็ไมคอยไดฟง) จึงไมไดคิด ไมไดถาม และในที่สุดคือไมไดเขียน เครื่องถายเอกสารจึง
กลายเปนมารรายขยี้หัวใจนักปราชญตัวจริงแทแนนอน




ระบบการจดโนต ที่มีคุณภาพ

          ๑.ระบบแฟมเจาะขาง ใชแฟมเจาะขาง ๑ เลม ตอ ๑ วิชา และเขียนชื่อวิชาใหชัดเจน ในแฟมนี้จะ
รวมเอกสารทุกชนิดที่เกี่ยวกับเอกสารคําสอนที่ไดรับจากอาจารยผูสอนและแบบฝกหัดที่เกี่ยวของกับวิชา
ทั้งหมด โดยอาจจัดระบบเอกสาร ไดหลายวิธี เชน จัดเรียงตามวันที่ไดรบเอกสารหรือวันที่จดโนต อีก
                                                                       ั
วิธีหนึ่งคือ กระดาษจดโนัตรวมไวกลุมหนึง สวนเอกสารก็รวมไวอีกกลุมหนึ่ง
                                       ่

                                                                                                   ๕
วิธีนี้มีขอดีขอเสีย เชน ขอดี ไมตองหอบหิวสมุด เอกสารมากมายไปเรียนหนังสือ ทําใหจดเรียงและ
                                                 ้                                       ั
นํามาใชไดสะดวก และการแทรกเพิ่มเติมหรือการดึงออกทําไดงาย ขอเสีย เชน กระดาษที่จดเก็บอาจฉีก
                                                                                       ั
ขาดไดงาย เมือดึงเขาออกบอย ๆ
                ่
         ๒. ระบบผสมสมุดโนตกับแฟมหนีบ ควรเตรียมสมุดจดโนต ๑ เลม ตอ๑ วิชา โดยจดโนตใส
สมุดและจัดเอกสารทุกชนิดเก็บใสแฟม ระบบนี้มีขอดี คือการจดโนตจะรวมเปนเลม โอกาสหายไปแผน
สองแผน นาจะมีนอยกวา

      นอกเหนือจากวิธีขางตนนี้ หากนักศึกษามีความรูความสามารถในการสราง website หรือ การ
ทําhomepage เปนของตนเองได การจดบันทึกหรือรวบรวมการจดโนตเก็บไวใน website จะเปน
ประโยชนตอการศึกษาเลาเรียนที่มีประสิทธิภาพมากตอไป

เทคนิคการจดโนต
- วิธีการมีหลายวิธี เชน
     ๑. ใชสัญลักษณมาตรฐานแทนคําตาง ๆ เชน สัญลักษณตาง ๆ ที่เกี่ยวของในศาสตรนั้น ๆ
     ๒. ใชอักษรยอ ชึ่งมีความหมายเปนมาตรฐาน
     ๓.สรางสัญลักษณหรือคํายอของเราเอง เปนโนตยอที่มาจากหลักการสําดัญของการจํา คือ สนใจ
 เขาใจ และจัดกลุม (๓ จ) เทคนิคการจํามีประโยชนและเปนเครื่องมือในการเรียนที่ดี จะกลาวในหัวขอ
ตอไป
- รูปแบบการจดโนต เชน
         ๑ แผนภูมิตนไม (Tree Diagram ) เหมาะสําหรับขอมูลที่มีรายละเอียดมากมายหลายชั้น และ
                         
              แบงแยกกันคอนขางชัดเจน
         ๒ แผนภูมิความคิด (Mind Mapping Diagram ) เหมาะสําหรับเนื้อหาทีกระจายออกไป      ่
              กวางขวาง เวลาเขียนหัวขอหลักจะอยูตรงกลาง สวนหัวขอรองและสาระสําคัญจะกระจาย
              อยูรอบ ๆ อยางไรก็ตามถาตองการแสดงลําดับของหัวขอที่อานหรือฟง สามารถทําไดโดย
              การใสหมายเลขไวที่หัวขอตาง ๆ
         ๓ แบบโครงเรื่อง เปนการจดประเด็นและหัวขอสําคัญตาง ๆ โดยใชสํานวนภาษาของเราเอง
              แลวจัดลุมเรียงลําดับหัวขอนั้น วิธีนี้จะทําใหเราเขาใจเรื่องอยางแทจริง เพราะตองแยกวาขอ
              ไหนเปนประเด็นสําคัญกอนจึงจะสามารถเขียนสรุปประเด็นได
         ๔ แบบการลําดับเวลา เหมาะสําหรับการจดโนตในวิชาที่เปนเรื่องของพัฒนาการตาง ๆ หรือภูมิ
              หลังของเรื่องที่กําลังศึกษา ลําดับเวลาจะชวยใหเราเขาใจเหตุการณที่เกิดขึ้นอยางมีเหตุผล
              และตอเนื่อง




                                                                                                           ๖
เทคนิคการจํา

        สาระสําคัญของการจํานันคือการเชื่อมตอระหวางความรูใหมกับความรูเดิมใหอยูในโครงสราง
                               ้                             
เดียวกันที่มีอยูแลว เทคนิดการจําจะตองมีความเขาใจกอนจึงจะสามารถทําใหการจํานั้นมีคุณภาพและเปน
ประโยชนตอการเรียน เทคนิคการจําจึงไมใชการทองจํา
        เทคนิคการจําเปนเครื่องมือชวยในการเรียน มีหลายวิธี เชน
        - เปนคํากลอน
        - จําจังหวะทํานองเพลง หรือการแบงกลุมเนื้อหา
        - การสัมพันธเชือมโยงกับขอมูลหรือความรูเดิมที่มีอยูแลัว
                           ่
        - อักษรซ้ํา
        - ชุดคํา การสรางคําใหมจากอักษรตัวแรกและเรียงเปนกลุมใหจํางาย
        - การใชอักษรมาสรางเปนคําแลวผูกเรื่อง เชน ไกจิกเด็กตายบนปากโอง (เรื่องอักษรกลาง)

การคนควา
                   ดังที่กลาวแลววา การจดคําบรรยายของอาจารย เปนเพียงแนวทางการเรียนรูสวนหนึ่ง
เทานั้น นักศึกษาจะตองคนควาดวยตนเองเปนสําคัญ ปจจุบันนักศึกษาโชคดี ที่เรามีแหลงความรูหรือ
สารสนเทศมากมาย แตก็มากเสียจนรูจักกันวาเปนภาวะ “สารสนเทศทวมทน” ดังนั้น นอกจากจะรูแหลง
คน ควา แล ว นั ก ศึ กษายัง ต อ งรู จั ก ประเมิ น แยกแยะ ข อ มูล ขา วสาร ความรู ที่ มี อ ยู มหาศาลนั้น ด ว ย
มหาวิ ท ยาลั ย ได จั ด ให นั กศึก ษาทุก คนต อ งเรี ยนวิชาศึ ก ษาทั่ ว ไปวิ ชาหนึ่ ง คือ “การคน วา และนํ าเสนอ
สารสนเทศ” หวังวานักศึกษาจะใสใจกับความรูและทักษะที่จะไดรับจากวิชานี้ใหมากเปนพิเศษ
                   ในการคนควาหาความรูนั้น กิจกรรมสําคัญที่สุดอยางหนึ่ง คือ การอาน จึงขอแนะนําเรื่อง
ความสําคัญของการอานและเทคนิคโดยยอของการอานไวดงตอไปนี้        ั

ความสําคัญของการอานและวิธการอานี
         การอานเปนพื้นฐานในการสราง และพัฒนาความรู ความคิด จินตนาการ และทัศนคติ การอาน
เปนเครื่องมือสําคัญที่ทําใหมนุษยสามารถแสวงหาความรูใหม ๆ เปดโลกของความคิด เปนคนทันสมัยอยู
เสมอ นอกจากนี้การอานยังมีหนาที่ในการผอนคลาย และสามารถทําใหมนุษยสามารถมีความสุขไดจาก
จิ น ตนาการและความรู สึกนึ ก คิ ด ของตนเอง มีบุ ค คลจํา นวนมากมายที่ มี นิสัยรั กการอ า นและประสบ
ความสําเร็จในชีวิต หนาที่การงาน เพราะชอบอาน และอานทุกอยางที่เห็น
         หัวใจนักปราชญไดรวมเอาการอานเขาเปนสวนหนึ่ง คือฟงมากอานมาก เปนองคประกอบเบื้องตน
เพราะอยางนอยเปนการสํารวจความรูโดยทั่วไปในชั้นหนึ่งแลว



                                                                                                                  ๗
อานไปทําไม อานอะไร อานอยางไร ?



          โจทยขอแรก ที่เปนปญหาของนักศึกษา คือ นักศึกษาไมอาน อานชา อานไมเขาใจ ไมมีเวลา
อาน (นาจะเปนขออาง) เปนตน ดังนั้นนักศึกษาตองแกไขปญหาเบื้องตนนี้ใหไดเสียกอน ปจจุบันมีคูมือ
แนะนําการอาน หลายเลมที่นาสนใจ นักศึกษาอาจจะตองเริ่มตนอานคําแนะนําการอานเสียกอน ตรงนี้
เปนวัตถุประสงคของการอานเบื้องตน คือ อานไปทําไม และจะอานอะไร เมื่อนักศึกษา ตอบคําถามนีได       ้
แลว จะเห็นประโยชน และมีทิศทางที่ชัดเจน และหากสามารถนําขอมูลที่ไดจากการอานไปปฏิบัติไดจริง
จนปรับเปลี่ยนพฤติกรรม อุปนิสัยของตนเองได ก็เทากับนักศึกษาประสบความสําเร็จในการเรียนกวาครึ่ง
ทางแลว
          โจทยขอที่สอง เมื่อเห็นประโยชน ของการอานแลว และไดเริ่มตนอานแลว อาจมีคําถามตอมาอีก
วา มีวธการอานอยางไร
       ิี
          การอาน มีจุดมุงหมายแตกตางกัน สําหรับนักศึกษานั้นมีจุดมุงหมายที่ชัดเจน คือ การอานตํารา
และหนังสือทั่วไปที่เปนสวนประกอบของการเรียน เปนการอานเพื่อเรียนรู และประกอบความรูพื้นฐาน
วิชาตาง ๆ ดังนั้นจึงตองอานอยางมีความหมาย สามารถสรางและเชื่อมโยงความรู ความคิด ที่ไดจากการ
อาน สามารถนําสิ่งที่ไดจากการอานนําไปใชได
          แนวทางในการอานหนังสือ หรือตําราเรียน เพื่อชวยใหประสบความสําเร็จในการเรียนนั้น มี
วิธการอานที่มการวิจัยแลววาไดผลดี คือวิธี ที่เรียกวา OK 4 R
    ี            ี
          OK 4 R
          กอนเริ่มอาน
          O = Overview
           - ควรอานคราว ๆ (overview) ในบทนั้น ๆ อานความนําของเรื่อง และบทสรุป ที่ผูเขียนเขียนไว
ระหวางขึ้นตนบท อานบทที่ 1 และอานสรุปประเด็นในยอหนาสุดทาย           เมื่ออานจบแลว เราจะรูวาบท
นี้กลาวถึงเรื่องอะไร ใจความสําคัญมีอะไร
           ระหวางการอาน
          K ความคิดที่สําคัญ (Key Ideas)
          - อานเพื่อหาแนวคิดที่สําคัญ ซึ่งมักจะปรากฎที่หัวขอยอยของแตละบท พยามยามตั้งคําถามวา
เนื้อหาสําคัญประกอบดวยอะไรบาง
          R ตัวที่ 1 คือ การอาน (Reading)
          - อานเพื่อตอบคําถามใหไดวา ใคร ทําอะไร ที่ไหน อยางไร ทําไม การอานในขันตอนนีควรอานให
                                                                                     ้       ้
          ตอเนื่อง และมีสมาธิจดจอ ควรพิจารณาวาตัวอยาง จากหนังสือที่กําลังอานอยูนั้น ชวยทําใหเรา
          เกิดความเขาใจมากขึ้นหรือไม
          หลังการอาน
          R ตัวที่ 2 คือ การระลึก ( Recall )

                                                                                                      ๘
- เมื่ออานจบแลว ตองนึกทบทวนดูวาอานไปแลวจําไดหรือไม หรือเขาใจมากนอยเพียงใด ควร
            พยามยามเขียนสรุปเปนหัวขอยอยและตอบคําถามใหไดดวยภาษาของตนเอง
         R ตัวที่ 3 คือ ความสัมพันธเชื่อมโยง (Relate)
        - สิ่งที่เขียนสรุปไวแลวจากการอานขางตน นั้นวามีความสัมพันธหรือขยายความเชื่อมโยงกับ
            ความรูเดิม ที่ไดอานไปแลวอยางไรบาง และแนวคิดตาง ๆ ที่ไดจากการอานเหมือนหรือ
            แตกตางจากเลมอื่นอยางไรบาง เปนตน
        R ตัวที่ 4 คือ การทบทวน (Review)
        - ขั้นตอนนี้หมายถึง การทบทวนสิ่งที่อานและจดบันทึกไวแลวเปนครั้งคราว ซึ่งอาจจะใชในการ
        ทดสอบยอย สอบกลางภาค และสอบปลายภาค แตโดยทั่วไปแลว นักศึกษามักจะไมทบทวน
        ความรูจนกวาจะมีการสอบปลายภาค
        หลักของ OK4R นี้ เปนการชวยเตือนนักศึกษาใหเกิดความรับผิดชอบในเวลาที่ตองการอาน ทํา
ใหการอานมีความหมายและไดประโยชน



  การวัดผลการเรียน

       การวัดผลการเรียนของนักศึกษาในแตละภาคนั้น อาจไมไดมีแตเพียงการสอบ คือ ทั้งการทดสอบ
ยอย การสอบกลางภาค และการสอบไล เทานั้น แตอาจารยผูสอนอาจมอบหมายใหนักศึกษาคนควาทํา
รายงาน เพื่อหาความรูเพิ่มเติม ตลอดจนอาจมีกิจกรรมการวัดผลอื่น ๆ อีกดวย
       ในการทํารายงานนั้น นักศึกษาตองเขาใจวา อาจารยตองการใหนักศึกษามีโอกาสฝกทักษะในการ
หาความรู และรูจักคิดวิเคราะหดวยตนเอง การทํารายงานจึงไมใชเปนเพียงการไป “คน” แลวก็ “ควา”
เอามาเสนอในรูปของการ “ตัด-แปะ” เทานั้น แตนักศึกษาจะตองรูจักแสวงหาใหมาก อานใหมาก เพื่อ
ประมวลเอาความรูความเขาใจจากสิ่งตาง ๆ ที่ไดอานนั้น มาเรียบเรียง นําเสนอออกมาเปนรายงาน ถาทํา
ไดถงขนาดนี้จึงจะเรียกไดวาประสบความสําเร็จในการศึกษาอยางแทจริง
    ึ
       กิจกรรมการวัดผลที่นักศึกษามักจะวิตกกังวลกันมาก คือ การสอบ จึงขอเสนอแนะเรื่องราวของ
การสอบนับตั้งแตการเตรียมตัวสอบไปจนถึงเทคนิคการทําขอสอบ ดังตอไปนี้



       การสอบ

         ผูเชี่ยวชาญทางการศึกษาเห็นพองตองกันวา การเตรียมตัวสําหรับการสอบที่ประสบความสําเร็จ
อยางดี นั้นจะตองเริ่มตั้งแตตนภาคการศึกษา และจะตองกระทําตอเนื่องไปตลอดทั้งภาคการศึกษา ดังที่
กลาวมาแลวขางตน คือ ตองมีแผนการเรียนตลอดภาค มีเทคนิคในการอานและทบทวนการเรียนสม่ําเสมอ


                                                                                               ๙
มีทัศนคติที่ดีมีความเชื่อมั่นพรอมที่จะสอบ จัดระเบียบเวลาการนอนกอนสอบการสอบ ซึ่งจะสงผลใหมี
ความพรอมในการสอบ

จะเตรียมตัวสอบอยางไร

        ๑. รักษาสุขภาพใหแข็งแรงโดยเฉพาะคืนกอนสอบ อยานอนดึก เพราะจะทําใหออนเพลีย และ
        สอบไดไมดีเทาที่ควร สวนนักศึกษาที่มีปญหาสุขภาพหรือเจ็บปวยในชวงที่มีการสอบ ควรแจง
        หรือติดตอไปยังมหาวิทยาลัยทันที
        ๒. ทบทวนวิชา ตางๆ ในสัปดาหสุดทายใหมาก
        ๓. เขาฟงคําบรรยายในชั่วโมงสุดทายที่ปดคอรส ซึ่งอาจารยมักจะชี้แนะเปาหมายของการสอบ
        เพื่อใหนักศึกษาไดเขาใจขอบเขตเนื้อหาวิชาสอดคลองตรงกัน คําแนะนําตาง ๆ จะเปนประโยชน
        ตอนักศึกษา
        ๔. ถานักศึกษาไดวางแผนการทบทวนการเรียนมาแลวอยางดี ใหทบทวนโนตยอที่สรุปไวแลว
        ตรวจสอบกับตําราวามีเนื้อหาครบถวน ถูกตองหรือไม พยามยามทําความเขาใจแนวคิด หัวเรื่อง
        ที่สําคัญวาอาจารยเนนเรื่องใด และจัดรายละเอียดความรูไวในหัวขอแตละเรื่อง

จะทําขอสอบอยางไร

          ๑. หลักการทั่วไป คือ เมื่อไดรับขอสอบแลว จงอานคําชี้แจง คําสั่ง ใหเขาใจ เขียนชื่อ เลขที่-รหัส
          ใหถูกตองครบถวน
          ๒. แบงเวลาในการทําขอสอบ และอานขอสอบโดยภาพรวม เพื่อจะไดทราบจํานวนขอสอบ
ลักษณะขอสอบเปนปรนัย หรือ อัตนัย และแตละขอของคําถามมีคะแนนเต็มอยางไร เพื่อที่นักศึกษาจะ
ไดคํานวณเวลาในการทําขอสอบไดถูกตอง กรณีการทําขอสอบแบบปรนัย ซึ่งมีจํานวนขอและตัวเลือกมาก
หากทําไมไดควรขามไปทําขออื่นกอน ในกรณีขอสอบอัตนัย ถาคะแนนแตละขอไมเทากัน ควรตอบขอ
ที่ใหคะแนนมากใหดีที่สุด
          ๓. อานคําสั่งและคําถามอยางระมัดระวัง นักศึกษาจะตองทําความเขาใจคําถามและตอบคําถาม
ใหดีที่สุดโดยสามารถถายทอดความหมายใหตรงกับคําถามหรือโจทยของขอสอบ โดยทั่วไปนักศึกษา
มักจะไมสนใจอานคําสั่งหรืออานคําถามใหรอบคอบ ถี่ถวน ทําใหพลาดการทําขอสอบไปอยางนาเสียดาย
นักศึกษาบางคนตอบไมตรงกับคําถาม และไมไดคะแนนทั้ง ๆ ที่อาจจะรูคําตอบนั้น

เทคนิคในการตอบขอสอบ
         ๑. ลายมือในการเขียนตอบขอสอบ ของนักศึกษา ควรเขียนใหชัดเจน อานงาย ใชปากกาที่มีสีเขม
         ควรหลีกเลี่ยงการเขียนหวัด เพราะเปนอุปสรรคในการตรวจขอสอบของอาจารยคอนขางมาก
         ๒. การทําขอสอบปรนัยและอัตนัย มีความแตกตางกัน จะขอยกตัวอยางเพียงบางสวนพอให
เขาใจเปนพื้นฐานเทานั้น


                                                                                                        ๑๐
แนวทางการทําขอสอบอัตนัย
                  ๒.๑ ควรเขียนเคาโครงของเรื่องที่เขียนเสียกอน เพื่อชวยใหเห็นแนวทางของคําตอบวา
         เขียนครบถวนหรือไม จากนั้นจะตองเรียบเรียง โดยนําเสนอไดอยางชัดเจน เปนเหตุเปนผลและ
         ตรงประเด็น
                  หลักการสําคัญอยางอื่นในการทําขอสอบอัตนัยคือ อยาเขียนมากโดยขาดแนวคิด หรือพื้น
         ฐานความรู การยกตัวอยางแสดงเหตุผลตองเปนขอมูลเชิงประจักษทางวิชาการ ที่เกี่ยวของกับ
         รายวิชานั้น ๆ การแสดงความเห็นจากประสบการณสวนบุคคลของตนเองมาตอบขอสอบนั้น ควร
         เชื่อมโยงแนวคิดและหลักการทางวิชาการประกอบคําอธิบายใหชัดเจนเสมอ
                  ๒.๒ คําสั่งที่ใชในขอสอบอัตนัย
                  นักศึกษาควรทําความเขาใจความหมายของคําสั่งเหลานี้ เพื่อเปนแนวทางในการตอบ
ขอสอบ เชน
                  จงวิเคราะห มีวัตถุประสงคให จําแนกสาระสําคัญ ใหรายละเอียด และการใชแนวคิด
และเหตุผลในการตัดสิน
                  จงเปรียบเทียบ มีวัตถุประสงคให เขียนแสดงความเหมือนหรือความแตกตางอยางชัดเจน
และการใชเหตุผลในการเปรียบเทียบ
                  จงใหความหมาย มีวัตถุประสงคใหเขียนคําจํากัดความที่มีกรอบทางวิชาการกําหนดไว
                  จงอธิบาย มีวัตถุประสงคให เขียนชี้แจงหรือบรรยายสิ่งที่นักศึกษาเขาใจ ไดอยางละเอียด
ในแงมุมตาง ๆ
                  จงอภิปราย มีวัตถุประสงคให บรรยายเพิ่มเติมมากกวาการอธิบายทั่วไป แตการอภิปราย
จะตองแสดงตรรกะ ลําดับที่มาของการนําเสนอ ในเชิงวิพากษไดครบถวน ในเชิงลึกกวาการบรรยายทั่วไป
                  จงประเมิน มีวัตถุประสงคให นักศึกษาตรวจสอบความเห็นในประเด็นนั้น ๆ ตามหลัก
วิชาการ ทั้งความเปนไปไดในทางบวกและทางลบ และหรือการมีขอสรุปในการตอบคําถามนั้น ๆ
                  จงพิสูจนใหเห็น มีวัตถุประสงคให นักศึกษา นําเสนอขอเท็จจริง ขอมูลเชิงประจักษ เพื่อ
สนับสนุนหรือโตแยงโจทย
                  จงอธิบายสั้น ๆ มีวัตถุประสงคใหนักศึกษา เขียนแนวคิดหรือหลักการใหญ ๆ โดยตอบ
เพียงสั้น ๆ ไดใจความชัดเจน ไมเนนการบรรยายเชิงพรรณา

        แนวทางในการทําขอขอสอบปรนัย แบบเลือกคําตอบ
              ๑. ควรอานคําถาม แลวลองตอบดวยตนเองกอนที่จะไปอานคําตอบที่ใหเลือก
              ๒. อานคําถามเรียงตามลําดับ ขอใดตอบไมได ใหทําเครื่องหมายไว ขามไปทําขออื่น
              แลวยอนกลับมาทําใหม ทั้งนี้ ตองคํานวณเวลาในการทําขอสอบไวดวย
              ๓. หากไมมีเวลาทบทวนพอที่จะตัดสินใจเทียบคําตอบอื่นได ใหถือวาคําตอบที่เลือกไว
              แตแรกนั้น มีโอกาสถูกมากกวาผิด




                                                                                                     ๑๑
๔. หมั่นสังเกตคําถามที่มีขอความ วา “ขอใดไมถูกตอง” หรือ “ขอใดผิด” และพิจารณา
                คําตอบอยางรอบคอบ
                ๕. ตัดคําตอบที่เห็นวาไมตรง หรือผิดออกใหหมด

     การประเมินผล : ทบทวนความสําเร็จ และ/หรือ ความบกพรอง ของตนเอง
           สงผลยอนกลับไปสูข้นตอนการตั้งเปาหมาย และวางแผน
                                ั
           เมื่อนักศึกษาไดทราบผลการเรียนในภาคการศึกษาที่ผานมาแลว มิใชวาเพียงแตจะพาเพื่อนไป
เลี้ยงฉลองสามวันสามคืน (ในกรณีที่สอบไดเกรดเฉลี่ยสูง) หรือ นั่งรองไหสามวันและซึมเศราอีกสามคืน
(ในกรณีผลการเรียนต่ําจนเปนปญหา)               ปฎิกิริยาที่วามานี้คงเปนเพียงพฤติกรรมที่ตั้งอยูบนอารมณ
ความรูสก ซึ่งจะมิไดสงผลเชิงบวกในระยะยาวตอการศึกษาของตนเอง
         ึ
           สิ่งสําคัญประการหนึ่งที่นักศึกษาพึงปฎิบัติเพื่อใหเกิดผลในทางสรางสรรคและยั่งยืน ก็คือ การ
ประเมินผลการเรียนที่ไดรับทราบมานั้น พรอมกับทบทวนความสําเร็จ และ/หรือ ความบกพรองของ
ตนเอง เพื่อจะไดตระหนักวา ตัวเรานั้นมีจุดแข็งและ/หรือจุดออนในการเรียนสวนไหนอยางไร (หาก
ตองการรายละเอียดเพิ่มเติม อาจตองสอบถามอาจารยที่ปรึกษา และอาจารยผูสอนประจําวิชาที่ผลการ
เรียนแยเปนพิเศษ) แลวนําผลการประเมินตนเองนี้ สะทอนกลับไปสูขั้นตอนการวางแผนชีวิตและการเรียน
สําหรับภาคการศึกษาหรือปการศึกษาถัดไป (ขอมูลสําหรับการวางแผนชีวิตและการเรียน ตองมีการ
UPDATE อยูเสมอ)
           ปฏิบัติซ้ําเปนวงจรเชนนี้ทุกภาคการศึกษา จนกวาจะศึกษาสําเร็จหลักสูตร


             สาระที่กลาวมาทั้งหมดขางตนนี้ เปนแนวทางที่แนะนําใหไปใชปฏิบัติเทานั้น
            หากนักศึกษาเพียงแตอานผานไป ก็อยาพึงหวังวาจะประสบความสําเร็จไดจริง




                                                                                                      ๑๒
บรรณานุกรม

ถนอมวงศ ล้ายอดมรรคผล. การอานใหเกง. พิมพครั้งที่ ๙. กรุงเทพฯ : กระดาษสา, ๒๕๔๔.
           ํ

ประธาน วัฒนวาณิชย. บรรณาธิการ. เรื่องไมยาก ถาอยากเรียนเกง. พิมพครั้งที่ ๓. กรุงเทพฯ :
      ประกายพฤกษ, ๒๕๓๗.

วิทยากร เชียงกูล. ทําอยางไร จึงจะเรียนเกง. พิมพครั้งที่ ๕. กรุงเทพฯ : ปรีชญา, ๒๕๔๓.

วิโรจน ถิรคุณ. เรียนมหาวิทยาลัยอยางไร ใหสําเร็จและมีความสุข. กรุงเทพฯ : อูพิมพเดือนเพ็ญ,
        ๒๕๔๔.

ยุดา รักไทย ณัฐพงศ เกศมาริษ. คูมือคนเกงเรียน.กรุงเทพฯ: เอ็กซเปอรเน็ท จํากัด, ๒๕๔๓.

อัจฉรา วงศโสธร. ทักษะการเรียน : องคประกอบและวิธีการวัด. กรุงเทพฯ : จุฬาลงกรณ
       มหาวิทยาลัย, ๒๕๓๒.

อุทุมพร จามรมาน. เทคนิคการศึกษาอยางมีประสิทธิผล. กรุงเทพฯ : ฟนนี่พบลิชชิ่ง, ๒๕๓๘
                                                                    ั

Mark and Cheryl Tackray. วิธีเรียนอยางมีคุณภาพ.แปลจาก How to Succeed to College or
University. โดยอุรวดี รุจิเกียติกําจร. พิมพครั้งที่ ๒ กรุงเทพฯ: เยลโลการพิมพ, ๒๕๓๔.

                            ************************************




                                                                                                ๑๓
๑๔

Más contenido relacionado

La actualidad más candente

ตัวอย่างแผนการสอนด้วย OSS & Freeware
ตัวอย่างแผนการสอนด้วย OSS & Freewareตัวอย่างแผนการสอนด้วย OSS & Freeware
ตัวอย่างแผนการสอนด้วย OSS & FreewareBoonlert Aroonpiboon
 
การใช้หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พ.ศ. 2551
การใช้หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พ.ศ. 2551การใช้หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พ.ศ. 2551
การใช้หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พ.ศ. 2551คน ขี้เล่า
 
วิสัยทัศน์ของหลักสูตร
วิสัยทัศน์ของหลักสูตรวิสัยทัศน์ของหลักสูตร
วิสัยทัศน์ของหลักสูตรnakkee
 
สรุป หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน51
สรุป หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน51สรุป หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน51
สรุป หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน51Watcharapon Donpakdee
 
พระพุทธศาสนา ม.3
พระพุทธศาสนา ม.3พระพุทธศาสนา ม.3
พระพุทธศาสนา ม.3New Nan
 
ตัวอย่างแผนพอเพียงกับคณิตศาสตร์
ตัวอย่างแผนพอเพียงกับคณิตศาสตร์ตัวอย่างแผนพอเพียงกับคณิตศาสตร์
ตัวอย่างแผนพอเพียงกับคณิตศาสตร์ทับทิม เจริญตา
 
ค่ายฮักแพงแบ่งปัน ติวสอบบรรจุครูผู้ช่วย
ค่ายฮักแพงแบ่งปัน ติวสอบบรรจุครูผู้ช่วยค่ายฮักแพงแบ่งปัน ติวสอบบรรจุครูผู้ช่วย
ค่ายฮักแพงแบ่งปัน ติวสอบบรรจุครูผู้ช่วยAon Wallapa
 
Slโครงสร้างรายวิชาหน่วย is1 การศึกษาและการสร้างองค์ความรู้
Slโครงสร้างรายวิชาหน่วย is1 การศึกษาและการสร้างองค์ความรู้Slโครงสร้างรายวิชาหน่วย is1 การศึกษาและการสร้างองค์ความรู้
Slโครงสร้างรายวิชาหน่วย is1 การศึกษาและการสร้างองค์ความรู้krupornpana55
 
หนังสือสอบเพื่อนครู
หนังสือสอบเพื่อนครูหนังสือสอบเพื่อนครู
หนังสือสอบเพื่อนครูWatcharapon Donpakdee
 
บทที่ 2 แนวคิดทฤษฎีของนักการศึกษา 55
บทที่ 2 แนวคิดทฤษฎีของนักการศึกษา 55บทที่ 2 แนวคิดทฤษฎีของนักการศึกษา 55
บทที่ 2 แนวคิดทฤษฎีของนักการศึกษา 55Decode Ac
 
ตัวอย่างแผนการสอนคอมพิวเตอร์
ตัวอย่างแผนการสอนคอมพิวเตอร์ตัวอย่างแผนการสอนคอมพิวเตอร์
ตัวอย่างแผนการสอนคอมพิวเตอร์srkschool
 
2หลักสูตรและการพัฒนาหลักสูตร ต้นฉบับ
2หลักสูตรและการพัฒนาหลักสูตร  ต้นฉบับ2หลักสูตรและการพัฒนาหลักสูตร  ต้นฉบับ
2หลักสูตรและการพัฒนาหลักสูตร ต้นฉบับติวอินดี้ ง่ายโคตร
 

La actualidad más candente (20)

ตัวอย่างแผนการสอนด้วย OSS & Freeware
ตัวอย่างแผนการสอนด้วย OSS & Freewareตัวอย่างแผนการสอนด้วย OSS & Freeware
ตัวอย่างแผนการสอนด้วย OSS & Freeware
 
การใช้หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พ.ศ. 2551
การใช้หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พ.ศ. 2551การใช้หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พ.ศ. 2551
การใช้หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พ.ศ. 2551
 
หน่วย 1
หน่วย 1หน่วย 1
หน่วย 1
 
Math(1)
Math(1)Math(1)
Math(1)
 
วิสัยทัศน์ของหลักสูตร
วิสัยทัศน์ของหลักสูตรวิสัยทัศน์ของหลักสูตร
วิสัยทัศน์ของหลักสูตร
 
สรุป หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน51
สรุป หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน51สรุป หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน51
สรุป หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน51
 
พระพุทธศาสนา ม.3
พระพุทธศาสนา ม.3พระพุทธศาสนา ม.3
พระพุทธศาสนา ม.3
 
หน่วย 2
หน่วย 2หน่วย 2
หน่วย 2
 
ตัวอย่างแผนพอเพียงกับคณิตศาสตร์
ตัวอย่างแผนพอเพียงกับคณิตศาสตร์ตัวอย่างแผนพอเพียงกับคณิตศาสตร์
ตัวอย่างแผนพอเพียงกับคณิตศาสตร์
 
ค่ายฮักแพงแบ่งปัน ติวสอบบรรจุครูผู้ช่วย
ค่ายฮักแพงแบ่งปัน ติวสอบบรรจุครูผู้ช่วยค่ายฮักแพงแบ่งปัน ติวสอบบรรจุครูผู้ช่วย
ค่ายฮักแพงแบ่งปัน ติวสอบบรรจุครูผู้ช่วย
 
Slโครงสร้างรายวิชาหน่วย is1 การศึกษาและการสร้างองค์ความรู้
Slโครงสร้างรายวิชาหน่วย is1 การศึกษาและการสร้างองค์ความรู้Slโครงสร้างรายวิชาหน่วย is1 การศึกษาและการสร้างองค์ความรู้
Slโครงสร้างรายวิชาหน่วย is1 การศึกษาและการสร้างองค์ความรู้
 
หนังสือสอบเพื่อนครู
หนังสือสอบเพื่อนครูหนังสือสอบเพื่อนครู
หนังสือสอบเพื่อนครู
 
หน่วย 1
หน่วย 1หน่วย 1
หน่วย 1
 
แผน 1 1 เทคโนโลยี ป.1
แผน 1 1 เทคโนโลยี ป.1แผน 1 1 เทคโนโลยี ป.1
แผน 1 1 เทคโนโลยี ป.1
 
Pancom m3
Pancom m3Pancom m3
Pancom m3
 
บทที่ 2 แนวคิดทฤษฎีของนักการศึกษา 55
บทที่ 2 แนวคิดทฤษฎีของนักการศึกษา 55บทที่ 2 แนวคิดทฤษฎีของนักการศึกษา 55
บทที่ 2 แนวคิดทฤษฎีของนักการศึกษา 55
 
อาเซียนศึกษาสำเร็จ
อาเซียนศึกษาสำเร็จอาเซียนศึกษาสำเร็จ
อาเซียนศึกษาสำเร็จ
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่๓
แผนการจัดการเรียนรู้ที่๓แผนการจัดการเรียนรู้ที่๓
แผนการจัดการเรียนรู้ที่๓
 
ตัวอย่างแผนการสอนคอมพิวเตอร์
ตัวอย่างแผนการสอนคอมพิวเตอร์ตัวอย่างแผนการสอนคอมพิวเตอร์
ตัวอย่างแผนการสอนคอมพิวเตอร์
 
2หลักสูตรและการพัฒนาหลักสูตร ต้นฉบับ
2หลักสูตรและการพัฒนาหลักสูตร  ต้นฉบับ2หลักสูตรและการพัฒนาหลักสูตร  ต้นฉบับ
2หลักสูตรและการพัฒนาหลักสูตร ต้นฉบับ
 

Destacado

Official Basketball Rules2010
Official Basketball Rules2010Official Basketball Rules2010
Official Basketball Rules2010Ian Labanda
 
Pei El CastañO 08 Ok
Pei El CastañO 08 OkPei El CastañO 08 Ok
Pei El CastañO 08 OkAdalberto
 
ตัวอย่างแผนธุรกิจการทำInternet phone
ตัวอย่างแผนธุรกิจการทำInternet phoneตัวอย่างแผนธุรกิจการทำInternet phone
ตัวอย่างแผนธุรกิจการทำInternet phoneNattakorn Sunkdon
 
Intrapreneurship: Tackling The Challenges of Bringing New Innovation to Market
Intrapreneurship: Tackling The Challenges of Bringing New Innovation to MarketIntrapreneurship: Tackling The Challenges of Bringing New Innovation to Market
Intrapreneurship: Tackling The Challenges of Bringing New Innovation to MarketCraig Rhinehart Rhinehart
 
AIAMBT
AIAMBT AIAMBT
AIAMBT aiambt
 
reglas y principios del derecho Dworkin
reglas y principios del derecho   Dworkinreglas y principios del derecho   Dworkin
reglas y principios del derecho Dworkinjavierodriguez
 
Cpg osteoarthritis or osteoarthrosis 2554
Cpg osteoarthritis or osteoarthrosis 2554Cpg osteoarthritis or osteoarthrosis 2554
Cpg osteoarthritis or osteoarthrosis 2554Utai Sukviwatsirikul
 
Minsa Guia Atencion Recien Nacido
Minsa Guia Atencion Recien NacidoMinsa Guia Atencion Recien Nacido
Minsa Guia Atencion Recien Nacidosugely carpio
 
Report in biology (nervous system)
Report in biology (nervous system)Report in biology (nervous system)
Report in biology (nervous system)Mary Tuazon
 
Bridging the gap between our online and offline social network
Bridging the gap between our online and offline social networkBridging the gap between our online and offline social network
Bridging the gap between our online and offline social networkPaul Adams
 
Extension universitaria y proyeccion social
Extension universitaria y proyeccion socialExtension universitaria y proyeccion social
Extension universitaria y proyeccion sociallokillo1977
 
Migrations and settlement
Migrations and settlementMigrations and settlement
Migrations and settlementmalama777
 
Centrales Hidroelectricas
Centrales HidroelectricasCentrales Hidroelectricas
Centrales Hidroelectricasiomax
 

Destacado (20)

Official Basketball Rules2010
Official Basketball Rules2010Official Basketball Rules2010
Official Basketball Rules2010
 
Pei El CastañO 08 Ok
Pei El CastañO 08 OkPei El CastañO 08 Ok
Pei El CastañO 08 Ok
 
1
11
1
 
Práctico y tabla 1
Práctico y tabla 1Práctico y tabla 1
Práctico y tabla 1
 
Can do. Will do. Still do.
Can do. Will do. Still do.Can do. Will do. Still do.
Can do. Will do. Still do.
 
ตัวอย่างแผนธุรกิจการทำInternet phone
ตัวอย่างแผนธุรกิจการทำInternet phoneตัวอย่างแผนธุรกิจการทำInternet phone
ตัวอย่างแผนธุรกิจการทำInternet phone
 
Queso
QuesoQueso
Queso
 
Intrapreneurship: Tackling The Challenges of Bringing New Innovation to Market
Intrapreneurship: Tackling The Challenges of Bringing New Innovation to MarketIntrapreneurship: Tackling The Challenges of Bringing New Innovation to Market
Intrapreneurship: Tackling The Challenges of Bringing New Innovation to Market
 
AIAMBT
AIAMBT AIAMBT
AIAMBT
 
reglas y principios del derecho Dworkin
reglas y principios del derecho   Dworkinreglas y principios del derecho   Dworkin
reglas y principios del derecho Dworkin
 
Cpg osteoarthritis or osteoarthrosis 2554
Cpg osteoarthritis or osteoarthrosis 2554Cpg osteoarthritis or osteoarthrosis 2554
Cpg osteoarthritis or osteoarthrosis 2554
 
Minsa Guia Atencion Recien Nacido
Minsa Guia Atencion Recien NacidoMinsa Guia Atencion Recien Nacido
Minsa Guia Atencion Recien Nacido
 
Manual de utilización de Prezi
Manual de utilización de PreziManual de utilización de Prezi
Manual de utilización de Prezi
 
Report in biology (nervous system)
Report in biology (nervous system)Report in biology (nervous system)
Report in biology (nervous system)
 
Examination of lacrimal system
Examination of lacrimal systemExamination of lacrimal system
Examination of lacrimal system
 
Bridging the gap between our online and offline social network
Bridging the gap between our online and offline social networkBridging the gap between our online and offline social network
Bridging the gap between our online and offline social network
 
Extension universitaria y proyeccion social
Extension universitaria y proyeccion socialExtension universitaria y proyeccion social
Extension universitaria y proyeccion social
 
Manual de usuario
Manual de usuarioManual de usuario
Manual de usuario
 
Migrations and settlement
Migrations and settlementMigrations and settlement
Migrations and settlement
 
Centrales Hidroelectricas
Centrales HidroelectricasCentrales Hidroelectricas
Centrales Hidroelectricas
 

Similar a Study success

หลักสูตร51สู่ห้องเรียน
หลักสูตร51สู่ห้องเรียนหลักสูตร51สู่ห้องเรียน
หลักสูตร51สู่ห้องเรียนPitima Boonprasit
 
การออกแบบการจัดการการเรียนรู้อิงมาตรฐาน หลักสูตรแกนกลาง 2551 ...
การออกแบบการจัดการการเรียนรู้อิงมาตรฐาน   หลักสูตรแกนกลาง 2551               ...การออกแบบการจัดการการเรียนรู้อิงมาตรฐาน   หลักสูตรแกนกลาง 2551               ...
การออกแบบการจัดการการเรียนรู้อิงมาตรฐาน หลักสูตรแกนกลาง 2551 ...Weerachat Martluplao
 
หลักสูตร Is คำอธิบายรายวิชา ม.ปลายdoc
หลักสูตร Is คำอธิบายรายวิชา ม.ปลายdocหลักสูตร Is คำอธิบายรายวิชา ม.ปลายdoc
หลักสูตร Is คำอธิบายรายวิชา ม.ปลายdockrupornpana55
 
การวิเคราะห์ผู้เรียน เก๋
การวิเคราะห์ผู้เรียน เก๋การวิเคราะห์ผู้เรียน เก๋
การวิเคราะห์ผู้เรียน เก๋Kaekea Bio
 
หลักสูตรสถานศึกษา พายุพงศ์1
หลักสูตรสถานศึกษา พายุพงศ์1หลักสูตรสถานศึกษา พายุพงศ์1
หลักสูตรสถานศึกษา พายุพงศ์1Bhayubhong
 
ปรัชญาความเป็นผู้นำ1
ปรัชญาความเป็นผู้นำ1ปรัชญาความเป็นผู้นำ1
ปรัชญาความเป็นผู้นำ1DrDanai Thienphut
 
9789740327745
97897403277459789740327745
9789740327745CUPress
 
เทคนิคการสอน
เทคนิคการสอนเทคนิคการสอน
เทคนิคการสอนkittitach06709
 
มคอ3อเงินยวง มนุษยสัมพันธ์
มคอ3อเงินยวง มนุษยสัมพันธ์มคอ3อเงินยวง มนุษยสัมพันธ์
มคอ3อเงินยวง มนุษยสัมพันธ์ไชยยา มะณี
 
ครูผู้ช่วย
ครูผู้ช่วยครูผู้ช่วย
ครูผู้ช่วยSana T
 
จิตวิทยาการแนะแนวและการให้คำปรึกษา 2
จิตวิทยาการแนะแนวและการให้คำปรึกษา 2จิตวิทยาการแนะแนวและการให้คำปรึกษา 2
จิตวิทยาการแนะแนวและการให้คำปรึกษา 2สรสิช ขันตรีมิตร
 
แผนการงานอาชีพ ม. 4.docx
แผนการงานอาชีพ ม. 4.docxแผนการงานอาชีพ ม. 4.docx
แผนการงานอาชีพ ม. 4.docxTangkwaLalida
 
Math website
Math websiteMath website
Math websitezensation
 
บทความบทที่ 2 คณิตศาสตร์
บทความบทที่  2  คณิตศาสตร์บทความบทที่  2  คณิตศาสตร์
บทความบทที่ 2 คณิตศาสตร์supanyasaengpet
 
ภารกิจระดับครูผู้ช่วย
ภารกิจระดับครูผู้ช่วยภารกิจระดับครูผู้ช่วย
ภารกิจระดับครูผู้ช่วยNetchanOk Maneechai
 
ภารกิจระดับครูผู้ช่วย
ภารกิจระดับครูผู้ช่วยภารกิจระดับครูผู้ช่วย
ภารกิจระดับครูผู้ช่วยนภสร ยั่งยืน
 

Similar a Study success (20)

หลักสูตร51สู่ห้องเรียน
หลักสูตร51สู่ห้องเรียนหลักสูตร51สู่ห้องเรียน
หลักสูตร51สู่ห้องเรียน
 
ครูผู้ช่วย
ครูผู้ช่วยครูผู้ช่วย
ครูผู้ช่วย
 
การออกแบบการจัดการการเรียนรู้อิงมาตรฐาน หลักสูตรแกนกลาง 2551 ...
การออกแบบการจัดการการเรียนรู้อิงมาตรฐาน   หลักสูตรแกนกลาง 2551               ...การออกแบบการจัดการการเรียนรู้อิงมาตรฐาน   หลักสูตรแกนกลาง 2551               ...
การออกแบบการจัดการการเรียนรู้อิงมาตรฐาน หลักสูตรแกนกลาง 2551 ...
 
หลักสูตร Is คำอธิบายรายวิชา ม.ปลายdoc
หลักสูตร Is คำอธิบายรายวิชา ม.ปลายdocหลักสูตร Is คำอธิบายรายวิชา ม.ปลายdoc
หลักสูตร Is คำอธิบายรายวิชา ม.ปลายdoc
 
การวิเคราะห์ผู้เรียน เก๋
การวิเคราะห์ผู้เรียน เก๋การวิเคราะห์ผู้เรียน เก๋
การวิเคราะห์ผู้เรียน เก๋
 
หลักสูตรสถานศึกษา พายุพงศ์1
หลักสูตรสถานศึกษา พายุพงศ์1หลักสูตรสถานศึกษา พายุพงศ์1
หลักสูตรสถานศึกษา พายุพงศ์1
 
ปรัชญาความเป็นผู้นำ1
ปรัชญาความเป็นผู้นำ1ปรัชญาความเป็นผู้นำ1
ปรัชญาความเป็นผู้นำ1
 
9789740327745
97897403277459789740327745
9789740327745
 
01 ตอนที่ 1 word
01 ตอนที่ 1 word01 ตอนที่ 1 word
01 ตอนที่ 1 word
 
3
33
3
 
เทคนิคการสอน
เทคนิคการสอนเทคนิคการสอน
เทคนิคการสอน
 
มคอ3อเงินยวง มนุษยสัมพันธ์
มคอ3อเงินยวง มนุษยสัมพันธ์มคอ3อเงินยวง มนุษยสัมพันธ์
มคอ3อเงินยวง มนุษยสัมพันธ์
 
ครูผู้ช่วย
ครูผู้ช่วยครูผู้ช่วย
ครูผู้ช่วย
 
จิตวิทยาการแนะแนวและการให้คำปรึกษา 2
จิตวิทยาการแนะแนวและการให้คำปรึกษา 2จิตวิทยาการแนะแนวและการให้คำปรึกษา 2
จิตวิทยาการแนะแนวและการให้คำปรึกษา 2
 
แผนการงานอาชีพ ม. 4.docx
แผนการงานอาชีพ ม. 4.docxแผนการงานอาชีพ ม. 4.docx
แผนการงานอาชีพ ม. 4.docx
 
Math website
Math websiteMath website
Math website
 
บทความบทที่ 2 คณิตศาสตร์
บทความบทที่  2  คณิตศาสตร์บทความบทที่  2  คณิตศาสตร์
บทความบทที่ 2 คณิตศาสตร์
 
ภารกิจระดับครูผู้ช่วย
ภารกิจระดับครูผู้ช่วยภารกิจระดับครูผู้ช่วย
ภารกิจระดับครูผู้ช่วย
 
ภารกิจระดับครูผู้ช่วย
ภารกิจระดับครูผู้ช่วยภารกิจระดับครูผู้ช่วย
ภารกิจระดับครูผู้ช่วย
 
Work1 pjcom
Work1 pjcomWork1 pjcom
Work1 pjcom
 

Más de kruthai40

กาพย์เห่เรือ พระนิพนธ์เจ้าฟ้าธรรมธิเบศร
กาพย์เห่เรือ พระนิพนธ์เจ้าฟ้าธรรมธิเบศรกาพย์เห่เรือ พระนิพนธ์เจ้าฟ้าธรรมธิเบศร
กาพย์เห่เรือ พระนิพนธ์เจ้าฟ้าธรรมธิเบศรkruthai40
 
บทอาขยานภาษาไทย ช่วงชั้นที่ ๑-๔
บทอาขยานภาษาไทย ช่วงชั้นที่ ๑-๔บทอาขยานภาษาไทย ช่วงชั้นที่ ๑-๔
บทอาขยานภาษาไทย ช่วงชั้นที่ ๑-๔kruthai40
 
ยุทธศาสตร์การจัดการศึกษา (ดร.สมหวัง กลุ่ม5)
ยุทธศาสตร์การจัดการศึกษา (ดร.สมหวัง กลุ่ม5)ยุทธศาสตร์การจัดการศึกษา (ดร.สมหวัง กลุ่ม5)
ยุทธศาสตร์การจัดการศึกษา (ดร.สมหวัง กลุ่ม5)kruthai40
 
ลักษณะภาษาไทย
ลักษณะภาษาไทยลักษณะภาษาไทย
ลักษณะภาษาไทยkruthai40
 
บทอาขยาน ภาษาไทย ม.๓
บทอาขยาน ภาษาไทย ม.๓บทอาขยาน ภาษาไทย ม.๓
บทอาขยาน ภาษาไทย ม.๓kruthai40
 
ทิศทางแผนพัฒนา 11
ทิศทางแผนพัฒนา 11ทิศทางแผนพัฒนา 11
ทิศทางแผนพัฒนา 11kruthai40
 
หลักสูตรแกนกลาง Thai 51
หลักสูตรแกนกลาง Thai 51หลักสูตรแกนกลาง Thai 51
หลักสูตรแกนกลาง Thai 51kruthai40
 
50ผลงาน ศ.ดร.ชัยยงค์ พรหมวงศ์
50ผลงาน ศ.ดร.ชัยยงค์  พรหมวงศ์50ผลงาน ศ.ดร.ชัยยงค์  พรหมวงศ์
50ผลงาน ศ.ดร.ชัยยงค์ พรหมวงศ์kruthai40
 
บทสรุปผู้บริหาร การประเมิน สมศ. รอบ ๒
บทสรุปผู้บริหาร การประเมิน สมศ. รอบ ๒บทสรุปผู้บริหาร การประเมิน สมศ. รอบ ๒
บทสรุปผู้บริหาร การประเมิน สมศ. รอบ ๒kruthai40
 
บทสรุปผู้บริหาร การประเมิน สมศ. รอบแรก ๒๕๔๗
บทสรุปผู้บริหาร การประเมิน สมศ. รอบแรก ๒๕๔๗บทสรุปผู้บริหาร การประเมิน สมศ. รอบแรก ๒๕๔๗
บทสรุปผู้บริหาร การประเมิน สมศ. รอบแรก ๒๕๔๗kruthai40
 
คู่มือการปฏิบัติงานข้าราชการครู
คู่มือการปฏิบัติงานข้าราชการครูคู่มือการปฏิบัติงานข้าราชการครู
คู่มือการปฏิบัติงานข้าราชการครูkruthai40
 
กิจกรรม ครูภาษาไทยประกายเพชร
กิจกรรม ครูภาษาไทยประกายเพชรกิจกรรม ครูภาษาไทยประกายเพชร
กิจกรรม ครูภาษาไทยประกายเพชรkruthai40
 
ที่มาของวันสุนทรภู่
ที่มาของวันสุนทรภู่ที่มาของวันสุนทรภู่
ที่มาของวันสุนทรภู่kruthai40
 
การพัฒนาหลักสูตรสถานศึกษาอิงมาตรฐาน
การพัฒนาหลักสูตรสถานศึกษาอิงมาตรฐานการพัฒนาหลักสูตรสถานศึกษาอิงมาตรฐาน
การพัฒนาหลักสูตรสถานศึกษาอิงมาตรฐานkruthai40
 
หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551
หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551
หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551kruthai40
 
คำขึ้นต้น สรรพนาม คำลงท้าย
คำขึ้นต้น สรรพนาม คำลงท้ายคำขึ้นต้น สรรพนาม คำลงท้าย
คำขึ้นต้น สรรพนาม คำลงท้ายkruthai40
 
การออกแบบการจัดการเรียนรู้อิงมาตรฐาน
การออกแบบการจัดการเรียนรู้อิงมาตรฐานการออกแบบการจัดการเรียนรู้อิงมาตรฐาน
การออกแบบการจัดการเรียนรู้อิงมาตรฐานkruthai40
 
แนวทางการใช้หลักสูตรแกนกลาง
แนวทางการใช้หลักสูตรแกนกลางแนวทางการใช้หลักสูตรแกนกลาง
แนวทางการใช้หลักสูตรแกนกลางkruthai40
 
การอ่านวิจารณญาณ
การอ่านวิจารณญาณการอ่านวิจารณญาณ
การอ่านวิจารณญาณkruthai40
 

Más de kruthai40 (20)

กาพย์เห่เรือ พระนิพนธ์เจ้าฟ้าธรรมธิเบศร
กาพย์เห่เรือ พระนิพนธ์เจ้าฟ้าธรรมธิเบศรกาพย์เห่เรือ พระนิพนธ์เจ้าฟ้าธรรมธิเบศร
กาพย์เห่เรือ พระนิพนธ์เจ้าฟ้าธรรมธิเบศร
 
บทอาขยานภาษาไทย ช่วงชั้นที่ ๑-๔
บทอาขยานภาษาไทย ช่วงชั้นที่ ๑-๔บทอาขยานภาษาไทย ช่วงชั้นที่ ๑-๔
บทอาขยานภาษาไทย ช่วงชั้นที่ ๑-๔
 
ยุทธศาสตร์การจัดการศึกษา (ดร.สมหวัง กลุ่ม5)
ยุทธศาสตร์การจัดการศึกษา (ดร.สมหวัง กลุ่ม5)ยุทธศาสตร์การจัดการศึกษา (ดร.สมหวัง กลุ่ม5)
ยุทธศาสตร์การจัดการศึกษา (ดร.สมหวัง กลุ่ม5)
 
ลักษณะภาษาไทย
ลักษณะภาษาไทยลักษณะภาษาไทย
ลักษณะภาษาไทย
 
บทอาขยาน ภาษาไทย ม.๓
บทอาขยาน ภาษาไทย ม.๓บทอาขยาน ภาษาไทย ม.๓
บทอาขยาน ภาษาไทย ม.๓
 
ทิศทางแผนพัฒนา 11
ทิศทางแผนพัฒนา 11ทิศทางแผนพัฒนา 11
ทิศทางแผนพัฒนา 11
 
หลักสูตรแกนกลาง Thai 51
หลักสูตรแกนกลาง Thai 51หลักสูตรแกนกลาง Thai 51
หลักสูตรแกนกลาง Thai 51
 
50ผลงาน ศ.ดร.ชัยยงค์ พรหมวงศ์
50ผลงาน ศ.ดร.ชัยยงค์  พรหมวงศ์50ผลงาน ศ.ดร.ชัยยงค์  พรหมวงศ์
50ผลงาน ศ.ดร.ชัยยงค์ พรหมวงศ์
 
บทสรุปผู้บริหาร การประเมิน สมศ. รอบ ๒
บทสรุปผู้บริหาร การประเมิน สมศ. รอบ ๒บทสรุปผู้บริหาร การประเมิน สมศ. รอบ ๒
บทสรุปผู้บริหาร การประเมิน สมศ. รอบ ๒
 
บทสรุปผู้บริหาร การประเมิน สมศ. รอบแรก ๒๕๔๗
บทสรุปผู้บริหาร การประเมิน สมศ. รอบแรก ๒๕๔๗บทสรุปผู้บริหาร การประเมิน สมศ. รอบแรก ๒๕๔๗
บทสรุปผู้บริหาร การประเมิน สมศ. รอบแรก ๒๕๔๗
 
คู่มือการปฏิบัติงานข้าราชการครู
คู่มือการปฏิบัติงานข้าราชการครูคู่มือการปฏิบัติงานข้าราชการครู
คู่มือการปฏิบัติงานข้าราชการครู
 
กิจกรรม ครูภาษาไทยประกายเพชร
กิจกรรม ครูภาษาไทยประกายเพชรกิจกรรม ครูภาษาไทยประกายเพชร
กิจกรรม ครูภาษาไทยประกายเพชร
 
History
HistoryHistory
History
 
ที่มาของวันสุนทรภู่
ที่มาของวันสุนทรภู่ที่มาของวันสุนทรภู่
ที่มาของวันสุนทรภู่
 
การพัฒนาหลักสูตรสถานศึกษาอิงมาตรฐาน
การพัฒนาหลักสูตรสถานศึกษาอิงมาตรฐานการพัฒนาหลักสูตรสถานศึกษาอิงมาตรฐาน
การพัฒนาหลักสูตรสถานศึกษาอิงมาตรฐาน
 
หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551
หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551
หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551
 
คำขึ้นต้น สรรพนาม คำลงท้าย
คำขึ้นต้น สรรพนาม คำลงท้ายคำขึ้นต้น สรรพนาม คำลงท้าย
คำขึ้นต้น สรรพนาม คำลงท้าย
 
การออกแบบการจัดการเรียนรู้อิงมาตรฐาน
การออกแบบการจัดการเรียนรู้อิงมาตรฐานการออกแบบการจัดการเรียนรู้อิงมาตรฐาน
การออกแบบการจัดการเรียนรู้อิงมาตรฐาน
 
แนวทางการใช้หลักสูตรแกนกลาง
แนวทางการใช้หลักสูตรแกนกลางแนวทางการใช้หลักสูตรแกนกลาง
แนวทางการใช้หลักสูตรแกนกลาง
 
การอ่านวิจารณญาณ
การอ่านวิจารณญาณการอ่านวิจารณญาณ
การอ่านวิจารณญาณ
 

Study success

  • 1. เอกสารประกอบการเรียนการสอน วิชาการจัดการและทักษะการเรียนในระดับอุดมศึกษา ครั้งที่ 3 หัวขอ เรียนอยางไรใหประสบความสําเร็จ บทความเลขที่ A03/1 ลงวันที่ 30 มิถุนายน 2548 เรียนอยางไร ? ใหประสบความสําเร็จ โดย ผศ. บุษยมาส สินธุประมา เรียนมหาวิทยาลัยไปทําไม ? นักศึกษาอาจจะถูกตั้งคําถามนี้หลายครั้งเมื่อยางกาวเขามาในรั้วมหาวิทยาลัย และแมบางคน อาจจะยังไมถูกถามก็นาจะถามตัวเอง เพราะถาไมอยางนั้นการเรียนระดับอุดมศึกษาในมหาวิทยาลัยก็คง จะเปนเพียงขั้นตอนธรรมชาติสวนหนึ่งในชีวิตที่ “ตอยอด” มาจากมัธยมศึกษา หรืออีกนัยหนึ่งอุดมศึกษา จะไมมความหมายในตัวของมันเอง และกลายเปน “ซุปเปอรมัธยม” ไปเทานั้น ี บางคนตอบว า การเรี ย นในมหาวิ ท ยาลั ย คื อ การพั ฒ นาตนเองเพื่ อ เตรี ย มไปประกอบอาชี พ คํ า ตอบนี้ คงจะถู กเพี ยงส วนเดี ย ว เพราะถ า คํา ตอบนี้ถู กรอ ยเปอร เซ็น ต มหาวิท ยาลัย ก็ ค งไม ต า งจาก “โรงเรียนฝกอาชีพ” เทานั้น ในความเปนจริง การอุดมศึกษายังมุงพัฒนาความเปน “มนุษย” หรือธรรมชาติสวนดีในตัว นักศึกษาแตละคน เพื่อเสริมเขากับความรู ความสามารถ และทักษะในเชิงวิชาชีพ เพราะเมื่อนักศึกษา เรียนสําเร็จเปนบัณฑิตออกไปแลว ไมเพียงแตไปประกอบอาชีพเทานั้น แตยังจะไปสรางครอบครัวและอยู รวมกับผูคนอีกเปนจํานวนมากในสังคมดวย ความสําเร็จของการเรียนในมหาวิทยาลัย จึงตองเริ่มจากความตระหนักของนักศึกษาเองวาตนเขา มาทําไม มีภารกิจอยางไร และกําลังมุงไปสูเปาหมายอะไร ? องคประกอบหลักที่จะนําไปสูความสําเร็จ เงื่อนไขปจจัยที่เปนตัวกําหนดวานักศึกษาจะประสบความสําเร็จ (หรือลมเหลว) ในการศึกษามาก นอย หรือชาเร็วอยางไรนั้น มีอยูดวยกันมากมาย และสงผลตอกันอยางคอนขางจะซับซอน อยางไรก็ตาม องคประกอบพื้นฐานที่สําคัญ ๔ สวนซึ่งจะนํานักศึกษาไปสูความสําเร็จก็คือ กาย อารมณ สังคม สติปญญา ๑. กาย รางกายที่แข็งแรงสมบูรณ เปนพื้นฐานเบื้องตนอันสําคัญที่สุด ถานักศึกษามานั่งเปนลม เพราะหิวขาวตอนสาย ๆ ทุกวัน หรือเจ็บออด ๆ แอด ๆ เขาโรงพยาบาลภาคการศึกษาละสองเดือน ก็คง ไมมีทางเรียนใหประสบความสําเร็จได
  • 2. ๒. อารมณ ในสวนนี้หมายถึงทั้งอารมณความรูสึก เชน โกรธ, เบื่อ, ขี้เกียจ, ขยัน, กระตือรือรน, ไปจนถึงทัศนคติ เชน ความชอบ/ไมชอบ และอคติที่มีตอสิ่งตาง ๆ ดวย ปจจัยขอนี้ก็คงจะอธิบายไดไม ยาก นักศึกษาจํานวนไมนอยเรียนภาษาอังกฤษหรือคณิตศาสตรไดไมดี (ออน) เนื่องจากสาเหตุพื้นฐาน คือ อคติ/ความไมชอบ ที่มีตอวิชาทั้งสองนี้ เมื่อเขาเรียนทีไรก็จําใจเรียนอยางเบื่อหนาย ถาไมสามารถ แกไขปรับปรุงองคประกอบขอนี้ไดก็ยากที่จะประสบความสําเร็จในการเรียนโดยรวม ๓. สังคม องคประกอบสองขอแรกนั้น เปนเรื่องของตัวเราเอง ที่เรายังสามารถควบคุมดูแล ปรับปรุงพัฒนาไดดวยตนเอง แตเมื่อมาถึงขอที่สาม คือสังคม ที่เริ่มจากหนวยเล็กที่สุดคือครอบครัว ขยายสูวงกวา ง เช น เพื่อ นฝู ง และคนรอบขา ง จะพบว า เงื่ อ นไขในองค ประกอบขอนี้ คอ นขางจะอยู นอกเหนือการจัดการ ควบคุม ดูแล เพราะนอกจากครอบครัวที่เปนหนวยสังคมแลว ยังรวมเอาเงื่อนไข ทางเศรษฐกิจผนวกเขาไวดวย ถึงแมวานักศึกษาอาจจะไมสามารถเขาไปแกไขปรับปรุงองคประกอบขอนี้ ไดมากนัก แตกเปนเรื่องสําคัญที่จะตองพิจารณาใหเขาใจ เพื่อจัดการใหสงผลกระทบในเชิงลบตอการเรียน ็  ของเราใหนอยที่สุด ๔. สติปญญา ขอนี้จัดไวทายสุดเพราะเปนคุณสมบัติติดตัวมาแตเกิด หรือพัฒนาอยูในชวงสั้น ๆ ของวัยทารกเทานั้น อยางไรก็ตามองคประกอบขอนี้มิใชวาจะอยูนอกเหนือการควบคุมจนกระทั่งเราไม ตองไปคิดถึงมันอีกเลย เพราะสติปญญาในขอนี้มิไดหมายถึงเพียงแตระดับความเฉลียวฉลาดที่ภาษาฝรั่ง เรียกวา IQ เทานั้น แตยังตองพิจารณาลงไปถึงรายละเอียดทางองคประกอบของความสามารถทาง สติปญญา ที่มาจากความแตกตางของสมองซีกซายกับซีกขวาดวย ซึ่งเราพบวา บางคนมีความสามารถเดน ในเชิงตรรกะ เชน การใชเหตุผล การคิดคํานวณ การวางระบบและลําดับความคิด ในขณะที่อีกคนหนึ่ง อาจจะโดดเดนมากกวาในการแสดงออกทางอารมณความรูสึก รวมไปถึงการรังสรรคงานทางดานศิลปะ ดนตรี เปนตน นักศึกษาจึงตองประเมินและตระหนักถึงความสามารถเฉพาะตัวของแตละคน เพื่อจัดวาง ทางเลือกที่เหมาะสมสําหรับตัวเองอยางดีที่สุด การตั้งเปาหมายที่เปนไปไดและควรจะเปน การเรียนก็เหมือนกับการทํากิจกรรมอื่น ๆ ในชีวิตอีกมากมาย คือ ตองมีเปาหมาย แตนักศึกษา จํานวนไมนอยยังไมทราบ หรือแมแตไมเคยคิดวาเปาหมายในชีวิตของตนคืออะไร และเปาหมายในการเขา มาเรียนในมหาวิทยาลัยคืออะไร เมื่อไมมีเปาหมายจึงไมรูวาจะวัดความสําเร็จไดอยางไร  ๒
  • 3. ลักษณะของการตั้งเปาหมายที่ดี ๑. เปนสิ่งที่พงปรารถนา / เปนสิ่งกระตุนในทางที่ดี (ใครบางตั้งเปาจะจบไปเปนโจร ?) ึ ๒. เปนสิ่งที่อยูในวิสัยจะเปนไปได (ถาอยากรวยกวา บิล เกตส จะมากไปไหม ?) ๓. วัดความสําเร็จได ๔. ทําสําเร็จไดภายในกําหนดเวลา (คงไมใช ชาติหนาตอนบาย ๆ ?) วิธีการตั้งเปาหมาย แบงเปาหมายออกเปนระยะ ใหสอดคลองกันตั้งแตระยะสั้นจนถึงระยะยาว แลวพิจารณา จากพื้นฐานองคประกอบสี่ประการ (กาย อารมณ สังคม สติปญญา) ที่ตัวเรามีอยู เพื่อตั้งเปาที่เปนไปได และพึงประสงค (ถาเราเปนเด็กหัวดี IQ 190 ทางบานก็พอมีฐานะ จะตั้งเปาเอาแคผาน ๒.๐๐ เพื่อเรียน ใหจบภายในหาป จะเปนเปาหมายที่ต่ําเกินไปหรือไม ?) ตัวอยาง นางสาว ป. สุขภาพแข็งแรง เรียนหนังสือพอใชได/คอนขางดี สนใจดานคอมพิวเตอรและการทองเที่ยว เปาหมายระยะยาว จะเปนผูจดการบริษัทเล็ก ๆ ที่ใหบริการฐานขอมูลทางดานการทองเทียว ั ่ ทั้งในประเทศไทยและประเทศเพื่อนบานใกลเคียง (ภายในป พ.ศ. ๒๕ . . .) เปาหมายระยะกลาง จะเรียนที่ EAU ใหจบภายในสี่ป (อยางมากไมเกินสีปครึ่ง) ่ เกรดเฉลี่ยนาจะถึง ๓.๐๐ เผื่อสมัครเรียนปริญญาโทตอไป เปาหมายระยะสั้น จะเรียนเทอมแรกนี้ใหผาน อยางนอยนาจะไดสัก ๒.๗๕ นะ  (และอาจมีเปาหมายระยะสั้น ๆ ยอยลงไปเปนรายเดือน รายสัปดาหอก ก็ยอมได) ี การวางแผนการเรียน ความสําคัญของการวางแผนการเรียน เมื่อมีเปาหมายที่ดีและสมจริง (คือเปนไปได) แลว ก็จําเปนตองมีวิธีการที่จะนําพาตนเองไปสู เปาหมายที่วางไว การวางแผนการเรียนนั้น พูดกันงาย ๆ ก็คือการเตรียมวิธีการสําหรับตัวเราที่จะไปใหถึง เปาหมายนั่นเอง อันที่จริงมหาวิทยาลัยไดเตรียมแผนในเชิงวิชาการไวสําหรับนักศึกษาทุกคนโดยสวนรวม ในแตละหลักสูตรแลว ที่เรียกวา แผนการศึกษา หรือ Study Plan ซึ่งปรากฏอยูในหลักสูตรของนักศึกษา นั่นเอง แตในสวนรายละเอียด นักศึกษาแตละคนมีลักษณะองคประกอบที่แตกตางกัน มีเปาหมายที่ ตางกัน จึงตองวางแผนเฉพาะสําหรับตัวเองดวย ๓
  • 4. วิธีการวางแผนการเรียน การมีขอมูลที่ถกตองและครบถวน ู ปจจุบันนี้เราอยูในยุคขาวสารขอมูล (Information Age) การมีขอมูลที่ถูกตองและ ครบถวนสําหรับการวางแผนการเรียนจึงเปนสิ่งสําคัญที่สุด นับตั้งแตหลักสูตรและระเบียบการศึกษา (ซึ่ง มี Study Plan รวมไวใหแลว ดังที่กลาวขางตน) รวมถึงประกาศและขาวสารจากทางมหาวิทยาลัย จากคณะ จากภาควิชา และจากอาจารยผูสอนแตละทาน ในแตละภาคการศึกษา นักศึกษาตองใสใจติดตามขาวสาร ขอมูลทางการศึกษาเหลานี้ เพราะถาพลาดพลั้งไป จะอางวา “ไมทราบ” นั้นไมได ขอมูลสําคัญประการหนึ่ง สําหรับแตละรายวิชาที่นักศึกษาลงทะเบียนเรียน คือ เคาโครง รายวิชา (Course Syllabus) ที่อาจารยผูสอนแจกใหและอธิบายในชั่วโมงแรกของการเรียน นักศึกษาหลาย คนมองขามความสําคัญของขอมูลชิ้นนี้ ไมเขาเรียนครั้งแรก และ/หรือ โยนเคาโครงรายวิชาทิ้งไป ทั้งๆ ที่ มันคือเครื่องมือชิ้นสําคัญที่จะชวยเราสําหรับการวางแผนการเรียนในแตละวิชาได การบริหารเวลา เราสามารถวาดฝนที่จะทําอะไรไดมากมาย แตในโลกแหงความจริงเราจะตองมีเวลา และ สามารถจัดสรรเวลาที่จะทําสิ่งตาง ๆ ที่วางแผนไวใหสําเร็จ การบริหารเวลาจึงเปนสิ่งจําเปนอยางมาก สําหรับการเรียนในมหาวิทยาลัย โดยในเบื้องตนเราตองใชขอมูลที่มีอยูทั้งหมดมาประมวลเปนตัวกําหนด วาเราจะแบงใชเวลาในแตละเทอม แตละเดือน แตละสัปดาห จนถึงแตละวันอยางไร ตัวอยาง เชน ถาเราทราบวา ในภาคเรียนนี้จะตองทํารายงานถึงสามชิ้น สําหรับสามวิชา เพื่อสงในตอนปลายภาค (กอนสอบไล) เราจะจัดแบงเวลาสําหรับงานทั้งสามชิ้นนั้นอยางไร ไมใชรอไป เรงทําในชวงสัปดาหสุดทาย ซึ่งในที่สุดก็จะไดงานคุณภาพต่ําทั้งสามวิชา เครื่องมือที่จะชวยสําหรับบริหารเวลาในปจจุบันมีอยูมากมาย เริ่มตั้งแตสมุดบันทึกเล็ก ๆ เพื่อจดกิจกรรมหรืองานที่จะตองทํา หรือตารางปฏิทินที่ใชสําหรับการวางแผน (Planner) จะซื้อที่เขาทํา ขายหรือจะตีตารางทําเองก็ได ในคอมพิวเตอรก็มี (เชน ในโปรแกรม Microsoft Outlook) แผนตาราง พวกนี้ใชไดทั้งการวางแผนบริหารเวลาในการเรียน รวมไปถึงการดําเนินชีวิตในดานอื่น ๆ อยางเปนระบบ ดวย (เชน จัดหลีกไมใหรถไฟชนกัน??) นักศึกษาสามารถวางแผนการใชเวลาลวงหนาไดนับตั้งแตรายป รายสี่เดือน (ภาคการศึกษา) รายสัปดาห จนถึงรายชั่วโมงในแตละวัน เราทราบวา วันหนึ่งมีเพียง ๒๔ ชั่วโมง สัปดาหหนึ่งมีเพียง ๗ วัน . . . แตถารูจักบริหาร เวลาใหดี ก็จะสามารถใชเวลาที่มีอยูทั้งหมดไดอยางคุมคาและมีประสิทธิภาพ ปญหาของนักศึกษาจํานวน มาก มักจะปลอยเวลาชวงตนเทอมใหผานไปอยางหนายเนือย (slow motion) แลวไปเรงทํางานหรือทอง หนังสือเอาตอนปลายภาค ทําใหไมประสบความสําเร็จเทาที่ควร อยาลืมภาษิตที่วา “เวลา และ วารี ไมเคยที่จะคอยใคร” (TIME AND TIDE WAIT FOR NOBODY) ๔
  • 5. เทคนิควิธีการเรียนใหประสบความสําเร็จ การศึกษาในมหาวิทยาลัยกําหนดใหนักศึกษาตองคนควาหาความรูดวยตนเองเปนหลักสําคัญ การเขาชั้นเรียนเพื่อฟงคําบรรยาย (lecture) จากอาจารย เปนเพียงการฟงคําชี้แนะแนวทางในการศึกษา คนควาเทานั้น อยางไรก็ตาม นักศึกษาจํานวนมากยังหวังเพียงพึ่งพิงความรูที่อาจารยหยิบยื่นใหจากคํา บรรยายเทานั้น ซึ่งที่จริงแลวยังไมพอ การเขาชั้นเรียน การเตรียมตัวกอนเรียน การรับฟงคําบรรยายในชั้นเรียนใหมีประสิทธิภาพนั้น ตองมีการเตรียมตัวมากอน มิใช เดินเลนตามสบายเขาไปนั่งฟงบางไมฟงบาง การเตรียมตัว เชน ตองทราบวาชั่วโมงนั้นจะเรียนอะไร มี เอกสาร ตํารา หรือหนังสือที่อาจารยสั่งใหไปเตรียมอานมากอนหรือไม ถาจะใหดีตองเปดดูสมุดจดคํา บรรยาย (lecture) ชั่วโมงที่แลววาเรียนอะไรไปถึงไหน วิธีการปฏิบัติตนในชั้นเรียน เพื่อใหประสบความสําเร็จสูงสุดในการเรียนรูรวมกับอาจารยผูสอน แนวทางที่ดีคือ การ ปฏิบัติตามหลักที่รูจักกันในนาม “หัวใจนักปราชญ” คือ การฟง, คิด, ถาม, และเขียน เปนการฟงคํา บรรยายอยางตั้งใจ แลวคิดตามไปดวย หากมีขอสงสัยใหรีบถาม (หรือจดไวถามในชวงที่อาจารยเปด โอกาสใหซักถาม) เมื่อฟงและคิดแลวก็ตองเขียน คือจดบันทึกสิ่งที่ไดฟงและเขาใจนั้นลงไว เพื่อเตือน ความจําและเพื่อทบทวนในโอกาสตอไป ปจจุบันนักศึกษาหลายคนใชหลัก “หัวใจเครื่องถายเอกสาร” คือใชวิธีการถายเอกสารคํา บรรยายจากเพื่อน ไมวานักศึกษาจะไมเขาชั้นเรียนหรือเขาหองเรียนแตไมจดเองก็ตาม ซึ่งการใชวิธีการ ถายเอกสารนี้เปนวิถีทางที่ตรงขามกับหัวใจนักปราชญ เพราะไมไดผานการฟงดวยหูของตนเอง (บางคน เขาเรียนแตก็ไมคอยไดฟง) จึงไมไดคิด ไมไดถาม และในที่สุดคือไมไดเขียน เครื่องถายเอกสารจึง กลายเปนมารรายขยี้หัวใจนักปราชญตัวจริงแทแนนอน ระบบการจดโนต ที่มีคุณภาพ ๑.ระบบแฟมเจาะขาง ใชแฟมเจาะขาง ๑ เลม ตอ ๑ วิชา และเขียนชื่อวิชาใหชัดเจน ในแฟมนี้จะ รวมเอกสารทุกชนิดที่เกี่ยวกับเอกสารคําสอนที่ไดรับจากอาจารยผูสอนและแบบฝกหัดที่เกี่ยวของกับวิชา ทั้งหมด โดยอาจจัดระบบเอกสาร ไดหลายวิธี เชน จัดเรียงตามวันที่ไดรบเอกสารหรือวันที่จดโนต อีก ั วิธีหนึ่งคือ กระดาษจดโนัตรวมไวกลุมหนึง สวนเอกสารก็รวมไวอีกกลุมหนึ่ง ่ ๕
  • 6. วิธีนี้มีขอดีขอเสีย เชน ขอดี ไมตองหอบหิวสมุด เอกสารมากมายไปเรียนหนังสือ ทําใหจดเรียงและ ้ ั นํามาใชไดสะดวก และการแทรกเพิ่มเติมหรือการดึงออกทําไดงาย ขอเสีย เชน กระดาษที่จดเก็บอาจฉีก ั ขาดไดงาย เมือดึงเขาออกบอย ๆ ่ ๒. ระบบผสมสมุดโนตกับแฟมหนีบ ควรเตรียมสมุดจดโนต ๑ เลม ตอ๑ วิชา โดยจดโนตใส สมุดและจัดเอกสารทุกชนิดเก็บใสแฟม ระบบนี้มีขอดี คือการจดโนตจะรวมเปนเลม โอกาสหายไปแผน สองแผน นาจะมีนอยกวา นอกเหนือจากวิธีขางตนนี้ หากนักศึกษามีความรูความสามารถในการสราง website หรือ การ ทําhomepage เปนของตนเองได การจดบันทึกหรือรวบรวมการจดโนตเก็บไวใน website จะเปน ประโยชนตอการศึกษาเลาเรียนที่มีประสิทธิภาพมากตอไป เทคนิคการจดโนต - วิธีการมีหลายวิธี เชน ๑. ใชสัญลักษณมาตรฐานแทนคําตาง ๆ เชน สัญลักษณตาง ๆ ที่เกี่ยวของในศาสตรนั้น ๆ ๒. ใชอักษรยอ ชึ่งมีความหมายเปนมาตรฐาน ๓.สรางสัญลักษณหรือคํายอของเราเอง เปนโนตยอที่มาจากหลักการสําดัญของการจํา คือ สนใจ เขาใจ และจัดกลุม (๓ จ) เทคนิคการจํามีประโยชนและเปนเครื่องมือในการเรียนที่ดี จะกลาวในหัวขอ ตอไป - รูปแบบการจดโนต เชน ๑ แผนภูมิตนไม (Tree Diagram ) เหมาะสําหรับขอมูลที่มีรายละเอียดมากมายหลายชั้น และ  แบงแยกกันคอนขางชัดเจน ๒ แผนภูมิความคิด (Mind Mapping Diagram ) เหมาะสําหรับเนื้อหาทีกระจายออกไป ่ กวางขวาง เวลาเขียนหัวขอหลักจะอยูตรงกลาง สวนหัวขอรองและสาระสําคัญจะกระจาย อยูรอบ ๆ อยางไรก็ตามถาตองการแสดงลําดับของหัวขอที่อานหรือฟง สามารถทําไดโดย การใสหมายเลขไวที่หัวขอตาง ๆ ๓ แบบโครงเรื่อง เปนการจดประเด็นและหัวขอสําคัญตาง ๆ โดยใชสํานวนภาษาของเราเอง แลวจัดลุมเรียงลําดับหัวขอนั้น วิธีนี้จะทําใหเราเขาใจเรื่องอยางแทจริง เพราะตองแยกวาขอ ไหนเปนประเด็นสําคัญกอนจึงจะสามารถเขียนสรุปประเด็นได ๔ แบบการลําดับเวลา เหมาะสําหรับการจดโนตในวิชาที่เปนเรื่องของพัฒนาการตาง ๆ หรือภูมิ หลังของเรื่องที่กําลังศึกษา ลําดับเวลาจะชวยใหเราเขาใจเหตุการณที่เกิดขึ้นอยางมีเหตุผล และตอเนื่อง ๖
  • 7. เทคนิคการจํา สาระสําคัญของการจํานันคือการเชื่อมตอระหวางความรูใหมกับความรูเดิมใหอยูในโครงสราง ้  เดียวกันที่มีอยูแลว เทคนิดการจําจะตองมีความเขาใจกอนจึงจะสามารถทําใหการจํานั้นมีคุณภาพและเปน ประโยชนตอการเรียน เทคนิคการจําจึงไมใชการทองจํา เทคนิคการจําเปนเครื่องมือชวยในการเรียน มีหลายวิธี เชน - เปนคํากลอน - จําจังหวะทํานองเพลง หรือการแบงกลุมเนื้อหา - การสัมพันธเชือมโยงกับขอมูลหรือความรูเดิมที่มีอยูแลัว ่ - อักษรซ้ํา - ชุดคํา การสรางคําใหมจากอักษรตัวแรกและเรียงเปนกลุมใหจํางาย - การใชอักษรมาสรางเปนคําแลวผูกเรื่อง เชน ไกจิกเด็กตายบนปากโอง (เรื่องอักษรกลาง) การคนควา ดังที่กลาวแลววา การจดคําบรรยายของอาจารย เปนเพียงแนวทางการเรียนรูสวนหนึ่ง เทานั้น นักศึกษาจะตองคนควาดวยตนเองเปนสําคัญ ปจจุบันนักศึกษาโชคดี ที่เรามีแหลงความรูหรือ สารสนเทศมากมาย แตก็มากเสียจนรูจักกันวาเปนภาวะ “สารสนเทศทวมทน” ดังนั้น นอกจากจะรูแหลง คน ควา แล ว นั ก ศึ กษายัง ต อ งรู จั ก ประเมิ น แยกแยะ ข อ มูล ขา วสาร ความรู ที่ มี อ ยู มหาศาลนั้น ด ว ย มหาวิ ท ยาลั ย ได จั ด ให นั กศึก ษาทุก คนต อ งเรี ยนวิชาศึ ก ษาทั่ ว ไปวิ ชาหนึ่ ง คือ “การคน วา และนํ าเสนอ สารสนเทศ” หวังวานักศึกษาจะใสใจกับความรูและทักษะที่จะไดรับจากวิชานี้ใหมากเปนพิเศษ ในการคนควาหาความรูนั้น กิจกรรมสําคัญที่สุดอยางหนึ่ง คือ การอาน จึงขอแนะนําเรื่อง ความสําคัญของการอานและเทคนิคโดยยอของการอานไวดงตอไปนี้ ั ความสําคัญของการอานและวิธการอานี การอานเปนพื้นฐานในการสราง และพัฒนาความรู ความคิด จินตนาการ และทัศนคติ การอาน เปนเครื่องมือสําคัญที่ทําใหมนุษยสามารถแสวงหาความรูใหม ๆ เปดโลกของความคิด เปนคนทันสมัยอยู เสมอ นอกจากนี้การอานยังมีหนาที่ในการผอนคลาย และสามารถทําใหมนุษยสามารถมีความสุขไดจาก จิ น ตนาการและความรู สึกนึ ก คิ ด ของตนเอง มีบุ ค คลจํา นวนมากมายที่ มี นิสัยรั กการอ า นและประสบ ความสําเร็จในชีวิต หนาที่การงาน เพราะชอบอาน และอานทุกอยางที่เห็น หัวใจนักปราชญไดรวมเอาการอานเขาเปนสวนหนึ่ง คือฟงมากอานมาก เปนองคประกอบเบื้องตน เพราะอยางนอยเปนการสํารวจความรูโดยทั่วไปในชั้นหนึ่งแลว ๗
  • 8. อานไปทําไม อานอะไร อานอยางไร ? โจทยขอแรก ที่เปนปญหาของนักศึกษา คือ นักศึกษาไมอาน อานชา อานไมเขาใจ ไมมีเวลา อาน (นาจะเปนขออาง) เปนตน ดังนั้นนักศึกษาตองแกไขปญหาเบื้องตนนี้ใหไดเสียกอน ปจจุบันมีคูมือ แนะนําการอาน หลายเลมที่นาสนใจ นักศึกษาอาจจะตองเริ่มตนอานคําแนะนําการอานเสียกอน ตรงนี้ เปนวัตถุประสงคของการอานเบื้องตน คือ อานไปทําไม และจะอานอะไร เมื่อนักศึกษา ตอบคําถามนีได ้ แลว จะเห็นประโยชน และมีทิศทางที่ชัดเจน และหากสามารถนําขอมูลที่ไดจากการอานไปปฏิบัติไดจริง จนปรับเปลี่ยนพฤติกรรม อุปนิสัยของตนเองได ก็เทากับนักศึกษาประสบความสําเร็จในการเรียนกวาครึ่ง ทางแลว โจทยขอที่สอง เมื่อเห็นประโยชน ของการอานแลว และไดเริ่มตนอานแลว อาจมีคําถามตอมาอีก วา มีวธการอานอยางไร ิี การอาน มีจุดมุงหมายแตกตางกัน สําหรับนักศึกษานั้นมีจุดมุงหมายที่ชัดเจน คือ การอานตํารา และหนังสือทั่วไปที่เปนสวนประกอบของการเรียน เปนการอานเพื่อเรียนรู และประกอบความรูพื้นฐาน วิชาตาง ๆ ดังนั้นจึงตองอานอยางมีความหมาย สามารถสรางและเชื่อมโยงความรู ความคิด ที่ไดจากการ อาน สามารถนําสิ่งที่ไดจากการอานนําไปใชได แนวทางในการอานหนังสือ หรือตําราเรียน เพื่อชวยใหประสบความสําเร็จในการเรียนนั้น มี วิธการอานที่มการวิจัยแลววาไดผลดี คือวิธี ที่เรียกวา OK 4 R ี ี OK 4 R กอนเริ่มอาน O = Overview - ควรอานคราว ๆ (overview) ในบทนั้น ๆ อานความนําของเรื่อง และบทสรุป ที่ผูเขียนเขียนไว ระหวางขึ้นตนบท อานบทที่ 1 และอานสรุปประเด็นในยอหนาสุดทาย เมื่ออานจบแลว เราจะรูวาบท นี้กลาวถึงเรื่องอะไร ใจความสําคัญมีอะไร ระหวางการอาน K ความคิดที่สําคัญ (Key Ideas) - อานเพื่อหาแนวคิดที่สําคัญ ซึ่งมักจะปรากฎที่หัวขอยอยของแตละบท พยามยามตั้งคําถามวา เนื้อหาสําคัญประกอบดวยอะไรบาง R ตัวที่ 1 คือ การอาน (Reading) - อานเพื่อตอบคําถามใหไดวา ใคร ทําอะไร ที่ไหน อยางไร ทําไม การอานในขันตอนนีควรอานให ้ ้ ตอเนื่อง และมีสมาธิจดจอ ควรพิจารณาวาตัวอยาง จากหนังสือที่กําลังอานอยูนั้น ชวยทําใหเรา เกิดความเขาใจมากขึ้นหรือไม หลังการอาน R ตัวที่ 2 คือ การระลึก ( Recall ) ๘
  • 9. - เมื่ออานจบแลว ตองนึกทบทวนดูวาอานไปแลวจําไดหรือไม หรือเขาใจมากนอยเพียงใด ควร พยามยามเขียนสรุปเปนหัวขอยอยและตอบคําถามใหไดดวยภาษาของตนเอง R ตัวที่ 3 คือ ความสัมพันธเชื่อมโยง (Relate) - สิ่งที่เขียนสรุปไวแลวจากการอานขางตน นั้นวามีความสัมพันธหรือขยายความเชื่อมโยงกับ ความรูเดิม ที่ไดอานไปแลวอยางไรบาง และแนวคิดตาง ๆ ที่ไดจากการอานเหมือนหรือ แตกตางจากเลมอื่นอยางไรบาง เปนตน R ตัวที่ 4 คือ การทบทวน (Review) - ขั้นตอนนี้หมายถึง การทบทวนสิ่งที่อานและจดบันทึกไวแลวเปนครั้งคราว ซึ่งอาจจะใชในการ ทดสอบยอย สอบกลางภาค และสอบปลายภาค แตโดยทั่วไปแลว นักศึกษามักจะไมทบทวน ความรูจนกวาจะมีการสอบปลายภาค หลักของ OK4R นี้ เปนการชวยเตือนนักศึกษาใหเกิดความรับผิดชอบในเวลาที่ตองการอาน ทํา ใหการอานมีความหมายและไดประโยชน การวัดผลการเรียน การวัดผลการเรียนของนักศึกษาในแตละภาคนั้น อาจไมไดมีแตเพียงการสอบ คือ ทั้งการทดสอบ ยอย การสอบกลางภาค และการสอบไล เทานั้น แตอาจารยผูสอนอาจมอบหมายใหนักศึกษาคนควาทํา รายงาน เพื่อหาความรูเพิ่มเติม ตลอดจนอาจมีกิจกรรมการวัดผลอื่น ๆ อีกดวย ในการทํารายงานนั้น นักศึกษาตองเขาใจวา อาจารยตองการใหนักศึกษามีโอกาสฝกทักษะในการ หาความรู และรูจักคิดวิเคราะหดวยตนเอง การทํารายงานจึงไมใชเปนเพียงการไป “คน” แลวก็ “ควา” เอามาเสนอในรูปของการ “ตัด-แปะ” เทานั้น แตนักศึกษาจะตองรูจักแสวงหาใหมาก อานใหมาก เพื่อ ประมวลเอาความรูความเขาใจจากสิ่งตาง ๆ ที่ไดอานนั้น มาเรียบเรียง นําเสนอออกมาเปนรายงาน ถาทํา ไดถงขนาดนี้จึงจะเรียกไดวาประสบความสําเร็จในการศึกษาอยางแทจริง ึ กิจกรรมการวัดผลที่นักศึกษามักจะวิตกกังวลกันมาก คือ การสอบ จึงขอเสนอแนะเรื่องราวของ การสอบนับตั้งแตการเตรียมตัวสอบไปจนถึงเทคนิคการทําขอสอบ ดังตอไปนี้ การสอบ ผูเชี่ยวชาญทางการศึกษาเห็นพองตองกันวา การเตรียมตัวสําหรับการสอบที่ประสบความสําเร็จ อยางดี นั้นจะตองเริ่มตั้งแตตนภาคการศึกษา และจะตองกระทําตอเนื่องไปตลอดทั้งภาคการศึกษา ดังที่ กลาวมาแลวขางตน คือ ตองมีแผนการเรียนตลอดภาค มีเทคนิคในการอานและทบทวนการเรียนสม่ําเสมอ ๙
  • 10. มีทัศนคติที่ดีมีความเชื่อมั่นพรอมที่จะสอบ จัดระเบียบเวลาการนอนกอนสอบการสอบ ซึ่งจะสงผลใหมี ความพรอมในการสอบ จะเตรียมตัวสอบอยางไร ๑. รักษาสุขภาพใหแข็งแรงโดยเฉพาะคืนกอนสอบ อยานอนดึก เพราะจะทําใหออนเพลีย และ สอบไดไมดีเทาที่ควร สวนนักศึกษาที่มีปญหาสุขภาพหรือเจ็บปวยในชวงที่มีการสอบ ควรแจง หรือติดตอไปยังมหาวิทยาลัยทันที ๒. ทบทวนวิชา ตางๆ ในสัปดาหสุดทายใหมาก ๓. เขาฟงคําบรรยายในชั่วโมงสุดทายที่ปดคอรส ซึ่งอาจารยมักจะชี้แนะเปาหมายของการสอบ เพื่อใหนักศึกษาไดเขาใจขอบเขตเนื้อหาวิชาสอดคลองตรงกัน คําแนะนําตาง ๆ จะเปนประโยชน ตอนักศึกษา ๔. ถานักศึกษาไดวางแผนการทบทวนการเรียนมาแลวอยางดี ใหทบทวนโนตยอที่สรุปไวแลว ตรวจสอบกับตําราวามีเนื้อหาครบถวน ถูกตองหรือไม พยามยามทําความเขาใจแนวคิด หัวเรื่อง ที่สําคัญวาอาจารยเนนเรื่องใด และจัดรายละเอียดความรูไวในหัวขอแตละเรื่อง จะทําขอสอบอยางไร ๑. หลักการทั่วไป คือ เมื่อไดรับขอสอบแลว จงอานคําชี้แจง คําสั่ง ใหเขาใจ เขียนชื่อ เลขที่-รหัส ใหถูกตองครบถวน ๒. แบงเวลาในการทําขอสอบ และอานขอสอบโดยภาพรวม เพื่อจะไดทราบจํานวนขอสอบ ลักษณะขอสอบเปนปรนัย หรือ อัตนัย และแตละขอของคําถามมีคะแนนเต็มอยางไร เพื่อที่นักศึกษาจะ ไดคํานวณเวลาในการทําขอสอบไดถูกตอง กรณีการทําขอสอบแบบปรนัย ซึ่งมีจํานวนขอและตัวเลือกมาก หากทําไมไดควรขามไปทําขออื่นกอน ในกรณีขอสอบอัตนัย ถาคะแนนแตละขอไมเทากัน ควรตอบขอ ที่ใหคะแนนมากใหดีที่สุด ๓. อานคําสั่งและคําถามอยางระมัดระวัง นักศึกษาจะตองทําความเขาใจคําถามและตอบคําถาม ใหดีที่สุดโดยสามารถถายทอดความหมายใหตรงกับคําถามหรือโจทยของขอสอบ โดยทั่วไปนักศึกษา มักจะไมสนใจอานคําสั่งหรืออานคําถามใหรอบคอบ ถี่ถวน ทําใหพลาดการทําขอสอบไปอยางนาเสียดาย นักศึกษาบางคนตอบไมตรงกับคําถาม และไมไดคะแนนทั้ง ๆ ที่อาจจะรูคําตอบนั้น เทคนิคในการตอบขอสอบ ๑. ลายมือในการเขียนตอบขอสอบ ของนักศึกษา ควรเขียนใหชัดเจน อานงาย ใชปากกาที่มีสีเขม ควรหลีกเลี่ยงการเขียนหวัด เพราะเปนอุปสรรคในการตรวจขอสอบของอาจารยคอนขางมาก ๒. การทําขอสอบปรนัยและอัตนัย มีความแตกตางกัน จะขอยกตัวอยางเพียงบางสวนพอให เขาใจเปนพื้นฐานเทานั้น ๑๐
  • 11. แนวทางการทําขอสอบอัตนัย ๒.๑ ควรเขียนเคาโครงของเรื่องที่เขียนเสียกอน เพื่อชวยใหเห็นแนวทางของคําตอบวา เขียนครบถวนหรือไม จากนั้นจะตองเรียบเรียง โดยนําเสนอไดอยางชัดเจน เปนเหตุเปนผลและ ตรงประเด็น หลักการสําคัญอยางอื่นในการทําขอสอบอัตนัยคือ อยาเขียนมากโดยขาดแนวคิด หรือพื้น ฐานความรู การยกตัวอยางแสดงเหตุผลตองเปนขอมูลเชิงประจักษทางวิชาการ ที่เกี่ยวของกับ รายวิชานั้น ๆ การแสดงความเห็นจากประสบการณสวนบุคคลของตนเองมาตอบขอสอบนั้น ควร เชื่อมโยงแนวคิดและหลักการทางวิชาการประกอบคําอธิบายใหชัดเจนเสมอ ๒.๒ คําสั่งที่ใชในขอสอบอัตนัย นักศึกษาควรทําความเขาใจความหมายของคําสั่งเหลานี้ เพื่อเปนแนวทางในการตอบ ขอสอบ เชน จงวิเคราะห มีวัตถุประสงคให จําแนกสาระสําคัญ ใหรายละเอียด และการใชแนวคิด และเหตุผลในการตัดสิน จงเปรียบเทียบ มีวัตถุประสงคให เขียนแสดงความเหมือนหรือความแตกตางอยางชัดเจน และการใชเหตุผลในการเปรียบเทียบ จงใหความหมาย มีวัตถุประสงคใหเขียนคําจํากัดความที่มีกรอบทางวิชาการกําหนดไว จงอธิบาย มีวัตถุประสงคให เขียนชี้แจงหรือบรรยายสิ่งที่นักศึกษาเขาใจ ไดอยางละเอียด ในแงมุมตาง ๆ จงอภิปราย มีวัตถุประสงคให บรรยายเพิ่มเติมมากกวาการอธิบายทั่วไป แตการอภิปราย จะตองแสดงตรรกะ ลําดับที่มาของการนําเสนอ ในเชิงวิพากษไดครบถวน ในเชิงลึกกวาการบรรยายทั่วไป จงประเมิน มีวัตถุประสงคให นักศึกษาตรวจสอบความเห็นในประเด็นนั้น ๆ ตามหลัก วิชาการ ทั้งความเปนไปไดในทางบวกและทางลบ และหรือการมีขอสรุปในการตอบคําถามนั้น ๆ จงพิสูจนใหเห็น มีวัตถุประสงคให นักศึกษา นําเสนอขอเท็จจริง ขอมูลเชิงประจักษ เพื่อ สนับสนุนหรือโตแยงโจทย จงอธิบายสั้น ๆ มีวัตถุประสงคใหนักศึกษา เขียนแนวคิดหรือหลักการใหญ ๆ โดยตอบ เพียงสั้น ๆ ไดใจความชัดเจน ไมเนนการบรรยายเชิงพรรณา แนวทางในการทําขอขอสอบปรนัย แบบเลือกคําตอบ ๑. ควรอานคําถาม แลวลองตอบดวยตนเองกอนที่จะไปอานคําตอบที่ใหเลือก ๒. อานคําถามเรียงตามลําดับ ขอใดตอบไมได ใหทําเครื่องหมายไว ขามไปทําขออื่น แลวยอนกลับมาทําใหม ทั้งนี้ ตองคํานวณเวลาในการทําขอสอบไวดวย ๓. หากไมมีเวลาทบทวนพอที่จะตัดสินใจเทียบคําตอบอื่นได ใหถือวาคําตอบที่เลือกไว แตแรกนั้น มีโอกาสถูกมากกวาผิด ๑๑
  • 12. ๔. หมั่นสังเกตคําถามที่มีขอความ วา “ขอใดไมถูกตอง” หรือ “ขอใดผิด” และพิจารณา คําตอบอยางรอบคอบ ๕. ตัดคําตอบที่เห็นวาไมตรง หรือผิดออกใหหมด การประเมินผล : ทบทวนความสําเร็จ และ/หรือ ความบกพรอง ของตนเอง สงผลยอนกลับไปสูข้นตอนการตั้งเปาหมาย และวางแผน ั เมื่อนักศึกษาไดทราบผลการเรียนในภาคการศึกษาที่ผานมาแลว มิใชวาเพียงแตจะพาเพื่อนไป เลี้ยงฉลองสามวันสามคืน (ในกรณีที่สอบไดเกรดเฉลี่ยสูง) หรือ นั่งรองไหสามวันและซึมเศราอีกสามคืน (ในกรณีผลการเรียนต่ําจนเปนปญหา) ปฎิกิริยาที่วามานี้คงเปนเพียงพฤติกรรมที่ตั้งอยูบนอารมณ ความรูสก ซึ่งจะมิไดสงผลเชิงบวกในระยะยาวตอการศึกษาของตนเอง ึ สิ่งสําคัญประการหนึ่งที่นักศึกษาพึงปฎิบัติเพื่อใหเกิดผลในทางสรางสรรคและยั่งยืน ก็คือ การ ประเมินผลการเรียนที่ไดรับทราบมานั้น พรอมกับทบทวนความสําเร็จ และ/หรือ ความบกพรองของ ตนเอง เพื่อจะไดตระหนักวา ตัวเรานั้นมีจุดแข็งและ/หรือจุดออนในการเรียนสวนไหนอยางไร (หาก ตองการรายละเอียดเพิ่มเติม อาจตองสอบถามอาจารยที่ปรึกษา และอาจารยผูสอนประจําวิชาที่ผลการ เรียนแยเปนพิเศษ) แลวนําผลการประเมินตนเองนี้ สะทอนกลับไปสูขั้นตอนการวางแผนชีวิตและการเรียน สําหรับภาคการศึกษาหรือปการศึกษาถัดไป (ขอมูลสําหรับการวางแผนชีวิตและการเรียน ตองมีการ UPDATE อยูเสมอ) ปฏิบัติซ้ําเปนวงจรเชนนี้ทุกภาคการศึกษา จนกวาจะศึกษาสําเร็จหลักสูตร สาระที่กลาวมาทั้งหมดขางตนนี้ เปนแนวทางที่แนะนําใหไปใชปฏิบัติเทานั้น หากนักศึกษาเพียงแตอานผานไป ก็อยาพึงหวังวาจะประสบความสําเร็จไดจริง ๑๒
  • 13. บรรณานุกรม ถนอมวงศ ล้ายอดมรรคผล. การอานใหเกง. พิมพครั้งที่ ๙. กรุงเทพฯ : กระดาษสา, ๒๕๔๔. ํ ประธาน วัฒนวาณิชย. บรรณาธิการ. เรื่องไมยาก ถาอยากเรียนเกง. พิมพครั้งที่ ๓. กรุงเทพฯ : ประกายพฤกษ, ๒๕๓๗. วิทยากร เชียงกูล. ทําอยางไร จึงจะเรียนเกง. พิมพครั้งที่ ๕. กรุงเทพฯ : ปรีชญา, ๒๕๔๓. วิโรจน ถิรคุณ. เรียนมหาวิทยาลัยอยางไร ใหสําเร็จและมีความสุข. กรุงเทพฯ : อูพิมพเดือนเพ็ญ, ๒๕๔๔. ยุดา รักไทย ณัฐพงศ เกศมาริษ. คูมือคนเกงเรียน.กรุงเทพฯ: เอ็กซเปอรเน็ท จํากัด, ๒๕๔๓. อัจฉรา วงศโสธร. ทักษะการเรียน : องคประกอบและวิธีการวัด. กรุงเทพฯ : จุฬาลงกรณ มหาวิทยาลัย, ๒๕๓๒. อุทุมพร จามรมาน. เทคนิคการศึกษาอยางมีประสิทธิผล. กรุงเทพฯ : ฟนนี่พบลิชชิ่ง, ๒๕๓๘ ั Mark and Cheryl Tackray. วิธีเรียนอยางมีคุณภาพ.แปลจาก How to Succeed to College or University. โดยอุรวดี รุจิเกียติกําจร. พิมพครั้งที่ ๒ กรุงเทพฯ: เยลโลการพิมพ, ๒๕๓๔. ************************************ ๑๓